วารสารของกรมส่งเสริมอตุ สาหกรรม พิมพเ์ ป็นปีที่ 57 ฉบับเดือนมีนาคม - เมษายน 2558
ฮอาาลหาาลร
เมย์โอฟูด้ ส์
เพิม่ มลู ค่ากุ้ง รุกตลาดฮาลาล
รู้ลึกตลาดอาหารฮาลาล
ในกลุม่ AEC
การสรา้ งแบรนดป์ ลาทมู สุ ลิม
โรงแรมติดดาวยกระดบั บริการ
อาหารฮาลาลรบั อาเซยี น
กสอ. ยกระดบั ผูป้ ระกอบการไทย
สฮู่ าลาลสากล
หนา้ แรก เกย่ี วกบั กสอ. งานบรกิ าร ขอ้ มลู นา่ รู้ ขา่ ว กสอ รบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี น ถามตอบ ผงั เวบ็ ไซต์
http://www.dip.go.th
แหล่งรวบรวมข่าวสาร ข้อมูลเกี่ยวกับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และงานบริการต่างๆ
ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม รวมถึงฐานข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น บรรณานุกรมเครื่องจักร,
ฐานข้อมูลวัตถุดิบ, ฐานข้อมูลเทคโนโลยีการผลิต, ฐานข้อมูลการออกแบบ
ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ เป็นต้น เพื่อให้บริการสำ�หรับ SMEs และผู้สนใจทั่วไป
http://elearning.dip.go.th
ระบบฝึกอบรมผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ http://boc.dip.go.th
แหล่งรวบรวมความร้ทู ่ผี ้ปู ระกอบการวิสาหกรรมขนาดกลาง ศนู ยธ์ ุรกจิ อตุ สาหกรรม
และขนาดย่อม รวมทั้ง ผู้สนใจทั่วไป สามารถเข้าไป
เรียนรู้เพื่อความเข้าใจในสาขาวิชาต่างๆ ที่จำ�เป็นต่อ • Business Start Up เริ่มต้นธุรกิจ
การประกอบธุรกิจ เช่น เทคนิคการผลิต การตลาด • Business Information ข้อมลู ทางธุรกิจ
การบริหารจัดการ บัญชี และการเงิน ตลอดจนเทปบันทึก • Business Advisory ให้คำ�ปรึกษาทางธุรกิจ
รายการคลินิกอุตสาหกรรม ที่ผู้สนใจสามารถลงทะเบียน • Business Opportunity โอกาสใหม่ทางธุรกิจ
เรียนได้ตลอดเวลา โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย • Business Improvement พัฒนาศักยภาพของธุรกิจ
• Japan Desk การทำ�ธุรกิจกับญี่ปุ่น
http://strategy.dip.go.th
ยุทธศาสตร์และแผนงาน
• ข้อมลู อุตสาหกรรม
• ข้อมลู เศรษฐกิจมหภาค
• ข้อมลู ระหว่างประเทศ
• โครงการ AEC
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ถนนพระรามท่ี 6 (เยอ้ื งโรงพยาบาลรามาธบิ ด)ี เขตราชเทวี กทม. 10400
Contents
ฉบบั เดอื นมีนาคม-เมษายน 2558
24 Special Report 05 Market & Trend
เครอ่ื งหมายรบั รองฮาลาล มาตรฐานอาหารมสุ ลิม แนวโน้ม-กลยทุ ธ์การตลาด
อตุ สาหกรรมอาหารไทยไม่ควรมองข้าม พร้อมรบั มือธรุ กจิ อตุ สาหกรรมอาหารไทย สู่ AEC
1SM0Es Focus 16 Report
เมย์โอฟู้ดส์ รู้ลกึ ตลาดอาหารฮาลาล AEC
เพิ่มมูลค่ากุ้ง รกุ ตลาดฮาลาล
19 Innovation
07 Interview
Mobile Application อาหารฮาลาล
ผอ.สุภา ตง้ั กิตตคิ ุณ
ยกระดบั ผู้ประกอบการไทย 21 Information
สู่ฮาลาลสากล
ยำ�้ ไม่ใช่แค่อาหารฮาลาล มองตัวเลขให้เป็นโอกาสต่อยอดอาหารฮาลาล
13 22 Product & Design
27 Management
Insight SMEs
สถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทย
รังนกฮ่องเต้ ผลกั ดนั ไทยสู่เบอร์ 1 ส่งออกฮาลาลระดบั โลก
เบนเข็มจบั ตลาดฮาลาล
33 Opportunity
30
จฬุ าราชมนตรี ช้ชี ่องทางการเตบิ โต
Business Focus ของตลาดอาหารฮาลาล
เน้นการพฒั นาศักยภาพการผลติ ให้มมี าตรฐาน
โรงแรมตดิ ดาวยกระดบั
บรกิ ารอาหารฮาลาล 36 Knowledge
รับอาเซยี น
หน่วยงานสนบั สนนุ อาหารฮาลาล
ท้ังภาครฐั และเอกชนในประเทศไทย
39 SMEs Biz
การสร้างแบรนด์ปลาทูมสุ ลมิ
41 Book Corner
Editor’s Talk
ดันอาหารไทย เจ้าของ
สู่ตลาดฮาลาลโลก
กรมสง่ เสริมอตุ สาหกรรม
“ฮาลาล” เป็นค�ำมาจากภาษาอารบิก หมายความว่า
การผลิต การให้บริการ หรอื การจ�ำหน่ายใดๆ ทไ่ี ม่ขัดต่อบญั ญัติ ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพ ฯ 10400
ของศาสนา อาจกลา่ วไดว้ ่า “อาหารฮาลาล” คอื อาหารทไ่ี ดผ้ ่าน
กรรมวธิ ใี นการท�ำ ผสม ปรงุ ประกอบ หรอื แปรสภาพ ตามบญั ญตั ิ คณะท่ปี รึกษา
ของศาสนาอสิ ลาม
นายอาทิตย์ วุฒิคะโร
ภาพรวมของอาหารฮาลาลทั่วโลกมีมูลค่า 1.1 ล้านล้าน อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
เหรียญสหรัฐฯ กลุ่มประเทศมุสลิมท่ีมีส่วนแบ่งการตลาดอาหาร นายกอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์
ฮาลาลมากทสี่ ดุ คอื บราซลิ 12% รองลงมาคอื สหรฐั อเมรกิ า 8% รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
อินเดีย 6% ฝรั่งเศสและจีน 5% ไทยมีส่วนแบ่งตลาดอาหาร นายมาณพ ชิวธนาสุนทร
ฮาลาลติดอนั ดับ 6 ของโลกประมาณ 4% รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ตลาดมสุ ลมิ เปน็ ตลาดใหญ่ ซง่ึ ประกอบดว้ ยประชากรมสุ ลมิ นางยุพรัตน์ ศตวิริยะ
ทว่ั โลกจ�ำนวนกวา่ 1,600 ลา้ นคน เฉพาะในภมู ภิ าคอาเซยี นมชี าว ผู้อำ�นวยการสำ�นักบริหารกลาง
มุสลมิ กว่า 300 ล้านคน เม่อื ปี 2557 การส่งออกอาหารฮาลาล
ของไทยมมี ลู ค่า 5,800 ล้านดอลลาร์สหรฐั ฯ บรรณาธกิ ารอำ�นวยการ
ในปี 2558 มกี ารคาดการณ์ไว้ว่า มูลค่าการส่งออกอาหาร นางสาวสายสัมพันธ์ุ จิรวุฒิกุล
ฮาลาลของไทยจะเพม่ิ เปน็ 6,100 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ฯ ดว้ ยเหตผุ ล รักษาราชการแทนผู้อำ�นวยการกลุ่มประชาสัมพันธ์
ตรงกันท้ังภาครัฐและเอกชนว่า ไทยมีศักยภาพด้านวัตถุดิบและ
เทคโนโลยีในการผลิตอาหารติดอันดับโลก หากร่วมมือกันย่อม บรรณาธกิ ารบริหาร
สามารถต่อยอดอาหารไทยสู่อาหารฮาลาลของโลกได้อย่าง
แน่นอน นางสาวปาณทิพย์ เปลี่ยนโมฬี
บรรณาธกิ ารบรหิ าร กองบรรณาธกิ าร
นายวีระพล ผ่องสุภา, นางสมจิตต์ เตียวสุนทรวงศ์,
นายชเนศ ศรีพิทักษ์, นายไพฑูรย์ มะเมียเมือง, นางเกสรา ภู่แดง,
นางสุรางค์ งามวงศ์, นางสาวกนกรักษ์ นุกูลโรจน์
ฝา่ ยภาพ
นางวิพาณี อวยพรรุ่งรัตน์, นางสมใจ รัตนโชติ,
นายธานินทร์ กล�่ำพัก, นายสุทิน คณาเดิม,
ฝา่ ยสมาชกิ
นางสาวกัลศิญา ชุมศรี, นายสุรินทร์ ม่วงน้อย,
นางสาวศิริธร ชัยรัตน์, นายธวัชชัย มะกลํ่าทอง
จดั พิมพ์
บริษัท ซี แอด โปรโมชั่น (1997) จำ�กัด
77/14 หมู่บ้านชลลดา ซ.2 ถนนสายไหม
แขวงสายไหม เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220
โทร. 0 2991 3031-3 แฟกซ์. 0 2991 3066
“บทความ บทสัมภาษณ์ หรืองานเขียนที่ตีพิมพ์ในวารสารเล่มนี้ สมัครสมาชิกวารสาร
เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ทางวารสารไม่จำ�เป็น
ต้องเห็นด้วยเสมอไป หากประสงค์จะนำ�บทความใดๆ ในวารสาร กรอกใบสมัครซึ่งอยู่หน้าสุดท้ายของเล่ม
ไปตีพิมพ์เผยแพร่ ควรแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรต่อกองบรรณาธิการ” จากนั้นส่งใบสมัครได้ 3 ทาง ได้แก่
1. สง่ ทางไปรษณีย์จ่าหนา้ ซองถงึ
บรรณาธิการวารสารอุตสาหกรรมสาร
กลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กทม. 10400
2. ส่งทางเครื่องโทรสารหมายเลข 0 2354 3299
3. สง่ ทางอเี มล : [email protected]
Market & Trend เรื่อง : นุชเนตร จักรกลม
แนวโน้ม-กลยทุ ธก์ ารตลาด
พรอ้ มรับมือธรุ กิจอุตสาหกรรมอาหารไทยสู่ AEC
อาเซียนนับเป็นแหล่งผลิตอาหารท่ีส�ำคัญ ตลาดอาหารในอาเซียนมีอัตราเติบโตสูงมากบนพื้นฐานของ
ของโลก เนื่องจากมีข้อได้เปรียบพ้ืนฐานด้าน ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจส�ำคัญ ได้แก่ ประชากร ซึ่งคาดการณ์ว่า
ทรพั ยากรธรรมชาตทิ นี่ ำ� มาเปน็ วตั ถดุ บิ ในการ จะมีจ�ำนวนเพม่ิ มากขน้ึ จากจ�ำนวน 624 ล้านคน เป็น 660 ล้านคน
ผลิตอาหารและมีแรงงานจ�ำนวนมากเพียงพอ ในปี 2563 หรอื เพม่ิ ขน้ึ 45.5 เปอรเ์ ซน็ ต์ จากการขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ
รวมทั้งยังเป็นตลาดใหม่ส�ำหรับสินค้าอุปโภค ของกลุ่มชนช้นั กลางทเ่ี พม่ิ สูงข้นึ อกี ทงั้ คาดว่าการบรโิ ภคอาหารใน
บรโิ ภค ท่มี ีความน่าสนใจและน่าจบั ตามอง โดย ภูมิภาคอาเซยี นจะขยายตวั เพ่มิ ขนึ้ ร้อยละ 70 จากปัจจบุ ัน ภายใน
ในปี 2556 อาเซียนมีสัดส่วนมูลค่าการค้า ปี 2563 จากข้อมูลการเตบิ โตของตลาดอาเซยี นในข้างต้นน้นั
อาหารในตลาดโลก อยทู่ รี่ อ้ ยละ 6.8 และคาดวา่
ในปี 2559 จะมีส่วนแบ่งตลาดเพิ่มข้ึนเป็น กองพฒั นาอตุ สาหกรรมรายสาขาท่ี 2 กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม
ร้อยละ 7.3 ของมูลค่าตลาดอาเซียน ซึ่งจะมี ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการตลาดและการเช่ือมโยงทางธุรกิจ
บทบาทในการส่งออกอาหารสู่ตลาดยุโรปใน อตุ สาหกรรมอาหารของกลมุ่ ประเทศอาเซยี น เพอ่ื ช่วยส่งเสรมิ กลมุ่
มลู ค่าสูงถงึ ประมาณร้อยละ 9.6 ซ่งึ เป็นลำ� ดบั ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สาขาการผลิต
ท่ี 3 รองสหภาพยโุ รป และสหรฐั อเมริกา อาหารของไทย ให้เกิดการขยายตัวด้านการค้าและการลงทุนของ
ไทย โดยการใหค้ วามรดู้ ้านการตลาดและมาตรการทางการคา้ อนื่ ๆ
ตลอดจนการอ�ำนวยความสะดวกทางการคา้ และการลงทนุ ระหว่างกนั
ให้เกิดผลประโยชน์อย่างเต็มที่ เพ่ือให้เกิดความร่วมมือกันทาง
เศรษฐกิจของกลุ่มประเทศอาเซียนที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจท่ี
5อุตสาหกรรมสาร
เอื้อประโยชน์ทางการค้าให้แก่กัน ช่วยกันส่งเสริมอุตสาหกรรม ในเรอื่ งของการบรหิ ารงานนน้ั จะตอ้ งมกี ารวางแผนเพอื่ ด�ำเนนิ การ
อาหาร ตลอดจนการขยายโอกาสในตลาดใหม่ โดยเฉพาะการ ให้เป็นไปตามเป้าท่ีต้ังไว้ และยังต้องจับตาดูสินค้าในตลาด
สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ของกลมุ่ อตุ สาหกรรมอาหาร ตลอดจน เดียวกนั และค�ำนึงถงึ ความต้องการของกลุ่มลูกค้า เพ่อื ขับเคล่ือน
การขยายโอกาสให้ผู้ประกอบการได้แลกเปล่ียนและเรียนรู้ การท�ำงานใหม้ กี �ำไรมาลงทนุ ตอ่ ยอดการด�ำเนนิ ธรุ กจิ ตอ่ ไป โดยมี
ประสบการณ์ร่วมกัน ซ่ึงจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจของกลุ่ม ปัจจยั ทส่ี ่งผลต่อการแข่งขนั หลายประการ ได้แก่ ปัจจยั ภายนอก
อุตสาหกรรมอาหารของไทยได้เป็นอย่างมาก คอื ผู้ขายรายอนื่ ในตลาด ลูกค้า และสนิ ค้าทดแทน และปัจจยั
ภายใน คอื กฎหมาย เทคโนโลยี สงั คมวฒั นธรรม พฒั นาการของ
แนวคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ต่างประเทศ เศรษฐกิจและประชากร เป็นต้น รวมท้ังการสร้าง
อาหารสมัยใหม่ แผนการตลาดที่เหมาะสม เพ่ือให้สอดรับกับความต้องการของ
ผู้บรโิ ภคเป้าหมาย สร้างสนิ ค้า/บรกิ าร ทส่ี ามารถตอบสนองความ
ความท้าทายในโลกธรุ กิจ คือ โครงสร้างทางสงั คม จ�ำนวน ต้องการน้นั ได้ดกี ว่า ให้ประโยชน์มากกว่าคู่แข่ง รักษาและพฒั นา
ประชากร ภาวะเศรษฐกจิ และสภาพตลาด การเปล่ยี นแปลงด้าน ความไดเ้ ปรยี บในระยะยาว โดยการแสวงหาโอกาสทเี่ กดิ ขน้ึ สรา้ ง
เทคโนโลยี การเปล่ียนแปลงจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคม ความไดเ้ ปรยี บจากจดุ แขง็ ของตวั เอง เพราะการตลาดคอื การท�ำให้
ความรู้ ความเป็นโลกาภิวัตน์ของธุรกิจ การแข่งขันที่มากขึ้น ผู้ซือ้ สนิ ค้ามคี วามสุขกบั สินค้าท่ไี ด้รบั
การขาดแคลนทรัพยากร ความต้องการของลูกค้าเพิ่มข้ึน
กลุ่มเป้าหมายเป็นส่งิ แรกท่ผี ู้ประกอบการจะต้องหาให้เจอ เพราะ การวางต�ำแหน่งทางการตลาด จะต้องหาต�ำแหน่งของ
เม่ือมีกลุ่มเป้าหมายชัดเจน โอกาสท่ีจะขายสินค้าได้น้ันก็จะมีสูง ผลติ ภัณฑ์ท่ผี ู้บรโิ ภคต้องการ ได้แก่ 1. ผลติ ภณั ฑ์ท่ลี ดความเสย่ี ง
โดยเฉพาะการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในธุรกิจอาหารไทยสู่ตลาด จากโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด 2. ลดความเส่ยี งจากมะเรง็ 3. ลด
อาเซยี น ซง่ึ มปี จั จยั ส�ำคญั อยทู่ กี่ ารพฒั นาสนิ คา้ ไมใ่ ชเ่ พยี งแคท่ �ำให้ ความเส่ียงจากโรคเบาหวาน 4. ลดความเสี่ยงจากความเครียด
ไมเ่ นา่ เสยี หรอื อย่ไู ด้ แตจ่ ะต้องดคู วามต้องการของตลาดว่าตลาด 5. สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ใหร้ า่ งกาย 6. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบยอ่ ยอาหาร
ต้องการอะไร ชอบอะไรไม่ชอบอะไร ส่งิ ใดท่ียงั ขาดอยู่ กน็ �ำกลบั 7. ลดความเสี่ยงจากน้ำ� หนกั เกนิ มาตรฐาน เพิม่ ความสวยงามใน
มาพัฒนา ไม่ควรท�ำสินค้าขึ้นมาเพื่อสนองความต้องการของ ร่างกาย และ 8. ผลติ ภัณฑ์เสรมิ อาหาร
ตวั เองแตท่ �ำสนิ คา้ ใหเ้ ปน็ ทต่ี อ้ งการของตลาดตอ้ งคดิ ถงึ คนซอ้ื ใหม่
มากๆ เมอ่ื ผปู้ ระกอบการท�ำสนิ คา้ เกย่ี วกบั อาหารขนึ้ มาควรศกึ ษา นอกจากน้ียังมีปัจจัยแห่งความส�ำเร็จด้านการตลาดท่ีน่า
ว่าสินค้าของเราอยู่ในต�ำแหน่งไหนในตลาด เพราะในปัจจุบัน สนใจ ได้แก่
ผู้บรโิ ภคในแต่ละประเทศมวี ฒั นธรรม ความชอบ ข้อจ�ำกัด และ
ความตอ้ งการทแ่ี ตกตา่ งกนั รวมทง้ั ยงั ตอ้ งใหค้ วามส�ำคญั เรอ่ื งการ 1. การเลอื กกลมุ่ เปา้ หมายมผี ลตอ่ ความส�ำเรจ็ 40 เปอรเ์ ซน็ ต์
พัฒนาการออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพราะรูปแบบบรรจุภัณฑ์และ 2. ข้อเสนอจดุ ขายมีผล 30 เปอร์เซน็ ต์
ผลติ ภัณฑ์เป็นสง่ิ แรกท่ีผู้บรโิ ภคเหน็ และน�ำไปสู่การตดั สินใจซ้ือ 3. วธิ กี ารส่อื สารทางการตลาดมผี ล 20 เปอร์เซ็นต์
4. ชว่ งเวลาในการสอื่ สารทม่ี ผี ลตอ่ ความส�ำเรจ็ ของโปรแกรม
โดยคณุ ลกั ษณะของผลติ ภณั ฑใ์ นมมุ มองทต่ี า่ งกนั จะแบง่ ได้ ตลาด 10 เปอร์เซน็ ต์.
2 ด้าน คอื ขอ้ มูลจาก
งานสมั มนาเชงิ ปฏบิ ัติเพ่อื พัฒนาธรุ กิจอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป
1. ดา้ นเทคโนโลยี ดจู ากวตั ถดุ บิ องคป์ ระกอบ สตู รโครงสรา้ ง เรอื่ ง แนวโน้ม-กลยทุ ธ์การตลาด-การเตรยี มความพร้อมของธรุ กจิ
ขนาดรูปร่าง วิธีการแปรรูป วิธีการเก็บรักษา ประเภทของ อตุ สาหกรรมอาหารไทยสู่ตลาด AEC
ผลิตภัณฑ์
2. ดา้ นผบู้ รโิ ภค ดจู ากความสะดวกในการใช้ การใชป้ ระโยชน์
คุณค่าทางอาหาร คณุ ลกั ษณ์ทางประสาทสมั ผัส ความปลอดภยั
จติ วิทยา และสงั คม
นอกจากน้นั ในการท�ำธรุ กิจในอุตสาหกรรมอาหาร แน่นอน
ว่าเป้าประสงค์หลกั คือ ก�ำไรและการเติบโต ส่ิงส�ำคญั คือจะต้อง
รู้จุดแข็งและจุดมุ่งหมายในส่ิงท่ีตัวเองท�ำ รู้จักพัฒนาแบรนด์
6 อุตสาหกรรมสาร
Interview เรื่อง : ดา นานาวัน
ผอ.สุภา ต้งั กติ ตคิ ณุ
ยกระดบั ผูป้ ระกอบการไทยสู่ฮาลาลสากล
ย�้ำไมใ่ ช่แค่อาหารฮาลาล
หากพูดถึงค�ำว่า ฮาลาลในเมืองไทย อาจเป็นท่ีรู้จัก
ในความหมาย อาหารหรือส่ิงเจือปนท่ีไม่ขัดกับหลัก
ศาสนาอิสลาม แต่สัญลักษณ์ตราฮาลาลนั้นศักดิ์สิทธ์ิและ
สามารถเพ่ิมมูลค่าการค้าให้กับสินค้าอื่นๆนอกเหนือจาก
อาหารได้อย่างน่าท่ึง กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมโดย
กองพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา 2 มีหน้าที่และความ
รับผิดชอบโดยตรงในอุตสาหกรรมอาหาร จึงเร่งจัดการ
ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพธุรกิจและสินค้าฮาลาลให้เป็น
รู ป ธ ร ร ม ผ ่ า น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ท่ี ชั ด เ จ น แ ล ะ ค ร อ บ ค ลุ ม
ประสิทธภิ าพทกุ ด้าน พรอ้ มแก้ปัญหาจกุ จกิ กวนใจให้หมด
ไป มุ่งเน้นบทบาทหน่วยประสานความร่วมมือกับทุกฝ่าย
โ ด ย มี เ ป ้ า ห ม า ย ส ร ้ า ง ไ ท ย ใ ห ้ เ ป ็ น ฐ า น ก า ร ผ ลิ ต ที่ ไ ด ้
มาตรฐานฮาลาลอย่างแท้จริง
นางสภุ า ต้ังกติ ตคิ ณุ ผู้อ�ำนวยการกองพัฒนา โลกในปัจจุบันซ่ึงมีอยู่กว่า 7,000 ล้านคน ในจ�ำนวนน้ีประมาณร้อยละ
อุตสาหกรรมรายสาขา 2 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม 24 เป็นประชากรมุสลมิ คดิ เป็นจ�ำนวนกว่า 1,700 ล้านคน อุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม เปิดเผยว่าในภาพรวมกรม ฮาลาลโลกจึงเป็นอุตสาหกรรมท่ีมีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง โดยที่มีการ
ส่งเสริมอุตสาหกรรมรายสาขา 2 มีหน้าที่และความ คาดการณ์กนั ว่าในปี ค.ศ. 2050 ประชากรโลกจะเพม่ิ ขึ้นเป็นกว่า 9,000
รับผิดชอบโดยตรงดูแลอุตสาหกรรมอาหาร เกษตร ลา้ นคน แนน่ อนวา่ จ�ำนวนประชากรมสุ ลมิ ยอ่ มจะเพม่ิ สงู ขน้ึ จากปจั จบุ นั
แปรรูป และยางพารา รัฐบาลมุ่งเน้นการส่งเสรมิ ภาค อีกมากมายทีเดียว นั่นหมายความว่ามูลค่าการตลาดของสินค้าและ
เกษตร ซ่ึงมีความส�ำคัญต่อประชาชนและเกษตรกร บริการฮาลาล ส�ำหรับชาวมุสลิมจะมีการเติบโตตามก�ำลังซ้ือและฐาน
เป็นส�ำคัญ ในขณะเดียวกันก็พร้อมดูแลและให้การ ผู้บริโภคท่ีขยายตัวเพ่ิมขึ้นนี้ เม่ือหันมามองศักยภาพและโอกาสในการ
สง่ เสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพธรุ กจิ และสนิ คา้ ฮาลาลไป สร้างรายได้ให้แก่ประเทศจากการพัฒนา อุตสาหกรรมฮาลาลไทย ก็พบ
พร้อมกันด้วย
“ก่อนอ่ืนเราควรท�ำความเข้าใจเก่ียวกับความ
หมายของผลิตภัณฑ์ฮาลาลกันก่อน “ฮาลาล” เป็น
ค�ำจากภาษาอาหรับแปลว่า อนุมัติ อนุญาต
หมายความว่า ส่ิงของหรือการกระท�ำใดๆ การผลิต
การใหบ้ รกิ าร หรอื การจ�ำหนา่ ยใดๆ ทไ่ี มข่ ดั ตอ่ บญั ญตั ิ
ของศาสนาอสิ ลาม ผลติ ภณั ฑฮ์ าลาลจงึ ครอบคลมุ ทงั้
สินค้าและบริการท่ีเป็นอาหารและมิใช่อาหาร โดย
เป็นการผลติ การให้บรกิ าร หรือการจ�ำหน่ายทไ่ี ม่ขดั
ตอ่ หลกั ศาสนาอสิ ลาม เมอ่ื วเิ คราะหภ์ าพรวมประชากร
7อตุ สาหกรรมสาร
ความเป็นไปได้สูงมาก เนอื่ งจากไทยเป็นผู้ส่งออกสนิ ค้าเกษตร รวดเร็วที่สุดเพื่อขยายส่วนแบ่งในตลาดฮาลาลโลกให้เพ่ิมมาก
และอาหารทส่ี �ำคญั รายหนง่ึ ของโลก มภี าคบรกิ ารทเี่ ขม้ แขง็ และ ขน้ึ
หลากหลายไม่ว่าจะเป็นบริการทางการแพทย์หรือสปา รวมท้ัง
มีหน่วยงานด้านวิทยาศาสตร์ฮาลาลท่ีเป็นท่ียอมรับของต่าง ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาฮาลาล 360 องศา
ประเทศ และมีหน่วยงานท่ีท�ำหน้าที่ให้การรับรองฮาลาลที่
ชดั เจน ตลอดจนหน่วยงานท่สี นบั สนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม ผู้อ�ำนวยการกองพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา 2 เผยถึง
ฮาลาล” แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าฮาลาลให้เป็นรูปธรรมว่า
ภาครัฐมีความต้ังใจและพยายามส่งเสริมสินค้าฮาลาลอย่าง
ยังมีข้อมูลที่น่าสนใจเพิ่มเติมจาก รศ.วินัย ดะลันห์ จรงิ จงั ตลอดชว่ ง 10 ปที ผี่ า่ นมา โดยมกี ารแตง่ ตง้ั คณะกรรมการ
ผอู้ �ำนวยการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรฮ์ าลาล จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ระดบั ชาตทิ มี่ ชี อื่ วา่ “คณะกรรมการสง่ เสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพ
วา่ ฮาลาลไมไ่ ดจ้ �ำกดั อยเู่ พยี งแคเ่ รอื่ งอาหาร หากแตย่ งั เกย่ี วขอ้ ง ธุรกจิ และสนิ ค้าฮาลาลแห่งชาต”ิ ข้ึน เพอ่ื ขับเคลอ่ื นการพัฒนา
กับทุกผลิตภัณฑ์ที่ชาวมุสลิมใช้ในการอุปโภคและบริโภค อุตสาหกรรมฮาลาลของประเทศไทย และได้มีการจัดท�ำร่าง
มขี อ้ มลู ทน่ี า่ ทงึ่ เกย่ี วกบั ผา้ เบรกรถยนตแ์ บรนดต์ า่ งๆ ซงึ่ ผลติ จาก ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพธุรกิจสินค้าและ
ประเทศไทยและส่งออกไปวางจ�ำหน่ายในดูไบ พบว่าแบรนด์ที่ บริการฮาลาลขึ้น แต่ยังไม่ได้มีการน�ำเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
ไดร้ บั ความนยิ มจากลกู คา้ ทนี่ น่ั คอื แบรนดท์ ม่ี ตี ราฮาลาลก�ำกบั เนอ่ื งจากคณะกรรมการฯ ได้หมดวาระตามรฐั บาล
แสดงใหเ้ หน็ วา่ เครอื่ งหมายรบั รองฮาลาลมผี ลอยา่ งมากต่อการ
ตดั สนิ ใจซอ้ื ของผอู้ ปุ โภคบรโิ ภคชาวมสุ ลมิ และกระแสความเชอ่ื รัฐบาลชุดปัจจุบันได้ให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนา
มั่นในเคร่ืองหมายรับรองฮาลาลก็มีความเข้มข้นมากขึ้นเช่นกัน อุตสาหกรรมฮาลาลเช่นกัน โดยนายกรัฐมนตรีได้ลงนามค�ำส่ัง
ในตลาดโลก ตลอดจนทวคี วามเขม้ งวดในกระบวนการผลติ ตาม ส�ำนกั นายกรฐั มนตรีเมื่อวนั ท่ี 19 ธนั วาคม 2557 แต่งต้งั “คณะ
มาตรฐานฮาลาล ตัวอย่างเช่น ในประเทศอินโดนีเซียขณะนี้ กรรมการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพธุรกิจและสินค้าฮาลาล
ก�ำลังมีการพิจารณาออกระเบียบก�ำหนดให้สินค้าท่ีจะขอรับ แหง่ ชาต”ิ ทม่ี หี มอ่ มราชวงศป์ รดี ยิ าธร เทวกลุ รองนายกรฐั มนตรี
การรับรองตราฮาลาล เครื่องมือเคร่ืองจักรท่ีใช้ในกระบวนการ เป็นประธานกรรมการ และอธบิ ดกี รมส่งเสริมอุตสาหกรรมเป็น
ผลิตนน้ั จะต้องไม่ปนเปื้อนแร่ใยหนิ อย่างเดด็ ขาด เป็นต้น กรรมการและเลขานกุ าร ซง่ึ คณะกรรมการชดุ น้ไี ด้มีการประชุม
คร้ังแรกเม่ือวันท่ี 29 มกราคมที่ผ่านมา พร้อมกับเห็นชอบ
“ฉะนนั้ การสง่ เสรมิ สนิ คา้ ฮาลาล จงึ ไมอ่ าจมงุ่ เนน้ แตเ่ ฉพาะ ร่างยุทธศาสตร์การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพธุรกิจสินค้า
สนิ คา้ อาหารเทา่ นนั้ แตเ่ ราตอ้ งมองถงึ สนิ คา้ ประเภทอนื่ และภาค และบรกิ ารฮาลาล พ.ศ. 2559 - 2563
บรกิ ารควบคกู่ นั ไปดว้ ย ซงึ่ เมอ่ื ค�ำนงึ ถงึ แนวโนม้ ของโลกดงั กลา่ ว
แล้ว ถ้าเราสร้างมาตรฐานฮาลาลไทยให้เป็นทย่ี อมรบั ของกลุ่ม ร่างยุทธศาสตร์ที่ผ่านความเห็นชอบมี 4 ประเด็น
ตลาดเป้าหมายท่ีนับถือศาสนาอิสลามทั่วโลกได้แล้ว ก็เช่ือมั่น ยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี
ว่าสินค้าและบริการที่มีศักยภาพของไทย เช่น การแพทย์และ
สปา กจ็ ะไดร้ บั อานสิ งสจ์ ากการเดนิ ทางเขา้ มาของนกั ทอ่ งเทยี่ ว • การเสริมสร้างศักยภาพการพัฒนามาตรฐานและ
ชาวมุสลมิ เพื่อใช้บริการดงั กล่าวเพ่ิมขึน้ ” การตรวจรับรองฮาลาล
ดว้ ยแนวโนม้ การกดี กนั ทางการคา้ โดยใชก้ ารรบั รองฮาลาล แมป้ ระเทศไทยจะมคี วามสมั พนั ธท์ ดี่ แี ละมเี ครอื ขา่ ยการคา้
เป็นตัวก�ำหนดและการแข่งขันด้านการตลาดฮาลาลในโลกมี กับประเทศมุสลิม แต่การขาดระบบการรับรองฮาลาลที่มี
แนวโน้มสูง จึงเป็นปัจจัยหลักให้ภาครัฐต้องเร่งส่งเสริมและ มาตรฐานร่วมกัน และขาดบุคลากรท่ีมีความช�ำนาญด้าน
พฒั นาสนิ คา้ ฮาลาลไทยใหไ้ ดร้ บั การยอมรบั ในระดบั สากลอยา่ ง การตรวจรับรองและด้านวิทยาศาสตร์ฮาลาล ในการพัฒนา
อตุ สาหกรรมฮาลาลของประเทศจงึ จ�ำเปน็ ทจี่ ะตอ้ งเนน้ คณุ ภาพ
และมาตรฐานให้เป็นที่ยอมรับ เพื่อสร้างความเชื่อม่ันและ
ความแตกต่างจากผู้ส่งออกประเทศอ่นื
8 อุตสาหกรรมสาร
• การเสริมสร้างศักยภาพการผลิตสินค้าและบริการ ยิ่งขึ้น จึงเป็นเร่ืองที่รัฐต้องเข้ามาช่วยประสานและแก้ไขให้
ฮาลาล ปัญหาและอปุ สรรคหมดไป หน้าที่ของเราจึงต้องเสรมิ จดุ แขง็ ที่
มศี กั ยภาพอยแู่ ลว้ ใหม้ ศี กั ยภาพมากขนึ้ และปรบั ลดจดุ ออ่ นทมี่ ี
มุ่งเน้นการพัฒนาให้ประเทศไทยมีระบบการผลิตสินค้า อยู่ด้วยการช่วยแก้ไขทกุ วธิ ีทีจ่ ะท�ำได้”
และบริการฮาลาลท่ีเป็นสากล ได้รับการยอมรับในระดับ
นานาชาติเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน ครอบคลุม ไม่ใช่เพียงภาครัฐเท่านั้นท่ีจะผลักดันให้สินค้าและบริการ
ตงั้ แต่การผลติ สนิ ค้าวัตถดุ บิ การพัฒนารปู แบบสินค้า การวาง ฮาลาลไทยให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ผู้ประกอบการภาค
ระบบการผลิต จนถึงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสินค้าและ เอกชนเองก็ต้องใส่ใจและยึดม่ันในระเบียบปฏิบัติตาม
บรกิ ารฮาลาล ตลอดจนการสรา้ งความเข้มแขง็ ใหแ้ ก่ผ้ปู ระกอบ บทบัญญัติของหลักศาสนาอิสลามอย่างเคร่งครัดด้วยเช่นกัน
การและบุคลากรในอตุ สาหกรรมฮาลาล เพื่อให้ยทุ ธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพธุรกิจและสินค้า
ฮาลาลบรรลผุ ลอยา่ งเปน็ รปู ธรรมและเปน็ ก�ำลงั ส�ำคญั ทจ่ี ะสรา้ ง
• การพัฒนาศกั ยภาพการตลาดฮาลาลส่สู ากล มาตรฐาน “ฮาลาลไทย” ใหอ้ ยใู่ นดวงใจของผบู้ รโิ ภคชาวมสุ ลมิ
เม่ือได้สนิ ค้าและหลกั ประกนั ท่ชี ัดเจนแล้ว บทบาทส�ำคญั ทว่ั โลก.
