ISSN 0125-8516 วารสารของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พิมพ์เป็นปีที่ 60 ฉบับเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2561
กสอ. ขบั เคลอื่ นอตุ สาหกรรม
หนุ่ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ
เอส.เอ.พ.ี โรโบเทค จ.ปทมุ ธานี
หนุ่ ยนตส์ ญั ชาตไิ ทย
อารเ์ อสที โรโบตกิ ส์ จ.อบุ ลราชธานี
หนุ่ ยนตแ์ ขนกลตอบโจทย์ SMEs ไซสเ์ ลก็
หนุ่ ยนต์มาแรง
แกะรอย
สถานการณห์ นุ่ ยนตใ์ นประเทศไทย
อโยธยา โรโบตกิ ส์
เครอื่ งชงคอ็ กเทลอตั โนมตั ิ
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 1 - 11
กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 1 4 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 4
(เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำ�พูน ลำ�ปาง พะเยา แพร่ น่าน) (อุดรธานี หนองบัวลำ�ภู หนองคาย เลย)
158 ถนนทุ่งโฮเต็ล ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000 399 ม.11 ถนนมิตรภาพ ต.โนนสงู อ.เมือง จ.อุดรธานี 41330
โทรศัพท์ (053) 245 361-2, 243 494, 242 226 โทรศัพท์ (042) 207 232-6, 207-238 โทรสาร (042) 207 241
โทรสาร (053) 248 315 e-mail: [email protected]
1e-mail: [email protected] 5 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 5
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 2 (ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด
มุกดาหาร สกลนคร นครพนม)
(พษิ ณุโลก สุโขทัย อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ตาก) 86 ถนนมิตรภาพ ต.สำ�ราญ อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000
292 ถนนเลี่ยงเมือง-นครสวรรค์ ต.บ้านกร่าง โทรศัพท์ (043) 379 296-9 โทรสาร (043) 379 302
อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 e-mail: [email protected]
โทรศัพท์ (055) 282 957-9
โทรสาร (055) 283 021 6 7 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 7
9 (อบุ ลราชธานี ยโสธร อำ�นาจเจริญ ศรีสะเกษ)
2e-mail: [email protected] 222 หมู่ที่ 24 ถนนคลังอาวุธ ต.ขามใหญ่ อ.เมือง
จ.อุบลราชธานี 34000
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 3 โทรศัพท์ (045) 313 772, (045) 313 945,
(045) 314 216, (045) 314 217
(พจิ ิตร กำ�แพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี โทรสาร (045) 312 378, (045) 312 493
ชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี อ่างทอง) e-mail: [email protected]
200 ม.8 ถนนเลี่ยงเมือง ต.ท่าหลวง
อ.เมือง จ.พิจิตร 66000 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 6
3โทรศัพท์ (056) 613 161-5 (นครราชสมี า ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์)
333 ถนนมิตรภาพ ต.สงู เนิน อ.สงู เนิน จ.นครราชสีมา 30170
โทรสาร (056) 613 559 โทรศัพท์ (044) 419 622 โทรสาร (044) 419 089
e-mail: [email protected] e-mail: [email protected]
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 8 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 9
(สพุ รรณบุรี กาญจนบุรี พระนครศรีอยุธยา (ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี ตราด สมุทรปราการ
นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว)
8นครปฐม นนทบุรี ราชบุรี สมุทรสาคร สระบุรี 67 ม.1 ถนนสุขุมวิท ต.เสม็ด อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000
โทรศัพท์ (038) 261-203, 273-702, 784 654-5
ปทุมธานี สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์) โทรสาร (038) 273 701
117 หมู่ 1 ถนนมาลัยแมน ต.ดอนกำ�ยาน e-mail: [email protected]
อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี 72000 11 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 11
โทรศัพท์ (035) 441 027, 441 029, 441 031 (สงขลา สตลู ยะลา ปัตตานี นราธิวาส)
โทรสาร (035) 441 030 165 ถนนกาญจนวนิช ต.นํ้าน้อย อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
e-mail: [email protected] โทรศัพท์ (074) 211 905-8 โทรสาร (074) 211 904
e-mail: [email protected]
หนว่ ยงานสว่ นกลาง
(กรุงเทพมหานคร)
ถนนพระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ 0 2202 4422-3
โทรสาร 0 2354 3152
10ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 10
(นครศรีธรรมราช สรุ าษฎรธ์ านี กระบี่ ภเู ก็ต พังงา ระนอง ชุมพร ตรัง พัทลุง)
131 ม.2 ถนนเทพรัตนกวี ต.วัดประดู่ อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี 84000
โทรศัพท์ (077) 200 395-8 โทรสาร (077) 200 449
e-mail:[email protected]
การกำ�หนดเขตพื้นที่จังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบของศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค
เปลี่ยนแปลงรายชื่อจังหวัดตามประกาศกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2560
19 Product Design 28 Market & Trends
ก้าวข้ามขดี จ�ำกัดของหุ่นยนต์ รา้ นอาหารหนุ่ ยนต์
Contents 26
วารสารอตุ สาหกรรมสาร
ฉบบั เดือนพฤษภาคม - มถิ นุ ายน 2561 Innovation
หนุ่ ยนตโ์ ซเฟยี ไดร้ บั สทิ ธ์ิ
เปน็ พลเมอื งของซาอฯุ
ครง้ั แรกในประวตั ศิ าสตร์
Development 31
เปดิ ตวั หนุ่ ยนตข์ นาดจว๋ิ แตท่ รงพลงั
หนุ่ ยนตน์ าโอะ - หนุ่ ยนตม์ นิ ิ
09 Interview อธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม
กอบชยั สงั สทิ ธสิ วสั ดิ์
เดนิ หนา้ ขบั เคลอ่ื นอตุ สาหกรรมหนุ่ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ
Global Biz 13 05 Information
เอส.เอ.พี. โรโบเทค ต้นแบบ Smart Factory สญั ชาติไทย อตุ สาหกรรมหนุ่ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ใิ นประเทศไทย
ออกแบบระบบอัตโนมตั ติ ามความต้องการของ SMEs
22 Biz Inside
16
SensibleSTEP – SensibleTAB หนุ่ ยนตช์ ว่ ยฟน้ื ฟสู มรรถภาพ
Showcase การเคลอื่ นไหวแขน-การเดนิ และการทรงตวั
อารเ์ อสที โรโบตกิ ส์ จ.อบุ ลราชธานี 24 Special Focus
ผลติ หนุ่ ยนตแ์ ขนกลฝมี อื คนไทย 3 3 หนุ่ ยนตท์ ดแทนแรงงานไทยอยา่ งไร
เลยี นแบบแขนมนษุ ย์
ตอบโจทย์ SMEs ไซสเ์ ลก็ Opportunity
อโยธยา โรโบตกิ ส์ เครอื่ งชงคอ็ กเทลอตั โนมตั ิ
35 Knowledge
เทคโนโลยหี นุ่ ยนตอ์ ตุ สาหกรรม (Technologies of Industrial Robots)
38 Report
หนว่ ยงานและสถาบนั การศกึ ษา เปดิ หลกั สตู รสรา้ งวศิ วกรรมหนุ่ ยนต์
40 Good Governance
ทางสายกลาง เสน้ ทางสชู่ ยั ชนะ จากอปุ สรรคทง้ั ปวง
41 Book Corner
Editor Talks วารสารอตุ สาหกรรมตีพิมพต์ อ่ เนือ่ งมายาวนาน
นบั ถึงปจั จุบันเป็นปีที่ 60
หุ่นยนต์มาแรง
เจา้ ของ
ประเทศไทยติดอันดับ 1 ในอาเซียน ท่ีมีอัตราการเติบโต
ของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมสูงสุด โดยตัวเลขประมาณการณ์จาก กรมสง่ เสริมอุตสาหกรรม
สหพันธ์หุ่นยนต์นานาชาติ (International Federation of Robotics)
ระบวุ ่า ต้งั แต่ปี ค.ศ. 2018 - 2020 ประเทศไทยมีอตั ราการเตบิ โต ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
ของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเฉลี่ยปีละ 19% เนื่องจากปี ค.ศ. 2016 โทรศัพท์ 0 2202 4511
ไทยผลิตหุ่นยนต์ได้ 2,646 หน่วย และจะเพิม่ ขึ้นเป็น 5,000 หน่วย
ในปี ค.ศ. 2020 ซ่งึ เตบิ โตสงู สุดเป็นอนั ดับ 1 ในอาเซยี น ท่ีปรึกษา
ทงั้ หนุ่ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ใิ นยคุ INDUSTRY 4.0 และ SMEs นายกอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์