ต่อมาคือ การสร้างแบรนด์ฮาลาลให้ได้รับความเชื่อม่ันควบคู่
ไปกบั ท�ำการตลาดสนิ คา้ ฮาลาลของผปู้ ระกอบการไทยใหเ้ ปน็ ที่ สอบถามขอ้ มูลเพม่ิ เติมได้ที่
รู้จกั และได้รบั ความสนใจท้งั ในตลาดไทยและต่างประเทศ กองพฒั นาอตุ สาหกรรมรายสาขา 2 กรมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม
• การพัฒนาศักยภาพการวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตร์ ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4 เขตคลองเตย กทม. 10110
ฮาลาลเพอื่ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของอตุ สาหกรรมฮาลาลของ โทรศัพท์ 0 2367 8127
ประเทศ
ในขณะทสี่ นิ คา้ และบรกิ ารฮาลาลของไทยก�ำลงั ไดร้ บั ความ
นยิ มนนั้ เราไมอ่ าจละเลยการพฒั นาตอ่ ยอดใหส้ นิ คา้ และบรกิ าร
ฮาลาลมีมูลค่าสูงขึ้นและตอบสนองความต้องการของตลาด
ทเี่ พม่ิ ขนึ้ จงึ ตอ้ งใหค้ วามสนใจการวจิ ยั การตรวจสอบยอ้ นกลบั
โดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาสร้างความ
มั่นใจให้กับผู้บริโภคอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงปัจจุบันไทยเป็นประเทศ
แรกทีใ่ ช้วทิ ยาศาสตร์ฮาลาลอย่างจริงจัง
แนวทางยกระดับไทยสู่ฮาลาลสากล
นางสภุ า เปิดเผยว่า จากทุกภาคส่วนท่เี กี่ยวข้องทัง้ หน่วย
งานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันทางวิชาการและองค์กร
ทางศาสนา เช่น คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
คณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัด ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล
สถาบนั มาตรฐานฮาลาลแหง่ ประเทศไทย ซง่ึ จะมบี ทบาทชดั เจน
ในการร่วมท�ำงานกบั ภาครัฐ
ในขณะท่ีบทบาทของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม โดย
กองพฒั นาอตุ สาหกรรมรายสาขา 2 จะมงุ่ เนน้ กระชบั ความรว่ ม
มอื ระหวา่ งรฐั และเอกชน ดว้ ยการรบั ฟังความคดิ เหน็ และความ
ต้องการ เพราะหมดยคุ สมยั ทีภ่ าครฐั คอื ผู้คิด แล้วให้เอกชนท�ำ
ตามอีกต่อไปแล้ว นอกจากน้ันยังต้องสร้างสรรค์ไอเดียคิดงาน
นอกกรอบ เพอ่ื ตอบสนองสงิ่ ใหมท่ จ่ี ะเกดิ ขน้ึ โดยใชง้ บประมาณ
รฐั เข้าไปสนบั สนนุ อย่างตรงจดุ
“สิ่งท่ีต้องเร่งจัดการให้เร็วท่ีสุด คือความร่วมมือในการ
ปรับปรุงกระบวนการขอรับการตรวจรับรองฮาลาลให้มีความ
สะดวกรวดเรว็ และก�ำหนดคา่ ธรรมเนยี มส�ำหรบั การตรวจรบั รอง
ที่ชดั เจน เพ่ือส่งเสริมให้ผู้ประกอบการโดยเฉพาะระดับ SMEs
หันมาให้ความสนใจในการขอรับเคร่ืองหมายฮาลาลให้มาก
9อุตสาหกรรมสาร
SMEs Focus เรื่อง : อรุษา กิตติวัฒน์
จากพ่อค้าสะพานปลาสู่ผู้ส่งออก เมย์โอฟดู้ ส์
ทัตพงศ์ คิมหันตมาลย์ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท รเพกุ ิม่ ตมลลู าคดา่ฮกาุ้งลาล
เมย์โอฟู้ดส์ จ�ำกดั ทายาทรุ่นท่ี 3 ซ่ึงเข้ามารบั ไม้ต่อจากรุ่นคณุ พ่อ
เล่าถึงความเป็นมาของธุรกิจในเครือเมย์โอ กรุ๊ป เร่ิมต้นจาก
คุณปู่เป็นคนจีนท่ีเข้ามาต้ังรกรากอยู่เมืองไทยย่านสะพานปลา
เจรญิ กรุง แหล่งซอ้ื ขายอาหารทะเลสดในอดตี ได้เร่มิ ก่อร่างสร้าง
ตัวด้วยการรับกุ้ง-ปลาทะเลแปรรูปส่งภายในประเทศเมื่อราว
40 ปีก่อน ต่อมามเี พอื่ นคุณปู่ทอ่ี ยู่ประเทศฮ่องกงแนะน�ำว่าสนใจ
ค้าขายกุ้ง-ปลาทะเลไปที่นั่นหรือไม่ กลายเป็นจุดเริ่มต้นในการ
ส่งออกสนิ ค้ากุ้งและปลาทะเลครง้ั แรกเมอ่ื 30 กว่าปีมาแล้ว โดย
มีคณุ พ่อเข้ามาเป็นหวั เร่ยี วหัวแรงส�ำคญั
“ตอนน้ันกฎระเบียบยังไม่มีอะไรมาก ใช้แค่ความไว้เนื้อ
เชื่อใจกัน แล้วขยายมาเรื่อยๆ คุณพ่อเล่าว่าสมัยก่อนท�ำท้ังปลา
ดาบเงินส่งจีน ท�ำกุ้งส่งญ่ีปุ่น ต่อมาความอุดมสมบูรณ์ในทะเล
ลดลง อุตสาหกรรมประมงค่อยๆเปล่ียนบวกกับกิจการเราค่อยๆ
เติบโต วัตถุดิบที่รับเข้าต่อวันมากข้ึน ต้องหาวัตถุดิบที่ค่อนข้าง
เสถียร ในบ้านเราคนเลี้ยงกุ้งเร่ิมมีมากข้ึน มีความช�ำนาญข้ึน
ไทยกลายเป็นผู้ส่งออกกุ้งอันดับต้นๆ เราผันตัวเองมาเร่ือยๆ
จนกลายเป็นผู้ส่งออกกุ้ง 100 เปอร์เซ็นต์เนื่องจากวัตถุดิบ
เอื้ออ�ำนวย”
ในเรื่องของมาตรฐาน สมัยแรกเร่ิมเป็นเพียงการแช่ให้แข็ง
โดยลูกค้ายอมรบั ได้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2534 เริ่มมกี ารสร้างโรงงาน
มาตรฐานขน้ึ ที่พระราม 2 ใช้ชอ่ื ว่า บรษิ ัท เมย์โอ จ�ำกดั มีการขอ
BOI ในการสง่ ออกกงุ้ ทะเลแชแ่ ขง็ ไปยงั ประเทศตา่ งๆ มกี ารควบคมุ
10 อุตสาหกรรมสาร
กระบวนการรักษาคุณภาพตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง เพ่ือการ ซึ่งสามารถเสนอให้กับลูกค้าท่ีเป็นกลุ่มค้าส่งหรือซุปเปอร์มาร์เก็ต
ยกระดบั สู่มาตรฐานการส่งออกตามท่แี ต่ละประเทศก�ำหนด จาก ที่มีความต้องการสินค้าในกลุ่มนี้อยู่แล้ว แม้ว่าส่วนใหญ่จะผลิต
ฮอ่ งกงกเ็ รมิ่ ขยายตลาดไปยงั ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ตอ่ มาเมอื่ กลมุ่ โออีเอ็ม แต่ก็มีการน�ำเสนอแบรนด์ May Brand ซึ่งเข้าไปอยู่ใน
ลูกค้าหลากหลายข้ึน ท�ำให้การผลิตยกระดับจากกุ้งสดแช่แข็ง ตลาดสหรัฐอเมรกิ ามาเกอื บสบิ ปี และเรม่ิ เข้าไปยังตลาดญป่ี ุ่น
เข้าสู่การผลิตกุ้งแปรรูปพร้อมปรุง โดยท่ีมาจากลูกค้าญี่ปุ่นท่ีมี
ความต้องการสนิ ค้ากลุ่มนเี้ ข้ามาถ่ายทอดโนว์ฮาวให้ ส�ำหรับอาหารทะเลแปรรูปพร้อมรับประทานก็มีผู้ผลิต
ยักษ์ใหญ่ในประเทศ เมย์โอฟู้ดส์มีจุดแข็งในแง่ของขนาดโรงงาน
“พอเรม่ิ แปรรูปทางญ่ปี ุ่นเห็นโรงงานเรากย็ งั ไม่ไว้ใจ คณุ พ่อ ไมใ่ หญม่ าก หอ้ งผลติ แบง่ ออกตามโซนตลาดแตล่ ะประเทศ ดงั นน้ั
เลยมาซอื้ โรงงานทน่ี คิ มอตุ สาหรรมบางปู พนื้ ท่เี กอื บ 14 ไร่ เดิม ความหลากหลายของสินค้าท่ีสามารถตอบสนองตลาดเฉพาะท่ีมี
เป็นโรงงานของญ่ีปุ่นท่ีท�ำด้านอาหารทะเลมาก่อน พอเรามา ความต้องการแตกต่างกนั ไปจึงมมี ากกว่า
เทคโอเวอร์โรงงานก็เป็นการโปรโมทตัวเองในประเทศญ่ีปุ่นไป
ในตัว เพราะญ่ีปุ่นต่อญ่ปี ุ่นเขาค่อนข้างมคี อนเนคช่นั กัน พอข่าว “บางโรงงานอาจจะท�ำสินค้าตอบสนองตลาดน้ีได้สมบูรณ์
กระจายไปกม็ ลี ูกค้าจากญป่ี ุ่นเข้ามา” แบบ แตไ่ ปอ่อนตลาดอนื่ เนอ่ื งจากของเราขนาดเลก็ ท�ำใหเ้ ราเข้า
ไดท้ กุ ตลาด แขง่ กบั คนอน่ื ไดห้ มด อยากไดอ้ ะไร เราจดั ใหไ้ ด้ เพยี ง
หลงั จากลงทนุ เขา้ เทคโอเวอรโ์ รงงานญป่ี นุ่ กม็ กี ารปรบั ใหเ้ ปน็ แต่ปรมิ าณเราน้อย”
ฐานผลติ อาหารในกลมุ่ แปรรปู ทไี่ ดม้ าตรฐานเพอื่ รองรบั ตลาดกลมุ่
ญีป่ ุ่นและยโุ รป ในปี พ.ศ. 2538 ภายใต้ชื่อ บริษทั เมย์โอฟู้ดส์
จ�ำกดั โดยบริษัทแม่ทีพ่ ระราม 2 ยงั คงผลติ สินค้ากลุ่มกุ้งแช่แขง็
เป็นจุดรบั วตั ถดุ บิ กุ้งสด ตรวจสอบคุณภาพ ลอกเปลือก แช่แข็ง
ส่งมาท่ี เมย์โอฟู้ดส์ บางปู เพือ่ ผลติ สินค้าแปรรูปทม่ี มี ลู ค่าเพ่มิ ขนึ้
May Brand สร้างช่ือในอมริกา-ญี่ปุ่น
หลงั จากขยายฐานการผลติ ไมน่ าน ประเทศไทยกเ็ ผชญิ วกิ ฤต
เศรษฐกจิ ตม้ ย�ำกงุ้ ในปี พ.ศ. 2540 มกี ารลอยตวั คา่ เงนิ บาท ท�ำให้
ส่งผลกระทบต่อเมย์โอฟู้ดส์ ซ่ึงกู้เงินดอลลาร์มาลงทุน ในขณะ
เดยี วกนั วกิ ฤตกม็ าพรอ้ มโอกาส เนอื่ งจากมงุ่ ตลาดสง่ ออกเปน็ หลกั
ท�ำใหไ้ ดป้ ระโยชนจ์ ากสว่ นตา่ งคา่ เงนิ ทเ่ี พมิ่ ขน้ึ จงึ ประคบั ประคอง
ธุรกิจให้ผ่านวกิ ฤตมาได้
“หลงั จากส่งออก กุ้งชบุ แป้ง เบอร์เกอร์กุ้ง ไปญ่ปี ุ่น คณุ พ่อ
เรม่ิ มคี วามคดิ ตอ่ ยอดโนวฮ์ าวท�ำเปน็ สนิ คา้ ของเรา ลองปรบั รสชาติ
ให้เข้ากบั คนไทย ขายในประเทศ และเอาสนิ ค้าพวกน้ไี ปน�ำเสนอ
ให้ทางตลาดอียู เลยเป็นจุดเริ่มต้นในการขยายส่วนที่เป็นสินค้า
ประเภทอาหารเพ่ิมมูลค่าข้ึนมา ญี่ปุ่นจะไม่ค่อยเรียกร้องการ
รบั รองตา่ งๆ แต่จะเขา้ มาดโู รงงานดว้ ยตวั เอง ส่วนอยี ตู ้องการการ
รบั รองอย่าง BRC, HACCP เรากเ็ ข้าสู่มาตรฐานเหล่าน้ี เราโตตาม
ตลาด ตลาดโตเรากโ็ ตตาม เขาอยากไดอ้ ะไรเรากท็ �ำสง่ ไปประเทศ
น้ัน เราไม่ได้เป็นผู้น�ำในตลาดแต่ก็ไม่ได้ถูกท้ิงท้าย เกาะกลุ่มไป
เรือ่ ยๆ”
ในกลมุ่ กงุ้ แชแ่ ขง็ ซง่ึ เปน็ สนิ คา้ Commodity ความตอ้ งการของ
ตลาดโลกก็มีมากกว่าความสามารถในการผลิตภายในประเทศ
อยแู่ ลว้ คแู่ ขง่ จงึ เปน็ ผปู้ ระกอบการตา่ งประเทศ อนิ เดยี อนิ โดนเี ซยี
เวียดนาม และเอกวาดอร์ ท่ีได้เปรียบทั้งค่าแรง สิทธิพิเศษทาง
ภาษี ท�ำให้ต้นทนุ ต�ำ่ กว่า ขณะทีจ่ ุดเด่นของประเทศไทยเป็นเร่อื ง
คณุ ภาพสนิ คา้ ซงึ่ เมยโ์ อกรปุ๊ มองถงึ การยกระดบั หนกี ารแขง่ ขนั ไป
สู่กลุ่มสินค้าท่มี มี ูลค่าเพม่ิ ขึ้น คอื กลุ่มกุ้งแช่แขง็ พร้อมรบั ประทาน
11อุตสาหกรรมสาร
ขยายโอกาสตลาดฮาลาลทั่วโลก บวกกับการบริโภคกุ้งแปรรูปภายในประเทศก็มีมากข้ึน มีการ
ก่อต้ังบริษัท ซี-เทค อินเตอร์เทรด จ�ำกัด เข้ามาดูแลตลาดใน
หลังจากสินค้าอาหารแปรรูปแช่แข็งเริ่มประสบความส�ำเร็จ ประเทศ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2546 เริ่มจากอาหารทะเลแช่แข็งและ
มีตลาด สหรัฐอเมรกิ า ยุโรป ญีป่ ุ่น ออสเตรเลยี รวมถงึ สิงคโปร์ แปรรปู แชแ่ ขง็ กอ่ นจะขยายไปยงั อาหารประเภทแปรรปู พรอ้ มปรงุ
ผู้บริหารเมย์โอกรุ๊ป เล็งเห็นว่ามีกลุ่มทางตะวันออกกลางซึ่งเป็น และพร้อมรับประทาน ตอบสนองต่อวิถีชีวิตสมัยใหม่ท่ีเร่งรีบ
กลุ่มที่มีฐานะและมีก�ำลังซ้ืออยู่ เป็นจุดเร่ิมต้นเข้าสู่การรับรอง ต้องการความสะดวกสบายภายใต้แบรนด์ Loma Chef
มาตรฐานฮาลาล โดยปรับกระบวนการผลิตบางส่วน คัดเลือก
วตั ถดุ บิ ทใี่ ชป้ ระกอบอาหาร เลอื กซพั พลายเออรท์ ไ่ี ดร้ บั การรบั รอง “เราไปหาขอ้ มลู จากมสั ยดิ กอ่ น ทง้ั ประเทศมมี สั ยดิ ประมาณ
ฮาลาล เนื่องจากพ้ืนฐานของกุ้งค่อนข้างเป็นฮาลาลด้วยตัวเอง สามพันแห่ง หนึ่งในสามอยู่ในกรุงเทพฯ มีเขตท่ีหนาแน่นอย่าง
อยู่แล้ว จึงไม่เป็นอุปสรรคมาก หลังจากนั้นก็เข้าร่วมกับกรมส่ง ทุ่งครุ บางกะปิ มีนบุรี เรมิ่ เข้าไปเปิดตวั แนะน�ำว่าสนิ ค้าเราได้
เ ส ริ ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม ใ น ก ลุ ่ ม อ า ห า ร ฮ า ล า ล เ พื่ อ เ จ า ะ ก ลุ ่ ม รับรองตราฮาลาล ออกงาน เป็นสปอนเซอร์ให้กลุ่มอิสลามกลาง
ตะวันออกกลาง บ้าง จากศนู ย์กเ็ ร่ิมมีตลาดเกดิ ข้ึน เราได้ส่งเข้าครวั การบนิ ภเู กต็
สายการบินอาหรบั เอมเิ รต เรมิ่ ขยายตลาดกลุ่มฮาลาลมาเร่อื ยๆ
“ตอนแรกที่ไปกับกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เราไปดูตลาด จนเดือนมกราคมท่ีผ่านมาต้ังศูนย์กระจายสินค้าในภาคใต้ เป็น
ดูไบ ก็ดูในซุปเปอร์มาร์เก็ตว่าสินค้าเขามีอะไรบ้าง ที่ชัดเจนคือ โมเดลเริ่มต้นเพื่อทดลองตลาดว่าจะส�ำเร็จแค่ไหนแล้วค่อยไป
กลมุ่ ประเภทชบุ แปง้ มี ปลาชบุ แปง้ ปลาหมกึ ชบุ แปง้ แตก่ งุ้ ชบุ แปง้ ขยายภาคอน่ื ต่อ”
ยังน้อย ไปประเทศไหนเรากจ็ ะไปศกึ ษาประเทศนน้ั ว่าเขาบรโิ ภค
ยงั ไง เอาโปรดกั ส์ที่มีไปให้หมด ดวู ่าลูกค้าจะสอบถามสนิ ค้าไหน ทิศทางในอนาคต เมย์โอกรุ๊ป มุ่งผลกั ดนั ในส่วนของสนิ ค้า
เป็นหลัก แล้วค่อยๆโฟกัสว่าประเทศน้ีชอบแบบน้ี อย่างยุโรป กลมุ่ พรอ้ มรบั ประทานมากขน้ึ โดยเรม่ิ จากเมนไู ทยๆทต่ี า่ งประเทศ
ไม่ค่อยสนใจกุ้งดิบ พอจับทางได้ว่าชอบชุบแป้ง ก็เสนอชุบแปง้ รู้จักเป็นอย่างดี เช่น ต้มย�ำกุ้ง เขยี วหวานกุ้ง กระเพรากุ้ง ฯลฯ
กอ่ น แลว้ มอี ะไรมากค็ อ่ ยๆน�ำเสนอเพมิ่ ไป กม็ กี ารตอบรบั มา” ซ่งึ โดยวตั ถุดิบกุ้งมีความเป็นพรเี มียมอยู่แล้ว เพยี งแต่ท�ำอย่างไร
ให้คงความเป็นพรเี มียมและเพม่ิ มลู ค่าไปได้อกี
หลงั จากทมี่ งุ่ ตลาดไปไดร้ ะยะหนง่ึ ภาครฐั กม็ กี ารผลกั ดนั ให้
ประเทศไทยเป็น ฮาลาลฮบั ในภมู ภิ าคอาเซยี น เมย์โอกรุ๊ปจงึ เข้า จากกจิ การครอบครวั เลก็ ๆ คอ่ ยๆเตบิ โตจนกระทง่ั มพี นกั งาน
ร่วมกบั หน่วยงานต่างๆ อย่างเช่น ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ฮาลาล เพอื่ ในเครอื กวา่ 2 พนั ชวี ติ ในปจั จบุ นั หลกั ในการด�ำเนนิ ธรุ กจิ ทยี่ ดึ ถอื
มงุ่ เจาะตลาดฮาลาลจรงิ จงั ขนึ้ นอกจากนย้ี งั เพมิ่ บคุ ลากรฝา่ ยการ และสง่ ตอ่ จากรนุ่ สรู่ นุ่ นอกจากการดแู ลพนกั งานเสมอื นเปน็ คนใน
ตลาดในระดบั บรหิ ารทเ่ี ป็นคนมสุ ลมิ ซงึ่ นอกจากสามารถสอื่ สาร ครอบครวั ทตั พงศบ์ อกวา่ ยงั มอี กี 3 ขอ้ หลกั ทที่ �ำใหเ้ มยโ์ อกรปุ๊ กา้ ว
ด้วยภาษาอาหรบั ยงั เข้าใจธรรมชาตขิ องคนมสุ ลมิ ด้วยกนั ซงึ่ น�ำ มาถงึ วนั นี้ได้
ไปสกู่ ารมองภาพรวมตลาดฮาลาล ยงั มกี ลมุ่ มสุ ลมิ ทอี่ ยใู่ นประเทศ
ต่างๆ ทวั่ โลก อย่างเช่น รสั เซยี ยโุ รป เอเชยี ทต่ี ดิ กับตรุ กี ประเทศ “สง่ิ ทคี่ ณุ พอ่ สอนผม อยา่ งแรกไมเ่ อาเปรยี บใคร ขอ้ สองอยา่
จีนทีต่ ดิ ทเิ บตและอนิ เดีย แอฟริกาใต้บางประเทศ อย่าง ไนจเี รีย กลวั ท่จี ะขาดทนุ ถ้ากลวั ธรุ กจิ กไ็ ม่เกดิ ขาดทนุ แล้วเดนิ หน้าไป
รวมถึง สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ซึ่งทัตพงศ์บอกว่าคล้ายกับเค้ก เร่ือยๆ จะมีโอกาสก�ำไรเข้ามาเอง แต่ถ้าขาดทุนแล้วไม่กล้าท�ำ
ทีย่ ังไม่มใี ครไปจบั ต้อง นั่นคือจบ และข้อสุดท้าย ไม่ต้องเป็นที่หนึ่ง ไม่ต้องเป็นผู้น�ำ
ตามไปเรอ่ื ยๆ เกาะเกมให้อยู่กพ็ อแล้ว”
“มปี ระชากรมสุ ลิม 1 ใน 3 ของประชากรทง้ั โลก เป็นตลาด บริษทั เมยโ์ อ กรุ๊ป จำ� กดั
ใหญ่มาก เราหาว่าโลจิสติกส์ตรงไหนเป็นฮาลาล ก็ค่อยๆเจาะ 568 หมู่ 2 ซอย 1C/1 นคิ มอุตสาหกรรมบางปู
เขา้ ไป เรม่ิ สรา้ งสมั พนั ธภาพกอ่ น คนมสุ ลมิ จะมคี วามเปน็ ศาสนา ถนนสุขมุ วิท ต.บางปใู หม่ อ.เมอื ง จ.สมุทรปราการ 10280
เน้นคอนเนคชน่ั เป็นส่วนใหญ่ ต้องรู้จกั คยุ กันได้ในระดบั หน่งึ ถึง โทร. 0 2709 4258 - 60
จะยอมซ้ือขาย เพราะความเชอ่ื ใจเป็นหลกั บางรายเราตดิ ต่อกัน www.mayaogroup.com, www.seatech.co.th
เปน็ ปถี งึ จะเรม่ิ ซอ้ื ขายกนั อยา่ งผมไปญป่ี นุ่ กม็ มี สุ ลมิ มกี ลมุ่ ชมุ ชน
เล็กๆ ซ่งึ เขาจะซ้ือกับคนในพน้ื ทเ่ี ป็นซูปเปอร์มาร์เกต็ เล็กๆท่ไี ว้ใจ
กัน ถึงจะเล็กๆแต่หลากหลาย ผมมองว่ามีโอกาสเติบโตสูงมาก
กลมุ่ มสุ ลมิ เรอื่ งราคาเขาไมค่ อ่ ยมปี ญั หามาก ถา้ เขามนั่ ใจวา่ ทานได้
ตรงตามบญั ญัตขิ องเขา เขาพร้อมซ้ือ มีก�ำลังจ่าย ขอให้ถกู ต้อง
ตามหลักการ “
บุกตลาดฮาลาลผ่านสายการบิน
จากเดิมที่มุ่งไปยังตลาดส่งออกเป็นหลัก การท่ีมีฝ่าย
การตลาดเปน็ คนมสุ ลมิ ท�ำใหม้ องกลบั มายงั ตลาดภายในประเทศ
12 อุตสาหกรรมสาร
Insight SMEs เรื่อง : อรุษา กิตติวัฒน์
เรบนงั เขนม็ กจับฮตอ่ลางดเฮตาล้ าล
ตีค่าตลาดรังนกดุจอัญมณี โดยมีการสัมปทานจากภาครัฐ ต่อมาเกิดการสร้างสภาพ
แวดล้อมทเี่ หมาะสมในอาคารใหน้ กเขา้ มาท�ำรงั เรยี กวา่ รงั นก
ทรงฤทธิ์ อมรวิกัยกุล ผู้อ�ำนวยการบริหาร ห้างหุ้นส่วน บ้าน หรอื รังนกคอนโด
จ�ำกดั พรมฆั วาน อนิ เตอร์เทรด ผู้ผลติ และจ�ำหน่ายผลิตภณั ฑ์
รังนกแบรนด์ ฮ่องเต้ เคยอยู่ในสายงานการค้าอัญมณีมากว่า ในมุมมองแพทย์แผนจีน รังนก ได้รับการยกย่องว่าเป็น
25 ปี หลังจากมองเห็นการเปลี่ยนแปลงความนิยมของตลาด อาหารบ�ำรุงสุขภาพชั้นดี มีฤทธ์ิกลางๆค่อนไปทางเย็น มี
อัญมณีถูกแทนท่ีด้วยปัจจัยอื่นๆ อย่าง มือถือ รถยนต์ หรือ สรรพคณุ ทงั้ บ�ำรงุ พลงั และขบั ระบายความรอ้ น เสรมิ ภมู คิ ้มุ กนั
แม้แต่การลงทุนในหลักทรัพย์ เป็นเหตุผลในการตัดสินใจก้าว สร้างสมดุล เป็นการบ�ำรุงสุขภาพจากภายใน ก่อนจะให้ผล
ออกมามองหาธุรกิจอื่น ท่ีสุดก็มาลงตัวที่ “รังนก” ซึ่งถือเป็น สู่ภายนอก ปัจจบุ ันนกั วทิ ยาศาสตร์ในหลายประเทศได้ท�ำการ
อัญมณีแห่งอาหาร ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับประโยชน์ของรังนก มีผลงานวิจัยตีพิมพ์
มากมาย จากการศึกษาพบว่า ในรังนก มีสารคล้ายคลึงกับ
รงั นกเปน็ ทร่ี จู้ กั ในฐานะอาหารบ�ำรงุ สขุ ภาพทเ่ี ปย่ี มไปดว้ ย Epidermal growth factor (EGF) ซงึ่ ช่วยกระตุ้นการแบ่งตัวของ
คณุ คา่ ทางโภชนาการ แหลง่ ทรพั ยากรรงั นกอยใู่ นภมู ภิ าคเอเชยี เซลล์ช้ันนอกสุด และเยื่อบุต่างๆ ไกลโคโปรตีนในรังนก ช่วย
ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ซงึ่ หากเทยี บกบั ประเทศอนื่ ๆ ทมี่ กี ารสง่ ออก เพ่ิมภูมิคุ้มกนั ให้กบั ร่างกาย เก่ยี วข้องกับการท�ำงานของระบบ
รงั นก อย่าง มาเลเซยี อินโดนเี ซีย ฟิลิปปินส์ ประเทศไทยถือ สมอง นอกจากนย้ี ังอุดมไปด้วย กรดอะมโิ น เซอรีน ทรโี อนนี
เปน็ แหลง่ รงั นกทไี่ ดร้ บั การยอมรบั ในคณุ ภาพมากทส่ี ดุ ในอดตี และโปรลีน ยังมีการค้นพบกลไกการเสริมภูมิคุ้มกันของรังนก
ได้การเก็บรังนกตามถ้�ำธรรมชาติตามเกาะต่างๆทางภาคใต้ พบว่ามฤี ทธิ์ยับยั้งการตดิ เชอ้ื ไวรัส โปรตีน
13อุตสาหกรรมสาร
“ตลาดจีนเป็นตลาดที่ความนิยมบริโภครังนกสูงมาก ปรงุ ส�ำเร็จเข้าไปส่วนหนง่ึ ส่วนไหนท่ไี ม่ใช่กป็ ล่อยไปตามระบบ
คนจีนมาถงึ เมืองไทย ส่ิงหนึง่ ทจ่ี ะซ้อื เป็นของฝากกลับบ้านก็คือ ของโรงงานเขา เพยี งแต่คมุ คณุ ภาพให้ได้ ส�ำหรบั ผมมิตรภาพ
รังนก ทง้ั แปรรูปท้งั รงั นกดบิ ผมถึงเข้าสู่ธรุ กจิ น”้ี ส�ำคญั ทสี่ ดุ ตอ้ งไวเ้ นอ้ื เชอื่ ใจกนั โชคดที ผ่ี มมาเจอโรงงานสดุ ทา้ ย
ท่ีมมี ิตรภาพ มคี วามเชอ่ื ใจอยู่ในระดับสงู มาก”
พบแนวทางใหม่ในการบริหารธุรกิจ
“มุมมองของผม เราสามารถบริหารทั้งการผลิตและการ
หลงั จากกา้ วเขา้ สธู่ รุ กจิ รงั นก ทรงฤทธไ์ิ ดเ้ ขา้ รว่ มการอบรม ตลาดไปด้วยกันได้ ผมบริหารจัดการด้านผลิตให้สอดคล้อง
ในโครงการเสรมิ สร้างผปู้ ระกอบการใหม่(NEC) จากกรมส่งเสรมิ เพียงพอต่อการจัดจ�ำหน่าย ช่วงหน่ึงเดือนจ�ำหน่ายได้เท่าไหร่
อตุ สาหกรรม ท�ำให้ได้องคค์ วามรพู้ น้ื ฐานไปปรบั แนวทางในการ เผื่อสต๊อกไว้ 2-3 เปอร์เซ็นต์ ถ้าไม่พอก็ท�ำการผลิตมารองรับ
ท�ำงาน รวมถงึ โลกทศั นใ์ นการคดิ สามารถมองอะไรไดค้ รอบคลมุ ท�ำให้สามารถเน้นความใหม่และสดอยู่เสมอ ในช่วงเวลาของ
และลกึ ซง้ึ มากขนึ้ รวมถงึ เขา้ รว่ มโครงการพฒั นาผปู้ ระกอบการ การผลติ เรากอ็ ยตู่ รงนน้ั เมอ่ื เสรจ็ สน้ิ การผลติ แลว้ เรากส็ ามารถ
ธรุ กจิ อตุ สาหกรรม(คพอ.) ท�ำใหไ้ ดอ้ งคค์ วามรแู้ ละเครอื ขา่ ยธรุ กจิ ไปมุ่งหาวัตถุดิบที่มีคุณภาพ หาจุดแข็งในด้านอ่ืนเสริมสร้าง
กลายเป็นแนวทางในการสร้างธรุ กจิ รงั นกฮ่องเต้ ศักยภาพจดุ แขง็ ด้านการตลาดของเรา”
“ผมน�ำองค์ความรู้ต่างๆ ไปเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกับ การเดินทางเสาะหาแหล่งวัตถุดิบ ได้เห็นการท�ำรังของ
คลัสเตอร์ต่างๆครบวงจร ทั้งคลัสเตอร์วัตถุดิบและการผลิต นกนางแอน่ ทค่ี อ่ ยๆสรา้ งรงั จากนำ้� ลายจนกลายเปน็ รงั นกทที่ รง
แปรรปู มกี ารบรหิ ารจดั การในแนวทางของคลสั เตอร์ ในการผลติ คุณค่า ท�ำให้ทรงฤทธิ์เกิดความเช่ือม่ันมากข้ึนในธุรกิจนี้
ผมไม่ก่อต้งั โรงงานของตวั เองอย่างสมบูรณ์แบบ แต่มองถงึ การ มองเห็นทิศทางท่ีจะเดินไป นอกจากนี้ยังสร้างจุดแข็งในฐานะ
เชื่อมโยงกับเพื่อนผู้ประกอบการท่ีมีโรงงานผลิตเคร่ืองด่ืมหรือ นกั ค้ารงั นกท่มี คี วามเชย่ี วชาญในวตั ถุดิบนี้เป็นอย่างดี
อาหารกระป๋องอยู่แล้ว ไปศึกษาว่าเครอื่ งไม้เครื่องมือทเี่ ขามอี ยู่
จะปรบั ใชก้ บั การผลติ ของเราอยา่ งไร การเชา่ โรงงานท�ำใหผ้ มลด “ผมเดินทางมาท่วั ประเทศเกอื บ 70 จงั หวัดแล้ว ได้ไปเหน็
ส่วนของฟิกซ์คอสไป โรงงานขนาดเลก็ ลงทุนต�่ำๆก็สิบล้านแล้ว แหลง่ ผลติ รงั นก ไปท�ำความรจู้ กั กนั สรา้ งมติ รภาพ สรา้ งเครอื ขา่ ย
ปัญหาเรื่องเคร่ืองจักร เรื่องแรงงาน มีแน่นอน ผมไม่ต้องไป ร่วมถึงสร้างความไว้เน้ือเชื่อใจ ระหว่างเจ้าของวัตถุดิบกับเรา
หนักใจกับปัญหาพวกนี้ ท่ีต้องลงทุนเป็นในเรื่องของมาตรฐาน ผมท�ำครบวงจร ตง้ั แตจ่ ดั จ�ำหนา่ ยวตั ถดุ บิ มกี ารแปรรปู เปน็ รงั นก
กฎระเบยี บต่างๆ เรือ่ งค่าขนส่งท่เี พิ่มข้นึ มานดิ หน่อย ส่วนเพอ่ื น เข้มข้น”
เจ้าของโรงงานก็ได้เติมเต็มก�ำลังผลิตท่ีเหลืออยู่ จากการท�ำ
แบบนี้ผมมสี ่วนต่างก�ำไรเพม่ิ ขึน้ 7-10 เปอร์เซน็ ต์ เทยี บกับการ แมว้ า่ ในตลาดรงั นกบรรจขุ วดจะมยี กั ษใ์ หญส่ ามแบรนดด์ งั
ลงทุนเอง ผมใช้แนวทางนี้มาหลายปีแล้ว และประสบความ ครอบครองตลาดอยู่ ท�ำใหแ้ บรนดเ์ ลก็ ๆ อยา่ ง รงั นกฮอ่ งเต้ แทรก
ส�ำเรจ็ ” เขา้ สตู่ ลาดไดย้ าก ในชว่ งแรกทรงฤทธเิ์ นน้ การเปดิ ใหท้ ดลองชมิ
ตัวอย่างสินค้า ซึ่งเทียบกับการทุ่มงบโฆษณา การเปิดชิม
ในด้านของลูกค้าทรงฤทธ์ิบอกว่าอยู่ท่ีการสร้างความ สามารถเห็นผลได้ทันที และร้อยละ 70 ที่ได้ชิมเกิดการซ้ือ
เช่ือม่ัน ว่าโรงงานมีมาตรฐานระดับใด ซึ่งนอกจากโรงงานมี เป็นการมุ่งส่ือสารถึงกลุ่มผู้บรโิ ภคโดยตรง
มาตรฐานตา่ งๆ ในการผลติ อยแู่ ลว้ มกี ารท�ำตามกฎระเบยี บของ
อย. อย่างเคร่งครัด สร้างระบบมาตรฐานที่สามารถใช้อ้างอิง
ตรวจสอบย้อนกลับได้ ส่วนการท่ีโรงงานผลิตจะรู้โนฮาวและ
กลายมาเป็นค่แู ข่งเสยี เองหรอื ไม่ ทรงฤทธยิ์ อมรบั วา่ ในอดตี เคย
เกิดขึน้ ท�ำให้ตดั สินใจแยกตวั ออกมาท�ำเอง
“ในอดีตผมเคยมีหุ้นส่วนซึ่งเอาโนว์ฮาวไปขายโรงงาน
ตอนนี้ขั้นตอนท่ีเป็นหัวใจหรือโนว์ฮาวพิเศษเราจะกุมไว้ โดย
14 อตุ สาหกรรมสาร
“ผู้บริโภคเดี๋ยวนี้ได้เปลี่ยนแนวความคิดว่าสินค้าคุณภาพ “ผมมุ่งไปที่ตลาด CLMV และ จีนซึ่งรวมถึงฮ่องกงและ
ดไี ม่จ�ำเป็นต้องแบรนด์ดงั แต่เราต้องเข้าให้ถึง หม่นั ออกตลาด ไตห้ วนั ดว้ ย สองตลาดนม้ี กี ารบรโิ ภครงั นกสงู อยแู่ ลว้ ผมไปออก
ใหม่ๆ อาจจะหนักหน่อย แต่หลังๆ สนิ ค้าก็เรมิ่ เดินด้วยตัวของ บูธหลายๆแห่งพบว่า ชาวจนี ไต้หวัน ฮ่องกง ซง่ึ เป็นผู้บรโิ ภค
มันเองได้แล้ว” รังนกระดับไฮคลาส มีทัศนคติท่ีดีกับสินค้าประเภทรังนกจาก
ประเทศไทย เนื่องจากเนื้อรังนกเราเส้นเล็กและเหนียวนุ่ม
เปิดตัวรังนกพร้อมดื่มรุกตลาดคนรุ่นใหม่ ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตรังนกที่มีคุณภาพดีที่สุดในอาเซียน
ระหว่างห้าชาตทิ ่สี ่งไปมี มาเลเซีย อนิ โดนเี ซยี ฟิลิปปินส์ ไทย
กลุ่มเป้าหมายท่ีบริโภครังนกเข้มข้น นอกจาก ผู้สูงอายุ และ เวยี ดนาม เขาจะเลอื กสนิ ค้ารังนกจากประเทศไทยก่อน
ผู้ป่วย เด็ก กลุ่มท่ีฟื้นฟูสมรรถนะร่างกาย ทรงฤทธ์ิมองว่าใน
ปัจจุบันยงั มกี ลุ่มอ่นื ท่ีเป็นโอกาส อย่างกลุ่มคนท�ำงาน กลุ่มคน แนวโน้มชาวญี่ปุ่นหันมาบริโภครังนกมากขึ้น เนื่องจากมี
รกั สขุ ภาพ กล่มุ คนเลน่ กฬี า และคนรนุ่ ใหม่ ซงึ่ ในการผลติ รงั นก การวจิ ยั เชอ่ื วา่ รงั นกเปน็ โภชนบ�ำบดั ท�ำใหผ้ มกลบั มามองวา่ เนอื้
เขม้ ขน้ มนี ำ้� ตม้ รงั นกจากการผลติ ทส่ี ญู เปลา่ ขณะทก่ี น้ หมอ้ ตม้ รังนกยังสามารถแปรรูปไปได้อกี หลากหลาย เพราะมีสรรพคณุ
ก็มีเน้ือรังนกหลงเหลอื ซึ่งมีคณุ ค่าทางโภชนาการอยู่ จึงเปล่ยี น เป็นโภชนบ�ำบัดและธรรมชาติบ�ำบัด เข้ากับเทรนด์สุขภาพได้
รูปแบบลักษณะของการบริโภคให้เป็นรังนกพร้อมด่ืม โดยเพิ่ม ผมมองทง้ั อาหารคาว เครอื่ งส�ำอาง หรอื ผสมกบั พชื ทเ่ี ปน็ โภชนา
เนอื้ รงั นกลงไปดว้ ย ใหเ้ ปน็ เครอื่ งดม่ื เพอื่ สขุ ภาพทม่ี รี สชาตอิ รอ่ ย บ�ำบดั ทม่ี ใี นทอ้ งถน่ิ กลายเปน็ เครอื่ งดม่ื ตวั ใหม่ โดยไปจบั มอื กบั
ให้ประโยชน์ ในราคาทบ่ี ริโภคได้ทุกวัน เพื่อนๆ ตอนน้กี ก็ �ำลังวิจยั อยู่หลายตวั ”
“เราออกเป็นรูปแบบน้�ำรังนกกระป๋องพร้อมด่ืม 250 ในการเขา้ รว่ มโครงการพฒั นาศกั ยภาพและสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ
มลิ ลลิ ติ ร ในปี 2547 ปรากฏวา่ โดนตลาด จ�ำหนา่ ยไดเ้ ปน็ ตวั เลข อตุ สาหกรรมอาหารฮาลาล ของสว่ นพฒั นาอตุ สาหกรรมอาหาร
ท่ีน่าพึงพอใจ พอท�ำตลาดไปได้สัก 3 ปี ผมเกิดความคิดว่า กองพฒั นาอตุ สาหกรรมรายสาขา 2 กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม
กระป๋องมีจุดอ่อนอยู่ หากลูกค้าส่ังไปแล้วเกิดตกค้างท่ี ทรงฤทธ์ิมองว่าเป็นโอกาสท่ีสามารถสร้างเครือข่ายทางการค้า
จุดจ�ำหน่ายนาน สารที่เคลือบกระป๋องเสื่อมจะท�ำให้มีผลต่อ และสรรหาเพ่ือนเครือข่ายที่เป็นโลกมุสลิมด้วยกัน สร้างเป็น
รสชาติ กระป๋องยงั ท�ำให้ดเู ป็นสนิ ค้าแมส ผมเลยเปล่ยี นมาเป็น คลัสเตอร์การค้าเพื่อน�ำสินค้าเข้าสู่ตลาดฮาลาลในทุกภูมิภาค
ขวดแก้ว เพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิม แม้มีต้นทุนท่ีเพ่ิมข้ึน แต่เรา ของโลก
สามารถเรยี กราคาได้ ระหวา่ งขวดแกว้ กบั กระปอ๋ ง ถา้ วางอยใู่ น
ท้องตลาด คนจะหยบิ ขวดแก้วก่อน” “ผมมองต่อไปในอนาคตอันใกล้จะเป็นกลุ่มตลาดท่ีใหญ่
มาก เน่ืองจากประชากรท่ีเป็นผู้บริโภคฮาลาล เฉพาะในกลุ่ม
สร้างโมเดลขยายตลาดสู่ CLMV อาเซียน ก็ 300 กว่าล้านคนแล้ว พอเรามองข้ามไป บงั คลาเทศ
อนิ เดีย ปากสี ถาน ตะวันออกกลาง รวมไปถึงเอเชียกลาง ทาง
ทรงฤทธ์ิยังมีแผนขยายโมเดลธุรกิจในเร่ืองของการสร้าง ตะวันตกของจีน ก็มีชาวมุสลิมอยู่เกือบ 200 ล้าน และไม่ใช่
คลัสเตอร์ครบวงจรไปยงั ตลาดเพอ่ื นบ้าน โดยขนส่งเข้าไปก่อน เฉพาะแค่อาหารและเคร่ืองด่ืมแล้ว ต่อไปสินค้าทุกประเภทจะ
ถ้าตลาดในประเทศน้ันไปได้ดี ก็จะเช่ือมโยงกับโรงงานใน ตอ้ งเข้าส่วู ถิ ฮี าลาล ผมมองวา่ ประเทศไทยเรามจี ดุ แขง็ คอื เรามี
ประเทศน้ันให้เป็นผู้ผลิต ซึ่งจะได้เปรียบในเรื่องสถานที่และ คณะกรรมการกลางอิสลาม มีศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล ที่ยก
แรงงานท่มี ีค่าแรงต�่ำกว่าบ้านเรา ระดับมาตรฐานฮาลาล ทางกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมยังเห็น
ความส�ำคัญเข้ามาสนับสนุนผู้ประกอบการในเรื่องน้ีด้วย
ถ้าสามารถดึงศักยภาพของผู้ประกอบการบวกกับความท่ีเป็น
ผู้เชย่ี วชาญฮาลาลมาได้ จะเปน็ จดุ แขง็ ในการพาเราเขา้ สกู่ ารเปน็
ฮาลาลฮบั ได”้
หจก. พรมัฆวาน อนิ เตอรเ์ ทรด
1367 ถนนพระราม 2 ซอย 43
แขวงบางมด เขตจอมทอง กรงุ เทพฯ 10150
โทร. 0 2451 8448 www.hong-teh.com
15อุตสาหกรรมสาร
Report เรื่อง : วรรณวิจักขณ์
รลู้ ึกตลาดอาหารฮาลาล AEC
“ผู้นับถือศาสนาอิสลาม” เป็นหน่ึงในเชื้อชาติที่ใหญ่ ซึ่งหากพิจารณาจากจ�ำนวนผู้ซื้อหรือจ�ำนวน
ท่ีสุดและก�ำลังเติบโตรวดเร็วที่สุดในโลก โดยจ�ำนวน ประชากรทน่ี บั ถอื ศาสนาอสิ ลามพบวา่ “อนิ โดนเี ซยี ” เปน็
ประชากรมุสลิมมีมากถึง 1.8 พันล้านคน หรือคิดเป็น ตลาดทนี่ า่ สนใจทสี่ ดุ ใน AEC เนอ่ื งจากประชากรมากกวา่
ร้อยละ 23 ของประชากรโลก และคาดว่าจะเพิ่มข้ึนเป็น รอ้ ยละ 80 ของประเทศ หรอื ประมาณ 200 ลา้ นคนนบั ถอื
1.9 พันล้านคน หรือร้อยละ 25 ในปี 2563 และ 2.2 ศาสนาอสิ ลาม แตห่ ากพจิ ารณาชอ่ งทางในการขยายฐาน
พันล้านคนหรือร้อยละ 26.4 ในปี 2573 (PeW การค้าไปยังกลุ่มผู้บริโภคที่มีศักยภาพท้ังที่เป็นประเทศ
Research, HDC and Emst & Young Analysis, มุสลิม และ/หรือประเทศท่ีไม่ใช่ประเทศมุสลิม พบว่า
2014) จ�ำนวนประชากรมุสลิมท่ีเพ่ิมข้ึน ท�ำให้ความ “สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร”์ เปน็ ตลาดทนี่ า่ สนใจ
ต้องการอาหารฮาลาลเพิ่มขึ้น ซ่ึงปัจจุบันตลาดอาหาร ที่สดุ ใน AEC เน่ืองจากท่ตี ง้ั ของเมียนมาร์เชอ่ื มโยงต่อกบั
ฮาลาลมกี ารเตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ มากกวา่ ในยคุ ทผ่ี า่ นมา 5 ประเทศ ได้แก่ จีน อนิ เดยี บงั คลาเทศ ลาว และไทย
เห็นได้จากมูลค่าการค้าของอาหารฮาลาลโลกต่อปี โดยเฉพาะจนี และอนิ เดยี ทกี่ �ำลงั เปน็ ตลาดฮาลาลเกดิ ใหม่
เฉล่ียอยู่ท่ีประมาณ 650 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มีมูลค่าการค้าสินค้าอาหารฮาลาลที่เพ่ิมขึ้นอย่างก้าว
(World Halal Forum, 2011) นอกจากนั้นผู้บริโภคที่ กระโดด
มองหาอาหารฮาลาลไม่ได้มีเพียงชาวมุสลิมผู้เล่ือมใส
ในศาสนาอิสลามเท่าน้ันแต่รวมถึงผู้บริโภคท่ัวไปที่ ความต้องการอาหารฮาลาลในอินโดนีเซียมีการ
ต้องการผลิตภัณฑ์ที่มีหลักการผลิตที่เป็นเลิศ ท่ีมี เปลี่ยนแปลงตามการเปลย่ี นแปลงของสังคม โดยเฉพาะ
ความปลอดภัยสูง ซ่ึงส่ิงดังกล่าวถือเป็นจุดแข็งและ การขยายตวั ของเมอื ง และการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ
จุดขายท่ีส�ำคัญของผลิตภัณฑ์ฮาลาลน่ันเอง ท่ีมีก�ำลังซื้อเพิ่มข้ึน โดยเป็นไปในลักษณะรับวัฒนธรรม
จากชาติตะวันตกเข้ามาอย่างต่อเน่ือง ขณะท่ีความเป็น
ชาตินิยมของอินโดนีเซียยังคงอยู่ ความโดดเด่นท่ีน่า
16 อตุ สาหกรรมสาร
จับตามองของความต้องการผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาลใน
อนิ โดนเี ซยี ขณะน้ี คอื ผบู้ รโิ ภคในอนิ โดนเี ซยี หนั มานยิ มซอื้ และ
บริโภคอาหารแปรรูปที่บรรจุหีบห่อทันสมัย (Packaged Food)
มากขน้ึ เปน็ ล�ำดบั เพราะมคี วามสะดวกและปลอดภยั ซง่ึ ปจั จบุ นั
มลู ค่าตลาดอยู่ท่ี 7.6 แสนล้านบาท และคาดว่าในปี 2560 จะ
เพ่ิมขึ้นเป็น 9 แสนล้านบาท โดยผู้เล่นรายส�ำคัญ เป็นบริษัท
ทอ้ งถนิ่ ชอ่ื วา่ Indofood Sukses Makmur ซงึ่ เปน็ ผผู้ ลติ ผลติ ภณั ฑ์
อาหารแปรรูปฯในหลายประเภท (Euromonitor International,
2014)
นอกจากน้ันชาวอินโดนีเซียมีความต้องการผลิตภัณฑ์
อาหารฮาลาลท่ีสอดรับกับกระแสนิยมที่มีความเฉพาะเจาะจง
ซึ่งปัจจุบันก�ำลังนิยมผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นนวัตกรรมหรือ
ความแปลกใหม่ และผลิตภัณฑ์ท่ดี ีต่อสขุ ภาพ โดยเฉพาะด้าน
ความสวยงามของร่างกาย
17อตุ สาหกรรมสาร
“ราคา” เปน็ ปจั จยั ส�ำคญั ทส่ี ดุ ในการเลอื กซอื้ สนิ คา้ อาหาร ปลากระป๋องที่ผลิตในเมียนมาร์
ฮาลาลของผบู้ รโิ ภคอนิ โดนเี ซยี อยา่ งไรนน้ั ผบู้ รโิ ภคในกลมุ่ ชนชนั้ และติดฉลากฮาลาล
กลางและสงู เน้นความมคี ุณภาพของสินค้า เป็นอกี หน่ึงปัจจยั
ในการเลอื กซอ้ื และกลุ่มผู้บริโภคที่นับถอื ศาสนาอสิ ลาม มักจะ ปัจจุบันก�ำลังซื้อของคนเมียนมาร์ส่วนใหญ่ยังคงมีรายได้
เลือกซื้อสินค้าอาหารท่ีมีเคร่ืองหมายรับรองฮาลาล ปรากฏอยู่ นอ้ ยและอ�ำนาจซอ้ื ตำ�่ อยา่ งไรกต็ ามจากการทนี่ กั ลงทนุ ตา่ งชาติ
บนบรรจุภัณฑ์ อย่างไรก็ตามผลิตภัณฑ์อาหารท่ีจ�ำหน่ายใน เข้าไปลงทุนในเมียนมาร์มากขึ้น คาดว่าจะส่งผลให้เศรษฐกิจ
อนิ โดนเี ซยี มที งั้ ผลติ ภณั ฑท์ แ่ี สดงเครอ่ื งหมายรบั รองฮาลาลของ เมยี นมาร์ดขี ึน้ เป็นล�ำดบั ซึง่ จะท�ำให้ก�ำลังซือ้ ของชาวเมยี นมาร์
อนิ โดนเี ซยี และของประเทศอนื่ เชน่ ไทย และในบางผลติ ภณั ฑ์ เพม่ิ สงู ขนึ้ ในไมช่ า้ นอกจากโอกาสในการน�ำสนิ คา้ อาหารฮาลาล
อาหาร ไม่มีเครื่องหมายรับรองฮาลาลใดๆปรากฏอยู่บน เขา้ มาขายในประเทศเมยี นมารแ์ ลว้ เมยี นมารเ์ ปน็ จดุ ยทุ ธศาสตร์
บรรจภุ ัณฑ์ แต่ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวสามารถวางจ�ำหน่ายขายได้ ทด่ี ใี นภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เพราะเปน็ ประตสู กู่ ารคา้
โดยทัว่ ไป 5 ประเทศอกี ด้วย ได้แก่ จนี อินเดยี บังคลาเทศ ลาว และไทย
โดยเฉพาะการเป็นประตูสู่ประเทศยักษ์ใหญ่อย่างจีน และ
ขณะเดียวกันอาหารฮาลาลก�ำลังได้รับความนิยมมากข้ึน อนิ เดีย ท่ีมีประชากรรวมกนั มากถงึ 2.6 พนั ล้านคน หรอื ร้อยละ
ในเมียนมาร์ โดยปัจจัยส�ำคัญท่ีท�ำให้เติบโต คือ จ�ำนวน 40 ของจ�ำนวนประชากรโลกท้ังหมด และตลาดอาหารฮาลาล
ประชากรมุสลิมท่ีเพ่ิมขึ้น โดยปัจจุบันอยู่ท่ี 3 ล้านคน แม้ใน ในจีนมีมูลค่าเฉลี่ยประมาณ 2,100 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯต่อปี
ปัจจุบันมูลค่าการค้าอาหารฮาลาลในเมียนมาร์ยังไม่ปรากฏ และมีอัตราเติบโตเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่องคิดเป็นร้อยละ 10 ใน
ชดั เจน อยา่ งไรกต็ ามการคา้ ในอนาคตมที ศิ ทางขยายตวั สงู อยา่ ง แต่ละปี และตลาดอาหารฮาลาลในอินเดียมีมูลค่าการค้าเฉลยี่
แน่นอน เพราะนอกจากชาวมสุ ลิมแล้ว ผู้ที่นับถอื ศาสนาอ่ืนทม่ี ี ประมาณ 250 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯต่อปี และมีอัตราเติบโต
อ�ำนาจซื้อก็เร่ิมหันมานิยมอาหารฮาลาลมากขึ้น โดยเฉพาะ เพม่ิ ขนึ้ อย่างต่อเน่อื ง คดิ เป็นร้อยละ 10-15 ในแต่ละปี.
ประชากรร้อยละ 85 นบั ถอื ศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ที่มคี วาม
เคร่งในพุทธศาสนา จึงท�ำให้ชาวเมียนมาร์ส่วนใหญ่ไม่นิยม
บรโิ ภคเนอ้ื หมแู ละหลกี เลย่ี งการบรโิ ภคสตั วใ์ หญ่ จงึ นยิ มบรโิ ภค
สัตว์ปีก โดยเฉพาะเน้ือไก่ ที่มีการผลิตตามบทบัญญัติของ
ศาสนาอิสลาม ซึ่งมีความปลอดภัยและคุณภาพสูงจึงท�ำให้
ผลติ ภัณฑ์อาหารฮาลาลเป็นท่ตี ้องการมากในเมียนมาร์ เพราะ
สอดรับกับความต้องการของชาวเมียนมาร์ในหลายลักษณะ
ตามท่ีกล่าวถึงได้อย่างลงตัว ท้ังน้ีเมียนมาร์มีตราสัญลักษณ์
“ฮาลาล” เพ่อื สร้างความเช่อื มัน่ ให้กบั ผู้บรโิ ภคเมียนมาร์
เอกสารอา้ งอิง
Agriculture and Agri-Food Canada (2011) Global Halal Food Market.
Euromonitor International (2014) Packaged Food – Indonesia.
PeW Research, HDC and Emst & Young Analysis (2014) Global
Muslim Population.
สถาบันอาหาร (2558) รวบรวมจากเอกสารท่เี กย่ี วข้อง ทัง้ รายงาน
วจิ ัยและบทความฯ.
18 อุตสาหกรรมสาร
Innovation เรื่อง : จารุวรรณ เจตเกษกิจ
MอoาbหileาAรpฮplicาaลtioาnล
ชาวมุสลิม มักประสบปัญหาในการเสาะหา “อาหารฮาลาล” ที่
เช่ือถือได้รับประทานยาก ต่อแต่น้ีปัญหาเหล่านี้จะหมดไป เพราะ
มีผู้พัฒนาแอพพลิเคช่ัน (Application) ท่ีช่วยค้นหาอาหารฮาลาล
รอบตัวคุณ ผ่าน Mobile Application ที่ทุกท่านสามารถ
ดาวน์โหลดน�ำมาใช้ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และทันที
ประเทศไทย
ในประเทศไทย มกี ารพฒั นาออกมาหลายแอพพลเิ คชนั่ ตวั อยา่ งทนี่ า่ สนใจ ไดแ้ ก่
Halal Maps ผู้พัฒนา App โดย Halal.in.th
ตัวอยา่ งฟังชั่น
• ค้นหาร้านอาหารฮาลาล • ดแู บบ Google Steet View
• ค้นหาจากต�ำแหน่งใกล้เคยี ง • ดูแบบหมุดบนแผนท่ี
• ค้นหาตามชอ่ื จงั หวดั • บอกเส้นทาง / แผนทน่ี �ำทาง
• สามารถปักหมดุ ต�ำแหน่ง • ดแู บบ Google Steet View
ที่คณุ อยู่ได้ เพ่อื บันทึกพกิ ดั ส่วนตวั • ดูแบบหมุดบนแผนท่ี
• ค้นหาร้านอาหารฮาลาล • ค้นหาตามช่อื จงั หวดั
• ค้นหาจากต�ำแหน่งใกล้เคยี ง
• บอกเส้นทาง / แผนทน่ี �ำทาง
• สามารถปักหมดุ ต�ำแหน่งท่คี ุณอยู่ได้
เพอ่ื บันทกึ พกิ ดั ส่วนตวั
หมายเหตุ : App ดังกล่าวมบี ริการผ่านบนเวบ็ ไซด์ http://www.halal.in.th
Halal Directory
โดย ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ฮาลาล จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ; ผู้พฒั นา App โดย
Cloud Innovation Co., Ltd. แอพค้นหา “อาหารฮาลาล (Food)” “ที่พัก
(Accomomodation)” “สถานท่ี (Place)”
ตัวอย่างฟังกช์ ่ัน
• ค้นหาอาหารฮาลาล ในรปู แบบร้านอาหาร / ภัตตาคาร / ร้านแผงลอย / ซื้อกลบั
บ้าน / ร้านขายของฝาก
• ค้นหาท่พี ัก ในรูปแบบ โรงแรม / หอพกั / รสี อร์ท
• ค้นหาสถานท่ี ในรปู แบบ มสั ยดิ / สถาบนั การศกึ ษา / องค์กรมสุ ลิม
19อุตสาหกรรมสาร
ประเทศญ่ีปุ่น
ในประเทศญป่ี นุ่ การพฒั นาแอพพลเิ คชน่ั อาหารฮาลาลทโ่ี ดด
เด่น ได้แก่ Islamap ผู้พฒั นา App โดย islamap.Inc แอพค้นหา
“ร้านอาหารฮาลาล” ในประเทศญี่ปุ่น บนแผนท่ี Google Maps
ซึง่ เหมาะส�ำหรับนักเดนิ ทางมุสลมิ ทไ่ี ปท่องเทย่ี วในญป่ี ุ่น ท�ำให้มี
ข้อมลู ในการค้นหาร้านอาหารฮาลาลท่อี ยู่รอบๆ ตวั อย่างรวดเรว็
ตัวอย่างฟงั กช์ น่ั
• ค้นหาร้านอาหารฮาลาล • บอกเส้นทาง
• ค้นหาจากต�ำแหน่งใกล้เคยี ง • บอกแผนทน่ี �ำทาง
หมายเหตุ : App ดงั กล่าวมบี รกิ ารผ่านบนเวบ็ ไซด์ วธิ กี ารดาวนโ์ หลดและตดิ ตง้ั แอพฯ ดงั กลา่ วจากสมารท์ โฟน
http://www.islamap.com/ (Smart Phone) สามารถทำ� ได้อย่างงา่ ยดาย
Islamap • สมารท์ โฟน ระบบปฏบิ ตั กิ าร iOS (iPhone, iPod และ
ผู้พัฒนา App โดย islamap.Inc iPad)
แอพค้นหา “ร้านอาหารฮาลาล” ใน สามารถดาวน์โหลดแอพฯ จากตัวเคร่ืองได้ทันทีโดยโหลด
ประเทศญ่ีปุ่น บนแผนท่ี Google Maps ผ่าน App Store
ซึ่งเหมาะส�ำหรับนักเดินทางมุสลิมท่ีไป
ท่องเท่ียวในญ่ีปุ่น ท�ำให้มีข้อมูลในการค้นหาร้านอาหารฮาลาล • สมาร์ทโฟน ระบบปฏิบตั กิ าร Android
ทอ่ี ยู่รอบๆ ตวั อย่างรวดเรว็ สามารถดาวนโ์ หลดแอพฯจากตวั เครอ่ื งไดท้ นั ทโี ดยโหลดผา่ น
ตวั อยา่ งฟังก์ชั่น Play Store
• ค้นหาร้านอาหารฮาลาล ทง้ั นี้ App “ฮาลาล” อืน่ ๆ สามารถค้นหาเพม่ิ เตมิ เพยี งใส่
• ค้นหาจากต�ำแหน่งใกล้เคยี ง Keyword “Halal” ในการค้นหาผ่าน App Store หรือ Play Store
• บอกเส้นทาง แล้วเลือก App ที่ต้องการเพ่ือเข้าสู่หน้าหลักของ App นั้นๆแล้ว
หมายเหตุ : App ดงั กล่าวมบี ริการผ่านบนเวบ็ ไซด์ ท�ำการกดปุ่ม Install เพอื่ ท�ำการติดตัง้ App ลงในโทรศพั ท์มอื ถอื
http://www.islamap.com/ กจ็ ะได้ App ฮาลาลทต่ี ้องการมาใช้ได้โดยทนั ที
การพัฒนาแอพพลิเคช่ัน “อาหารฮาลาล” บนสมาร์ทโฟน
ประเทศสหรัฐอเมริกา นับเป็นหน่ึงกลวิธีในการสร้างโอกาสทางการค้า ซึ่งกลุ่มผู้บริโภค
มสุ ลมิ ก�ำลงั เปน็ ทจ่ี บั จอ้ งของผปู้ ระกอบการทวั่ โลก เพราะเปน็ กลมุ่
การพัฒนาแอพพลิเคชั่นอาหาร ประชากรท่ีมีศักยภาพ โดยเฉพาะในเร่ืองอ�ำนาจซื้อและจ�ำนวน
ฮาลาลในสหรฐั อเมรกิ าท่ีโดดเด่น ได้แก่ มากทมี่ แี นวโนม้ การเตบิ โตและขยายตวั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตน้ แบบการ
พัฒนาท่ีน่าสนใจควรต้องศึกษา คือ “ประเทศญี่ปุ่น” ที่ขณะนี้
eatHalal ผพู้ ฒั นา App โดย DEVKODE ภาครัฐและภาคเอกชนต่างร่วมกันสร้างความพร้อมในหลายด้าน
CORP. แอพค้นหา “ร้านอาหารฮาลาล” เพ่ือตอบสนองต่อกลุ่มผู้บริโภคชาวมุสลิมที่เดินทางมาจากทั่วทุก
ในประเทศสหรัฐอเมริกาและแนะน�ำร้าน มุมโลกให้เข้ามาท่องเท่ียวหรือใช้ชีวิตฮาลาลในญ่ีปุ่นได้อย่าง
อาหาร Halal Rewards เหมาะส�ำหรบั นกั ทอ่ งเทยี่ วมสุ ลมิ ทเี่ ดนิ ทาง สะดวกสบาย ผ่านการพฒั นาแอพฯ ตามท่นี �ำเสนอข้างต้น และ
ไปสหรฐั อเมรกิ า ท�ำใหม้ ขี อ้ มลู ในการคน้ หารา้ นอาหารฮาลาลทอ่ี ยู่ ยังคงมุ่งพัฒนาต่อไปไม่หยุดในการสร้างสรรค์ส่ิงอ�ำนวยความ
รอบๆอย่างรวดเรว็ สะดวกทห่ี ลากหลายสมยั ใหมใ่ หก้ บั ผบู้ รโิ ภคชาวมสุ ลมิ เพมิ่ มากขน้ึ
ตวั อยา่ งฟงั กช์ ่นั ช่องว่างทางการค้าเพื่อกลุ่มผู้บริโภคมุสลิม ยังมีอยู่อีกมาก
• ค้นหาร้านอาหารฮาลาล • แสดงรปู ภาพร้านอาหาร ที่รอให้ผู้ประกอบการไทยเข้าไปสร้างโอกาสทางการค้า อย่างไร
• ค้นหาร้านอาหาร Halal Rewards • บอกเส้นทาง ก็ตามประเด็นส�ำคัญที่ผู้ประกอบการไทยควรต้องพิจารณา คือ
• ค้นหาจากต�ำแหน่งใกล้เคยี ง • บอกแผนทีน่ �ำทาง การสร้างศักยภาพในการแข่งขันให้พร้อมที่สอดคล้องกับความ
หมายเหตุ : App ดงั กล่าวมบี รกิ ารผ่านบนเวบ็ ไซด์ ต้องการของผู้บรโิ ภคมสุ ลมิ นน่ั เอง.
http://www.eathalal.com
แหลง่ ขอ้ มูลและรปู ภาพ
Halal Application form iOS, Android
20 อตุ สาหกรรมสาร
Information เรื่อง : วนิดา ประมวลกิจจา
มองตัวเลขให้เปน็ โอกาส
ตอ่ ยอดอาหารฮาลาล
ด้วยเทรนด์แฟช่ันสุดแซ่บที่คนวงการแฟช่ันโลก ธรุ กจิ อาหารและสขุ ภาพ เปน็ ธรุ กจิ ตดิ อนั ดบั เทรนด์มาแรง
เค้าคอนเฟิร์มแล้วว่าเตะตาเหล่าแฟชั่นนิสต้าแน่นอน ซง่ึ ตดิ อนั ดบั ตน้ ๆ ตดิ ตอ่ กนั มาหลายปี โดยกลมุ่ ผสู้ งู อายตุ อ้ งการ
พร้อมด้วยอีเว้นท์เก๋ๆที่โชว์ความโดดเด่นจาก อาหารเพื่อสุขภาพ กลุ่มวัยรุ่นชอบด่ืมนม กลุ่มวัยท�ำงานชอบ
นวัตกรรมใหม่ในอุตสาหกรรมแฟชั่นไทยประจ�ำ ด่ืมกาแฟ ถ้าให้ความส�ำคัญกับธุรกิจมาแรง น่าจะเป็นธุรกิจ
ปี 2015 อาหาร ธรุ กจิ สขุ ภาพ และธรุ กจิ ความงาม ซงึ่ กรู หู ลายแหง่ ยกมอื
ให้ธุรกิจอาหารเป็นธุรกิจมาแรงติดอันดับหนึ่งและเป็นธุรกิจท่ี
การรวมตวั ของ AEC ในปลายปี 2558 ท�ำให้ตลาดอาเซยี นมี ไทยไดเ้ ปรยี บ เพราะไทยเปน็ แหลง่ วตั ถดุ บิ และมกี ารตอ่ ยอดและ
ขนาดใหญ่ขน้ึ จ�ำนวนประชากรรวมกนั เป็น 650 ล้านคน เม่ือจนี แปรรูปท่ีหลากหลาย การต่อยอดการผลติ อาหารจากวตั ถดุ บิ ที่
ซ่ึงมีประชากร 1,350 ล้านคน มารวมกับอาเซียนท�ำให้ยอด มอี ยู่อีกเส้นทางหน่งึ คอื การผลติ อาหารฮาลาล เพราะในกลุ่ม
ประชากรสูงข้นึ เป็น 2,000 กว่าล้านคน ประเทศกลุ่มอาเซียนกบั อาเซียนมีจ�ำนวนมุสลิมท่ีเป็นกลุ่มก้อนขนาดใหญ่ท่ีสุดในโลก
อนิ เดยี กม็ ขี อ้ ตกลงรว่ มกนั อกี โดยอนิ เดยี มจี �ำนวนประชากร 1,100 คือมจี �ำนวนมากกว่า 300 ล้านคน
ลา้ นคน ดงั นน้ั เมอ่ื รวมจนี อนิ เดยี และอาเซยี นรว่ มมอื กนั จ�ำนวน
ประชากรจะขยายเป็น 3,100 ล้านคน น่นั หมายถงึ เกอื บครง่ึ หน่งึ คาดว่าในปี 2558 การส่งออกอาหารและเครอ่ื งด่ืมฮาลาล
ของโลก เนื่องจากประชากรโลกขณะนี้มีจ�ำนวนมากกว่า 7,000 ของไทยจะขยายตวั สงู ขน้ึ โดยมตี วั เลขอยทู่ ปี่ ระมาณ 6,100 ลา้ น
ล้านคน ดอลลารส์ หรฐั กลมุ่ ประเทศมสุ ลมิ ทไี่ ทยสง่ ออกผลติ ภณั ฑอ์ าหาร
ฮาลาล ไดแ้ ก่ อนิ โดนเี ซยี ไนจเี รยี โอมาน อริ กั อหิ รา่ น บงั คลาเทศ
เม่ือเส้นทางคมนาคมเชื่อมประเทศต่างๆเสร็จส้ินจะท�ำให้ ฯลฯ โอกาสในการผลิตอาหารฮาลาลส่งออกของไทย จึงมี
การเดินทางและการค้าขายในกลุ่มประเทศเหล่าน้ีสะดวกขึ้น อนาคตสดใสจากขนาดตลาดอาเซียนที่ใหญ่ข้ึน นอกจากนี้
อกี ทง้ั การลงทนุ ในระบบไอซที ี จะท�ำใหก้ ารสอื่ สารและการเชอ่ื มโยง ผลการวจิ ยั ลา่ สดุ ในอเมรกิ าเปดิ เผยตวั เลขของชาวมสุ ลมิ ทวั่ โลก
ตลาดบนโลกออนไลน์สะดวกและแพร่หลายมากขน้ึ จะเพ่ิมขึ้น โดยมีอัตราการเพ่ิมข้ึน 1 ใน 4 ของประชากรโลก
ปัจจุบันประชากรมุสลิมท่ัวโลกมีอยู่ประมาณ 1,600 ล้านคน
ความคาดหวงั ให้ SMEs ไทย ท่ีมอี ยู่ประมาณ 2.78 ล้านราย ซงึ่ มีแนวโน้มเพม่ิ จ�ำนวนขน้ึ อย่างรวดเรว็ .
แสวงหาโอกาสและขยายตลาดการค้าไปยังกลุ่ม AEC จีน และ
อนิ เดยี จะตอ้ งศกึ ษาพฤตกิ รรมความตอ้ งการของลกู คา้ กลมุ่ ตา่ งๆ
ซึ่งพอสรุปได้ดงั น้ี
กลุ่มคนอายุ 15-35 ปี หรือ “กลุ่มคนรุ่นใหม่” เป็นกลุ่มคนท่ี
มีลักษณะพิเศษคือ ชอบของใหม่ๆ รักสุขภาพ และคุ้นเคยกับ
เทคโนโลยอี ยา่ งดี สว่ นกลมุ่ อายุ 35–50 ปี เปน็ กลมุ่ ผมู้ รี ายได้ และ
นยิ มสนิ ค้าเพ่อื ความแขง็ แรงและความมน่ั คงในชวี ติ ส�ำหรบั กลุ่ม
คนอายุ 50 ปขี น้ึ ไป หรอื “กลมุ่ ผสู้ งู อาย”ุ เปน็ กลมุ่ ทจ่ี บั จา่ ยใชส้ อย
โดยยดึ เอาสขุ ภาพเป็นหลกั
21อุตสาหกรรมสาร
Product & Design เรื่อง : นุชเนตร จักรกลม
นอกจากอุตสาหกรรมสินค้าฮาลาลในประเทศไทยจะมีอัตราการเติบโตที่เพิ่งสูงข้ึนมากแล้ว
Product & Design ฉบับน้ีได้น�ำเอาส่วนหน่ึงของการออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าฮาลาล
ท่ีมีการพัฒนาทั้งรูปแบบและฟังก์ช่ันการใช้งานท่ีทันสมัยสวยงามตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์
ของผู้บริโภคในยุคน้ีอย่างลงตัว
ผลิตภัณฑ์คุณภาพจากธรรมชาติเพ่ือการดูแล
ริมฝีปากระดบั ไปกับ Tropicana Oil Lip Balm Gift
Set ซงึ่ ผลติ จากนำ้� มนั มะพรา้ วสกดั เยน็ บรสิ ทุ ธ์ิ อดุ ม
ไปด้วยวติ ามนิ อี และมอยส์เจอร์ไรเซอร์ ช่วยท�ำให้
รมิ ฝีปากนุ่มชุ่มช่นื ป้องกันและลดการแห้งแตกของ
ปากได้แน่นอน มาพร้อมบรรจุภัณฑ์เก๋ไก๋น่าใช้
ประกอบไปด้วย Lip Balm 5 กล่ิน ได้แก่ กล่ิน
มะพรา้ ว, กลนิ่ เชอรร์ ,่ี กลน่ิ แคนตาลปู , กลน่ิ สม้ และ
กล่ินบลูเบอร์ร่ี www.tropicanaoil.com
นวตั กรรมผกั เม็ด BioVeggie วิตามนิ รวมจาก
ผักเมืองหนาว 5 สี จากผักสดท่ีคัดสรรจากศูนย์
พัฒนาโครงการหลวง 12 ชนิด ภายใต้การดูแล
มาตรฐานแหลง่ ผลติ พชื GAP ไดแ้ ก่ Fennel, Parsley,
Celery, Spinach, Carrot, Japanese Pumpkin,
Beet root, Broccoloni, Cherry Tomato, Red Cabbage,
Sweet Pepper และ Japanese Bunching Onion
มาผา่ นเทคโนโลยกี ารผลติ ทท่ี นั สมยั ดา้ นอาหารเพอื่
ถนอมรักษาสารอาหารธรรมชาติท่ีเป็นประโยชน์
ใหค้ งอยใู่ นรปู แบบผกั อดั เมด็ ทสี่ ะดวกตอ่ การบรโิ ภค
ในขนาดทเ่ี หมาะส�ำหรบั เดก็ คนทว่ั ไป และผสู้ งู อายุ
www.bioveggieproducts.com
22 อตุ สาหกรรมสาร
ผลิตภัณฑ์ลกู เดือยอบกรอบแพ็กเกจดีไซน์น่ารักสุดๆ เปิดประสบการณ์ความผ่อนคลายไปกับผลิตภัณฑ์
แบรนด์ “ฟาร์มรกั ” ของทานเล่นที่มากด้วยคณุ ประโยชน์ ขัดผวิ กายคณุ ภาพสงู Thanthara Thai Herbal Body Scrub
จากใยอาหารสูง วิตามนิ A B1 และฟอสฟอรัส ช่วยบ�ำรุง ที่มอบกลิ่นหอมและสัมผัสของการบ�ำรุงผิวที่ลึกล�้ำนุ่มนวล
กระดกู แลว้ ยงั อมิ่ อรอ่ ย 3 รสชาติ ทงั้ รสดงั้ เดมิ รสเคม็ และ จากสมุนไพรธรรมชาติของไทยแท้ๆ100% ในบรรจุภัณฑ์
รสช็อกโกแลต ที่พัฒนาการผลิตเพ่ือให้ถูกปากถูกใจ ทนทานดไี ซน์ทันสมยั http://thanthara-thaiherbal.com
ผู้บริโภคทุกเพศทุกวัยรวมไปถึงผู้รับประทานเจและ
ชาวมุสลมิ อกี ด้วย www.facebook.com/myfarmrak
อ่ิมอร่อยได้อย่างสะดวกย่ิงกว่าเดิมกับสารพันขนม Lum Lum Organic Thai Curry Pastes ผลิตภัณฑ์
ไทยส�ำเรจ็ รปู แช่แขง็ ด้วยระบบ IQF ทไี่ ด้มาตรฐาน GMP น�้ำพริกแกงออร์แกนิกหลากรสชาติต�ำรับไทย ที่ได้รับการ
ระดบั สากล อาทิ บัวลอย ลอดช่อง ทับทิมแก้ว เต้าทึง รบั รองมาตรฐานระดบั สากลจากบรษิ ทั Chita Organic Food
ผลไม้ลอยแกว้ กล้วยไข่บวชชี และข้าวเหนยี วทเุ รยี น ฯลฯ ซ่ึงผ่านการคัดสรรจากวัตถุดิบธรรมชาติ 100 % ผลผลิต
แบรนด์ Thai Rich ทคี่ งความอร่อยหวานมนั และคณุ ภาพ ภายในไร่ชิตา จังหวัดล�ำพูน ท่ีใส่ใจต้ังแต่ข้ันตอนต้นน้�ำ
สดใหม่ ไร้สารกันบูดและสารกันเสีย เอาไว้ได้อย่าง ปราศจากสารเคมี ปุ๋ย ยาค่าแมลง และ GMOs ก่อนจะน�ำ
ยอดเยี่ยม www.thairichfoods.com มาผ่านกรรมวิธีการผลิตทันสมัยจนได้ น้�ำพริกแกงหลาก
รสชาตทิ นี่ �ำไปปรงุ ทานทบ่ี า้ นไดง้ า่ ยๆไมย่ งุ่ ยากแถมยงั รกั ษา
ความอร่อยกลมกล่อมถึงเครื่องถึงรสได้เหมือนไปนั่งทานท่ี
ร้านอกี ด้วย www.chitaorganicfood.co.th
23อตุ สาหกรรมสาร
Special Report เรื่อง : ฉัฐพร โยเหลา
ปัจจุบัน อาหารฮาลาล (Halal Food) เป็นเร่ืองที่ ได้ เมคารตือ่ รงฐหามนาอยารหับารรมอสุงลฮมิาลาล
รับความสนใจอย่างมากจากสังคมไทย มิใช่ เพียง
แต่ชาวไทยมุสลิมที่จ�ำเป็นต้องบริโภคอาหารฮา อุตสาหกรรมอาหารไทย
ลาลเท่าน้ัน แต่ผู้ประกอบการซ่ึงต้องการผลิต ไมค่ วรมองขา้ ม
อาหารฮาลาล จ�ำหน่ายแก่ผู้บริโภคมุสลิมใน
ประเทศ และผลิตเพื่อการส่งออกในตลาดโลก ดังนั้นการด�ำเนินกระบวนการผลิตอาหารฮาลาลให้ถูกต้องตาม
มุสลิมก็จ�ำเป็นต้องให้ความสนใจอย่างจริงจัง บัญญัติศาสนาอิสลามและระเบียบคณะกรรมการกลางอิสลามแห่ง
ประเทศไทยว่าด้วยการรับรองฮาลาล พ.ศ. 2544 และฉบับท่ี 2 พ.ศ.