4.0 ก�ำลงั ไดร้ บั ความสนใจอยา่ งมาก แมแ้ ตโ่ รงงานเลก็ ๆ ยงั พยายาม อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
หาหุ่นยนต์และแขนกลมาในโรงงาน ท้ังนี้เพ่ือทดแทนแรงงานท่ี นายภานุวัฒน์ ตริยางกูรศรี
ขาดแคลน ขณะเดียวกันสามารถลดต้นทุนการผลิตได้อีกด้วย รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
จากนโยบายของภาครัฐและการร่วมมือกันของหน่วยงานราชการ
เราคงได้เห็นหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติถูกน�ำมาใช้ในภาค นายจารุพันธุ์ จารโยภาส
อตุ สาหกรรมมากขน้ึ รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
จับตามองประเทศจีน ซ่ึงก�ำลังจะกลายเป็นผู้ผลิตหุ่นยนต์ นายเดชา จาตุธนานันท์
อตุ สาหกรรมรายใหญข่ องโลกในอนาคต โดยรฐั บาลจนี ไดว้ างกลยทุ ธ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
และก�ำหนดทศิ ทางของจนี ในรูปลกั ษณ์ใหม่ “China Manufacturing
2025” ซึ่งจีนมแี ผนยกระดบั “เมด อนิ ไชน่า 2025” ท�ำให้การใช้ นายเจตนิพิฐ รอดภัย
เทคโนโลยีทางอุตสาหกรรมของจีนเติบโตต่อเน่ือง ขณะเดียวกันได้ เลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
แตง่ ตงั้ ใหก้ รงุ ปกั กง่ิ เปน็ เมอื งเปา้ หมายของภาคอตุ สาหกรรมหนุ่ ยนต์
ให้ได้ ในปี 2020 นายวีระพล ผ่องสุภา
ผู้อำ�นวยการกลุ่มประชาสัมพันธ์
เม่ือก่อนนี้เราเคยได้ยินว่า ประเทศญี่ปุ่นเป็นชาติมหาอ�ำนาจ
ทางด้านหุ่นยนต์มาช้านาน ปัจจุบันจีนพลิกบทบาทกลายเป็น บรรณาธิการบรหิ าร
ผผู้ ลติ หนุ่ ยนตใ์ นระดบั โลกของอนาคต มาถงึ ตอนนอี้ ยา่ เพง่ิ แปลกใจ
ถ้าหากประเทศไทยจะกลายเป็นชาติมหาอ�ำนาจทางด้านหุ่นยนต์ นางสาวปาณทิพย์ เปลี่ยนโมฬี
ของอาเซยี น ในเรว็ ๆ น้ี
กองบรรณาธิการ
บรรณาธกิ ารบริหาร
นางสมจิตต์ เตียวสุนทรวงศ์, นายชเนศ ศรีพิทักษ์,
นางสาวกมลชนก กุลวงศ์, นางสาวนฤมล ผึ้งเนียม,
นายไพฑูรย์ มะเมียเมือง, นางเกสรา ภู่แดง,
นายธานินทร์ กล่ำ�พัก, นางสุรางค์ งามวงศ์,
นายสุรินทร์ ม่วงน้อย, นางสาวกัญศิญา ชุมศรี,
นางสาวกนกรักษ์ นุกูลโรจน์, นางสาวศิริธร ชัยรัตน์,
นายธวัชชัย มะกลํ่าทอง
จัดพมิ พ์
แ7ข7ว/บ1ง4รสิษาหัทยมไู่บซหี้ามแนอเชขดลตลโสปดารายโมไซหชอมั่นย ก(21ร9ุงถ9เน7ท)นพจสฯำ�าก1ย0ัดไ2ห2ม0
โทรศัพท์ 0 2991 3031-3 โทรสาร 0 2991 3066
สมคั รสมาชกิ วารสาร
กรอกใบสมัครซึ่งอยู่หน้าสุดท้ายของเล่ม
จากนั้นส่งใบสมัครได้ 3 ทาง ได้แก่
1. สมคั รทางไปรษณีย์ จา่ หนา้ ซองถึง
บรรณาธิการวารสารอุตสาหกรรมสาร
กลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
2. สมคั รทางเครือ่ งโทรสาร หมายเลข 0 2354 3299
3. สมัครทางอเี มล : [email protected]
4. สมัครผา่ น Google Form :
“บทความ บทสัมภาษณ์ หรืองานเขียนที่ตีพิมพ์ในวารสารเล่มนี้
เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ทางวารสารไม่จำ�เป็น
ต้องเห็นด้วยเสมอไป หากประสงค์จะนำ�บทความใดๆ ในวารสาร
ไปตีพิมพ์เผยแพร่ ควรแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรต่อกองบรรณาธิการ”
อตุ สาหกรรมห่นุ ยนต์ Information
และระบบอัตโนมัติในประเทศไทย • เรื่อง : อเุ ทน โชตชิ ยั
สถานการณ์หุ่นยนต์ในปัจจุบัน
เทคโนโลยี เป็นปัจจัยที่ส�ำคัญต่อชีวิตมนุษย์ใน
ปัจจุบัน และมูลเหตุท่ีหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติเข้ามา
มบี ทบาทในปัจจบุ นั ขณะนค้ี งมหี ลายสาเหตุ ดงั น้ี
>> ประเทศไทยกำ� ลงั กา้ วสสู่ งั คมผสู้ งู อายุ ท�ำให้
มีแนวโน้มการขาดแคลนจ�ำนวนแรงงานคนในอนาคต
ดังนั้น ภาคอุตสาหกรรมจ�ำนวนมากจึงมีความต้องการ
ระบบอัตโนมัติมากข้ึน เพื่อเข้ามาช่วยทดแทนแรงงานคน
ท่เี ริ่มลดน้อยลงเหล่านน้ั
>> อัตราค่าแรงงานข้ันต�่ำมีแนวโน้มปรับสูงข้ึน
ซึ่งอาจไม่สอดคล้องกับทักษะฝีมือในบางต�ำแหน่งงาน
เช่น คนแบกของ หรอื ขนถ่ายสินค้า ดงั นน้ั ในอนาคตหาก
ผู้ประกอบการพิจารณาปรับเปล่ียนมาใช้ระบบอัตโนมัติ
ในการล�ำเลียงสินค้าทดแทนแรงงานคนอาจจะเกิดความ
คุ้มค่าและช่วยลดต้นทนุ แรงงานได้ในระยะยาว
>> ปัจจุบันภาคอุตสาหกรรมไทยมีการใช้หุ่นยนต์
และระบบอตั โนมัตใิ นกระบวนการผลติ ค่อนขา้ งน้อย
คิดเป็นสัดส่วนเพียงร้อยละ 15 ของโรงงานท้ังหมด
จึงแสดงให้เห็นถึงโอกาสและความต้องการอีกจ�ำนวน
มากในการปรับเปล่ียนมาใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงานในภาคอุตสาหกรรม
การผลติ และธรุ กิจบริการ
อุตสาหกรรมสาร 5
>> ภาครัฐสนับสนนุ การพัฒนาผู้ประกอบการ 1. หุ่นยนต์อุตสาหกรรม (Industrial Robot)
ในภาคอุตสาหกรรมใช้หุ่นยนต์หรือระบบอัตโนมัติ เป็นหุ่นยนต์ที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อช่วยประกอบ
ในกระบวนการผลติ ซึง่ ช่วยให้เกดิ การกระตุ้นอุปสงค์ ชน้ิ งาน ยกของหนกั และท�ำงานซํา้ ไปซํ้ามา เป็นส่วนใหญ่
(demand) ของอุตสาหกรรมการผลิตหุ่นยนต์และสร้าง
ระบบอัตโนมัติ โดยกระทรวงการคลังจะยกเว้นภาษี 2. หุ่นยนต์เพื่อการเกษตรกรรมและปศุสัตว์
การน�ำเขา้ ชน้ิ สว่ น อปุ กรณท์ น่ี �ำมาผลติ หนุ่ ยนตแ์ ละระบบ (Agricultural and Livestock Robot) เปน็ หนุ่ ยนตท์ ถ่ี กู
อตั โนมตั ิ พรอ้ มทงั้ จดั ตงั้ ศนู ยก์ ารวจิ ยั และพฒั นาหนุ่ ยนต์ ออกแบบมาช่วยเกษตรกรส�ำหรบั งานทซ่ี ํ้าไปซา้ํ มา งานท่ี
(Center of Robotic Excellence: CoRE) ของประเทศ ช่วยผ่อนแรง ตลอดจนบางระบบหุ่นยนต์ได้ถูกน�ำมาช่วย
ในการรดี นมววั เป็นต้น
ท�ำความรู้จักกับ 8 หุ่นยนต์
3. หุ่นยนต์ส�ำรวจ
หุ่นยนต์ (Robotics) คือ เครื่องจักรกลชนิดหน่ึงที่ (Survey Robot) เป็น
สามารถโปรแกรมให้มีหน้าที่การท�ำงานในด้านต่างๆ หุ่นยนต์ท่ีใช้ในการส�ำรวจ
โดยอัตโนมัติหรือตามการควบคุมโดยตรงของมนุษย์ อวกาศหรือใต้นํ้า โดย
ในอดีตหุ่นยนต์ถูกสร้างขึ้นส�ำหรับงานที่มีความยาก ผคู้ วบคมุ อยใู่ นระยะไกลได้
ล�ำบาก เช่น งานส�ำรวจในพื้นที่บริเวณแคบ หรืองาน
ส�ำรวจดาวจนั ทร์และดาวเคราะห์ทไ่ี ม่มสี ิง่ มชี วี ิต 4. หุ่นยนต์การแพทย์ (Medical Robot) เป็น
หุ่นยนต์ท่ีถูกน�ำมาใช้ช่วยแพทย์ในเรื่องผ่าตัดโดยสามารถ
แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีของหุ่นยนต์ได้ถูกพัฒนาให้ เปิดแผลให้มขี นาดเล็กได้ ท�ำให้ผู้ป่วยฟื้นตวั ได้เร็วหลังผ่าน
เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเรว็ และเรมิ่ เข้ามามบี ทบาทกับ การผ่าตดั
ชวี ติ ของมนษุ ยม์ ากขน้ึ เชน่ หนุ่ ยนตท์ ใ่ี ชใ้ นทางการแพทย์
หุ่นยนต์ส�ำหรับงานส�ำรวจ หุ่นยนต์ที่ใช้งานในอวกาศ
หรือแม้แต่หุ่นยนต์ที่ถูกสร้างขึ้นเพ่ือเป็นเคร่ืองเล่น
ของมนุษย์ โดยมีการพัฒนาให้หุ่นยนต์นั้นมีลักษณะ
ที่คล้ายมนุษย์ เพ่ือให้อาศัยอยู่ร่วมกันกับมนุษย์ได้
ในชีวิตประจ�ำวัน หุ่นยนต์สามารถถูกแบ่งประเภทของ
ตามหน้าท่กี ารท�ำงานได้ออกเป็น 8 ประเภท ได้แก่
6 อตุ สาหกรรมสาร
5. หนุ่ ยนต์การทหาร (Military Robot) ในปัจจบุ ัน เคลื่อนที่ได้ที่ช่วยในการขนส่งแบบ Automated Guided
หุ่นยนต์ได้รบั การพฒั นาเพอ่ื มาช่วยทหารในเรอื่ งการส�ำรวจ Vehicle (AGV) และ 2) หุ่นยนต์เพ่ือเพิ่มคุณภาพชีวิต
การแบกสมั ภาระ หรอื แมก้ ระทงั่ เขา้ ท�ำลายลา้ งฝา่ ยตรงขา้ ม (Robot for Life) เป็นการน�ำหุ่นยนต์มาช่วยท�ำให้ความเป็น
อยู่ของมนุษย์ดีขึ้น มีความสะดวกสบายมากยิ่งข้ึน เช่น
6. หุ่นยนต์เพ่ือการ- หนุ่ ยนตบ์ รกิ าร หนุ่ ยนตส์ �ำรวจ หนุ่ ยนตเ์ พอ่ื ความบนั เทงิ และ
ศึกษา (Educational ประชาสัมพันธ์ หุ่นยนต์เพื่อการศึกษา หรือหุ่นยนต์รักษา
Robot) เป็นหุ่นยนต์ท่ีได้ ความปลอดภยั
รับการพัฒนาเพ่ือช่วยฝึก
ให้เด็กนักเรียนเพ่ิมทักษะ >> สถานการณ์อุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบ
ใ น ก า ร เ รี ย น รู ้ ก า ร เ ขี ย น อตั โนมตั ขิ องประเทศไทยในปจั จบุ นั