เป็นท่ีทราบกันดีว่า ประเทศไทยพ่ึงพาการส่งออก 2545 โดยผ่านการตรวจสอบและรับรองจากคณะกรรมการกลางอิสลาม
ผลิตภัณฑ์อาหารในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ แหง่ ประเทศไทยหรอื คณะกรรมการอสิ ลามประจ�ำจงั หวดั แลว้ แตก่ รณี และ
ประเทศ ตลาดผลติ ภณั ฑ์อาหารฮาลาล เป็นตลาดขนาด หากผขู้ อรบั รองฮาลาลประสงคจ์ ะใช้ “เครอ่ื งหมายรบั รองฮาลาล” จะตอ้ ง
ใหญ่ ส�ำหรบั ประชากรมุสลมิ 2,000 ล้านคน กระจายใน รบั อนญุ าตให้ใช้เครอื่ งหมายดงั กล่าวจากคณะกรรมการกลางอสิ ลามแห่ง
150 ประเทศท่ัวโลก ปัจจุบันผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล ประเทศไทย “เคร่อื งหมายรับรองฮาลาล” ทผ่ี ่านการรบั รองอย่างถูกต้อง
กลายเปน็ ตลาดทที่ วคี วามส�ำคญั และสรา้ งรายไดจ้ ากการ จงึ มคี วามส�ำคญั และจ�ำเปน็ อยา่ งยงิ่ ตอ่ การสง่ ออกผลติ ภณั ฑอ์ าหารอสิ ลาม
ส่งออกให้แก่ประเทศไทย การแข่งขันทางด้านคุณภาพ ในปัจจบุ นั
ของผลติ ภณั ฑจ์ งึ เปน็ สงิ่ ส�ำคญั อยา่ งยงิ่ และเปน็ เปา้ หมาย
ที่รัฐบาลประสงค์จะผลักดันเพ่ือให้ประเทศไทยสามารถ อาหารฮาลาล คือ อะไร?
รบั มอื กบั การแขง่ ขนั ทางการคา้ ในระดบั โลกได ้ ทงั้ นี้ คแู่ ขง่
ส�ำคัญในตลาดดังกล่าวมิใช่ประเทศมุสลิม หากแต่เป็น มสุ ลมิ มคี วามศรทั ธาวา่ “ไมม่ พี ระเจา้ อน่ื ใดนอกจากอลั ลอฮฺ นบมี ฮู มั มดั
ประเทศพฒั นาแลว้ ทมี่ ศี กั ยภาพในการผลติ ระดบั สงู เชน่ เปน็ ผสู้ อ่ื (รอซลู ) ของอลั ลอฮ”ฺ และมสุ ลมิ มคี วามเชอ่ื อยา่ งมน่ั ใจวา่ อลั ลอฮฺ
สหรัฐอเมริกา แคนาดา สหภาพยุโรป ออสเตรเลีย คือผู้สร้างมนุษย์และสรรพส่ิงในจักรวาล ดังนั้น ค�ำบัญชาของอัลลอฮฺ
นวิ ซแี ลนด ์ รวมถงึ ประเทศเกษตรอตุ สาหกรรมขนาดใหญ่
ท่ีก�ำลังพัฒนาประเทศอย่างก้าวกระโดด เช่น บราซิล 24 อุตสาหกรรมสาร
รัสเซีย จนี อินเดยี ซงึ่ จ�ำเป็นทป่ี ระเทศไทยต้องหาหนทาง
ยกระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์
อาหารฮาลาล ซ่ึงมีความซับซ้อนทั้งในส่วนของศาสนา
และในส่วนของวิทยาศาสตร์ เพื่อให้สามารถแข่งขันใน
ตลาดสากล และเพ่อื ความปลอดภยั ส�ำหรับผู้บริโภค
(อัล-กุรอาน) ค�ำสอนและแบบอย่างของนบีมูฮัมมัด (ซุนนะห์) ช้ีประโยชน์รับรองฮาลาล โอกาสส่งออกโต
จึงเป็นเร่ืองท่ีมุสลิมจะต้องปฏิบัติตามด้วยความจริงใจและ อุตสาหกรรมฮาลาล เป็นตลาดท่ีน่าสนใจมาก เพราะกลุ่ม
จรงิ จงั กล่าวคอื ปฏบิ ัตใิ นส่งิ ทีอ่ นมุ ตั ิ (ฮาลาล) และไม่ปฏบิ ัตใิ น ผู้บริโภคมีท้ังผู้ที่เป็นชาวมุสลิมและไม่ใช่มุสลิม ท�ำให้มีนักลงทุน
สิ่งท่ีเป็นข้อห้าม (ฮารอม) ด้วยความเต็มใจและยินดี อาหาร ทั้งมุสลิมและไม่ใช่มุสลิม หันมาให้ความสนใจกับการส่งออก
ฮาลาล (Halal Food) จงึ เป็นส่ิงจ�ำเป็นส�ำหรับมสุ ลมิ ในการบรโิ ภค ผลติ ภณั ฑฮ์ าลาลระดบั โลกมากขนึ้ รศ.ดร.วนิ ยั ดะหล์ นั ผอู้ �ำนวย
ส่วนผู้ที่มิใช่มุสลิม หากบริโภคอาหารฮาลาลก็จะได้ประโยชน์ต่อ การศูนย์วทิ ยาศาสตร์ฮาลาล จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั กล่าวว่า
สขุ ภาพเชน่ เดยี วกนั เพราะอาหารฮาลาลจะตอ้ งมกี ระบวนการผลติ “ผมอยากให้มองเรอ่ื ง ISO เป็นแนวทาง ในสมัย 20-30 ปีทแ่ี ล้ว
ทถี่ กู ตอ้ งตามขอ้ บญั ญตั แิ หง่ ศาสนาอสิ ลาม ปราศจากสงิ่ ตอ้ งหา้ ม การพฒั นาอตุ สาหกรรมยงั ไมม่ คี ณุ ภาพ คนกส็ ามารถใชผ้ ลติ ภณั ฑ์
(ฮารอม) และมคี ุณค่าทางอาหาร (ตอยยบิ ) หรือบริการได้อย่างปกติ ต่อมาเมื่อมีเกณฑ์ของ ISO หรือ GMP
รศ.ดร.วินัย ดะห์ลัน ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ ต่างๆเข้ามา เพ่ือแสดงถงึ คณุ ภาพของสนิ ค้าทม่ี กี ระบวนการมขี นั้
ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึง ฮาลาลใน มตี อน มกี ารผลติ ทม่ี มี าตรฐาน ท�ำให้ผบู้ รโิ ภคไดป้ ระโยชน์ในทส่ี ดุ
ประเทศไทย ว่า “ส�ำหรับกิจการอาหารฮาลาลในประเทศไทยได้ ผผู้ ลติ กจ็ ะไดป้ ระโยชนเ์ ชน่ กนั ในสนิ คา้ ฮาลาล กเ็ ชน่ กนั เมอื่ กอ่ น
ด�ำเนินมากว่า 65 ปีแล้ว โดยมีคณะกรรมการกลางอิสลาม ก็ไม่มีการรับรองหรือรับรองก็ยังไม่ได้คุณภาพ แต่ขณะนี้มีเกณฑ์
แห่งประเทศไทย และคณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัดเป็น ทีม่ ารับรอง ทกี่ ระบวนการท่มี มี าตรฐาน ท�ำให้ผู้บรโิ ภคเหน็ ว่าจะ
องค์กรหลักในการให้การรับรองอาหารฮาลาล นับว่าไทยเป็น ได้ประโยชน์จากมาตรฐานฮาลาล ที่ในอนาคตเมื่อผู้บริโภค
ประเทศแรกๆท่ีมีการรับรองฮาลาล มาอย่างยาวนานและเก่าแก่ ตอ้ งการไดส้ นิ คา้ ทไ่ี ดร้ บั การรบั รองฮาลาลทมี่ คี ณุ ภาพ ตลาดจะอยู่
มากประเทศหนง่ึ ในโลก ทงั้ นกี้ เ็ นอ่ื งมาจากวา่ ประเทศไทยเราเปน็ ในมอื ผบู้ รโิ ภค ไม่ใช่ในมอื ผ้ผู ลติ ประเดน็ อยทู่ ว่ี า่ ผ้ผู ลติ สนิ คา้ ตาม
ประเทศทไี่ มใ่ ชม่ สุ ลมิ แตม่ คี วามจ�ำเปน็ ตอ้ งท�ำการสง่ ออกอาหาร เรือ่ งน้ที นั หรือไม่”
ให้คนมสุ ลมิ เช่น ส่งออกไก่ ไปในประเทศตะวนั ออกกลาง โดย รศ.ดร.วนิ ยั กล่าวต่อว่า “จะเห็นว่าแนวโน้มเมอ่ื 10 ปีทแ่ี ล้ว
ประเทศเหล่านี้ต้องการการรับรองฮาลาล ท�ำให้ผู้ส่งออกไทย การรบั รองฮาลาล เปน็ แคผ่ ลติ ภณั ฑ์ ในประเทศไทย ขณะนม้ี เี พยี ง
จึงจ�ำเป็นต้องขอการรับรองจากองค์การท่ีเก่ียวข้องและเชื่อถือได้ 1.2 แสนผลิตภัณฑ์ ได้รับการรับรองฮาลาล จากจ�ำนวนล้าน
จนในปัจจุบันน้ี ประเทศไทยเรา กลายเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์ ผลติ ภณั ฑท์ ย่ี งั ไม่ได้รบั การรบั รอง และเปน็ ผลติ ภณั ฑเ์ ลก็ ๆทใี่ ชใ้ น
ฮาลาลเป็นท่ีเช่ือถือในตลาดโลก โดยในแต่ละปี ประเทศไทยส่ง ประเทศเท่านั้น แต่ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ท่ีส่งออก ยังมีการรับรอง
ออกผลติ ภณั ฑฮ์ าลาลกวา่ 5,000 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ซง่ึ ทกุ ประเทศ ฮาลาลค่อนข้างน้อย นั่นหมายความว่าโอกาสของการรับรอง
ที่ไทยส่งออกผลติ ภณั ฑ์ฮาลาลน้นั คือกลุ่มประเทศมสุ ลมิ กว่า 57 ฮาลาลจะมมี ากขน้ึ เราไมค่ อ่ ยกงั วลวา่ คณุ จะรบั รองหรอื ไมร่ บั รอง
ประเทศท่ีเป็นสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม จากจ�ำนวน แต่ในอนาคตตลาดจะเป็นคนตอบ
ประชากรมสุ ลมิ ทม่ี อี ยจู่ �ำนวนมากในโลก คดิ เปน็ 25% ของประชากร ซง่ึ ในปจั จบุ นั เรามหี นว่ ยงานทที่ �ำหนา้ ทหี่ ลกั ทางดา้ นการขอ
โลก หรอื กวา่ 2 พนั ลา้ นคน ซง่ึ มกี ารบรโิ ภคอาหารฮาลาลเปน็ มลู คา่ ปี การรบั รองตราฮาลาล ก็คือส�ำนักงานคณะกรรมการกลางอสิ ลาม
ละประมาณ 7 แสน นน่ั ก็คอื เหตุผลท่ที �ำให้ประเทศไทยในปัจจุบัน แหง่ ประเทศไทย มหี นว่ ยงานสนบั สนนุ คอื ส�ำนกั งานคณะกรรมการ
กา้ วขนึ้ สกู่ ารเปน็ ประเทศผสู้ ง่ ออกผลติ ภณั ฑฮ์ าลาลใหญเ่ ปน็ อนั ดบั อิสลามประจ�ำจังหวัด และสถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่ง
5 ของโลก และหากมีการพัฒนาหรือผลักดันผู้ประกอบการ ประเทศไทย โดยมีศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์
เข้าสู่มาตรฐานการรับรองฮาลาลเพิ่มมากข้ึน ในอนาคตมุ่งหวังที่ มหาวทิ ยาลยั เขา้ ไปรว่ มสนบั สนนุ ดา้ นวทิ ยาศาสตรใ์ นรปู แบบของ
กา้ วขนึ้ มาเปน็ ประเทศผนู้ �ำในการสง่ ออกผลติ ภณั ฑฮ์ าลาลอนั ดบั 1 “ศาสนารบั รอง วทิ ยาศาสตร์รองรบั ”
ใน 3 ของโลกอย่างแน่นอน”
25อุตสาหกรรมสาร
โดยพนั ธกจิ งานดา้ นวทิ ยาศาสตรฮ์ าลาลทศ่ี นู ยว์ ิทยาศาสตร์ กระบวนการขอรับรองและขอใช้เครื่องหมาย
ฮาลาลพัฒนาข้ึนมีต้ังแต่เรื่องงานด้านนิติวิทยาศาสตร์ฮาลาล
งานการมาตรฐานฮาลาล HAL-Q งานนวตั กรรมและทรพั ย์สนิ ทาง ขั้นท่ี 1 เตรียมการ
ปัญญาต่างๆ งานด้านโลจิสติกส์ รวมถึงงานด้านเทคโนโลยี • ผู้ประกอบการย่นื ความจ�ำนงขอรับรองมาตรฐานอาหาร
สารสนเทศ “เราดแู ลเรอ่ื งการบรโิ ภคของผบู้ รโิ ภคเปน็ หลกั ตวั อยา่ ง ฮาลาล
เช่นเรอ่ื งการปนเปื้อนต่างๆ แทนทจี่ ะด�ำเนินการในลกั ษณะต้งั รบั • ที่ปรกึ ษาโครงการตรวจประเมนิ และให้ค�ำปรกึ ษาแนะ
รอใหท้ �ำผดิ มาแลว้ คอ่ ยมาตรวจเจอวา่ ปนเปอ้ื น สงิ่ ทเี่ ราท�ำเลย คอื • จดั อบรมผู้บรหิ ารและเจ้าหน้าท่ขี องสถานประกอบการ
พฒั นากระบวนการทโ่ี รงงานใหผ้ ลติ อาหารไดถ้ กู ตอ้ ง แลว้ กพ็ ฒั นา • ผู้ประกอบการจดั ท�ำระบบเอกสารและกระบวนการผลติ
ระบบการเข้าไปสอนผู้ประกอบการ เพ่ือท�ำให้ผลิตภัณฑ์ของเขา ตามมาตรฐานอาหารฮาลาล
ไปสกู่ ารรบั รองฮาลาล หรอื ไปวางจ�ำหนา่ ย เพอื่ จะไมม่ กี ารปนเปอ้ื น • ผู้ประกอบการเตรยี มเอกสารตามทีส่ ถาบันฯ ก�ำหนด
วนั นเ้ี ราท�ำงานรว่ มกบั คณะกรรมการกลางอสิ ลามแหง่ ประเทศไทย • ที่ปรึกษาจดั ท�ำรายงานสรปุ การปรึกษาโครงการฯ
และคณะกรรมการประจ�ำจังหวัดในเร่ืองของการรับรองฮาลาล ขนั้ ที ่ 2 ย่นื คำ� ขอและพิจารณาคำ� ขอ
ซ่ึงกจ็ ะเป็นประโยชน์ ตอนนง้ี านเราเร่มิ ขยายตวั ไปค่อนข้างมาก ผู้ประกอบการย่ืนค�ำขอรับการตรวจรับรองต่อส�ำนักงาน
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย(สกอท) หรือ
ผู้ท่ีเหมาะกับการมาใช้บริการที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ เป็นได้ทั้ง ส�ำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัด(สกอจ) แล้วแต่
ผู้ประกอบการสินค้าฮาลาลเดิม หรือโรงงานทั่วไป โดยเฉพาะ กรณี
โรงงานไม่เคยมฮี าลาลมาก่อน กม็ าขอค�ำปรึกษาได้ “การรบั รอง ข้ันท่ี 3 การตรวจสอบสถานประกอบการ
ตราฮาลาล จะออกโดยคณะกรรมการกลางอิสลามแห่ง 1. คณะผู้ตรวจสอบ ไปตรวจโรงงาน/สถานประกอบการ
ประเทศไทยหรอื คณะกรรมการอสิ ลามประจ�ำจงั หวดั เทา่ นน้ั โดย ตามท่ีนดั หมาย
ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรฮ์ าลาล จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เปน็ หนว่ ยงาน 2. ประชุมชแ้ี จงร่วมกนั ระหว่าง คณะผู้ตรวจสอบของฝ่าย
ทอี่ �ำนวยความสะดวกในเรอ่ื งของการตรวจหาสงิ่ ปนเปอ้ื นทฮี่ ารอม กิจการฮาลาล กบั ฝ่ายสถานประกอบการ
3. ฝ่ายสถานประกอบการ น�ำคณะผู้ตรวจสอบพิจารณา
รศ.ดร.วินัย กล่าวต่อว่า “ผมอยากให้ผู้ประกอบใน กระบวนการผลติ
อุตสาหกรรมอาหาร ได้เห็นความส�ำคัญเรื่องการขอการรับรอง 4. คณะผู้ตรวจสอบให้ค�ำแนะน�ำแก่ผู้ยน่ื ค�ำขอ เมือ่ เหน็ ว่า
มาตรฐานฮาลาล เพราะวนั น้อี ันดบั 1 คือบราซิล ตวั เลขส่งออก ผู้ประกอบการ ด�ำเนินการไม่ถูกต้อง
ประมาณ หมน่ื ล้านเหรยี ญ ฉะน้นั ตลาดบ้านเรา เป็นแหล่งผลติ 5. คณะผู้ตรวจสอบรายงานผลให้คณะกรรมการฝ่าย
การเกษตรขนาดใหญ่ ถ้าเราสามารถเชญิ ชวนให้คนเหล่าน้มี าขอ กิจการฮาลาลพจิ ารณา
การรับรอง เราขน้ึ อนั ดับ 1 เลย ข้ันท่ี 4 พิจารณาผลการตรวจสอบและให้หนังสือ
รับรอง
กข็ อเชญิ ชวนผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมอาหารใหเ้ หน็ ความ ขนั้ ที่ 5 การตดิ ตามและประเมินผล
ส�ำคญั ทางศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ กว็ า่ ตอ้ งเดนิ หน้าประชาสมั พนั ธ์ ให้ ด�ำเนนิ การตดิ ตามและก�ำกบั ดแู ลสถานประกอบการ ซง่ึ ได้
รับทราบท่ัวกันว่า ถ้าขอแล้วจะคุ้มค่าในการส่งออก คุ้มแล้วก็จะ รับรองฮาลาลและ/หรือให้ใช้เคร่ืองหมายรับรองฮาลาล
สรา้ งความมนั่ ใจใหเ้ ขาดว้ ย วนั นผ้ี ลติ ภณั ฑจ์ �ำนวนมากไมก่ ลา้ ออก ให้ปฏิบัติตามสัญญาและระเบียบอย่างเคร่งครัด โดยใช้กลไก
ไปขายในตลาดต่างประเทศเพราะไม่มน่ั ใจตวั เอง บางทเี ราสนิ ค้า การตรวจสอบ.
ขายในญ่ปี ุ่นได้ แต่ไปขายในอาหรบั ไม่ได้ เพราะไม่ม่นั ใจ เราต้อง
สร้างความม่นั ใจให้เขา ง่ายนดิ เดยี วคอื ขอการรบั รองฮาลาล
สว่ นปญั หาทไี่ มม่ าขอกนั กค็ อื ยงั ไมเ่ ขา้ ใจเรอ่ื งคณุ ประโยชน์
ของการรบั รองมาตรฐานอยา่ งถอ่ งแท้ เชน่ เดมิ เคยคา้ ขายกบั ญปี่ นุ่
อเมรกิ า ถ้าตลาดไม่หดตวั เรากไ็ ม่คิดจะขายข้างนอก แต่ตอนน้ี
ตลาดหดตัว เพราะมีปัญหาด้านตลาดเต็ม หรือมีปัญหาด้าน
เศรษฐกิจ ความต้องการของผลิตภัณฑ์ก็ลดลง ตรงน้ีเราจ�ำเป็น
ต้องหาตลาดใหม่มาทดแทน ตลาดมุสลิมเป็นตลาดท่ีมีศักยภาพ
มาก สามารถทดแทนได้เต็มที่แต่ต้องให้ความรู้ความเข้าใจกัน
ซง่ึ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งยาก เพราะสดุ ทา้ ยคนทจ่ี ะไดป้ ระโยชนค์ อื ผปู้ ระกอบการ
ประเทศ และสงั คม
26 อตุ สาหกรรมสาร
Management เรื่อง : ฉัฐพร โยเหลา
ปัจจุบัน ผู้ประกอบการไทย มีศักยภาพในการส่งออกสินค้าเป็นอย่างมาก
โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ฮาลาล ปัจจุบันไทยอยู่ในอันดับ 1 ใน 5 ของโลก และเป็น
ประเทศที่ไม่ใช่ประเทศมุสลิม ที่ผลิตอาหารป้อนวงการอาหารฮาลาล เนื่องจาก
มีพ้ืนที่ด้านการเกษตร รวมทั้งเน้ือสัตว์ เช่น ไก่ เป็นหลัก เพราะฉะนั้นก็แสดงให้
เห็นว่า ไทยยังมีโอกาสอีกมาก ท่ีจะเข้าสู่การเป็นผลิตภัณฑ์ฮาลาล ขึ้นเป็นอันดับ
1 ดงั ตัวเลขผสู้ ่งออกทมี่ มี าตรฐานฮาลาลปัจจบุ ันทมี่ สี ัดสว่ นท่ีไมถ่ ึง 10 เปอร์เซน็ ต์
จากผู้ส่งออกอาหารฮาลาลทั้งหมด โดยอีก 90 ท่ีเหลือน้ันแม้จะส่งออกแต่ก็ยังไม่
ได้มีมาตรฐานรับรองฮาลาล นับเป็นโอกาสท่ีผู้ประกอบการไทยหากสามารถเพ่ิม
ศักยภาพผลิตภัณฑ์ฮาลาลให้สูงข้ึน ได้รับการรับรองมาตรฐานมากขึ้น สัดส่วน
ตรงน้ีก็จะมีโอกาสเติบโตข้ึนได้อีก
สถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทย
ผลักดันไทยสเู่ บอร์ 1 ส่งออกฮาลาลระดับโลก
“ตลาดอาหารฮาลาล” เปน็ เปา้ หมายส�ำคญั ตอ่ เศรษฐกจิ โลก
เนอื่ งจากประชากรมสุ ลมิ ทม่ี กี วา่ 1,900 ลา้ นคน กระจายอย่ใู นทกุ
ภมู ภิ าคในโลก รฐั บาลไทยจงึ มงุ่ สง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมอาหารฮาลาล
และได้แปลงนโยบายสู่การปฏบิ ตั ิอย่างเป็นรูปธรรม
สถาบนั มาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทย เป็นอกี หน่วยงาน
ที่มีความส�ำคัญต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ฮาลาลไทย รศ.ดร.
ปกรณ์ ปรียากร ผอู้ ำ� นวยการสถาบนั มาตรฐานฮาลาลแหง่
ประเทศไทย ในฐานะผดู้ แู ลสถาบนั แหง่ นี้ ได้ ใหส้ มั ภาษณ์ ถงึ พนั ธกจิ
หลกั ของสถาบนั วา่ “สถาบนั แหง่ นกี้ อ่ ตง้ั ในปี 2546 เพอื่ เปน็ สถาบนั
ของประเทศในการพฒั นามาตรฐานอาหาร ฮาลาลใหถ้ กู ตอ้ งตาม
ศาสนบัญญตั อิ สิ ลาม และสอดคล้องกบั มาตรฐานสากลให้เป็นท่ี
เชื่อถือ และยอมรับของผู้บริโภคทั้งในประเทศและต่างประเทศ
รวมถงึ ท�ำหน้าทใ่ี นการด�ำเนนิ การประสานงานกบั หนว่ ยงานต่างๆ
ทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชนเพอ่ื พฒั นาผลติ ภณั ฑอ์ าหาร ฮาลาลของ
ประเทศไทย ให้ได้มาตรฐานอาหารฮาลาลมาตรฐานเดียวกัน
รวมท้ังประสานงานกบั องค์กรฮาลาลระหว่างประเทศ และองค์กร
รับรองมาตรฐานอาหารฮาลาลของประเทศต่าง คิดดูว่าปัจจุบัน
มสุ ลิมทัว่ โลก จะมปี ระมาณ 1700-1800 ล้าน และคาดในปี 63
อาจจะขน้ึ ไปถงึ 1900 ลา้ น การเตบิ โตเรว็ มาก ทง้ั จากในสงั คมเดมิ
และจากคนท่ีเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม ครอบคลุมพ้ืนที่ใน
เอเชีย ตะวันออกกลาง และพื้นท่ีในประเทศเครือสมาชิกของ
องค์การความร่วมมอื โลกอสิ ลาม OIC 57 ประเทศ อนั เป็นพนื้ ท่ี
ที่มกี �ำลงั ซื้อค่อนข้างสูง มพี ้นื ท่ที ่อี ุดมด้วยแร่ธาตุ น�ำ้ มัน แต่ขาด
27อุตสาหกรรมสาร
ความมั่นคงด้านอาหาร ฉะน้ันในเชิงของอุตสาหกรรมอาหารใน
การส่งออก ตลาดน้ีจะมีความต้องการสูงข้ึนอย่างต่อเนื่องและมี
ศกั ยภาพมาก
และในส่วนของประชากรมุสลิม ใน AEC 10 ประเทศ
มปี ระชากร เฉลีย่ ประมาณ 600 ล้าน ประเทศท่มี ีมสุ ลิมใหญ่ท่สี ดุ
กค็ ือ อนิ โดนเี ซีย คอื 220 ล้านจากประชากรทง้ั หมด 250 ล้าน
นอกน้ันก็จะมีปากีสถาน หรือในอินเดียแม้จะไม่ใช่ AEC แต่ก็มี
มุสลมิ จ�ำนวนเป็น 100 ล้าน นอกจากน้ัน อาเซียนบวก6 ที่มีจนี
ซ่งึ ก็มีประชากรมสุ ลมิ กว่า 100 ล้าน ด้านเมอื งไทย กจ็ ะมีมสุ ลิม
ประมาณ 6 ล้าน สัดส่วนประมาณ 8-9 เปอร์เซน็ ต์ของประชากร
ไทยทั้งหมด ประมาณ 67 ล้านคน ส�ำหรับสถานการณ์ของ
ผปู้ ระกอบการทผี่ ลติ อาหารฮาลาลในประเทศไทย จากผทู้ มี่ า
จดทะเบยี นรบั รองและได้ตราฮาลาล ประมาณ 3.6-4 พนั โรงงาน
หรอื คดิ เปน็ ยอดผลติ ภณั ฑ์ 1 -1.2 แสนผลติ ภณั ฑ์ โดยกลมุ่ สนิ คา้
ที่มีมากที่สุด คืออาหาร เช่น ไก่ และผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหาร
เป็นหลัก ถ้าจัดล�ำดับนอกจากน้ันก็พวกวัตถุดิบในการท�ำอาหาร
สารปรุงต่างๆ
โอกาสในการพัฒนา ทั้งด้านอาหารและท่ไี ม่ใช่อาหาร เพราะว่าคนบรโิ ภคอาหาร ไม่ใช่
มาตรฐานอาหารฮาลาลของผู้ประกอบการไทย บริโภคแต่อาหาร แต่ก็จะบริโภคบรกิ ารทเ่ี กี่ยวเน่ือง ซึ่งตอนนเ้ี รา
กม็ าพฒั นาเร่อื งน้ีเต็มท่ี เมอื่ เราพฒั นาได้แล้ว คอื การพฒั นาคน 2
รศ.ดร.ปกรณ์ ให้หลักการในส่วนนี้ว่า “ส�ำหรับสินค้า ส่วน ส่วนแรกคือคนขององค์กรศาสนา ซ่ึงท�ำหน้าท่ี ในการตรวจ
อุตสาหกรรมทั้งหลายที่จะเข้าสู่การเป็นสินค้าส่งออก อันดับแรก รับรอง อีกส่วนหนง่ึ คือความรู้ของผู้ประกอบการ ในการทจ่ี ะเข้า
เราต้องสร้างความเข้าใจให้ชัดเจนก่อนว่า ทุกอย่างเริ่มจาก สู่กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ฮาลาล ท่ีส�ำคัญต้องเชื่อมั่นว่ามัน
มาตรฐานก่อน เพราะในโลกปัจจุบันแข่งขันกันเรื่องมาตรฐาน ไปไดแ้ ลว้ กท็ �ำใหก้ ระบวนการทต่ี ามมากจ็ ะงา่ ยขน้ึ ฮาลาลเปน็ เรอื่ ง
ก็เหมอื นอตุ สาหกรรมทวั่ ไป ถ้าคณุ ไม่มมี าตรฐาน ตามทก่ี �ำหนด ของกิจการทางศาสนา เป็นสินค้าความเชื่อ ไทยเรามีโครงสร้าง
ก็ไม่มีทางได้เปรียบในเชิงเปรียบเทียบ ฉะน้ันในกรณี ฮาลาล ของประเทศได้เปรียบ เพราะว่ามีพระราชบัญญัติของกฏหมาย
มาตรฐานส�ำคญั ตรงทว่ี ่า ฮาลาล เป็นสนิ ค้าความเชอ่ื เพราะคน อสิ ลาม ปี 2540 ท่กี �ำหนดให้กจิ การทางด้านศาสนาอสิ ลามเป็น
ที่บริโภคผลิตภัณฑ์ฮาลาล เป็นคนท่ีมีความเชื่อว่า กระบวนการ ภารกจิ ของคณะกรรมการกลางอสิ ลาม และคณะกรรมการอสิ ลาม
ผลิตทั้งหมด ถูกต้องตามหลักการของศาสนาอิสลาม ฉะนั้นการ ประจ�ำจังหวดั ฉะนน้ั ถ้าเราสร้างจดุ แข็งขององค์กร กระบวนการ
ก�ำหนดมาตรฐาน จึงเกิดขึ้นจากการพัฒนาของ บรรดานักการ พฒั นาฮาลาลกจ็ ะเข้าสู่มาตรฐานสากล เตม็ รูปแบบ”
ศาสนาบวกกบั นักวทิ ยาศาสตร์ฮาลาล เม่อื เราก�ำหนดมาตรฐาน
ได้เล้ว กต็ ้องน�ำมาตรฐานนไี้ ปพฒั นาคน ซง่ึ เป็นปัจจยั ในการผลติ การต่ืนตัวเรื่องมาตรฐานฮาลาลของคนยุคใหม่
สินค้าทุกประเภท ไปพัฒนาเร่ืองของวัตถุดิบ ที่ให้สามารถเข้า
สู่กระบวนการผลิต ไปพัฒนาเร่ืองระบบทุน เพราะทุนก็ส�ำคัญ รศ.ดร.ปกรณ์ กล่าวต่อว่า “ณ วันนถ้ี ้าไปคุยกบั เดก็ อายุ 20
ทนุ ทเี่ ราจะใช้ในการผลติ สนิ ค้า ขึ้นไป ไม่มีทางที่จะซื้อสินค้าโดยไม่ดูตรารับรอง ฉะน้ันแนวโน้ม
ข้างหน้าผู้บริโภคจะไม่ได้มีแค่วงการอิสลามอีกต่อไปแล้ว แต่จะ
ฮาลาล ต้องเป็นทุนที่ไม่มาจากสิ่งที่มันผิดหลักของศาสนา ครอบคลุมถึงคนท่ัวไปก็จะหันมาสนใจสินค้าที่มีตรามาตรฐาน
เช่น สิ่งทีเ่ งนิ การพนนั เงินท่มี าจากการคดโกง ทจุ ริต ตรงนเ้ี ป็น รบั รอง แต่ท้งั นว้ี งการฮาลาลนน้ั จะมขี ้อบญั ญัตพิ เิ ศษ ทีจ่ ะท�ำให้
ประเด็นเร่ิมต้น จากนน้ั กระบวนการผลติ ก็ไม่น่าเป็นห่วง ฮาลาล ผู้บริโภคส่วนใหญ่แม้เขาไม่ใช่มุสลิม แต่เขาก็เลือกท่ีจะบริโภค
ไม่มีค�ำว่า 90 หรอื 80 เปอร์เซ็นต์ มีแต่ 100 เปอร์เซน็ ต์ ถ้าเรา ฮาลาล เพราะมนั่ ใจทจี่ ะไมม่ สี ง่ิ ปนเปอ้ื น ไมม่ คี �ำวา่ อาหารเปน็ พษิ
ท�ำได้ก็จะเป็นท่ี 1 ชองโลก นอกจากน้ีเรื่องของการพัฒนาการ
ตลาด กเ็ ปน็ เรอ่ื งทต่ี อ้ งด�ำเนนิ การในลกั ษณะทเี่ ราจะขายความเชอื่
เร่ืองมาตรฐานออกไปกับการขายความสามารถหลักในการ
พฒั นาการผลติ ไปสรู่ ะบบ ฮาลาลสมบรู ณแ์ บบออกไป เพราะความ
เสยี เปรยี บของไทยคอื ไทยไม่ใชป่ ระเทศมสุ ลมิ โลกมสุ ลมิ เขาจะ
สงสัยหรือไม่ว่ากระบวนการผลิตฮาลาล สมบูรณ์แบบ ตรงจุดนี้
หน้าที่ของหน่วยงานผม..ในฐานะที่เป็นองค์กรที่จัดต้ังโดยคณะ
รัฐมนตรี ที่อยู่ภายใต้ของคณะกรรมการกลางอิสลามของ
ประเทศไทย กจ็ ะต้องด�ำเนนิ การในเรอ่ื งของการพฒั นามาตรฐาน
28 อตุ สาหกรรมสาร
ไมม่ คี �ำว่า การผลติ ทกุ ขนั้ ตอนไม่มมี าตรฐาน ฉะนน้ั วนั นโ้ี ลก เป็น บรกิ ารด้านการขนส่ง มาตรฐานด้านผลติ ภัณฑ์ยาและเวชภณั ฑ์
โลกของการบริโภคสิ่งท่ีมีมาตรฐาน ทีนี้วงการมุสลิม นอกจาก ต่างๆ และส่วนท่ียากท่ีสุด คือเรื่องของการพัฒนาความรู้ความ
ประเทศทเี่ ป็นมสุ ลมิ เกอื บจะ 90 เปอร์เซน็ ต์ เขาไม่ก�ำลงั การผลติ เข้าใจทถ่ี กู ต้องของประเทศทส่ี าม ท่เี ขาซ้ือสนิ ค้าจากไทย ว่าเรามี
เพียงพอ เขาจึงต้องเลือกท่ีจะซื้อสินค้า เข้าไปสู่การบริโภคของ การผลติ ฮาลาลไดม้ าตรฐานระดบั โลก หรอื ในดา้ นการทอ่ งเทยี่ วก็
ประชาชนของเขา ด้วยความมั่นใจว่า การน�ำเข้าก็ดี หรือการ เปน็ ตลาดทส่ี �ำคญั อกี ตลาดหนงึ่ ของไทย เปน็ ตลาดทจี่ ะเตบิ โตมาก
ด�ำเนนิ การทเ่ี กย่ี วขอ้ งมมี าตรฐานรองรบั จรงิ ๆ ยกตวั อยา่ งเพมิ่ เตมิ คอื การตลาดการทอ่ งเทยี่ วแบบฮาลาล เราจะท�ำตรงนต้ี อ้ งรว่ มกบั
วา่ ผมมเี พอื่ นทไี่ มใ่ ชม่ สุ ลมิ ในไทย เขาเคยอยใู่ นประเทศทมี่ มี สุ ลมิ กระทรวงการท่องเท่ียว ในการท่ีจะพัฒนามาตรฐานฮาลาลเพื่อ
มากๆ เขาก็ศกึ ษาเรื่องฮาลาล แล้วพอเขาไปอยู่ประเทศอ่นื เขา การทอ่ งเทย่ี ว เพราะปจั จบุ นั นค้ี นไมไ่ ดก้ นิ อยา่ งเดยี ว เขาเทย่ี วดว้ ย
ก็เลือกที่จะบริโภคฮาลาล เพราะเขาเช่ือมั่นในสินค้า” ซ่ึงน่ีก็คือ กับอีกส่วนหน่ึงเขามารักษาพยาบาล ถ้าเรามีมาตรฐานท่ี
แนวโนม้ และโอกาสใหมท่ กี่ �ำลงั จะเกดิ ขนึ้ ในในวงการอาหารฮาลาล ครอบคลุม และขายความเชอ่ื มน่ั มากข้นึ กไ็ ม่ใช่แค่อาหารอกี ต่อ
ของไทยและระดบั โลก ไปแนวโน้มกจ็ ะมีเรอื่ งด้านบรกิ ารได้ด้วย”
4 ยุทธศาสตร์ เดินหน้าสร้างมาตรฐานฮาลาลไทย ส่วนแนวโน้มในการตอบรับ ของรัฐบาลในการร่วมผลักดัน
ยทุ ธศาสตร์ รศ.ดร.ปกรณ์ กลา่ ววา่ “ทางรฐั บาลก็ ใหค้ วามส�ำคญั
ภายใตป้ รชั ญาการด�ำเนนิ งานของสถาบนั ฯ นนั่ กค็ อื พฒั นา เพียงแต่ว่าช่วงเปลี่ยนผ่าน 2 รัฐบาลท่ีผ่านมา ล่าสุดกับงาน
ฮาลาลจากหลักศรัทธา สู่ความเช่ือม่ันด้าน คุณภาพผลิตภัณฑ์ “Thailand Halal Assembly” ซึ่งถอื ว่าเป็นงานท่ใี หญ่ท่ีสดุ งานหน่งึ
และบรกิ าร คณะกรรมการกลางอสิ ลามแหง่ ประเทศไทย จงึ ไดใ้ ห้ ในเอเชีย จะสามารถแสดงถงึ ศกั ยภาพ และความเป็นเลศิ ของฮา
ความส�ำคญั ในการสรา้ งมาตรฐานใหก้ บั ผลติ ภณั ฑฮ์ าลาลในเมอื ง ลาลไทยให้ชาวโลกได้รบั รู้ พร้อมกบั การก้าวข้นึ ต�ำแหน่งผู้ส่งออก
ไทย โดยก�ำหนดแผนยุทธศาสตร์สถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่ง ผลติ ภณั ฑฮ์ าลาลอนั ดบั 1 ของโลก ทง้ั นี้ ฐานเศรษฐกจิ ส�ำคญั ของ
ประเทศไทย ประจ�ำปี พ.ศ. 2556 – 2559 เพอ่ื น�ำไปสู่การสร้าง ไทยส่วนใหญ่คือการส่งออกสินค้าทางการเกษตรและอาหาร
มาตรฐานให้มีมาตรฐานเดียวกันที่ทั่วโลกให้การยอมรับและ แปรรปู ซงึ่ มคี วามส�ำคญั ตอ่ การกระตนุ้ เศรษฐกจิ ไทยใหเ้ ตบิ โต ทงั้
ต้อนรับ ยังส่งผลให้การพัฒนาประเทศด้านต่างๆ ได้รับประโยชน์ไปด้วย
การจัดงานคร้ังนี้ ท่านนายกที่มาเปิดงานฮาลาล ท่านก็ให้ความ
n ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การสร้างมาตรฐานการมาตรฐาน และ มั่นใจกับผู้ที่เข้ามาร่วมประชุม ว่าท่านจะสนับสนุนเรื่องนี้เต็มท่ีก็
การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์และบริการ ฮาลาล ก�ำหนด ถึงขนาดที่มีการพูดถึงพื้นท่ีอุตสาหกรรมฮาลาล เช่นท่ีเชียงใหม่ท่ี
มาตรฐานผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ ารฮาลาลโดยยดึ หลกั “ศาสนารบั รอง จะท�ำเปน็ นคิ มอตุ สาหกรรมฮาลาล เชอื่ มโยงกบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น
วทิ ยาศาสตรร์ องรบั ”, จดั ท�ำคมู่ อื การผลติ การตรวจสอบ การรบั รอง ทางตอนบน เป็นต้น ก็หวังว่ายทุ ธศาสตร์จะมคี วามเด่นชดั กว่าใน
การให้ค�ำปรึกษาแก่สถานประกอบการ และการฝึกอบรมและ ปัจจุบัน มีการท�ำงานร่วมกันต้ังแต่สภาพัฒน์ กระทรวงเกษตร
พัฒนาบุคลากรที่เก่ียวข้องในกิจการฮาลาลโดยร่วมมือกับฝ่าย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงต่างประเทศ
กิจการฮาลาล กอท. และศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์ และหน่วยงานของภาคเอกชน สภาอุตสาหกรรม หอการค้า และ
มหาวิทยาลยั เรอ่ื งของเอกชนท่ที �ำงานด้านทเ่ี กย่ี วข้องกบั ด้านเวชภณั ฑ์ ยา
n ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การสร้างความเชื่อถือและยอมรับใน รศ.ดร.ปกรณ์ ไดฝ้ ากถงึ ผปู้ ระกอบการในการพฒั นาสนิ คา้ ไป
มาตรฐานของผลิตภัณฑ์และบริการฮาลาล การเผยแพร่ สู่ตลาดฮาลาลว่า “ผมเชื่อว่าผู้ประกอบการอุตสาหกรรมในบ้าน
ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการตลาด ด้วยการสร้างความรู้ความ เราเป็นผู้ประกอบการทมี่ คี วามสามารถสงู มคี วามเตบิ โตและการ
เขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ งเกยี่ วกบั มาตรฐานฮาลาล และการรบั รองผลติ ภณั ฑ์ ปรบั ตวั ทคี่ อ่ นขา้ งรวดเรว็ แตว่ า่ ความรเู้ รอ่ื งการปรบั ตวั เรอื่ งตลาด
และบรกิ ารฮาลาล ฮาลาล จ�ำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างมาก ซึ่งก็จะมีส่วน
ช่วยท่านลดต้นทนุ ในการผลติ ลง และสามารถน�ำไปเพม่ิ มลู ค่าให้
n ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมและสนับสนุนผลิตภัณฑ์ กับผู้ซ้ือได้มากข้นึ ขณะเดยี วกนั ก็จะกลายเป็นตลาดถาวร เพราะ
และบริการฮาลาล เพ่ือการส่งออกการสร้างความเชื่อถือและ หากบริษัทไหนหรือผู้ประกอบการรายใดสามารถสร้างความ
ยอมรบั ในมาตรฐานผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ ารฮาลาลของประเทศไทย น่าเช่ือถือได้ และมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ก็จะอยู่ใน
และการให้ความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในการ ตลาดได้อย่างถาวร.
ส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์และบริการฮาลาลทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ
n ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การบรหิ ารสถาบนั โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล
การจัดระบบบริหารและระเบียบปฏิบัติการ และการสร้าง
ความโปร่งใสและการตรวจสอบ รศ.ดร.ปกรณ์ กล่าวเพ่ิมเติมว่า
“ในต้นปนี ้ี คณะกรรมการพฒั นาอตุ สาหกรรมฮาลาล จะมกี ารจดั
ประชมุ เพอ่ื ก�ำหนดยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นากจิ การฮาลาล เรอื่ งของ
มาตรฐาน กระบวนการผลติ การขนส่ง การให้บรกิ ารต่างๆ เช่น
มาตรฐานด้านการบริการด้านการท่องเท่ียว มาตรฐานด้านการ
29อุตสาหกรรมสาร
Business Focus เรื่อง : นุชเนตร จักรกลม
โรงแรมติดดาว
ยกระดับบริการอาหารฮาลาลรับอาเซียน
ปัจจุบันอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวถือเป็น ดว้ ยปจั จยั ขา้ งตน้ ท�ำใหท้ ง้ั ภาครฐั และภาคเอกชนทเ่ี กยี่ วขอ้ งเลง็ เหน็
ธุรกิจท่ีขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีบทบาท ถึงศักยภาพของตลาดนักท่องเท่ียวมุสลิม จึงเกิดการร่วมมือกันเพื่อ
ส�ำคัญต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวมของ สง่ เสรมิ และตอบสนองความตอ้ งการของนกั ทอ่ งเทย่ี วชาวมสุ ลมิ ใหไ้ ดร้ บั
ประเทศ และยงั เปน็ โซข่ อ้ กลางทเี่ ชอ่ื มโยงเมด็ ความสะดวกสบายในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันขณะท่ีเดินทางมา
เงนิ ไปสอู่ กี หลายภาคสว่ นทเี่ กย่ี วเนอื่ ง ไมว่ า่ ท่องเทย่ี ว ท้ังเรือ่ งของการอปุ โภค บริโภค และการบริการท่ไี ด้มาตรฐาน
จะเป็น การสร้างอาชีพ ธุรกิจร้านอาหาร ฮาลาล ถกู ตอ้ งตามหลกั ของศาสนาอสิ ลาม 11 องคป์ ระกอบทเี่ ปน็ ตวั ชว้ี ดั
ธรุ กจิ บรกิ าร และธรุ กจิ โรงแรม ทย่ี งั คงมกี าร ได้แก่ สถานท่ี วตั ถดุ บิ ทใ่ี ช้ในการประกอบอาหาร กระบวนการ บคุ ลากร
แข่งขันสูงและต่อเน่ืองเพื่อชิงส่วนแบ่งตลาด ผู้สมั ผัสอาหาร ภาชนะ/อุปกรณ์ การก�ำจัดขยะมลู ฝอย ความปลอดภยั
ในการรองรบั ลกู คา้ นกั ทอ่ งเทยี่ วจากทวั่ โลก การให้บริการ ความรับผิดชอบต่อสังคม การบริหารจัดการด้าน
ทเ่ี ขา้ มาใชบ้ รกิ าร ซงึ่ กลมุ่ ตลาดนกั ทอ่ งเทย่ี ว สง่ิ แวดลอ้ ม ความสมั พนั ธก์ บั ชมุ ชน สถานประกอบการดา้ นธรุ กจิ อาหาร
ที่น่าจับตามองก็คือ กลุ่มนักท่องเที่ยวชาว ฮาลาล ได้แก่ ร้านจ�ำหน่ายอาหาร โรงอาหาร ห้องอาหารในโรงแรม สถานท่ี
มุสลิม เพราะมีการขยายตัวต่อเนื่องทุกปี ท่องเท่ียว โดยให้ความส�ำคัญในพ้ืนที่แหล่งท่องเที่ยวและเส้นทางการ
โดยเฉพาะนกั ทอ่ งเทยี่ วจากตะวนั ออกกลาง ท่องเที่ยวทั่วประเทศด้วย เพ่ือให้นักท่องเท่ียวเกิดความเชื่อมั่นในการ
ทเ่ี ดนิ ทางเขา้ มาทอ่ งเทย่ี วยงั ประเทศไทยเพม่ิ
ข้ึนประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ทุกปี และยังมี 30 อุตสาหกรรมสาร
นักท่องเที่ยวชาวมุสลิมในภูมิภาคอ่ืน เช่น
มาเลเซีย อินโดนีเซีย อินเดีย ฯลฯ ซึ่งมี
จ�ำนวนนักท่องเที่ยวรวมกันมากกว่า
2 ล้านคน (ข้อมูลจากการท่องเที่ยวแห่ง
ประเทศไทย) ยงั ไมร่ วมถึงการเปดิ ประชาคม
อาเซยี นทมี่ จี �ำนวน600ลา้ นคนและครงึ่ หนงึ่
เป็นชาวมุสลิม ซึ่งจะส่งผลให้ทั้งภาคธุรกิจ
และการท่องเท่ียวมีโอกาสและความท้าทาย
ยิ่งกวา่ เดิม
รบั ประทานอาหารฮาลาลและสอดคลอ้ งกบั นโยบายสง่ เสรมิ การ
ทอ่ งเทยี่ วใหม้ กี ารบรหิ ารจดั การและบรกิ ารอยา่ งมคี ณุ ภาพระดบั
นานาชาติ ทั้งน้ีได้น�ำร่องการให้บริการอาหารฮาลาลใน
เส้นทางการท่องเทย่ี วไว้ 30 แห่ง ใน 10 จงั หวดั ได้แก่ กระบี่
ภูเก็ต ตรัง สตูล สงขลา สุราษฎร์ธานี (เกาะสมุย/เกาะพงัน)
ชลบุรี ตราด(เกาะช้าง) เชยี งใหม่ และกรุงเทพมหานคร
รวมทง้ั กลมุ่ ธรุ กจิ โรงแรมทอ่ี ยนู่ อกเหนอื ท�ำเลน�ำรอ่ ง กม็ กี าร
ปรบั ตวั เพอื่ ใหส้ อดรบั กบั หลกั การของศาสนาอสิ ลามเพม่ิ มากขนึ้
เช่นเดียวกัน น�ำไปสู่การเกิดโรงแรมฮาลาล 100 เปอร์เซ็นต์
ในจังหวดั ต่างๆเพิ่มมากขน้ึ โดยมีลกั ษณะเด่น อาทิ
1. เรอ่ื งอาหารฮาลาลท่ีให้ความส�ำคญั กับวตั ถุดิบ ไก่ และ
ววั ตอ้ งเชอื ดโดยคนมสุ ลมิ และกรรมวธิ กี ารปรงุ ตอ้ งเปน็ ไปตาม
ตามหลักศาสนาทกุ ประการอย่างเคร่งครดั
2.ไม่มสี ถานเรงิ รมย์ อบายมขุ และไม่จ�ำหน่ายของมนึ เมา
3.ในห้องพักควรมีสัญลักษณ์บอกทิศทางการละหมาด
ไม่ควรมรี ูปปั้น ไม่ว่าจะรปู คนหรอื สัตว์กต็ าม
4.หากมสี ระวา่ ยนำ้� จะตอ้ งจดั สระวา่ ยแยกส�ำหรบั ชายหญงิ
เป็นต้น
31อุตสาหกรรมสาร
ตัวอย่างกรณีศึกษาของโรงแรมฮาลาลในประเทศไทยท่ี แห่งประเทศไทย ทงั้ นก้ี ็เพ่ือตอบโจทย์ความต้องการและรองรบั
ประสบความส�ำเร็จทั้งด้านการบริหารจัดการและการด�ำเนิน กลุ่มลูกค้าผู้เข้าพักซึ่งเป็นมุสลิมและลูกค้าทั่วไป ที่เข้ามาท่อง
ธรุ กจิ ได้แก่ โรงแรมนูโว ซติ ้ี โรงแรมหรูระดบั 4 ดาวใจกลาง เทยี่ วหรอื ตดิ ตอ่ ธรุ ะทกี่ รงุ เทพมหานครไดอ้ ยา่ งสะดวกสบายงา่ ย
เมือง ที่บริหารงานโดยตระกูลนานา ด้วยพื้นฐานครอบครัว ต่อการเดินทาง เนื่องจากติดกับสถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิงค์
ผบู้ รหิ ารทเ่ี ปน็ ตระกลู เกา่ แกม่ เี ชอื้ สายมสุ ลมิ จากประเทศอนิ เดยี และย่านการค้า ส่วนโรงแรม โรมนี ่า แกรนด์ ระดับ 3 ดาว แห่ง
และท�ำกิจการค้าขายและอสังหาริมทรัพย์สืบทอดมารุ่นต่อรุ่น แรกของเชียงใหม่ท่ีชูจุดแข็งเรื่องของความสงบและเป็นส่วนตัว
ซงึ่ คณุ มนสั และคณุ พนดิ า นานา ทายาทรนุ่ ที่ 5 ไดส้ านตอ่ ธรุ กจิ ปราศจากอบายมขุ ต่างๆ และเสิร์ฟอาหารฮาลาลท่ถี ูกต้องตาม
หอ้ งเชา่ ยา่ นบางล�ำพู และปรบั เปลยี่ นโรงแรมในภายหลงั โดยใช้ หลักศาสนาทกุ ประการ
ช่ือ “นิวเวิลด์ ซิตี้” ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่นักท่องเท่ียวโดย
เฉพาะชาวมุสลิมทางภาคใต้และข้าราชการ และเม่ือเล็งเห็น กา้ วตอ่ ไปหลงั จากนี้ Halal Tourism จะไมใ่ ชเ่ รอ่ื งใหมอ่ กี ตอ่ ไป
โอกาสทางธุรกิจเพ่ิมเติมประกอบกับโลเกช่ันนี้ยังไม่มีโรงแรมที่ แต่เต็มไปด้วยโอกาสและความท้าทาย ที่ภาคอุตสาหกรรม
อ�ำนวยความสะดวกสบายใหก้ บั ผเู้ ขา้ พกั แบบครบวงจร จงึ สรา้ ง ทเี่ กย่ี วขอ้ งไมว่ า่ จะเปน็ ธรุ กจิ รา้ นอาหาร โรงแรม และบรกิ าร ตา่ ง
โรงแรมนูโว ซติ ี้ ข้นึ ในสไตล์โมเดริ ์น บตู ิค ระดับ 4 ดาว รองรบั ตอ้ งหาแนวทางในการปรบั ตวั และวางกลยทุ ธเ์ พอื่ สรา้ งจดุ ดงึ ดดู
ผเู้ ขา้ พกั ได้ 110 หอ้ ง ขน้ึ เปน็ แหง่ แรกในเขตพระนคร เมอ่ื ปี 2011 ใจและรองรับนักท่องเที่ยวจากกลุ่มประเทศมุสลิมกันอย่าง
เพ่ือรองรับกลุ่มลูกค้าชาวต่างชาติและลูกค้าชาวไทยในสัดส่วน จรงิ จังและแพร่หลายมากขน้ึ .