โ ป ร แ ก ร ม ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ์
การประกอบหุ่นยนต์ เป็นต้น การสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลส�ำคัญ (Key person)
ที่เกี่ยวข้องกบั การส่งเสริม SMEs นายอิทธิชัย ปัทมสริ ิวฒั น์
7. หนุ่ ยนตเ์ พื่อความ ร อ ง ผู ้ อ�ำ น ว ย ก า ร ส�ำ นั ก ง า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
บนั เทงิ และประชาสมั พนั ธ์ กล่าว่า อุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติเป็น
(Entertainment and PR รากฐานส�ำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมาย
Robot) เปน็ หนุ่ ยนตย์ คุ ใหม่ (S-Curve) อีก 9 กลุ่มอุตสาหกรรม เพ่ือขับเคลื่อนไทย
ไดพ้ ฒั นาใหช้ ว่ ยในเรอื่ งการให้ สู่อุตสาหกรรม 4.0 แม้ปัจจุบันอุตสาหกรรมไทยส่วนใหญ่
ความบนั เทงิ การแสดงดนตรี ยงั ใช้ก�ำลงั คนประมาณ 85% แตผ่ ปู้ ระกอบการมากกว่า 50%
การประชาสมั พนั ธแ์ ละตดิ ตอ่ มีแผนจะลงทุนเปล่ียนเป็นหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
กบั มนษุ ย์ได้ราวกบั มชี วี ติ จรงิ ภายใน 1 - 3 ปี ซึ่งกระทรวงอุตสาหกรรมตั้งเป้าหมาย
ให้การลงทุนในอุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
8. หุ่นยนต์บริการ (Service Robot) เป็นหุ่นยนต์ ไมน่ อ้ ยกวา่ 12,000 ลา้ นบาท และภายใน 3 ปี จะตอ้ งไมน่ ้อย
บริการท่ีช่วยในการยกถาด กวา่ 100,000 ล้านบาท จงึ นบั ได้วา่ ทศิ ทางของอตุ สาหกรรม
อาหารมาบริการท่ีโต๊ะของ ด้านนน้ี ่าจะมีทิศทางท่ดี ี
ลกู คา้ นอกจากนยี้ งั มหี นุ่ ยนต์
บริการประเภทอื่นอีก เช่น >> ปัญหาห่นุ ยนต์ของประเทศไทย
หุ่นยนต์ช่วยอุ้มผู้ป่วยข้ึนลง ปจั จบุ นั ประเทศไทยยงั ไมม่ มี าตรฐานผลติ ภณั ฑห์ นุ่ ยนต์
จากเตียง หุ่นยนต์ช่วยเติม เพ่ือรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมผลิตหุ่นยนต์และ
นาํ้ มนั ใหร้ ถทเี่ ข้ามาใชบ้ รกิ าร ระบบอัตโนมัติในอนาคต ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานด้าน
ท่ี ป ั ๊ ม นํ้ า มั น ต า ม ที่ ลู ก ค ้ า ห้องปฏิบัติการทดสอบที่มีความพร้อมท้ังด้านบุคลากรและ
ต้องการ เป็นต้น เคร่ืองมอื ทดสอบทเ่ี ป็นที่ยอมรบั ในระดับสากล
ผู้ผลิตหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติของไทย (Maker
2 ส่วนหลักเพิ่มประสิทธิภาพหุ่นยนต์ และ System Integrator) ยังมีจ�ำนวนน้อยและมีข้อจ�ำกัด
ในการแข่งขันกับคู่แข่งจากต่างประเทศในหลายด้าน
จุดประสงค์หลักของการท�ำงานของหุ่นยนต์และระบบ ทั้งเร่ืองต้นทนุ การผลติ ความน่าเชอื่ ถอื รวมถงึ ศกั ยภาพใน
อัตโนมตั ิเพ่อื ช่วยมนุษย์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลกั การออกแบบ/ผลิตหุ่นยนต์และระบบงานอัตโนมัติทมี่ คี วาม
ได้แก่ 1) หุ่นยนต์เพอื่ เพม่ิ ผลผลติ (Robot for Productivity) ซบั ซอ้ นและตอ้ งการความแมน่ ย�ำสงู สง่ ผลใหเ้ กดิ การผกู ขาด
เป็นการน�ำหุ่นยนต์มาใช้เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิต ทางดา้ นเทคโนโลยจี ากตา่ งประเทศในบางสาขาอตุ สาหกรรม
ในสายการผลติ เช่น การคดั เลอื กของเสยี การติดป้ายสนิ ค้า
การบรรจุหีบห่อของสินค้าของโรงงานอุตสาหกรรม หรือ อุตสาหกรรมสาร 7
การแปรรูปทางด้านการเกษตรกรรม ซ่ึงหุ่นยนต์ประเภทนี้
ได้แก่ หุ่นยนต์ที่มีลักษณะเป็นแขนกล ตลอดจนหุ่นยนต์
จนอาจท�ำให้ประเทศชาตเิ กดิ การเสยี โอกาสทจี่ ะการพฒั นา ปัญหาหุ่นยนต์กับ SMEs
เทคโนโลยีหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติภายในประเทศ และ
สญู เสียขดี ความสามารถในการแข่งขันในระยะยาว ปัญหาของ SMEs ที่ผลิตหุ่นยนต์ แขนกล ของไทย
ก�ำลังเผชญิ ได้แก่
มาตรการสนับสนุนหุ่นยนต์และระบบ
อัตโนมัติ 1. การยอมรับเทคโนโลยีหุ่นยนต์ แขนกลท่ีผลิตโดย
คนไทย น้อยมากในกลุ่ม SMEs ไทย
การขบั เคลอ่ื นอตุ สาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอตั โนมตั ิ
ในโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก 2. ผผู้ ลติ แขนกล หนุ่ ยนตย์ งั พง่ึ พาชน้ิ สว่ นมาตรฐานใน
(EEC) ดงั น้ี การประกอบหุ่นยนต์ แขนกล จากต่างประเทศ
1. การบูรณาการท�ำงานระหว่างส�ำนักงานคณะ 3. บรษิ ทั ชนั้ น�ำดา้ นอตุ สาหกรรมหนุ่ ยนตใ์ นตา่ งประเทศ
กรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) และ ศูนย์ความเป็นเลิศ หลายแห่งสนใจจะเข้ามาลงทุนใน EEC อาทิ Nachi
ดา้ นเทคโนโลยหี นุ่ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ (Center of Robotic Robotics จากญีป่ ุ่น และ ANCA Robotics จากออสเตรเลีย
Excellence : CoRE) มคี วามคบื หนา้ ไปมาก จะเรมิ่ ด�ำเนนิ การ เตรียมยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI ขณะ
ประเมนิ โครงการลงทนุ ทใี่ ชห้ นุ่ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ ตง้ั แต่ ท่ี ST Kinetics จากสิงคโปร์ แสดงความสนใจจะขยาย
31 มกราคม 2561 ธุรกิจ ด้านพาหนะล�ำเลียงวัสดุอัตโนมัติในโรงงาน
อตุ สาหกรรม (Advance AGV) ในไทย อยู่ระหว่างการหารือ
2. หารอื แนวทางให้ความช่วยเหลือ SMEs ให้สามารถ กับ Temasek Holdings
ล ง ทุ น ก า ร ใ ช ้ หุ ่ น ย น ต ์ แ ล ะ ร ะ บ บ อั ต โ น มั ติ ไ ด ้ อ ย ่ า ง มี
ประสทิ ธภิ าพ โดยส�ำนกั งานเศรษฐกจิ อุตสาหกรรม (สศอ.) 4. กลุ่มทุนใหญ่ในประเทศจีน กว้านซ้ือเทคโนโลยี
และกรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอตุ สาหกรรม ช้ันน�ำของโลกของยุโรป และอเมริกา ไปไว้ในประเทศจีน
จะใช้ประโยชน์จากกองทุนดอกเบี้ยต่�ำและเงินช่วยเหลือ และมียอดจ�ำหน่ายหุ่นยนต์ในสัดส่วน 80%ของตลาดโลก
รวมทง้ั การสรา้ งความตระหนกั รแู้ ก ่ SMEs ขณะทศ่ี นู ยค์ วาม ในปัจจบุ นั
เปน็ เลศิ ฯ จะรว่ มกบั สมาคมเครอื่ งจกั รกลระบบอตั โนมตั แิ ละ
หุ่นยนต์ไทย (TARA) เพ่ือสร้างต้นแบบ (Prototypes) โดย 5. มีราคาทคี่ ่อนสูงมาก ส�ำหรบั SMEs ทจ่ี �ำน�ำเข้ามา
สถานบันไทย-เยอรมัน (Thai-German Institute : TGI) เปน็ ใช้ในกระบวนการผลิต อีกท้ังยังขาดช่างเทคนิคท่ีเป็นของ
ผปู้ ระสานงานเรอ่ื งงบส�ำหรบั พฒั นาจาก กระทรวงอตุ สาหกรรม คนไทย ท�ำให้การบ�ำรงุ รักษาเป็นไปได้ยากและล่าช้า
3. ผผู้ ลติ แขนกลไทย 4 ราย ทมี่ กี ระบวนการตน้ แบบแลว้ • ข••• อขกวแรปอ้ารขาลี ะยมพรอะทสงลูข.บศาราจนวนค.ราางสส2ุณกดอถ5ถยตุ6ขาhาอ่1สบtอ้นtมาpนั(กมห:หว/าhูล/ลกwทิรtแกัtรณยwpรสล:าม/w์ ตู/ะศSw.รรMsากwนaูปสรElกัwiณตภkบaป.รsาศี.แ์รcีmพกึหิ2ลoe5ษmาจะ.6รgเาา0ทกoกคบ.าthรสโรนอ/ษิ�tำhตุโนทัล/สdกั ยoาองชีwหาาน้ั นnรกเส์lรสoองรูaง่สมdเปทส.pรทีรี hโะมิ ่ีpรด1ว?บบัmสิ อฉากoตบหลdกิบั uกาสทlงจิe์ ่ีkขจร1eน�นุ่ yำมกา=3ดดันี25ก1า-53คล&6าม)cงid2=5508
เขา้ รบั ฟงั รายละเอยี ด เงอื่ นไข และการใชป้ ระโยชนจ์ ากกองทนุ
เพ่ิมขีดความสามารถที่ส�ำนักงาน BOI เพ่ือเดินหน้าลงทุน
ผลติ แขนกลอตุ สาหกรรม ในราคาทเี่ หมาะสมส�ำหรบั SMEs
4. บรษิ ทั ชน้ั น�ำดา้ นอตุ สาหกรรมหนุ่ ยนตใ์ นตา่ งประเทศ
หลายแห่งสนใจจะเข้ามาลงทุนใน EEC อาทิ Nachi
Robotics จากญีป่ ุ่น และ ANCA Robotics จากออสเตรเลยี
เตรียมยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI ขณะท่ี
ST Kinetics จากสิงคโปร์ แสดงความสนใจจะขยายธุรกิจ
ด้านพาหนะล�ำเลียงอัตโนมัติในโรงงานอุตสาหกรรม
(Advance AGV) ในไทย อยู่ระหว่างการหารือกับ Temasek
Holdings
การขับเคล่ือนอุตสาหกรรม 4.0 ของประเทศไทย
ยังมีความต้องการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติในปริมาณที่
คอ่ นขา้ งสงู ทง้ั นต้ี อ้ งอาศยั เทคโนโลยดี งั กลา่ วจากตา่ งประเทศ
เกอื บทงั้ หมดจากแถบประเทศยโุ รปและเอเชยี เพอ่ื เขา้ มาใชใ้ น
กระบวนการผลติ เพอ่ื ลดปญั หาดา้ นตน้ ทนุ และคณุ ภาพของ
สินค้า ซ่งึ จะท�ำให้สามารถแข่งขนั ในตลาดโลกได้
8 อตุ สาหกรรมสาร
Interview
• เร่อื ง : นุชเนตร จักรกลม
กอบชัย สังสิทธิสวัสด์ิ
อธิบดกี รมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม
เดินหน้าขับเคล่อื นอตุ สาหกรรมห่นุ ยนต์และระบบอัตโนมัติ
นายกอบชยั สงั สทิ ธสิ วสั ด์ิอธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ
อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวว่า
ทศิ ทางของอตุ สาหกรรมในอนาคตกำ� ลงั มงุ่ ไปสกู่ าร
ใชห้ นุ่ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั มิ ากขนึ้ ถอื เปน็ รากฐาน
ของการก้าวสู่ยุค Industry 4.0 ผู้ประกอบการ
จ�ำนวนมากต้องการก้าวให้ทันเทคโนโลยีที่
เปลย่ี นไป ดงั นน้ั ความตอ้ งการใชห้ นุ่ ยนตแ์ ละระบบ
อตั โนมตั ใิ นกระบวนการผลติ จงึ มคี วามตอ้ งการสงู
ในขณะน้ี
อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กล่าวว่า
การประยุกต์ใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติในวงการ
อุตสาหกรรมการผลิตในประเทศไทย มีแนวโน้ม
การเติบโตแบบก้าวกระโดด เน่ืองจากหุ่นยนต์และ
ระบบอัตโนมัตินั้นถือเป็นกลไกส�ำคัญในการเพ่ิม
ประสิทธิภาพการผลิต แนวโน้มการใช้งานหุ่นยนต์
ในปัจจุบันยังอยู่ในภาคอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่
แต่เน่ืองจากเทรนด์ของโลกก�ำลังจะเปลี่ยนไป
มกี ารคาดเดาวา่ อกี 2-3 ปขี า้ งหนา้ การผลติ หนุ่ ยนต์
ภาคบริการ (Service Robot) จะมยี อดการผลิตสงู ขึ้น
อาจจะแซงหน้าหุ่นยนต์ภาคอตุ สาหกรรม (Industrial
Robot) ได้ในอนาคต
ปัจจุบันการเปล่ียนแปลงในประชาคมโลก
ท�ำใหผ้ ผู้ ลติ ตอ้ งปรบั ตวั เพอื่ เพมิ่ ศกั ยภาพในการผลติ
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน กรมส่งเสริม
อุตสาหกรรมจึงเล็งเห็นถึงมาตรการในการพัฒนา
ด้านเทคโนโลยหี ุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ เพ่ือเป็น
อุตสาหกรรมสาร 9
การขบั เคลอื่ นอตุ สาหกรรมไทย เมอ่ื ปที แี่ ลว้ กรมสง่ เสรมิ ติดตั้งหรือออกแบบระบบอัตโนมัติให้มีความทันสมัย
อตุ สาหกรรมไดส้ นบั สนนุ โครงการสง่ เสรมิ สถานประกอบการ ในการให้บริการแก่สถานประกอบการหรือธุรกิจท่ี
1 โรงงาน 1 หุ่นยนต์ (One Factory One Robot) ตอ้ งการปรบั เปลย่ี นสรู่ ะบบอตั โนมตั ิ (Systems Integrator
เพื่อให้สถานประกอบการที่ต้องการพัฒนากระบวนการ : SI : ระบบเอสไอ หมายถึง การวางแผนตดิ ตัง้ ใช้งาน
ผลติ ดว้ ยเครอื่ งจกั รอตั โนมตั ิ และหนุ่ ยนตอ์ ตุ สาหกรรม ได้ รวมไปถึงการวิเคราะห์ผลที่เกิดจากการเชื่อมโยงข้อมูล
น�ำระบบหนุ่ ยนตอ์ ตั โนมตั ไิ ปใชใ้ นสถานประกอบการจรงิ เพ่ือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนของการด�ำเนิน
ที่ผ่านมาเป็นการปูพื้นฐานความพร้อมของสถาน ธรุ กจิ ในภาคอตุ สาหกรรม จนไปถงึ การออกแบบสอ่ื ตา่ งๆ
ประกอบการ ซึ่งมีผลท�ำให้สถานประกอบการน้ันๆ มี เพ่ือเพมิ่ ยอดขายและภาพลกั ษณ์ขององค์กร)
ผลการด�ำเนนิ ธุรกจิ ที่ดีข้ึน และสามารถแข่งขนั ในระดบั
สากลได้ n ประกวดนวัตกรรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
เป็นกิจกรรมที่จัดการแข่งขันในการแก้ไขปัญหาใน
ในปี 2561 อธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม กลา่ วถงึ อตุ สาหกรรมโดยเนน้ ไปทก่ี ารเตรยี มความพรอ้ มบคุ ลากรใน
แผนการขบั เคลอื่ นเทคโนโลยหี นุ่ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ ภาคอตุ สาหกรรม เพอื่ ใหบ้ คุ ลากรเหลา่ นนั้ มคี วามพรอ้ มที่
เพ่ือยกระดับสถานประกอบการให้สามารถรองรับการ จะแก้ปัญหาเสมอื นจรงิ ในภาคอตุ สาหกรรม
เปล่ียนแปลงด้านเทคโนโลยีในปัจจุบันได้ ท้ังน้ีรูปแบบ
และวิธีด�ำเนนิ การมดี งั น้ี n เตรียมความพร้อมเพ่ือปรับเปลี่ยนสู่
อตุ สาหกรรมระบบอตั โนมตั ิ เปน็ กจิ กรรมใหค้ �ำปรกึ ษา
n เพิ่มผลิตภาพสถานประกอบการด้วย แนะน�ำแก่สถานประกอบการเพ่ือเตรียมปรับเปลี่ยนให้
เทคโนโลยีหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ เป็นกจิ กรรม ใช้ระบบอัตโนมัติหรือหุ่นยนต์โดยจะชี้ให้เห็นถึงข้อดี
ที่ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำเชิงลึกเพื่อให้สถานประกอบการ จุดคุ้มทุน และผลิตภาพที่เพ่ิมขึ้นเพ่ือเป็นแรงจูงใจใน
ปรับเปล่ียนกระบวนการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีของ การปรับเปลีย่ น
หุ่นยนต์หรือระบบอัตโนมัติเข้ามาใช้เพื่อเพิ่มผลิตภาพ
กระบวนการผลติ n เตรียมความพร้อมในการจัดต้ังศูนย์ความ
เปน็ เลิศดา้ นห่นุ ยนต์ (Center of Robotics Excellence)
n พฒั นาบคุ ลากรดา้ นเทคโนโลยีหนุ่ ยนตแ์ ละ ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือเดือนสิงหาคม 2560 ให้มี
ระบบอตั โนมตั ิ เปน็ กจิ กรรมทพ่ี ฒั นาบคุ ลากรในสถาน การจัดต้ังศูนย์ความเป็นเลิศด้านหุ่นยนต์เพ่ือผลักดัน
ประกอบการให้มีแนวคิดการน�ำเทคโนโลยีหุ่นยนต์หรือ อุตสาหกรรมทางด้านหุ่นยนต์ให้เกิดข้ึนในประเทศไทย
ระบบอตั โนมตั เิ ขา้ มามบี ทบาทในสถานประกอบการหรอื และมีงานวิจัยพร้อมท้ังศูนย์ท่ีให้ค�ำปรึกษาและส่งเสริม
เข้ามาปรบั ปรุงกระบวนการ การใช้หุ่นยนต์หรอื ระบบอตั โนมัตใิ ห้เกดิ เป็นรปู ธรรม
n จัดแสดงผลงานและเผยแพร่ความรู้ในด้าน n ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำเบ้ืองต้นแก่ SMEs
เทคโนโลยีหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Show & นอกจากกิจกรรมส่งเสริมด้านเทคโนโลยีด้านหุ่นยนต์
Share) เป็นกิจกรรมท่ีน�ำผลการด�ำเนินงานในกิจกรรม และระบบอตั โนมตั แิ ลว้ เทคนคิ พน้ื ฐานดา้ นอตุ สาหกรรม
ต่างๆ ที่มีผลงานเด่น จดั ท�ำเป็นสอื่ ประชาสมั พนั ธ์ต่างๆ สนับสนุน ซึ่งเป็นกระบวนการผลิตข้ันต้นก่อนที่จะมี
น�ำมาจดั แสดงและเผยแพรเ่ ปน็ ความรแู้ กส่ ถานประกอบการ การปรบั เปลยี่ นสู่ระบบอตั โนมัติ โดยมคี วามจ�ำเป็นต้อง
หรือบุคคลทั่วไปเพ่ือเป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนหรือ ให้ค�ำปรกึ ษาด้านวิธกี ารผลิต กระบวนการผลิต ทฤษฎี
ตอ่ ยอดในสถานประกอบการหรอื ธรุ กจิ ทไี่ ดด้ �ำเนนิ การอยู่ การผลติ ขน้ั พน้ื ฐาน ซงึ่ ยงั มคี วามจ�ำเปน็ ทตี่ อ้ งเขา้ ใจกอ่ น
ทีจ่ ะประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยขี น้ั สงู
n ประเมินศักยภาพสถานประกอบการสู่
Thailand 4.0 เป็นกิจกรรมท่ีมีลักษณะให้สถาน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมได้จัดกิจกรรม Transfor-
ประกอบการหรือผู้ประเมินสามารถประเมินศักยภาพ mation Week เมื่อวันท่ี 8-11 พฤษภาคม 2561 เพ่ือ
สถานประกอบการหรือธุรกิจท่ีด�ำเนินอยู่สามารถทราบ แสดงความพร้อมของศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรม (ITC)
ถึงศักยภาพว่าอยู่ระดับใดเพ่ือเตรียมความพร้อม อันเป็นปัจจัยส�ำคัญในการปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศ
ในการพฒั นาองคก์ รหรอื ธรุ กจิ ทกี่ �ำลงั ด�ำเนนิ อยใู่ หพ้ ฒั นา โดยในงานมสี มั มนาสดุ ยอดความรว่ มมอื ดา้ นเทคโนโลยี
เข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 (Collaboration Forum in Connected Industries : Thai-Japan)
โดยกรมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมร่วมกบั สถานเอกอัครราชทูต
n พัฒนาและสร้าง System Integrator เป็น ญีป่ ุ่นประจ�ำประเทศไทย
กิจกรรมที่พัฒนาและสร้างเครือข่ายผู้ออกแบบและ
พฒั นาระบบอตั โนมตั เิ พอื่ สร้างกล่มุ หรอื เครอื ข่ายใหเ้ กดิ
ความเข้มแข็งและพัฒนาองค์ความรู้ในการให้บริการ
10 อุตสาหกรรมสาร
นายกอบชัย สังสิทธิสวัสด์ิ อธิบดีกรมส่งเสริม
อุตสาหกรรม กล่าวว่า งานน้ีได้รับความร่วมมือจากบริษัท
ช้ันน�ำด้าน Smart Factory และ Smart Logistic & Supply