60 : 40 ด้วยบรกิ ารและส่ิงอ�ำนวยความสะดวกครบครัน และ
นอกจากความหรูหราและสะดวกสบายแล้ว ท่ีนี่ยังต่างจาก ทมี่ า - งานสมั มนาวชิ าการสถาบนั เอเชยี ศกึ ษา 2557 เอเชยี :หลากมติ ิ
โรงแรมอ่นื ๆ ด้วยการเป็นโรงแรม 4 ดาวท่ชี เู รือ่ งของฮาลาลแห่ง ความเปลย่ี นแปลงในก้าวยา่ งสหสั วรรษใหม่” หวั ขอ้ การให้บรกิ ารของ
แรก ซง่ึ เคร่งครดั ท้งั เร่ืองของอาหาร เครอื่ งดืม่ ทไ่ี ม่มแี อลกอฮอล์ ธรุ กจิ โรงแรมในกรงุ เทพมหานคร โดย คณุ จติ ติมา คม้ิ สขุ ศรี นกั วิจยั
หอ้ งพกั แตล่ ะหอ้ งจะตดิ ทศิ กบิ ลตั ซง่ึ เปน็ ทศิ ทใี่ หล้ ะหมาดไดเ้ หน็ ศูนย์มสุ ลมิ ศกึ ษา สถาบนั เอเชยี
ชดั เจน และมหี อ้ งละหมาดแยกชายหญงิ อกี ดว้ ย ท�ำใหผ้ ทู้ นี่ บั ถอื • www.isranews.org
อิสลามมน่ั ใจได้ทง้ั เรื่องของอาหารด้วยสโลแกน Think of Halal • www.nouvocityhotel.com
Think of Nouvo City Hotel • www.thaimuslim.com
• www.halal.or.th
มอี กี สองโรงแรมมสุ ลมิ ทนี่ า่ สนใจและเลง็ การขยายตวั ตอ่ เนอ่ื ง • www.muslimthaipost.com
เพอ่ื รบั อาเซยี นกค็ อื โรงแรมธราทพิ ย์ และโรงแรมโรมนี า่ แกรนด์
ทน่ี �ำระบบฮาลาลมาใช้แบบครบวงจร ในเครือบริษทั ธราทพิ ย์
โฮเต็ล จ�ำกดั ทบ่ี ริหารโดยคณุ สามารถ บุญธราทพิ ย์ ประธาน
กรรมการบรหิ าร และทมี งานมสุ ลมิ ทง้ั โรงแรมธราทพิ ย์ โรงแรม
ขนาดกลาง ยา่ นรามค�ำแหง ตดิ กบั มลู นธิ เิ พอ่ื ศนู ย์กลางอสิ ลาม
32 อตุ สาหกรรมสาร
Opportunity เรื่อง : นุชเนตร จักรกลม
จฬุ าราชมนตรี
ชช้ี อ่ งทางการเตบิ โตของตลาดอาหารฮาลาล
ผู้ประกอบการควรเร่งพัฒนาศักยภาพ
การผลิตผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาลให้มีมาตรฐาน
ในปัจจุบันแนวโน้มการเติบโตของตลาดอาหาร โดยในงานอบรมสัมมนาโครงการพัฒนาศักยภาพ
ฮาลาลท้ังในประเทศไทยไปจนถึงตลาดอาหาร ผู้ประกอบการผลิตอาหารฮาลาล พ้ืนท่ีจังหวัดสงขลานั้น
ฮาลาลทั่วโลกน้ันเป็นไปในทิศทางท่ีดี มีอัตราการ นายอาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี ประธาน
ขยายตวั เพมิ่ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ งทกุ ปี สอดรบั กบั การ กรรมการกลางอิสลามแหง่ ประเทศไทย ได้เปิดเผยถึงมมุ
เพ่ิมขึ้นของจ�ำนวนประชากรมุสลิม ดังน้ัน ในภาค มองเร่ืองตลาดอาหารฮาลาลไทยเอาไว้ว่า ปัจจุบันตลาด
อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล อาหารฮาลาลได้รบั ความนยิ มจากคนทว่ั โลกไม่ต�ำ่ กว่า 2 พนั
ประเทศไทยเองจงึ ใหค้ วามส�ำคญั กบั การเรง่ พฒั นา ล้านคน ไม่เฉพาะชาวมุสลิมท่ีคิดเป็นเกือบ 25% ของ
ศักยภาพผู้ประกอบการฯในพื้นที่จังหวัดต่างๆ ประชากรโลก โดยเฉพาะประเทศในอาเซียนท่ีมีประชากร
ท้ังเรื่องของการพัฒนาวัตถุดิบ การส่งเสริม มสุ ลมิ ครง่ึ หนงึ่ หรอื ประมาณ 300 ล้านคน และก�ำลงั จะกลาย
ผปู้ ระกอบการ การแสวงหาตลาด และการพฒั นา เป็นประชาคมเดียวกันในสิ้นปีนี้ แต่ทุกศาสนาก็สามารถ
กลไกการรับรองมาตรฐานฮาลาลให้เป็นท่ีน่า บรโิ ภคอาหารฮาลาลไดเ้ ชน่ เดยี วกนั ซงึ่ กเ็ ปน็ ตลาดทเ่ี ปดิ กวา้ ง
เชื่อถือยอมรับของผู้บริโภคท้ังในประเทศและ
ต่างประเทศ ท�ำให้ผู้ประกอบการมีความรู้ ความ ดงั นนั้ ผปู้ ระกอบการควรทจี่ ะใหค้ วามส�ำคญั อยา่ งยง่ิ ยวด
เข้าใจที่ถูกต้องในหลักการการผลิตอาหารฮาลาล ทั้งในส่วนของสถานประกอบการท่ีผ่านมาตรฐานการผลิต
ตามหลกั ศาสนาอสิ ลามดงั ที่ไดก้ ลา่ วไวข้ า้ งตน้ เพอ่ื อาหารฮาลาลท่ีถูกต้องตามบัญญัติทางศาสนาและปฏิบัติ
ตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคใน ตามระเบียบคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
ประเทศ ขณะเดยี วกนั ทกุ ฝา่ ยทเี่ กยี่ วขอ้ งทง้ั ภาครฐั ปลอดภัยจากส่ิงต้องห้ามทางศาสนาอิสลาม (ฮารอม) และ
และเอกชนยังต้องเร่งระดมแนวคิดเพ่ือร่วมกันวาง สง่ิ ปนเปื้อนต่างๆ มีการจดทะเบยี นถูกต้อง ได้ตรามาตรฐาน
แนวทางในการขยายฐานการสง่ ออกอาหารฮาลาล รองรับ ตลอดจนรายละเอียดและกฎระเบียบอื่นๆเพ่ือสร้าง
ไปยงั กล่มุ ประเทศแถบอาหรบั และยุโรปอกี ดว้ ย ปลอดภยั และความม่นั ใจในการบรโิ ภคให้แก่ชาวมสุ ลมิ ดงั นี้
33อตุ สาหกรรมสาร
มาตรฐานอาหารฮาลาล ทั้งนี้ตลาดการส่งออกอาหารฮาลาลของไทยจะอยู่ในกลุ่ม
1. ผูก้ �ำหนดมาตรฐาน ได้แก่ อลั ลอฮฺ (ซ.บ.) พระผู้เป็น ประเทศอาเซยี นเปน็ หลกั สว่ นตลาดประเทศกลมุ่ ตะวนั ออกกลาง
เจ้า , ศาสดามฮู �ำหมดั (ซ.ล.) และยุโรปนั้นยังถือว่ามีการส่งออกท่ีน้อยกว่า เนื่องจากอาหาร
2. หลักการส�ำคัญ ได้แก่ ฮาลาล (อนมุ ตั )ิ ตามบัญญัติ ฮาลาลของไทยส่วนมากจะเป็นผลิตภัณฑ์จ�ำพวกอาหารทะเล
ศาสนาอสิ ลาม, ปราศจากสง่ิ ฮารอม (สงิ่ ต้องห้าม) , ตอยยบิ (ดี) ซ่ึงไม่เป็นที่นิยมบริโภคมากนักในกลุ่มประเทศดังกล่าว อีกทั้ง
ตามบญั ญตั ิศาสนาอสิ ลาม, ความสะอาด, ความปลอดภยั จาก กลมุ่ ประเทศดงั กลา่ วไมว่ า่ จะเปน็ ฝรง่ั เศสหรอื ออสเตรเลยี กเ็ ปน็
สารพิษและสิ่งปนเปื้อน, คุณค่าทางโภชนาการ, รักษาส่ิง คแู่ ขง่ ส�ำคญั ทสี่ ่งออกอาหารฮาลาลมากเป็นอนั ดบั ต้นๆของโลก
แวดล้อม โดยเน้นการเจาะตลาดกลุ่มประเทศอาหรบั และส่งออกอาหาร
3. การบรหิ ารมาตรฐาน ไดแ้ ก่ องคก์ รศาสนาอสิ ลามเปน็ หนกั ทงั้ ไก่ และเนอ้ื ววั ซง่ึ เปน็ ทนี่ ยิ มของกลมุ่ ผบู้ รโิ ภค นอกจาก
ผรู้ บั ผดิ ชอบตามบญั ญตั ศิ าสนาอสิ ลาม, เจา้ หนา้ ทตี่ รวจรบั รอง นน้ั ยังให้ความส�ำคญั ต้งั แต่อาหารทใี่ ห้สัตว์กิน เช่น หญ้า กไ็ ด้
มาตรฐานต้องเป็น มสุ ลมิ ที่ดีและมคี วามรู้ความสามารถในการ ขอจดทะเบียนรับรองว่าเป็นอาหารฮาลาลอีกด้วย ต่างกับของ
ปฏิบตั หิ น้าท่ี ประเทศไทยท่ขี อจดทะเบียนเพยี งแค่ตัวสตั ว์เท่าน้นั ซ่ึงส่งิ ต่างๆ
4. ระบบมาตรฐาน ได้แก่ ระบบเฉพาะมาตรฐานฮาลาล เหลา่ นเ้ี ปน็ สงิ่ ทผ่ี ปู้ ระกอบการผลติ อาหารฮาลาลของไทยตอ้ งน�ำ
ซึ่งครอบคลมุ ทง้ั ควาถกู ต้อง (ฮาลาล) และท่ีดี (ตอยยบิ ) ตาม ไปคดิ และรว่ มกนั หาแนวทางทจ่ี ะพฒั นาอาหารฮาลาลของไทย
บญั ญัตศิ าสนาอสิ ลาม, ช่อื ระบบมาตรฐาน คอื ฮาลาล (Halal) ให้มีคุณภาพ และตรงกบั ความต้องการของผู้บริโภคแต่ละกลุ่ม
5. ปจั จยั การผลิต ได้แก่ วัตถุดบิ ส่วนผสมและสารปรุง เพื่อที่จะสามารถเจาะตลาดใหม่ๆ และเพิ่มส่วนแบ่งทางการค้า
แต่งมีที่มาซ่ึงพิสูจน์ได้ว่า “ฮาลาล” ปราศจากสิ่ง “ฮารอม”, อาหารฮาลาลให้มากขน้ึ ในอนาคตต่อไป.
กระบวนการผลติ จะต้อง “ฮาลาล” ทุกข้ันตอน, สถานทผี่ ลิต
จะต้องสะอาด ปลอดภยั จากสิ่งปนเปื้อน มรี ะบบป้องกนั สตั ว์ ข้อมูลจาก
ทุกชนิดและไม่ปะปนกับการผลิตส่ิงท่ีไม่ฮาลาล, เคร่ืองจักร หนังสือฮาลาลและฮารอมในอสิ ลาม ของเชคยซู ฟุ อัลกอรดอวยี ์
เครอื่ งมือ และอปุ กรณ์การผลิตจะต้องสะอาดและไม่ได้ร่วมกบั www.halal.or.th
การผลิตส่ิงท่ีไม่ฮาลาล, การเก็บรักษา การขนส่ง และวาง www.skthai.org
จ�ำหน่าย จะต้องแยกสัดส่วนเฉพาะอาหารฮาลาลไม่ปะปน http://news.hatyaiok.com
กับสิ่งที่ไม่ฮาลาล เพื่อป้องกันการสับสนและเข้าใจผิดของ www.halalthailand.com
ผบู้ รโิ ภค, การลา้ งวตั ถดุ บิ หรอื อปุ กรณท์ ใ่ี ชผ้ ลติ อาหารทไี่ มฮ่ าลา
ลมาก่อนจะต้องล้างให้สะอาดตามบญั ญัตศิ าสนาอสิ ลาม
6. พนักงาน ได้แก่ พนกั งานทีผ่ ลติ อาหารฮาลาลควรเป็น
มุสลิม หากมิใช่มุสลิมจะต้องไม่เก่ียวข้องกับส่ิงที่ไม่ฮาลาลใน
ขณะผลิตอาหารฮาลาล เช่น เนือ้ สกุ ร เลอื ด แอลกอฮอล์ หรือ
สนุ ขั , พนกั งานเชอื ดสตั ว์ ตอ้ งเปน็ มสุ ลมิ ทม่ี สี ขุ ภาพจติ สมบรู ณ์
ไมเ่ ปน็ โรคทสี่ งั คมรงั เกยี จ และมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การ
เชอื ดสัตว์ตามบญั ญัตศิ าสนาอสิ ลาม
34 อตุ สาหกรรมสาร
Knowledge เรื่อง : อุเทน โชติชัย กระทรวงพาณชิ ย์ กระทรวงกระเกษตร
และสหกรณ์
กระทรวงอตุ สาหกรรม
หน่วยงานสนับสนุนอาหารฮาลาล
ท้ังภาครัฐและเอกชนในประเทศไทย
ตลาดอาหารฮาลาล เป็นเป้าหมายส�ำคัญเน่ืองจากประชากร 2.ขยายตลาด : สง่ เสรมิ และพฒั นาผ้ปู ระกอบการวสิ าหกจิ
มสุ ลมิ ทม่ี กี วา่ 1,900 ลา้ นคน กระจายอยใู่ นทกุ ภมู ภิ าคในโลก ขนาด ขนาดกลางและขนาดย่อมด้านอตุ สาหกรรม อาหารฮาลาลให้มี
ของตลาดอาหารฮาลาลโลก มีมูลค่าการตลาดโดยรวมท่ี 1.1 ล้าน ความพรอ้ มสกู่ ารพฒั นาผลติ ภณั ฑอ์ าหารฮาลาลทงั้ ตลาดภายใน
ล้านเหรยี ญสหรัฐฯ เตบิ โตเพ่ิมข้ึนเฉลยี่ ร้อยละ 7.4 ต่อปี โดยในช่วง และต่างประเทศ
คร่ึงแรกของปี 2557 (ม.ค. –มิ.ย.) ประเทศไทย มีมูลค่าการส่งออก
อาหารฮาลาล อยู่ที่ 2,980.2 ล้านเหรยี ญสหรัฐฯ ในช่วงครง่ึ แรกของ 3.สร้างโอกาส (Business Networking) : ยกระดับศักยภาพ
ปี 2557 (ม.ค. –ม.ิ ย.) และคาดว่าภายในปี 2558 ไทยจะสามารถ ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมด้าน
กระตุ้นยอดการส่งออกอาหารฮาลาลเพิ่มข้ึนได้ไม่ต่�ำกว่าร้อยละ 8 อุตสาหกรรมอาหารฮาลาล ก่อให้เกิดการแลกเปล่ียน
ตอ่ ป ี รฐั บาลจงึ มงุ่ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาอตุ สาหกรรมอาหาร ประสบการณ์ และสามารถเพิ่มช่องทางการตลาดในกลุ่ม
ฮาลาลในทุกข้ันตอนอย่างครบวงจร และได้แปลงนโยบายสู่การ ประเทศอาเซยี นและตลาดโลกได้
ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม ไมว่ า่ จะเปน็ การกอ่ ตงั้ ธนาคารอสิ ลามแหง่
ประเทศไทย สถาบันมาตรฐานอาหารฮาลาล ศูนย์วิทยาศาสตร์ 4.สร้างฐานข้อมูล : ส่งเสริมให้เกดิ การเชอื่ มโยงและขยาย
ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย และการจดั ต้งั นคิ มอุตสาหกรรม ความร่วมมือของผู้ประกอบการที่สนใจตลาดอาเซียน ซ่ึงจะ
อาหารฮาลาลปัตตานี ทง้ั หมดนเ้ี พอ่ื ให้ผลติ ภณั ฑอ์ าหารฮาลาลของ เปน็ การสรา้ งฐานขอ้ มลู เพอื่ การขยายตลาดมสุ ลมิ ในอาเซยี นและ
ประเทศไทย ไดร้ บั การยอมรบั ทงั้ จากสถาบนั มาตรฐานอาหารฮาลาล ภมู ิภาคอน่ื ๆ ในอนาคต
ทั่วโลก และจากผู้บริโภคทั้งท่ีเป็นมุสลิมและมิใช่มุสลิมว่าถูกต้อง
ตามหลักการศาสนาอิสลาม และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล ส�ำหรับผู้ประกอบการท่านใดสนใจรายละเอียดเพิ่มเติม
อันจะท�ำให้ประเทศไทยเป็นศูนย์อาหารฮาลาลอย่างแท้จรงิ สามารถสบื ค้นข้อมลู เพม่ิ เติมได้ท่ี www.dip.go.th
SMEs ที่ต้องการข้อมูลหรือองค์ความรู้เก่ียวกับอาหารฮาลาล กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพานิชย์
มหี น่วยงานทง้ั ภาครฐั และเอกชนท่ใี ห้การสนับสนนุ โดยตรงมดี งั น้ี
หน่วยงานทต่ี อบโจทย์เรอื่ งมลู ค่าตลาดอาหารฮาลาล และ
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม เช่ียวชาญด้านการตลาด มีหน่วยงานครอบคลุมเกือบทั่วโลก
“เพ่ือนแท้ของผู้ประกอบการตัวจริง” มีเป้าหมายในการช่วยเหลอื ดงั น้ี
กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมใหค้ วามส�ำคญั ในการพฒั นาภาคการ 1. สง่ เสรมิ ใหม้ สี นิ คา้ และบรกิ ารฮาลาลใหมๆ่ ทไี่ ดค้ ณุ ภาพ
ผลติ ในอตุ สาหกรรมอาหารฮาลาล โดยมงุ่ การพฒั นาผปู้ ระกอบการ ออกสตู่ ลาดและเปน็ ทยี่ อมรบั ของผบู้ รโิ ภคทง้ั ในประเทศและตา่ ง
การแสวงหาโอกาสทางการตลาด การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ประเทศ
และการจบั คเู่ จรจาธรุ กจิ ให้แกผ่ ู้ ประกอบการ โดยมยี ทุ ธศาสตรก์ าร
พฒั นาผู้ประกอบการอตุ สาหกรรมอาหารฮาลาล ดงั น้ี 2. ขยายตลาดอาหาร ผลติ ภัณฑ์และบริการฮาลาลในต่าง
ประเทศ โดยมตี ลาดเป้าหมายส�ำคญั ได้แก่ กลุ่มแอฟรกิ า กลุ่ม
1.เร่งให้ความรู้ : เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั ความ เอเชียตะวันตก กลุ่มเอเชียใต้ กลุ่มอาเซียน และกลุ่มยุโรป
ส�ำคญั ของมาตรฐานอาหารฮาลาล วิธบี ริหารจัดการอาหารฮาลาล ตะวันออก และหาตลาดใหม่ เช่น อเมรกิ าเหนอื กลุ่มสหภาพ
มาตรฐานฮาลาล ยทุ ธศาสตรก์ ารสง่ ออกอาหารฮาลาลไทยสอู่ าเซยี น ยุโรป สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนจนี อนิ เดยี
และตลาดโลก รวมถงึ การน�ำเข้าสนิ ค้าจากประเทศไทย
3. ขยายตลาดอาหาร ผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ ารฮาลาลภายใน
ประเทศพร้อมทั้งสร้างภาพลักษณ์ให้กับสินค้าฮาลาลของไทย
เพ่ือเป็นการขยายช่องทางการตลาดของสินค้าฮาลาลใน
ประเทศไทย
35อตุ สาหกรรมสาร
4. พัฒนางานโลจิสติกส์ฮาลาลอย่างเป็นรูปธรรม โดยการ กฎหมายว่าด้วยมาตรฐานสนิ ค้าเกษตร
พัฒนาระบบซอฟท์แวร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพ่ือใช้ในงาน 6. เป็นศนู ย์กลางข้อมูลด้านการมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและ
โลจิสติกส์ และการสร้างระบบการตรวจสอบย้อนกลับ (Halal
traceability system) ขึน้ โดยมมี าตรฐานเป็นท่ยี อมรบั ในทางสากล อาหาร การเตือนภัย และการเช่ือมโยงข้อมูลท้ังในประเทศและ
ระหว่างประเทศ
ส�ำหรับผู้ประกอบการท่านใดสนใจรายละเอียดเพ่ิมเติม
เก่ียวข้องกับตลาดฮาลาลท้ังในและต่างประเทศ สามารถสืบค้น 7. ส่งเสริม เผยแพร่ การมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหาร
ข้อมลู เพิ่มเตมิ ได้ที่ www.ditp.go.th ไปใช้ตลอด ห่วงโซ่อาหาร
ส�ำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 8. ศึกษา วิจัยและพัฒนาการมาตรฐานสินค้าเกษตรและ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อาหารทค่ี รอบคลมุ ตงั้ แต่ระดบั ฟาร์มถงึ ผู้บรโิ ภค
สินค้าฮาลาลเกือบทั้งหมดเป็นผลผลิตทางด้านการเกษตร 9. พัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างเป็นระบบต่อเน่ืองและ
หนว่ ยงานนเี้ ปน็ หนว่ ยงานทก่ี �ำหนดมาตรฐาน และรกั ษามาตรฐาน ทั่วถึงส�ำหรับท่านใดสนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถสืบค้น
ผลผลติ ทางการเกษตร เพอ่ื ให้ผู้บรโิ ภคได้สนิ ค้าทด่ี ี โดยหน่วยงาน ข้อมลู เพิ่มเตมิ ได้ท่ี www.acfs.go.th
นี้มีบทบาททส่ี �ำคญั ดังน้ี
สถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทย
1. เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์ด้าน
ความปลอดภยั สนิ ค้าเกษตรและอาหาร การรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาล เป็นหัวใจที่จะผลักดัน
ประเทศไทยสกู่ ารเป็นผ้นู �ำในตลาดอาหารฮาลาล สถาบนั ฯจงึ นบั
2. ก�ำหนดมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารใหส้ อดคลอ้ งกบั เป็นกลไกส�ำคัญในการพัฒนาระบบการรับรองมาตรฐานอาหาร
สากล ฮาลาลของประเทศไทย ให้ถูกต้องตามตามหลักการของศาสนา
อิสลาม และสอดคล้องกับมาตรฐานสากลที่ท่ัวโลกใช้เป็น
3. รับรองระบบงานผู้ประกอบการตรวจสอบมาตรฐานให้ บรรทัดฐาน ไม่จะเป็น CODEX / HACCP โดยร่วมกับศูนย์
สอดคล้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศ และกฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้อง วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และห้องปฏิบัติ
การทางวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในการตรวจสอบ
4. เป็นหน่วยงานกลางในการประสานงานและก�ำหนดท่าที ทางผลิตภัณฑ์อาหารทางวิทยาศาสตร์ อันเป็นนวัตกรรมส�ำคัญ
ของประเทศด้านการมาตรฐานกับ องค์การมาตรฐานระหว่าง ของมาตรฐานอาหารฮาลาลในประเทศไทย ทางด้านบุคลากร
ประเทศ และร่วมเจรจาด้านเทคนคิ สขุ อนามยั และสขุ อนามัยพืช สถาบันฯ ได้ก�ำหนดแผนด�ำเนินการพัฒนาเพื่อให้เพียงพอต่อ
ส�ำหรับสินค้าเกษตรและอาหาร ท้ังระดับทวิภาคี ภูมิภาค และ ความตอ้ งการในการตรวจสอบ และใหก้ ารรบั รองทว่ั ประเทศ รวม
พหภุ าคี ไปถึงการติดตามตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาลที่เป็น
5. ควบคมุ ก�ำกบั ดแู ล ตรวจสอบ ให้มกี ารปฏบิ ตั เิ ป็นไปตาม
36 อตุ สาหกรรมสาร
มาตรฐานเดยี วกันท่ัว ประเทศพนั ธกจิ ของสถาบนั ฯ มดี งั น้ี วิเคราะห์ผลติ ภณั ฑ์อาหารฮาลาล
1. ศึกษา วิจยั พัฒนาและสร้างมาตรฐานอาหาร ฮาลาลให้ 4. จัดท�ำบัญชีรายชื่อวัตถุดิบ สารเคมี ผลิตภัณฑ์ เพ่ือ
ถูกต้องตามศาสนบัญญัติอิสลามและ สอดคล้องกับมาตรฐาน ประโยชน์แก่ภาคอตุ สาหกรรมและผู้บรโิ ภค
อาหารสากล 5. จัดท�ำเว็บไซด์เพื่อให้ข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์แก่ภาค
2. ศึกษาปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไขการรับรอง อตุ สาหกรรมท่ตี ้องการผลติ อาหารฮาลาลและแก่ผู้บรโิ ภค
มาตรฐานอาหารฮาลาลให้เป็นท่ียอมรับของผู้ผลิต ผู้บริโภคและ 6. ให้การสนับสนุนด้านวิทยาศาสตร์แก่สถาบันมาตรฐาน
องค์กรภาครฐั และเอกชนท่เี ก่ียวข้องทงั้ ในและต่างประเทศ
อาหารฮาลาลและองค์กรศาสนาอิสลามที่ด�ำเนินงานด้านการ
3. พัฒนาบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับกิจการฮาลาลเพื่อให้มี รับรองฮาลาลแก่ผลติ ภัณฑ์
บคุ ลากรทม่ี คี วามรคู้ วามสามารถในการสนบั สนนุ การผลติ และการ
ส่งออกอาหารฮาลาล 7. ให้ค�ำปรึกษาแก่ภาคอตุ สาหกรรมอาหารและภตั ตาคารท่ี
ต้องการผลติ อาหารฮาลาลโดยใช้ระบบ Halal-GMP/HACCP
4. ติดตามตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหารวัตถุดิบ รวมถึง
กระบวนการผลติ ทไ่ี ดร้ บั การรบั รองมาตรฐานอาหารฮาลาลไปแลว้ 8. จัดการอบรมด้านวิทยาศาสตร์ฮาลาลแก่ผู้ประกอบการ
เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ คงคุณภาพและมาตรฐานตามหลักเกณฑ์ ผู้บรโิ ภคและประชาชนทวั่ ไป
มาตรฐานอาหารฮาลาล
ส�ำหรับผู้ประกอบการท่านใดสนใจรายละเอียดเพ่ิมเติม
5. ประสานการด�ำเนนิ งานกบั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทงั้ ภาครฐั และ สามารถสบื ค้นข้อมลู เพ่มิ เตมิ ได้ท่ี www.halalscience.org
เอกชน เพ่อื พัฒนาผลิตภณั ฑ์อาหารฮาลาลของประเทศไทยให้ได้
มาตรฐานอาหารสากล รวมท้ังประสานงานกับองค์กรฮาลาล จากขอ้ มลู หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทกี่ ลา่ วมาถอื ไดว้ า่ เปน็ หนว่ ยงาน
ระหว่างประเทศและองค์กรรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาลของ ท่ีมีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนา
ประเทศตา่ งๆเพอ่ื เสรมิ สรา้ งความเชอื่ ถอื และการยอมรบั มาตรฐาน อตุ สาหกรรมฮาลาล ของประเทศไทย ซงึ่ มียทุ ธศาสตร์ เป้าหมาย
อาหารฮาลาลของประเทศไทย ในการพฒั นาทชี่ ดั เจนมากทส่ี ดุ ในปัจจบุ นั และเป็นองค์กรทไี่ ด้รบั
การยอมรับจากพี่น้องชาวมุสลิมท่ัวโลก ซ่ึงถือว่าเป็นพื้นฐานของ
6. สร้างความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั มาตรฐานอาหารฮาลาล การท�ำธุรกิจในยุคปัจจุบันและองค์กรเหล่านี้สามารถเป็นพี่เล้ียง
และการรับรองมาตรฐาน เพ่ือความเชื่อถือและการยอมรับจาก และน�ำพาผู้ประกอบการก้าวสู่อุตสาหกรรมฮาลาลได้อย่าง
ผู้ทเ่ี กยี่ วข้อง แน่นอน.
แหล่งที่มาของขอ้ มลู :
7. ประชาสมั พนั ธ์การรบั รองและการอนญุ าตให้ ผลิตภณั ฑ์ กรมส่งเสริมอตุ สาหกรรม, กรมส่งเสรมิ การค้าระหว่างประเทศ
ใช้เครื่องหมายรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาล รวมถึงการยกเลิก ส�ำนักงานมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
การรบั รองและการอนญุ าตแกผ่ ลติ ภณั ฑอ์ าหารทปี่ ฏบิ ตั ไิ มถ่ กู ตอ้ ง สถาบนั มาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทย
ตามหลกั ศาสนาอสิ ลามและมาตรฐานอาหารฮาลาลสากล ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ฮาลาล จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
ส�ำหรับท่านใดสนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถสืบค้น
ข้อมลู เพ่ิมเตมิ ได้ท่ี www.halal.or.th
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภารกจิ ของศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ฮาลาล มดี งั ต่อไปน:ี้
1. จดั ตั้งห้องปฏบิ ตั กิ ารทป่ี ระกอบไปด้วยเครอ่ื งมอื วเิ คราะห์
วจิ ัยทางวทิ ยาศาสตร์ทท่ี ันสมยั และได้มาตรฐาน
2. บริการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนส่ิงต้องห้าม (หะรอม
และนะยสิ ) ในวตั ถุดิบและผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล
3. พัฒนาเทคนคิ ใหม่ๆตลอดจนชดุ ตรวจเพอื่ ใช้ในการตรวจ
37อุตสาหกรรมสาร
SMEs Biz เรื่อง : ปาณทิพย์ เปลี่ยนโมฬี
ปกาลรสารท้ามูงแสุบรลนมิ ด์
จดุ เรม่ิ ตน้ สรา้ งแบรนดป์ ลาทมู สุ ลมิ
รัชดาภรณ์ ลาเต็บ พลิกบทบาทจากผู้บริโภค
ปลาทูมาเป็นผู้ผลิตปลาทูเสียเอง นอกจากนี้ยังสร้าง
มิติใหม่เพื่อยกระดับปลาทู ด้วยการสร้างตรายี่ห้อ
ติดไปกับตัวปลาทู เมื่อก่อนปลาทูก็คือปลาทู จะซ้ือ
เจ้าไหนก็คือปลาทูเหมือนๆกัน เดี๋ยวนี้ปลาทูทันสมัย
ลุกข้ึนมาปฏิรูปตัวเองด้วยการติดตรายี่ห้อหรือติด
แบรนด์ เกาะกระแสเทรนด์สร้างแบรนด์เหมือนสินค้า
อื่นๆ ปลาทูท่ีนอนอยู่ในเข่งเฉยๆ จึงพลิกโฉมเป็นปลา
ทูโก้หรูมีแบรนด์ติดตัว ปลาทูค่ายไหนๆไม่ว่าจะเป็น
ปลาทูเจ้าของสโลแกน “ตัวสั้น หน้างอ คอหัก” ของ
สมุทรสงคราม หรือปลาทู “ตัวตรง หน้าเริ่ด เชิดหยิ่ง”
ของค่ายมหาชัย จ.สมุทรสาคร ต่างก็อัปเกรดเพิ่ม
ค่าตัวได้อีกระดับหน่ึง
38 อตุ สาหกรรมสาร
ส�ำหรับ “ปลาทูมสุ ลิม” เป็นชอ่ื แบรนด์ของผู้ผลติ ปลาทู มุสลิม” เนื่องจากร้านอื่นๆ ในปีน้ันไม่มีร้านปลาทูของมุสลิม
นงึ่ รายหน่งึ ทม่ี ี รัชดาภรณ์ ลาเต็บ เป็นเจ้าของ โดยเรมิ่ จาก จนได้พัฒนาสร้างแบรนด์จากช่ือนี้ข้ึนมา โดยมีช่ือเต็มๆ ว่า
การได้กินปลาทูจากงานเทศกาลปลายปีของจังหวัด “ปลาทมู ุสลมิ ปลาทนู ง่ึ สูตรสมนุ ไพร เพื่อสุขภาพ”
สมทุ รสงคราม (งานกนิ ปลาทขู องแมก่ ลอง) รสชาตขิ องปลาทู
ท�ำใหร้ ชั ดาภรณต์ ดิ ใจกระทง่ั หนั เหชวี ติ มาท�ำธรุ กจิ ผลติ ปลาทู กลยทุ ธก์ ารตลาดทท่ี ำ� ใหล้ กู คา้ ตดิ ใจ
จังหวะเหมาะได้โอกาสเซ้งแผงค้าปลาทูนึ่งในตลาดสดย่าน
ประชาอทุ ศิ ท�ำให้รชั ดาภรณ์ และชาตรี ลาเต็บ เร่ิมศกึ ษา “ปลาทูมุสลิม ปลาทูน่ึงสูตรสมุนไพร เพ่ือสุขภาพ” ช่ือน้ี
วธิ ที �ำปลาทนู ง่ึ เพอ่ื ผลติ ขายเองโดยไดโ้ มเดลการนงึ่ ปลาทจู าก เป็นความตั้งใจของผู้ผลิตท่ีต้องการส่ือสารกับลูกค้าให้ทราบว่า
แม่กลองเป็นแบบอย่าง จากน้ันศึกษาดูงานการผลิตปลาทู การผลติ ของเรานนั้ เนน้ เรอ่ื งอาหารสะอาดปลอดภยั ปลาทมู สุ ลมิ
จากโรงน่ึงปลาตามแหล่งต่างๆที่มีช่ือ จนกระท่ังได้ลองผลิต ได้รบั การยอมรบั จากการบอกต่อ เราเก็บข้อมูลจดบนั ทกึ ขนาด
ขายและขยายกจิ การเป็นบรษิ ทั ในไม่ช้า ราคา ลักษณะของปลาทูนึ่งท่ีลูกค้านิยม เพ่ือผลิตให้ได้ตรงใจ
กลมุ่ ผซู้ อื้ ในแตล่ ะวนั คอยสอบถามพดู คยุ กบั ลกู คา้ อยตู่ ลอด อกี
จากการศกึ ษาการผลติ ปลาทูนง่ึ จงึ ทราบว่าแท้จรงิ แล้ว ทง้ั เราเน้นยำ้� เรอื่ งความสะอาด ตง้ั แตส่ ถานท่ี การผลติ ไปจนถงึ
คือการต้มและใส่เคร่ืองปรุงส่วนประกอบต่างๆลงไป จึงมี การจัดจ�ำหน่ายและบรรจุภัณฑ์ ให้ความรู้แก่พนักงานขายเพื่อ
ความคดิ กนั วา่ หากเราสามารถท�ำปลาทนู งึ่ ไรส้ ารไดก้ ค็ งจะดี ใหม้ คี วามกระตอื รอื รน้ ในการบรกิ ารและสามารถตอบค�ำถามแก่
จึงได้ลองน�ำสมุนไพรครัวเรือนมาใช้ทดแทนสารส้มและ ลูกค้าได้
สารอื่นๆลองผิดลองถูกอยู่นานจนได้คุณภาพและรสชาติ
ปลาทูน่ึงที่ดีข้ึนตามล�ำดับ และได้รับการยอมรับจากลูกค้า ปลาทมู สุ ลมิ ตา่ งจากปลาททู ว่ั ไปตรงไหน
จากยอดขายที่เพ่ิมขึ้นเร่ือยๆทุกเดือน และการสอบถาม
ติดตามผลจากลกู ค้าในตลาด ปลาทูภายใต้แบรนด์ “ปลาทูมุสลิม” แตกต่างจากปลาทู
เจ้าอ่ืนตรงไหน รัชดาภรณ์เผยว่าไม่อาจเปรียบเทียบได้ เพราะ
จากการขายปลีกหน้าร้านได้มีการต่อยอดจากลูกค้า แตล่ ะเจา้ มสี ตู รเดด็ มเี คลด็ ลบั ทไ่ี มแ่ พก้ นั แตส่ �ำหรบั ปลาทมู สุ ลมิ
ปลีกเป็นค้าส่งให้แก่ร้านอาหาร ผู้ผลิตอาหารงานเล้ียงใน ใช้วิธีสร้างจุดเด่นให้สินค้าของตนเองแตกต่างจากเจ้าอ่ืน ด้วย
บรเิ วณใกลเ้ คยี ง จงึ ไดม้ กี ารเรยี กกนั จนตดิ ปากวา่ “ปลาทเู จา้ การดึงสมุนไพรเข้ามาเสริมในการผลิต โดยปฏิบัติตามข้ันตอน
ฮาลาลอย่างเคร่งครัด กลิ่นสมุนไพรท�ำให้ลูกค้าจดจ�ำปลาทู
39อตุ สาหกรรมสาร
เจ้านี้ได้ ประกอบกับกระแสนิยมเร่ืองสุขภาพก�ำลังมาแรง กสอ.ตวั ชว่ ยดา้ นบรหิ ารชนั้ เยย่ี ม
รชั ดาภรณจ์ งึ ใชจ้ ดุ นเี้ ปน็ จดุ ขาย สง่ ผลใหป้ ลาทมู สุ ลมิ กลายเปน็
ปลาทูเพื่อสุขภาพได้โดยไม่บังเอิญ แม้ว่าการท�ำตลาดช่วงแรก รัชดาภรณ์ ลาเต็บ ยอมรับว่า ได้มีโอกาสเข้าอบรม
อาจต้องเหนื่อยหน่อยในการอธิบายให้ลูกค้าเข้าใจ แต่สุดท้าย “โครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่” หรือ NEC ของกรม
กลายเปน็ จดุ เดน่ ทไี่ ดเ้ ปรยี บกวา่ ทงั้ นว้ี ดั จากกระแสตอบรบั จาก ส่งเสริมอุตสาหกรรม ซึ่งสอนตามหลักสูตร CEFE (เซเฟ่)
ลูกค้าทซี่ ้อื ซ�้ำจนกลายเป็นลูกค้าประจ�ำ ซงึ่ หลกั การของ CEFE คอื สอนใหผ้ ปู้ ระอบการรจู้ กั มองรอบดา้ น
แล้วย้อนกลับมารีเช็คธุรกิจ ผลิตภัณฑ์ และเป้าหมายของ
เผยวธิ ผี ลติ ปลาทตู ามหลกั ฮาลาล ตนเองได้ เป็นหลกั สตู รทค่ี วบคมุ คณุ ภาพไดอ้ ยา่ งดี การไดเ้ ขา้
อบรมครงั้ นนั้ ท�ำใหเ้ จ้าของธรุ กจิ ปลาทมู สุ ลมิ ได้เหน็ การท�ำงาน
ตามหลักการของศาสนาอิสลามในหมวดของการผลิต เป็นทีมอย่างเป็นรูปธรรม ต่อมาได้เข้าโครงการเกี่ยวกับการ
อาหารน้นั เรยี กว่า “การผลติ อาหารฮาลาล” ส�ำหรบั ปลาทูน้นั พฒั นาเกษตรแปรรปู ของกรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมอกี ครง้ั ท�ำให้
เปน็ สตั วเ์ ลก็ จงึ ไมต่ อ้ งเชอื ดหรอื ผา่ นวธี กี ารใดๆมาก แตใ่ หค้ วาม ได้เครือข่ายเพื่อนธุรกิจด้วยกันหลากหลายอาชีพ รัชดาภรณ์
ส�ำคญั ในการลา้ งทง้ั ปลาทแู ละเครอื่ งประกอบการผลติ ตา่ งๆ ให้ ยอมรบั วา่ การท�ำธรุ กจิ ในวนั นม้ี คี วามเปน็ ระบบมากขน้ึ เพราะ
ตรงตามหลกั การ คอื ต้องล้างให้สะอาด ด้วยการล้างให้น�ำ้ ไหล ไดห้ นว่ ยงานราชการอยา่ งกรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมเปน็ ตวั ชว่ ย
ผ่านตามจ�ำนวนคร้ังที่ก�ำหนด เพื่อให้สิ่งตกค้างได้ไหลตามน�้ำ อย่างด.ี
ออกไป เพ่ือให้ได้วัตถุดิบท้ังหมดท่ีสะอาดท่ีสุดก่อนน�ำเข้าสู่
กระบวนการผลติ ต่อไป หจก.ลาเตบ็ โฟรเซน่ แอนด์ฮาลาลฟดู้ ส์
Lateb Frozen & Halal Foods Ltd.
“หลกั การฮาลาลนนั้ เปน็ ค�ำสอนจากศาสนาอสิ ลาม วา่ ดว้ ย 5 หมู่ท่ี 1 ถนนประชาอทุ ศิ 69 แยก2/2
เร่ืองข้ันตอนการด�ำเนินการต่อวัตถุดิบก่อนน�ำมาประกอบเป็น แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรงุ เทพฯ 10140
อาหารเพื่อรับประทาน นอกจากอาหารต้องห้ามท่ีระบุไว้ใน โทร. 0 2426 1978, 08 9504 1686
ค�ำสอนแล้วหลักใหญ่ใจความเน้นเร่ืองความสะอาดและความ email : [email protected]
ปลอดภัย ซ่ึงเป็นท่ีทราบกันดีว่า ถ้าหากเคร่งครัดตามหลัก www.facebook.com/platoomuslim
ค�ำสอน อาหารทผ่ี ลติ ตามหลกั ฮาลาลจะถอื ไดว้ า่ เปน็ อาหารทมี่ ี
คุณภาพที่ดีทีเดียว ดังจะเห็นได้ว่าอาหารฮาลาลนั้นได้รับการ
ยอมรับอย่างกว้างขวางและเป็นที่ต้องการของตลาดอาเซียน
ในเปอร์เซน็ ต์ทีส่ ูงมาก” รชั ดาภรณ์อธบิ ายเพ่มิ เตมิ
40 อุตสาหกรรมสาร
Book Corner เรือ่ ง : แว่นขยาย
01
ทำ� เนยี บรา้ นอาหารฮาลาลและรา้ นอาหารมสุ ลมิ
ในเขตกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล
5 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ เชยี งใหม่
ผู้เขยี น : วนิ ยั ดะห์ลัน
รหัส : DIR 17 H56
เนอ้ื หาเกย่ี วกบั ท�ำเนยี บรา้ นอาหารฮาลาลและ
รา้ นอาหารมสุ ลมิ ในเขตกรงุ เทพมหานครและ
ปรมิ ณฑล 5 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ เชยี งใหม่
อาหารฮาลาล 02 05
ผู้เขียน : กรมส่งเสรมิ การส่งออก
รหสั : IB 9 ล2 Thailand Halal Directory 2008-2009
เ น้ื อ ห า ก ล ่ า ว ถึ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ผู้เขยี น : The Central Islamic Committee Of Thailand
การประกอบการส่งออก ขั้นตอนการขอ รหัส : DIR 17 H52
เ ค รื่ อ ง ห ม า ย ฮ า ล า ล แ ล ะ ห นั ง สื อ รั บ ร อ ง เนอื้ หาเกยี่ วกบั การรวมท�ำเนยี บนามของอาหารฮาลาล
เครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ฮาลาล และ ตั้งแต่ปี 2008-2009
ข้อบงั คบั ของส�ำนักจฬุ าราชมนตรี
03 06
กฎระเบยี บดา้ นอาหารและขอ้ กำ� หนด การวเิ คราะหอ์ นั ตรายและจดุ ควบคมุ วกิ ฤต
ดา้ นฮาลาลของกลมุ่ สหพนั ธรฐั อา่ วอาหรบั เพอื่ การจดั เตรยี มอาหารฮาลาล
(GCC) ในทางอตุ สาหกรรมและพาณชิ ย์ Halal-Haccp
ผู้เขียน : สถาบนั อาหาร ผู้เขยี น : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
รหัส : L 17 ก56 รหัส : IB 9 ว20
เนอ้ื หาเกยี่ วกบั กฎระเบยี บและมาตรฐานดา้ น เน้ือหาเกี่ยวกับการวิเคราะห์อันตรายและจุดควบคุม
อาหารและข้อก�ำหนด ด้านฮาลของกลุ่ม วิ ก ฤ ต เ พ่ื อ ก า ร จั ด เ ต รี ย ม อ า ห า ร ฮ า ล า ล ใ น ท า ง
สหพันธรัฐอ่าวอาหรบั (GCC) อุตสาหกรรมและพาณิชย์ Halal-Haccp ซึ่งจะมี
มาตรฐานฮาลาลอาเซยี น มาตรฐาน HACCP, การวาง
รายงานความกา้ วหนา้ 04 ระบบ HACCP ในโรงงาน, การประยุกต์ใช้ HACCP
ในการเตรยี มอาหารฮาลาล
การพฒั นาอตุ สาหกรรมอาหารฮาลาล
ผู้เขียน : คณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรม
อาหารฮาลาล
รหัส : RES 17 ค48
เนอ้ื หาภายในเล่มประกอบด้วย ความเป็นมา
ของการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล
การสนับสนุนของรัฐบาล ความก้าวหน้าใน
การด�ำเนนิ งาน ผลกระทบจากการด�ำเนนิ การ
แนวทางการด�ำเนินงานต่อไป ประมวลภาพ
กิจกรรม
สอบถามรายละเอียดและขอ้ มูลเพิม่ เติม
หอ้ งสมุดกรมสง่ เสริมอุตสาหกรรม โทร. 0 2202 4425 หรอื 0 2354 3237 เวบ็ ไซต์ http://library.dip.go.th
ใวบาสรมสัคราสรมอาุตชกิ สาหกรรมสาร 2558
โปรดกรอกข้อมูลทั้งหมดเพ่ือประโยชน์ในการจัดส่งข้อมูลท่ีท่านต้องการ
วันทสี่ มัคร.................................................เลขที่บัตรประจ�ำตวั ประชาชน
ช่ือ / นามสกลุ .......................................................................................................................................................................
บรษิ ทั /หนว่ ยงาน....................................................................................................................................................................
ที่อย่.ู ..................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
จงั หวดั ........................................................ รหัสไปรษณีย.์ ......................................... เวบ็ ไซตบ์ ริษทั .........................................
โทรศพั ท์...................................................................................... โทรสาร............................................................................
ตำ� แหน่ง...................................................................................... อเี มล...............................................................................
แบบสอบถาม
1. ผลิตภัณฑห์ ลกั ท่ีทา่ นผลิตคือ………………………………………………………………………………………...............................…………….
2. ท่านรจู้ ักวารสารนีจ้ าก………………………………………………………………………………………………………………………………….......
3. ขอ้ มลู ที่ทา่ นตอ้ งการคือ……………………………………………………………………………………………………………………………….....…
4. ประโยชน์ทท่ี ่านไดจ้ ากวารสารคือ……………………………………………………………………………….………………………..............……...
5. ท่านคิดว่าเน้ือหาสาระของวารสารอตุ สาหกรรมสารอยู่ในระดับใด เมอื่ เทียบกับวารสารราชการท่ัวไป
ดที ส่ี ุด ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรงุ
6. การออกแบบปกและรปู เล่มอยู่ในระดบั ใด
ดีทส่ี ดุ ดมี าก ด ี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรงุ
7. ข้อมูลทท่ี า่ นตอ้ งการใหม้ ีในวารสารนี้มากทีส่ ดุ คือ (ใสห่ มายเลข 1...2...3... ตามล�ำดบั )
การตลาด การให้บรกิ ารของรฐั สัมภาษณ์ผูป้ ระกอบการ ข้อมูลอุตสาหกรรม อน่ื ๆ ระบ.ุ ..................................
8. คอลัมนท์ ที่ ่านชอบมากทสี่ ดุ (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามลำ� ดับความชอบ)
Interview (สมั ภาษณผ์ ู้บริหาร) Product Design (ออกแบบผลิตภัณฑ์) Good Governance (ธรรมาภิบาล)
SMEs Profile (ความสำ� เร็จของผปู้ ระกอบการ) Report (รายงาน / ข้อมูล) Innovation (นวัตกรรมใหม่)
Market & Trend (การตลาด / แนวโน้ม) Book Corner (แนะน�ำหนงั สอื ) อ่นื ๆ ระบ.ุ .....................................
9. ท่านได้รับประโยชน์จากวารสารอตุ สาหกรรมสารมากน้อยแค่ไหน
ได้ประโยชนม์ าก ไดป้ ระโยชน์พอสมควร ไดป้ ระโยชนน์ อ้ ย ไม่ได้ใชป้ ระโยชน์
10. เทยี บกบั วารสารราชการท่วั ไป ความพึงพอใจของทา่ นที่ได้รับจากวารสารเลม่ น้ี เทียบเป็นคะแนนได้เท่ากบั
91-100 คะแนน 81-90 คะแนน 71-80 คะแนน 61-70 คะแนน ต่ำ� กวา่ 60 คะแนน
ศนู ย์ส่งเสรมิ อุตสาหกรรมภาคท่ี 1 ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 4
(เชยี งใหม่ เชยี งราย แม่ฮ่องสอน ล�ำพูน ล�ำปาง พะเยา แพร่ น่าน) (อุดรธานี หนองบัวล�ำภู หนองคาย เลย)
158 ถนนทุ่งโฮเตล็ ต.วดั เกต อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม่ 50000 399 ม.11 ถนนมติ รภาพ ต.โนนสงู อ.เมอื ง จ.อดุ รธานี 41330
โทรศพั ท์ (053) 245 361-2, 243 494, 242 226 โทรศพั ท์ (042) 207 232-6, 207-238 โทรสาร (042) 207 241
โทรสาร (053) 248 315 e-mail: [email protected]
e-mail: [email protected]
ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคท่ี 2 ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 5
(พษิ ณโุ ลก สโุ ขทยั อุตรดติ ถ์ เพชรบูรณ์ ตาก) (ขอนแก่น กาฬสนิ ธ์ุ มหาสารคาม ร้อยเอด็
292 ถนนเลย่ี งเมอื ง-นครสวรรค์ ต.บ้านกร่าง มกุ ดาหาร สกลนคร )
อ.เมือง จ.พษิ ณโุ ลก 65000 86 ถนนมติ รภาพ ต.ส�ำราญ อ.เมอื ง จ.ขอนแก่น 40000
โทรศัพท์ (055) 282 957-9 โทรสาร (055) 283 021 โทรศัพท์ (043) 379 296-9 โทรสาร (043) 379 302
e-mail: [email protected] e-mail: [email protected]
ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 3 ศูนย์ส่งเสรมิ อุตสาหกรรมภาคที่ 7
(พิจติ ร ก�ำแพงเพชร นครสวรรค์ อทุ ยั ธานี (อุบลราชธานี ยโสธร อ�ำนาจเจรญิ ศรสี ะเกษ)
ชัยนาท สงิ ห์บุรี ลพบุรี) 222 หมู่ท่ี 24 ถนนคลงั อาวธุ ต.ขามใหญ่ อ.เมอื ง
200 ม.8 ถนนเลย่ี งเมือง ต.ท่าหลวง จ.อุบลราชธานี 34000
อ.เมือง จ.พจิ ิตร 66000 โทรศพั ท์ (056) 613 161-5 โทรศัพท์ (045) 313 772, (045) 313 945,
โทรสาร (056) 613 559 e-mail: [email protected] (045) 314 216, (045) 314 217
โทรสาร (045) 312 378, (045) 312 493
ศูนย์ส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 8 e-mail: [email protected]
(สพุ รรณบุรี กาญจนบรุ ี อ่างทอง พระนครศรอี ยธุ ยา ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคท่ี 6
นครปฐม นนทบรุ ี ราชบุรี สมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม
เพชรบุรี ประจวบครี ีขนั ธ์) (นครราชสมี า ชยั ภูมิ บุรีรมั ย์ สรุ ินทร์)
117 หมู่ 1 ถนนมาลยั แมน ต.ดอนก�ำยาน 333 ถนนมติ รภาพ ต.สงู เนนิ อ.สงู เนิน จ.นครราชสมี า 30170
อ.เมือง จ.สพุ รรณบุรี 72000 โทรศัพท์ (044) 419 622 โทรสาร (044) 419 089
โทรศพั ท์ (035) 441 027, 441 029, 441 031 e-mail: [email protected]
โทรสาร (035) 441 030
e-mail: [email protected] ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 9
หน่วยงานส่วนกลาง (ชลบุรี ฉะเชงิ เทรา ระยอง จนั ทบุรี สระบรุ ี
ตราด นครนายก ปราจนี บรุ ี สระแก้ว)
(กรงุ เทพมหานคร สมทุ รปราการ 67 ม.1 ถนนสขุ ุมวทิ ต.เสมด็ อ. เมอื ง จ.ชลบรุ ี 20000
นนทบรุ ี ปทุมธาน)ี ถนนพระรามท่ี 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ โทรศัพท์ (038) 261-203, 273-702, 784 654-5
10400 โทรสาร (038) 273 701
โทรศพั ท์ 0 2202 4422-3 โทรสาร 0 2354 3152 e-mail: [email protected]
ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคท่ี 11 ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 10
(สงขลา ตรงั พัทลงุ สตูล ยะลา ปัตตานี นราธวิ าส) (นครศรีธรรมราช สรุ าษฎร์ธานี กระบี่ ภเู กต็ พงั งา ระนอง ชมุ พร)
165 ถนนกาญจนวนชิ ต.น�้ำน้อย อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 131 ม.2 ถนนเทพรตั นกวี ต.วดั ประดู่ อ.เมอื ง จ.สรุ าษฎร์ธานี 84000
โทรศพั ท์ (074) 211 905-8 โทรสาร (074) 211 904 โทรศัพท์ (077) 200 395-8 โทรสาร (077) 200 449
e-mail: [email protected] e-mail:[email protected]
เปลย่ี นแปลงพน้ื ท่ีจงั หวัดในความรบั ของศูนย์ส่งเสรมิ อุตสาหกรรมภาคและหน่วยงานส่วนกลาง
ตามค�ำประกาศกรมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม ลงวนั ท่ี 12 ตุลาคม 2554
คลิก : ดาวน์โหลด
อตุ สาหกรรมสารออนไลน์
http://e-journal.dip.go.th
วารสารเพือ่ ผู้ประกอบการ SMEs และ OTOP
เว็บวารสารปรบั โฉมใหม่ ! อตุ สาหกรรมสารออนไลน์ http://e-journal.dip.go.th ฐานขอ้ มลู ส่งเสรมิ ความรู้ด้านอตุ สาหกรรม และแนว
โน้มของอุตสาหกรรม กระบวนการผลิต การตลาด การบริหารการจดั การ การพัฒนารูปแบบผลติ ภณั ฑ์ การใหบ้ รกิ ารตา่ งๆ ตลอดจน
ตวั อยา่ งผปู้ ระกอบการท่ีประสบความส�ำเร็จ อยากรู้ขอ้ มูลคลกิ อา่ นได้เลย อยากเก็บขอ้ มลู ดาวน์โหลดได้เลย
สมคั รเป็นสมาชกิ ไดท้ ี ่ วารสารอุตสาหกรรมสาร กลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กทม. 10400
สมัครผ่านเครื่องแฟกซ์ที่หมายเลข 0 2354 3299 หรือ สมัครผ่าน email : [email protected]