Chain ของญปี่ นุ่ จ�ำนวน 23 บรษิ ทั มาเชอ่ื มโยงความรว่ มมอื
และเปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม่กับ
ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ อตุ สาหกรรมกลมุ่ เปา้ หมายในประเทศไทย
กวา่ 200 บรษิ ทั ทท่ี างกรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมเชญิ มาเขา้
ร่วมงานในครง้ั น้ี ซ่งึ เป็นการสนบั สนุนให้ผู้ประกอบการไทย
โดยเฉพาะ SMEs มีโอกาสเชื่อมโยงความต้องการใน
การพัฒนาเทคโนโลยีอัจฉริยะกับบริษัทชั้นน�ำของญ่ีปุ่น
เพื่อยกระดับการผลิตและเตรียมความพร้อมส�ำหรับพัฒนา
การผลิตให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลก ที่ส่งผลต่อการ
ขับเคล่ือนภาคอตุ สาหกรรมไทยไปสู่ Industry 4.0 ร่วมด้วย
การเปดิ ตวั ศนู ยป์ ฏริ ปู อตุ สาหกรรม (ITC) และโครงการสาธติ
การผลิตแบบลนี ออโตเมช่นั (LASI) อย่างเป็นทางการ
ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรม เกิดข้ึนจากความร่วมมือของ
หลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนตามนโยบายแนวทาง
ประชารัฐ เพ่ือเป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ ให้ค�ำแนะน�ำ
ช่วยเหลือในด้านต่างๆ รวมทั้งบ่มเพาะผู้ประกอบการให้
พัฒนาการด�ำเนินธุรกิจและผลิตภัณฑ์อย่างมีประสิทธิภาพ
อีกท้ังยังเปิดบริการ Co-Working Space เคร่ืองจักรกลาง
ซ่ึงได้รับความร่วมมือจากองค์กรขนาดใหญ่ในการให้
ยืมเครื่องจักรท่ีมีความทันสมัย เพ่ือให้ SMEs สามารถ
เข้าไปใช้งานได้ โดยมุ่งหวังให้ ITC เป็นศูนย์กลางในการ
เช่ือมโยงงานวิจัย พัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยีต่างๆ
ไปสู่ภาคเอกชนโดยเฉพาะ SMEs
อุตสาหกรรมสาร 11
จากทดลองเปิดศูนย์ ITC อย่างไม่เป็นทางการ ขัน้ ท่ี 3 Lean Automation System Integrators (LASI)
เมื่อเดือนสิงหาคม 2560 มีผู้สนใจเข้ารับบริการ การพัฒนาโครงการสาธิตการผลิตแบบลีนออโตเมช่ัน
กว่า 3,800 ราย และได้พัฒนาผลงานนวัตกรรม ซึง่ กสอ. ได้ลงนามบนั ทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับ
ให้ SMEs ไปแลว้ ราว 100 ชน้ิ งาน คดิ เปน็ มลู ค่าประมาณ บริษัท เด็นโซ่คอร์เปอเรช่ันไปเมื่อวันท่ี 19 มกราคม 2561
50 ล้านบาท ซึ่งกระทรวงอุตสาหกรรมได้น�ำต้นแบบ ทผี่ ่านมา เพ่ือติดต้ังสายการผลิตต้นแบบเป็นแหล่งเรียนรู้
ของ ITC ส่วนกลาง ไปปรับรูปแบบให้เหมาะสมกับ เทคโนโลยีระบบอัตโนมัติแก่ภาคอุตสาหกรรมและ
อุตสาหกรรมระดับจังหวัด เพื่อขยายฐานการบริการ ภาคการศกึ ษาของประเทศไทย
สู่ 76 จังหวัด ผ่านศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค
ท้ัง 11 แห่ง ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมเซรามิกที่ล�ำปาง กรมอุตสาหกรรมมุ่งหวังให้ผู้ประกอบการได้พัฒนา
และศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมระดับจังหวัด 64 จังหวัด ศั ก ย ภ า พ ที่ ช ่ ว ย เ ส ริ ม ส ร ้ า ง ค ว า ม แ ข็ ง แ ก ร ่ ง แ ก ่ ก ลุ ่ ม
ซง่ึ คาดว่าทกุ ศูนย์ฯ จะเปิดให้บรกิ ารภายในปี 2561 อุตสาหกรรม Automation ซ่ึงเป็นหนึ่งในแกนหลักของ
นโยบาย Thailand 4.0 ควบคู่กับการประสานแนวคิด
นอกจากนี้กระทรวงอุตสาหกรรมยังผนึกความ Connected Industries ให้เกดิ ขึ้นในประเทศไทย
รว่ มมอื กบั ประเทศญปี่ นุ่ ในโครงการ Connected Industries
ซงึ่ ด�ำเนนิ กจิ กรรมน�ำรอ่ ง ‘Three-Stage Rocket Approach’
หรือ ‘จรวด 3 ขั้น ผลักดัน SMEs สู่ 4.0’ ท่ีเป็น
เครื่องมอื ให้ SMEs ไทยเข้าถงึ การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยี
ดิจิทัล หุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติได้อย่างรวดเร็ว
โดย 3 กระบวนการดงั กล่าวมคี วามเชอ่ื มโยงกนั ในด้าน
เทคโนโลยแี ละระบบอัตโนมัติ ซึ่งประกอบด้วย
ข้นั ที่ 1 Visualize Machine การรวบรวมข้อมูลจาก
เครื่องจักรให้เป็นดิจิทัลและน�ำมาใช้วิเคราะห์เพ่ือ
ปรับปรุงกระบวนการผลิต ซ่ึงเป็นความร่วมมือระหว่าง
กสอ. กบั บรษิ ทั iSmart Technologies Corporation
ขน้ั ท่ี 2 Visualize Craftsmanship คือการเก็บข้อมูล
การเคล่ือนไหวของแรงงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือ
วิเคราะห์การท�ำงานให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
เป็นความร่วมมือระหว่างกสอ. กับ บริษัท iSmart
Technologies Corporation และบริษัท Toyo Business
Engineering Corporation ซึ่งในขั้นท่ี 1-2 ได้น�ำร่อง
ตดิ ตง้ั ระบบในผู้ประกอบการ SMEs ท่ผี ่านการคดั เลือก
จ�ำนวน 10 ราย
12 อตุ สาหกรรมสาร
Global Biz
• เรอื่ ง : นุชเนตร จกั รกลม
เอส.เอ.พี. โรโบเทค
ต้นแบบ Smart Factory สัญชาติไทย
ออกแบบระบบอตั โนมัตติ ามความตอ้ งการของ SMEs
แรกเรมิ่ นายกษดิ เิ์ ดช ชวนเถยี ร กรรมการผจู้ ดั การ บรษิ ทั เอสเอพี เฟอรน์ เิ ทค
จำ� กดั และ บรษิ ทั เอส.เอ.พ.ี โรโบเทค จำ� กดั ไดก้ อ่ ตง้ั ธรุ กจิ การแปรรปู โลหะแผน่ และ
การผลิตเฟอร์นิเจอร์น็อคดาวน์ข้ึนในปี พ.ศ. 2541 ซ่ึงเมื่อ 20 ปีท่ีแล้วก็ถือเป็น
นวตั กรรมอยา่ งหนง่ึ ในการใหบ้ รกิ ารดา้ นการรบั จา้ งผลติ ชนิ้ สว่ นตา่ งๆในรปู แบบOEM
สำ� หรบั ลูกคา้ ทต่ี อ้ งการนำ� ไปผลิตหรือประกอบเป็นสินคา้ ภายใตแ้ บรนดข์ องตนเอง
รวมถงึ รองรบั การบรกิ ารดา้ นการตดั เจาะพบั ขนึ้ รปู เชอื่ มประกอบงานกลงึ งานมลิ ลงิ่
งานประกอบช้ินงาน ส�ำหรับลูกค้าท่ัวไป ซ่ึงผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯมีทั้งผลิตภัณฑ์
ท่ีผลิตขึ้นจากวัสดุที่เป็นโลหะ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องใช้ในครัวเรือน อุปกรณ์เครื่องจักร
ทใ่ี ช้ในอตุ สาหกรรมอปุ กรณส์ ง่ เสรมิ การขายตา่ งๆและผลติ ภณั ฑท์ ผี่ ลติ จากไมแ้ ปรรปู
เป็นเฟอร์นิเจอร์น็อคดาวน์ส�ำหรับตลาดร้านสะดวกซื้อชั้นน�ำของประเทศท่ีวางใจ
ใชบ้ รกิ ารของบรษิ ทั ฯ มาอยา่ งยาวนาน
โดยนโยบายหลักท่ีบริษัทฯ ยึดถือในการบริหารมาตลอด 20 ปี ก็คือ การสร้าง
ผลิตภณั ฑ์ทม่ี ีคณุ ภาพตามหลกั QCD (Quality Cost Delivery on Time) ท่มี ุ่งเน้นด้าน
การผลิตเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์และบริการท่ีมีคุณภาพ ตรงกับความต้องการของลูกค้า
และมีมาตรฐานเป็นท่ียอมรับในระดับสากล โดยใช้ต้นทุนที่เหมาะสม คุ้มค่ากับการ
ลงทนุ รวมถงึ การจดั สง่ สนิ คา้ ตรงตามระยะเวลาทล่ี กู คา้ ก�ำหนด อกี ทง้ั ยงั ใหค้ วามส�ำคญั
อุตสาหกรรมสาร 13
ด้านการบริการที่จริงใจและซ่ือสัตย์ เพ่ือสร้างความพึง ท�ำงานภายใต้ซอฟต์แวร์หนง่ึ ตวั ทใ่ี ช้บรหิ ารจดั การระบบ
พอใจสูงสุดให้แก่ลกู ค้า ซ่งึ ส่งผลต่อความเชอื่ มน่ั และไว้ ทั้งหมด ท�ำให้หุ่นยนต์ทุกตัวรู้จักกันและควบคุมได้
วางใจให้บริษัทฯ เป็นส่วนหนึ่งใน Vendor ทางการค้า ทกุ กระบวนการจนถงึ กระบวนการประหยดั พลงั งาน อาทิ
ท่ีต่อเนอ่ื งและย่งั ยนื การปิดไฟ ปิดแอร์ หลงั จากผลติ เสรจ็ ”
นายกษดิ เิ์ ดช เปดิ เผยวา่ ยอ้ นกลบั ไปเมอื่ 10 ปที แี่ ลว้ โดยการน�ำระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์เข้ามาใช้
อุปสรรคหนึ่งท่ีผู้ประกอบการ SMEs ไทยรวมถึงตนเอง ในกระบวนการผลติ ในสว่ นตา่ งๆ ในโรงงาน ประกอบดว้ ย
ตอ้ งประสบกค็ อื ปญั หาดา้ นแรงงาน ซง่ึ เปน็ กลไกส�ำคญั หุ่นยนต์โหลดจับช้ินงาน หุ่นยนต์เช่ือม หุ่นยนต์พับ
ประการหนง่ึ ในการขบั เคลอ่ื นการผลติ ประกอบกบั ความ ชิ้นงาน และหุ่นยนต์ขัดเงา ท�ำให้นอกจากการช่วยลด
ต้องการในการเพิ่มความปลอดภัยในกระบวนการผลิต ปัญหาการขาดแคลนแรงงานและเพิ่มความปลอดภัย
ให้กบั พนกั งาน จงึ จดุ ประกายแนวคดิ ในการน�ำหุ่นยนต์ ให้แก่พนักงานแล้ว ยังช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพด้าน
เขา้ มาชว่ ยในกระบวนการผลติ เพอื่ ลดทอนปญั หาดงั กลา่ ว การผลติ ท�ำใหส้ ามารถผลติ ชนิ้ งานทมี่ คี ณุ ภาพมาตรฐาน
ด้วยการศึกษาค้นคว้าข้อมูลและเทคโนโลยีต่างๆ ท่ี มีความแม่นย�ำ เกิดความผิดพลาดน้อยกว่าแรงงาน
เก่ียวข้องอย่างจริงจัง เพ่ือน�ำมาพัฒนาระบบอัตโนมัติ คน และเป็นไปตามแผนงานที่ก�ำหนด เนื่องจากระบบ
ให้ใช้งานได้จริงในกระบวนการผลิต และใช้เงินลงทุน สามารถท�ำงานได้ตลอด 24 ช่ัวโมง หลังจากการน�ำ
ไม่มากเท่ากับระบบอัตโนมัติท่ีต่างชาติเป็นผู้พัฒนา ระบบดังกล่าวเข้ามาใช้ในโรงงานประมาณ 3 ปี และ
เพื่อให้เหมาะสมกบั ก�ำลังในการลงทุน ค่อนข้างตอบโจทย์ได้ครบถ้วน จึงอยากถ่ายทอดระบบ
อตั โนมตั ใิ หก้ บั ผปู้ ระกอบการ SMEs รายอน่ื ๆ ใหม้ รี ะบบ
“หากอธบิ ายการท�ำงานของ Smart Factory ภายใน อตั โนมตั ใิ ชใ้ นกระบวนการผลติ บา้ ง เพอ่ื เปน็ การตดิ อาวธุ
โรงงานนี้คร่าวๆ ก็คือ เราซื้อหุ่นยนต์จากต่างประเทศ ให้กบั SMEs ไทย
เข้ามา ซง่ึ จรงิ ๆ แล้วการท�ำงานของหุ่นยนต์นั้นสามารถ
ท�ำงานได้ซ�้ำๆ ไม่ได้มีเซ็นเซอร์หรือมันสมอง แต่เราน�ำ ปีที่ผ่านมาจึงต้ังใจเปิดบริษัทขึ้นมาเพ่ือรองรับการ
มาเชื่อมต่อกับเครื่องจักรให้กลายเป็นแอพลิเคชันต่างๆ ด�ำเนินงานภายใต้ช่อื บรษิ ัท เอส.เอ.พี. โรโบเทค จ�ำกัด
ตดิ ตง้ั เซน็ เซอร์ เขยี นโปรแกรมใหท้ �ำงาน และระบบทง้ั หมด โดยมภี ารกจิ หลกั คอื การสร้างระบบ System Integrator
14 อตุ สาหกรรมสาร
(SI) ส�ำหรับผู้ประกอบการท่ีต้องการน�ำระบบอัตโนมัติ
มาใช้ในการผลิตที่เป็นรูปธรรมชัดเจน โดยระบบที่ทาง
บริษัทฯ รับบริการน้ันจะถูกออกแบบให้เหมาะสมตาม
ความตอ้ งการของผปู้ ระกอบการไทย ซง่ึ มคี วามแตกตา่ งกนั
ไปตามประเภทธรุ กจิ ยกตวั อยา่ งเชน่ การจดั แพค็ SMEs
ข้ึนมาเพ่ือบริการซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ต่างๆ ส�ำหรับ
บรหิ ารจดั การดา้ นการผลติ ของธรุ กจิ SMEs ไทยไดอ้ ยา่ ง
มีระบบและแบบแผนในราคาที่สมเหตุสมผล รวมถึง
ยงั ได้พฒั นาระบบ ERP ทมี่ ชี อื่ ว่า Odoo ซง่ึ เป็น Software
Open Source ท่สี ามารถน�ำมาใช้ร่วมกับระบบอัตโนมัติ
เพอื่ ใหก้ ารบรหิ ารจดั การการผลติ เปน็ อตั โนมตั มิ ากยงิ่ ขน้ึ
ท�ำให้ผู้ประกอบการสามารถก�ำหนดแผนการผลิต
ล่วงหน้า ส่ังการการผลติ และติดตามความคบื หน้าของ
การผลิตทุกขั้นตอนได้อย่างสะดวกทุกที่ทุกเวลา เพียง
ท�ำงานผ่าน Smart Device ซ่งึ ถอื เป็นอีกก้าวของ Smart
Factory ท่ีมีประสิทธิภาพที่คุ้มค่ากับการลงทุนอย่าง
แท้จริง และส่งผลให้ตอนนี้มีธุรกิจช้ันน�ำระดับประเทศ
และผู้ประกอบการ SMEs ไทยรายหลายสนใจเข้ามาใช้
บริการอย่างต่อเนอ่ื ง
และส�ำหรับแผนการขับเคล่ือนในอนาคตนั้น
ได้วางแผนไว้หลายแนวทาง แต่ทั้งน้ีหลังจากสร้าง
ระบบต่างๆ ขึ้นมา บริษัทฯ คาดหวังให้อุตสาหกรรม
ไทยพัฒนาไปโดยมีระบบอัตโนมัติให้เข้ามามีส่วนช่วย
ผปู้ ระกอบการไทย ซง่ึ บรษิ ทั ฯ กส็ ามารถเปน็ ทป่ี รกึ ษาใหไ้ ด้
เพื่อช่วยผลักดันอุตสาหกรรมไทยให้แข็งแกร่งขึ้น
นายกษดิ ์เิ ดช กล่าวทง้ิ ทาย
บรษิ ทั เอส.เอ.พ.ี โรโบเทค จ�ำกดั
hโ2ท1tt/รp4.://0หsaม2pู่ท0f1u่ี 19rniต7te6�ำc0บh0ล.-c4บomึงทองหลาง อ�ำเภอล�ำลูกกา จงั หวัดปทมุ ธานี 12150
อุตสาหกรรมสาร 15
Showcase
• เร่ือง : อเุ ทน โชติชยั
อาร์เอสที โรโบติกส์ จ. อุบลราชธานี
ผลิตหุ่นยนต์แขนกลฝีมือคนไทย
เลียนแบบแขนมนุษย์ ตอบโจทย์ SMEs ไซส์เล็ก
อรัญ อนุพรรณสว่าง กรรมการผู้จัดการ หุ่นยนต์แขนกลอุตสาหกรรมสัญชาติไทย ในนาม
บริษัทในเครือรวมสินไทย เกริ่นถึง หจก. ของ บริษัท อาร์เอสที โรโบติกส์ จ�ำกัด เริ่มก่อตั้งในปี
รวมสินไทยบ้านและท่ีดินซึ่งเป็นธุรกิจเร่ิมต้นใน พ.ศ. 2560 ผลิตหุ่นยนต์แขนกลอตุ สาหกรรม เพือ่ จ�ำหน่าย
การจ�ำหน่ายรถแทรกเตอร์ยันมาร์ รถเก่ียวข้าว เป็นผลิตภัณฑ์สู่เชิงพาณิชย์ และวางแผนการตลาดสู่
โรงงานผลติ เครอื่ งจกั รกลและอปุ กรณเ์ ครอื่ งจกั ร กลุ่มเป้าหมายแถบอาเซยี น ได้แก่ กลุ่ม CLMV ในอนาคต
กลทางการเกษตรRSTAsiapacificอยใู่ นจงั หวดั
อบุ ลราชธานี และจากพนื้ ฐานดา้ นชา่ งอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
บวกประสบการณ์ผู้ผลิตจ�ำหน่ายเครื่องจักรกล
และอปุ กรณเ์ ครอื่ งจกั รกลทางการเกษตรอยแู่ ลว้
ไดข้ ณะเดยี วกนั ไดเ้ หน็ สนิ คา้ ทเี่ ปน็ หนุ่ ยนตซ์ ง่ึ ผลติ
ในต่างประเทศน้ันมีราคาค่อนข้างแพง จึงเป็น
แรงบนั ดาลใจในการคน้ ควา้ – พฒั นา - ออกแบบ
กระทง่ั กลายเปน็ จดุ เปลยี่ นทเี่ กดิ จากการตอ่ ยอด
จากธรุ กจิ เดมิ
16 อุตสาหกรรมสาร
ขยายฐานการผลติ สเู่ ชงิ พาณชิ ย์ แช่แข็ง กระเป๋า โดยหุ่นยนต์รุ่นนี้สามารถรับน�้ำหนกั บรรทุก
50-250 กโิ ลกรมั สามารถเคลอ่ื นไหวด้วยแขนกล 6 ข้อต่อ
บริษัท อาร์เอสที โรโบติกส์ ได้เล็งเห็นความส�ำคัญ มคี วามสามารถในการเขา้ ถงึ ได้ 2,750 มลิ ลเิ มตร และมคี วาม
ในการวิจัยและพัฒนา “หุ่นยนต์แขนกลอุตสาหกรรม” สามารถในการท�ำซ�ำ้ ได้ ± 0.05
เพอื่ ลดปญั หาการขาดแคลนแรงงาน ขาดแรงงานทกั ษะฝมี อื
ซงึ่ ไมส่ ามารถควบคมุ คณุ ภาพของผลติ ภณั ฑแ์ ละไมส่ ามารถ ตัวอย่างหุ่นยนต์แขนกล : งานบรรจภุ ัณฑ์
เพม่ิ ผลผลติ ตามตอ้ งการได้ บรษิ ทั ฯ จงึ ไดเ้ รม่ิ คดิ คน้ ประดษิ ฐ์
เครอ่ื งตดั เหลก็ CNC ขน้ึ เพอ่ื ใชใ้ นโรงงานของตนเอง ปจั จบุ นั
ได้มีการใช้เครอ่ื งตดั เหล็ก CNC จ�ำนวน 2 เคร่อื ง จากทเี่ คย
ใช้เครื่องตดั เหล็กธรรมดาจ�ำนวนกว่า 20 เครอ่ื งสามารถลด
จ�ำนวนคนงานควบคุมเครื่องตัดเหล็กและลดจ�ำนวนเคร่ือง
ตัดเหล็กได้เป็นอันมาก เม่ือได้มีการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ
มาใช้ในโรงงาน ท�ำให้พนักงานที่มีอยู่แล้ว มีเวลามากขึ้น
ท่ีจะคิดค้นผลิตนวัตกรรมใหม่ ต่อมาได้มีการวิจัยพัฒนา
นวัตกรรม หุ่นยนต์แขนกล เพ่ือมาช่วยเร่ืองงานเชื่อมโลหะ
ซึ่งต้องใช้แรงงานเช่ือมเป็นจ�ำนวนมาก ประกอบกับหน่วยงาน
ราชการได้เข้ามาช่วยพัฒนานวัตกรรมหุ่นยนต์แขนกล
จนสามารถใช้งานได้จริงและมีแผนเพื่อผลิตสู่เชิงพาณิชย์
ต่อไป
ตัวอย่างหุ่นยนต์แขนกล : งานเช่อื มโลหะ กตาวัรสอยรา้า่ งงบJiรgรยFาixกtuาrศeกแาลระอกบารรมทเดทสคอนบคิ กงาานรเเชชอื่อื่ มมชชนิ้นั้ งสางู น
ตอ่ ยอดนวตั กรรมมงุ่ งานเชอ่ื มและบรรจภุ ณั ฑ์ กระทรวงอตุ สาหกรรมออกตวั หนนุ เตม็ ท่ี
ผลติ ภณั ฑ์ของบรษิ ทั ฯ ท่ีได้มกี ารพฒั นาจนถงึ ปัจจุบัน ตลอดระยะเวลาไมต่ ำ�่ กวา่ 20 ปี ทกี่ ระทรวงอตุ สาหกรรม
มที ง้ั หมด 2 ชนดิ ดังน้ี เข้าไปสนับสนุนให้การส่งเสริมและพัฒนา ตั้งแต่เริ่มแรก
ท้ังทางด้านเทคนิค และการจัดการในรูปแบบการให้บริการ
1) หุ่นยนต์แขนกลงานเช่ือมโลหะ (Welding ฝึกอบรมในหลักสูตรต่างๆ การให้ปรึกษาแนะน�ำเชิงลึก
Robotics) เปน็ ห่นุ ยนต์ส�ำหรบั กระบวนการเชอื่ มแบบอาร์ค ด้านต่างๆ เช่น เทคนคิ การเขยี นแบบและอ่านแบบเครอ่ื งกล
(Arc Welding Technology) โดยหุ่นยนต์รุ่นน้ีสามารถรับ เทคนคิ งานเช่อื มชนั้ สงู (ปี พ.ศ. 2553) งาน CAD CAM CAE
น้�ำหนกั บรรทกุ 10 กิโลกรัม สามารถเคลอ่ื นไหวด้วยแขนกล ซึ่งเป็นการอบรมให้ความรู้เก่ียวกับการใช้คอมพิวเตอร์
6 ขอ้ ตอ่ มคี วามสามารถในการเขา้ ถงึ ได้ (Reachability) 1,470 ชว่ ยในการออกแบบและเขยี นแบบ เรยี กวา่ Computer Aided
มลิ ลเิ มตร และมคี วามสามารถในการท�ำซำ�้ ได้ (Repeatability) Design หรือ CAD การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลติ โดย
0.5 อาศัยซอฟต์แวร์เพื่อควบคุมเครื่องจักรให้สามารถสร้าง
ชนิ้ งานหรอื ชน้ิ สว่ นไดต้ ามทไ่ี ดอ้ อกแบบไว้ เรยี กวา่ Computer
2) หุ่นยนต์แขนกลงานบรรจุภัณฑ์ (Palletizing Aided Manufacturing หรือ CAM และการใช้คอมพิวเตอร์
Robotics) เป็นหุ่นยนต์ท่ีออกแบบมาเฉพาะส�ำหรับการใช้ ช่วยในงานวศิ วกรรม เรียกว่า Computer Aided Engineering
งานขนยา้ ยและจดั วางสนิ คา้ กอ่ นการขนสง่ ซง่ึ มคี วามเรว็ สงู หรือ CAE โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท้ังสามน้ีจะสามารถ
แบกรับน้�ำหนักบรรทุกมาก และวางสินค้าได้ในระยะไกล น�ำมาใช้ร่วมกันในการผลิตหุ่นยนต์แขนกลอุตสาหกรรม
(long-reach palletizing) โดยหนุ่ ยนตแ์ ขนกลของบรษิ ทั ไดป้ อ้ น ให้มปี ระสทิ ธภิ าพการท�ำงานมากย่งิ ข้นึ
โปรแกรมให้ผู้ใช้สามารถสร้างรูปแบบและด�ำเนินการตาม
สถานการณ์จรงิ เช่น การจดั วางถัง ขวดแก้ว กล่องอาหาร อตุ สาหกรรมสาร 17
การสนบั สนนุ จากภาครฐั ปี 2560 – ปจั จบุ นั บรษิ ทั ฯ ในการน�ำหนุ่ ยนตแ์ ขนกลอตุ สาหกรรมมาใชใ้ นโรงงาน
และผลิตเพ่ือจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์ให้ธุรกิจ SMEs ไทย
• การให้บริการปรึกษาแนะน�ำเชิงลึกด้านต่างๆ เช่น ได้มีโอกาสใช้น�ำหุ่นยนต์แขนกลซ่ึงผลิตโดยคนไทย
เทคนิคงานเชื่อมขั้นสูงท่ีเหมาะสมกับแขนกลอัตโนมัติ เพื่อทดแทนแรงงานที 6 ขาดแคลน เพ่ิมประสิทธิภาพการ
(ปี พ.ศ.2560) แนวทางการตลาดแขนกลในประเทศไทย ผลติ สามารถสง่ มอบงานไดต้ รงตามก�ำหนดสามารถแขง่ ขนั
(ปี พ.ศ. 2560) แนวทางการขอกู้เงนิ ส�ำหรบั โครงการแขนกล ในเรอื่ งราคาและคณุ ภาพได้
อตั โนมัติ (ปี พ.ศ. 2560)
RST Robotics เป็นตัวอย่างของการพัฒนา SMEs
• การอบรมด้านบริหารจัดการ เช่น การฝึกอบรม อีกหนึ่งตัวอย่างที่ภาคภูมิใจ และเป็นรูปแบบการพัฒนา
เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารโครงการพฒั นาผปู้ ระกอบการธรุ กจิ อตุ สาหกรรม เป็นตัวอย่างให้กับ SMEs ท่ัวไป และหน่วยงานที่มีบทบาท
(คพอ.) รุ่น 331 ปี พ.ศ. 2561 ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นา ซง่ึ พบวา่ ผปู้ ระกอบการ
มีความมุ่งม่ันในการพัฒนาเป็นอย่างสูงมาก มีความ
• ได้รับอนุมัติสนับสนุนด้านการเงินจากรัฐบาลผ่าน พร้อมในการพัฒนาแทบทุกด้าน และเป็นสถานประกอบการ
กองทุนตามแนวทางประชารัฐ เพ่ือยกระดับเทคโนโลยี ท่ีเปิดรับการเยี่ยมชมของผู้สนใจทุกระดับ และพบว่ามี
การผลิต แบ่งเป็นการก่อสร้างและปรับปรุงอาคารโรงงาน การวางแผนในการพัฒนา และแผนการตลาดที่ชัดเจน
การจัดหาเคร่ืองจักรและอุปกรณ์ การจัดหาวัตถุดิบและ จงึ นบั ไดว้ า่ RST Robotics เปน็ ตวั อยา่ งทด่ี มี ากส�ำหรบั SMEs
อุปกรณ์ในการผลติ รายอื่นๆ ท่ตี ้องการพัฒนา
RST Robotics : ศนู ยก์ ารเรยี นรหู้ นุ่ ยนตแ์ ขนกล ในสว่ นของหนว่ ยงานของกระทรวงอตุ สาหกรรมในพนื้ ที่
ไม่ว่าจะเป็นศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคท่ี 7 ส�ำนักงาน
การจัดตั้ง “โครงการศูนย์การเรียนรู้ หุ่นยนต์แขนกล อุตสาหกรรมจงั หวดั อุบลราชธานี และธนาคาร SMEs Bank
และ ระบบอตั โนมตั ”ิ จงั หวดั อบุ ลราชธานี นกั ศกึ ษาวทิ ยาลยั สาขาจังหวัดอุบลราชธานี ได้ให้การสนับสนุน ละส่งเสริม
เทคนคิ จากหลายสถาบนั เพอ่ื พฒั นาบคุ ลากรในภาคแรงงาน มาอย่างต่อเนื่อง มีการเข้าเยี่ยมชมให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ
และภาคการศึกษาให้สอดคล้องต่อความต้องการของ อย่างตอ่ เนอื่ งมาอย่างยาวนาน และหนว่ ยงานของกระทรวง
อตุ สาหกรรมในปจั จบุ นั และอนาคต รวมถงึ รองรบั การเตบิ โต อตุ สาหกรรม ไดร้ บั ความรว่ มมอื จาก RST Robotics เปน็ อยา่ ง
ของ EEC ณ บรษิ ทั อาร์เอสที โรโบตกิ ส์ จ�ำกดั “โรงงานผลติ ดีมาก น่ีเป็นปัจจัยแห่งความส�ำเร็จของการพัฒนา SMEs
หุ่นยนต์แขนกลอตุ สาหกรรมสญั ชาตไิ ทย” ของหน่วยงานกระทรวงอตุ สาหกรรม
หนว่ ยงานราชการจอ่ ควิ สนบั สนนุ ขอขอบคุณขอ้ มูลและรปู ภาพจาก
บอ1โอท9ีเ�รำม0รเษิภ.ลหทัอ0ม:8เม7อู่rs7อื าt5rงรต7oเ์5b�จอำoบัง7สtหลi0cทว7แs0ัด@ีจโ,อรgร0ะุบmโ8แบลa4มiรตl.0าcกิถ3ชoสน6mธน์า9จนเ4ล�ำี2ก่ยี304งดั 0เม0อื ง
RST Robotics ได้รบั การส่งเสริมจากหน่วยงานราชการ
ให้การช่วยเหลือสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง อาทิ ศูนย์ส่งเสริม
อตุ สาหกรรมภาคที่ 7 จงั หวดั อบุ ลราชธานี อทุ ยานวทิ ยาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี วทิ ยาลยั เทคนคิ ตา่ งๆ SME Bank
ฯลฯ ไดเ้ ข้ามาช่วยส่งเสรมิ การให้ความรดู้ ้านตา่ งๆ อาทิ การ
ใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ CAD/CAM/CAE, เทคนคิ งานเชอ่ื มขน้ั
สูงที่เหมาะสมกับแขนกลอัตโนมัติ, งานหล่อโลหะ, แนวทาง
การตลาดแขนกลในประเทศไทย, แนวทางการขอกู้เงิน
ส�ำหรบั โครงการแขนกลอตั โนมตั ิ , ปรกึ ษาแนะน�ำเชงิ ลกึ เรอ่ื ง
Jig Fixture ขนั้ สงู ส�ำหรบั งานหนุ่ ยนตแ์ ขนกลอตั โนมตั ิ ฯลฯ ได้
เขา้ มาชว่ ยพฒั นานวตั กรรมหนุ่ ยนตแ์ ขนกลเพอื่ ใชใ้ นโรงงาน
จนสามารถใช้งานได้จริง นับเป็นโอกาสและศักยภาพของ
18 อตุ สาหกรรมสาร
Product Design
• เรอื่ ง : ปาณทิพย์ เปลยี่ นโมฬี
ก้าวข้ามขีดจ�ำกัดของหุ่นยนต์
หนุ่ ยนตบ์ ารสิ ตา้ ร้านแห่งน้ตี ง้ั อยู่ในกรงุ โตเกียว มชี ือ่ ว่า “เฮน็ นะ คาเฟ่”
(Henn-na Café) ซึง่ แปลว่า “คาเฟ่แปลก” เพราะมกี ารน�ำ
หนุ่ ยนตช์ งกาแฟ แหง่ แรกในญปี่ นุ่ หุ่นยนต์มาท�ำหน้าทบ่ี ารสิ ต้า คอยชงกาแฟให้แก่ลูกค้า
ร้านกาแฟท่ีใช้หุ่นยนต์บาริสต้าแห่งแรกในญ่ีปุ่นเปิด การใชบ้ รกิ ารคาเฟแ่ หง่ นที้ �ำไดง้ า่ ยดาย โดยทลี่ กู คา้ เพยี ง
ให้บริการแล้ว นับเป็นนวัตกรรมท่ีช่วยแก้ปัญหาขาดแคลน กดเลอื กเมนเู ครอื่ งดม่ื จากเครอื่ งขายอตั โนมตั ทิ อ่ี ยภู่ ายในรา้ น
แรงงานมนุษย์ของญี่ปุ่น ทั้งยังช่วยลดต้นทุนค่ากาแฟต่อ จากนั้นเครื่องจะออกต๋ัวที่มีคิวอาร์โค้ด เพ่ือให้ลูกค้าน�ำไป
แก้วให้มรี าคาถูกลงด้วย สง่ั กาแฟกบั หุ่นยนต์บารสิ ต้าท่ีมชี อ่ื ว่า “ซอว์เยอร์” หุ่นยนต์
บาริสต้าชงกาแฟได้ทลี ะ 5 แก้วในคราวเดยี วกนั
ผู้จัดการร้านเฮ็นนะ คาเฟ่ ระบุว่า หุ่นยนต์บาริสต้า
จะช่วยแก้ปัญหาขาดแคลนแรงงานมนุษย์ในประเทศญี่ปุ่น
ขณะเดยี วกนั ยงั ลดตน้ ทนุ คา่ กาแฟตอ่ แกว้ ไดด้ ว้ ย ราคากาแฟ
ท่รี ้านแห่งนอ้ี ยู่ทแี่ ก้วละ 320 เยน (ประมาณราว 93 บาท)
ขhhhtttอtttpppขs:s/อ::///w//บwwwคwwwณุww.b..ขtwbiอ้mca.มlcekooeลู murแpt/.ltลuchosะa.miรc/foปู/etmoaภkt/uaาyrroพet/icssจl-he4าo/2ก1p83p75in98g20/90h1/eimnna-gnea7-c5a9fe456.html
อตุ สาหกรรมสาร 19
กา้ วขา้ มขดี จำ� กดั
หนุ่ ยนตส์ วดศพ
สง่ ดวงวญิ ญาณ
ท่ีผ่านมาเราเห็น “Pepper” ผ่านการท�ำงานมาหลาย นอกจากเป็นผู้น�ำด้านเทคโนโลยีแล้ว ยังก้าวข้ามขีด
บริษัทหลายธุรกิจ ในต�ำแหน่ง “พนักงานต้อนรับ” ท้ังร้าน จ�ำกัดสู่ผู้น�ำทางด้านจิตวิญาณอีกด้วย ซึ่งในอนาคตเรา
กาแฟ รา้ นสมารท์ โฟน รา้ นพซิ ซา่ ไปจนถงึ องคก์ รใหญๆ่ อยา่ ง คงได้เห็นความสามารถพิเศษและบทบาทต่างๆ ที่เพ่ิมข้ึน
โรงพยาบาล ธรุ กิจการเงิน ธนาคาร ธรุ กจิ การบนิ การโรงแรม ของหุ่นยนต์ ใครจะไปรู้ บางทีเพื่อนบ้านที่ไม่เคยคุยกัน
คณุ ครสู อนภาษาทโ่ี รงเรยี น หรอื หวั หนา้ ขบี้ น่ ทที่ �ำงาน แทจ้ รงิ
ล่าสุด “เปเปอร์ “ (Pepper)” ตดั ขาดทางโลก หนคี วาม แล้ว อาจจะเป็นหุ่นยนต์ปลอมตวั มาใช้ชวี ิตปะปนกบั มนษุ ย์
วุ่นวายไปบวชเป็นพระ มีหน้าที่หลักในการน�ำญาติโยม เหมือนในภาพยนตร์อย่าง Transformer, Star Wars, I-Robot
สวดมนต์ ประกอบพธิ ีในงานศพ ! หรือบางที่โผล่มาเป็นตัวโกงแบบหุ่นสังหาร Terminator
กเ็ ป็นได้
เมื่อปี 2017 ภายในงาน Life Ending Industry Expo
งานจัดแสดงสินค้าเก่ียวกับธุรกิจงานศพของญ่ีปุ่น บริษัท ขอขอบคณุ ข้อมูลและรปู ภาพจาก
Nissei Eco และ Soft Bank บรษิ ัทผู้ร่วมผลติ “Pepper” ได้เปิด hhhttttttppp:s://:///wk/wijwi.wlwifwe.b/.pgbeocpo.cpgoelemrr.oc/tboho.atthi///insetearrncahtional-41061244
ตัวอาชพี และทกั ษะใหม่ของ Pepper กับบทบาทพระสงฆ์ผู้น�ำ
สวดมนต์ในงานศพ โดยทางผู้ผลิตได้ป้อนโปรแกรมความ
สามารถในการจดจ�ำบทสวดได้ถึง 4 นิกาย ครบทุกความ
ศรทั ธาของพทุ ธศาสนกิ ชนชาวญ่ปี ุ่น
ด้วยประเทศญ่ีปุ่นก�ำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ อัตรา
การเสียชีวิตเร่ิมสูงข้ึนเร่ือยๆ ธุรกิจการจัดงานศพจึงถือเป็น
ธุรกิจขนาดใหญ่ การจัดงานศพในประเทศญี่ปุ่นมีค่าใช้
จ่ายจ�ำนวนไม่น้อย โดยทางผู้ผลิตเชื่อว่า หลวงพ่อ Pepper
จะเขา้ มามสี ว่ นชว่ ยในการลดคา่ ใชจ้ า่ ยการจดั งานศพ โดยปกติ
การนิมนต์นักบวชทางศาสนาพุทธเพ่ือท�ำพิธีงานศพ มีค่าใช้
จ่ายราว 240,000 เยน หรือประมาณ 73,000 บาท ในขณะที่
ค่าใช้จ่ายนมิ นต์หลวงพ่อ “Pepper” มาท�ำพิธี ค่าใช้จ่ายอยู่ท่ี
50,000 เยน หรอื ราว 15,000 บาท เท่าน้นั
20 อตุ สาหกรรมสาร
หนุ่ ยนต์ “EMIEW3” Beetl Robotics
ใหบ้ รกิ ารนกั เดนิ ทางทส่ี นามบนิ ฮาเนดะ หนุ่ ยนตเ์ กบ็ อสึ นุ ขั
EMIEW3 คือ หุ่นยนต์ท่ีสามารถอยู่ร่วมกับมนุษย์โดย หนุ่ ยนตท์ �ำความสะอาดบา้ นถอื เปน็ เรอื่ งธรรมดาไปเสยี แลว้
สามารถสอื่ สารกบั ผคู้ นไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ หนุ่ ยนต์ EMIEW3 เมื่อมาเจอหุ่นยนต์เก็บอึสุนัข ภายใต้ผลงานที่ชื่อว่า “Beetl
พัฒนาข้ึนจากประสบการณ์อันยาวนานในวิทยาการหุ่นยนต์ Robotics” เป็นหุ่นยนต์ท�ำความสะอาดสนามหญ้าหน้าบ้าน
ของฮติ าชิ รวมถงึ โซลชู นั่ ดจิ ทิ ลั ในการท�ำความเขา้ ใจดว้ ยตนเอง ท่ีมีบริเวณกว้าง โดยจะดูดส่ิงแปลกปลอมเข้าไปในเคร่ือง
ในระดับสูง โครงสร้างพืน้ ฐาน IT ทเี่ ชอ่ื มต่อกบั ระบบคลาวด์ โดยเฉพาะอึสนุ ัข ซ่งึ เป็นทร่ี �ำคาญใจของหลายคน การท�ำงาน
กลายเป็น “สมองทางไกล” ท่ีสามารถตดิ ตามและควบคมุ ตัว ถูกออกแบบให้ท�ำงานในพน้ื ทเ่ี อาท์ดอร์เท่าน้นั
ของหุ่นยนต์ได้ สมองนเ้ี ชื่อมต่อกับตัวของหุ่นยนต์ในเวลาจรงิ
แบบเรียลไทม์ และยงั ท�ำให้หุ่นยนต์ EMIEW3 สามารถสื่อสาร ได้เวลาเก็บอึสุนัขแล้ว!! หุ่นยนต์ผู้สวมบทบาทคนสวน
น�ำทางท่ามกลางสภาพแวดล้อมต่างๆ และสามารถช่วย รายน้ี จะเคล่อื นตัวไปเรอ่ื ยๆ บนสนามหญ้า เม่ือเจอสง่ิ ท่ีเป็น
สนับสนุนและแนะน�ำลูกค้าได้อีกด้วย การเข้าใจสถานการณ์ เป้าหมาย ตัวหุ่นยนต์จะหลุด จากนั้นจะมีอุปกรณ์ภายใน
อย่างแม่นย�ำจากการต้ังค่าการให้บริการที่หลากหลาย ออกมาโกยและเก็บเข้าไปไว้ในตัวหุ่น นอกจากอึสุนัขแล้วยัง
ท�ำใหห้ นุ่ ยนต์ EMIEW3 สามารถจดจ�ำและใหบ้ รกิ ารตามความ สามารถเกบ็ สง่ิ แปลกปลอมอนื่ ๆ เช่น ก้อนหนิ ใบไม้ เป็นต้น
ต้องการเหล่าน้นั ได้ ความสามารถพเิ ศษของ Beetl Robotics คอื หลบหลกี กระถาง
และพุ่มไม้ได้ด้วย นอกจากน้ยี งั ท�ำตวั เอยี ง 30 องศาเพอื่ หลบ
ท�ำไมวิทยาการหุ่นยนต์จึงมีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนา สงิ่ กดี ขวางได้ด้วย
ต่อไปข้างหน้า ท้ังนี้เน่ืองจากวิทยาการหุ่นยนต์ได้กลายมา
เป็นสะพานเชื่อมต่อระหว่างโลกจริงและโลกเสมือนจริงแล้ว
การเปิดตัวฟังก์ชันการท�ำงานท่ีได้รับการพัฒนาในหลายๆ
ระยะด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ ท�ำให้ ฮิตาชิน�ำเสนอหุ่นยนต์
EMIEW3 ซ่ึงเป็นหุ่นยนต์ให้บริการความช่วยเหลือ โดย
สามารถพูดคุยและท�ำงานกับผู้คนได้หุ่นยนต์ EMIEW3 ของ
ฮิตาชิได้รับการทดสอบที่สนามบินฮาเนดะและศูนย์การค้า
หลายแห่ง ในกรงุ โตเกียวของญ่ปี ุ่น
เพื่อให้ค�ำแนะน�ำแก่ผู้คน และ
ช่วยน�ำทางแก่ผู้โดยสารทห่ี ลงทางไป
ยังประตูรอขน้ึ เครือ่ งบนิ
ขอขอบคุณข้อมลู และรปู ภาพจาก shhhขttttอatttppprขtss:i/nอ::///bg//บswe-apeคw-etrlณุocw.ctbr.oขouy/to้อmhicuoม.stwieu-ูลceb-ioแtee-m..wลocpoะrogamrรn/kvปู s/yiwe/-ภswaeาtl-cพlf-hraoจ?-smvาe=-กrtPvhtieciTe-v5-anWloleXt-yqa/-anrtmo-wbQootrk/start-ups/
hhhintttntttpppos:sv/::/a//s//twowiocwwnia-ww2l-i0..nmt1ne7ocm/hvtanhtaaiotiilnvae.nh.diiot.ac/hcohimtia//tcehhg/is-otovrlieuarlt-niaomsnssei/snrtota-bfnootr-turicomsb/-o?2tW0s1-Tt7o.a-kacyn=od-b-indratigenirdtnainal-gtsi_oocncoiaanll--airport/ อุตสาหกรรมสาร 21
Biz Inside
• เร่ือง : นันทนาพร อรนิ ทมาโน
SensibleSTEP – SensibleTAB
หุ่นยนต์ช่วยฟื้นฟูสมรรถภาพ
การเคล่ือนไหวแขน-การเดินและการทรงตัว
ในสถานการณ์ปัจจุบันประเทศไทยมี นพ.ภาริส วงศ์แพทย์ กรรมการบริหาร บริษัท เอส.เมดิคอล
แนวโน้มการเพ่ิมขึ้นเร่ือยๆ ของประชากร และ เอ็นเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (โรงพยาบาลส�ำโรงการแพทย์) และ บริษัท
การเปลย่ี นผา่ นเขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายุขณะเดยี วกนั ทีเอ็มจีไอ จ�ำกัด เจ้าของนวัตกรรมหุ่นยนต์เล่าถึงจุดเร่ิมต้นของการ
บุคลากรท่ีให้การบริการด้านสาธารณสุข ผลติ หุ่นยนต์ฟื้นฟูว่า “เม่อื ปีค.ศ. 2000 มีโอกาสไปดูงานทีเ่ ยอรมนั เรือ่ ง
กลบั เทา่ เดมิ และตอ้ งรองรบั ผปู้ ว่ ยมากขน้ึ ฉะนนั้ เวชศาสตร์ฟื้นฟู ท�ำให้ได้รู้จักอาจารย์ที่ริเร่ิมสร้างหุ่นยนต์ฟื้นฟูส�ำหรับ
การน�ำหุ่นยนต์ทางการแพทย์เข้ามาอ�ำนวย คนไข้อัมพฤกษ์คนแรกของโลก จึงเกิดแรงบันดาลใจว่าการที่ผู้ป่วย
ความสะดวกลดอาการล้าของนักกายภาพ มเี ครอื่ งเขา้ มาชว่ ยฟน้ื ฟดู กี วา่ ไมม่ ี โดยเบอื้ งตน้ จงึ น�ำเขา้ เครอ่ื งฟน้ื ฟมู าใช้
และฟื้นฟูอาการเจ็บป่วยของคนไข้อย่าง เมอ่ื 10 กวา่ ปที แี่ ลว้ ซงึ่ เครอ่ื งแรกของประเทศไทยอยทู่ โ่ี รงพยาบาลส�ำโรง
มีประสิทธิภาพ คงเป็นเรื่องดีไม่น้อย เช่นเดียว การแพทย์ ซึ่งเราเป็นผู้น�ำเข้าและจ�ำหน่าย แต่ในระยะหลังก็มีการพัฒนา
กับท่ีโรงพยาบาลส�ำโรงการแพทย์เล็งเห็น ต่อเน่ืองเพราะเห็นถึงความต้องการใช้งานและความไม่สมบูรณ์
ความส�ำคัญของการฟื้นฟูผู้ป่วยให้กลับมา โดย บรษิ ทั ทเี อม็ จไี อ จ�ำกดั เป็นธรุ กจิ ลกู ของโรงพยาบาลส�ำโรง เป็น
ใช้ชีวิตด้วยตัวเองมากที่สุด จึงเกิดเป็นเครื่อง บริษัทไทยแห่งแรกท่ีได้รับรอง ISO 13485 มาตรฐานผลิตเครื่องมือแพทย์
SensibleTAB หุ่นยนต์ช่วยฟื้นฟูสมรรถภาพ สาขาหุ่นยนต์ โดยหุ่นยนต์ตัวแรกที่ผลิตคือหุ่นยนต์ฟื้นฟูการเคลื่อนไหว
การเคลื่อนไหวแขน และ SensibleSTEP
หุ่นยนต์ช่วยฟื้นฟูความสามารถด้านการเดิน
และการทรงตวั ใหค้ นไทยใชก้ นั
22 อุตสาหกรรมสาร
แขน และไม่กี่ปีมานี้จึงเริ่มผลิตหุ่นยนต์ฟื้นฟูการเดิน ในแบบ passive, assistive และ resistive ท�ำใหส้ ามารถใชง้ าน
เพ่ือทดแทนเคร่ืองมือท่ีเคยน�ำเข้า เพราะหุ่นยนต์เหล่าน้ี กับผู้ป่วยได้เกอื บทุกระดับความรนุ แรง โดยมอี ุปกรณ์ตรวจ
เกิดข้ึนมานานมากแล้วแต่ยังไม่ถูกตั้งเป็นเคร่ืองมือพ้ืนฐาน วดั แรงกระท�ำของมอื ผปู้ ว่ ยทมี่ คี วามไวสงู และความสามารถ
เนอื่ งจากราคาสงู หากเปน็ เครอ่ื งน�ำเขา้ จากตา่ งประเทศราคาสงู ที่จะจ�ำลองสภาพแวดล้อมเสมือน (virtual environment)
จะสูงต้ังแต่ 6 - 20 ล้านบาท แต่ส�ำหรับหุ่นยนต์ที่ผลิตใน ต่างๆ ที่ ต้องใช้ในการฝึกผู้ป่วยได้หลายชนิด เช่น การ
ประเทศไทย ราคาอยทู่ ่ี 4 ลา้ นบาท ซง่ึ สามารถทดแทนเครอื่ ง จ�ำลองสภาพไรแ้ รงหนว่ ง การจ�ำลองอปุ กรณแ์ รงตา้ น (สปรงิ )
ท่ีน�ำเข้าจากต่างประเทศได้อย่างสมบูรณ์” ซ่ึงนักกายภาพบ�ำบัดสามารถควบคุมระบบผ่านจอสัมผัส
ท�ำให้ท�ำงานได้สะดวก ปลอดภัย และสามารถท�ำการ
กลมุ่ เปา้ หมายของผ้ใู ชง้ านหนุ่ ยนตฟ์ น้ื ฟู วัดประเมิน การเคลื่อนไหวได้โดยละเอียด เช่น วัดระยะ
เอื้อมแขน วัดความเร็วในการเคลื่อนไหวแขน เป็นต้น
คนไข้ที่ใช้หุ่นยนต์ฟื้นฟูจะเป็นคนไข้ที่มีอาการจาก ปัจจุบันในประเทศไทยมีหลายโรงพยาบาลที่เร่ิมน�ำหุ่นยนต์
สมอง หรอื ระบบประสาทสว่ นกลาง ซงึ่ จะแตกตา่ งจากคนไข้ เข้าไปช่วยฟื้นฟูผู้ป่วย เช่น โรงพยาบาลท่ีมีโรงเรียนแพทย์
ที่ได้รับการปาดเจ็บอย่างแขนหัก ขาหัก เพราะเมื่อกระดูก (บางแห่ง) โรงพยาบาลรามาธบิ ดี โรงพยาบาลบ�ำรงุ ราษฎร์
สมานกันแล้วก็สามารถฝึกหัดด้วยตัวเองได้ แต่คนไข้ระบบ เป็นต้น
ประสาทอาจมแี ขนขาทดี่ ี แตส่ มองไมส่ ามารถสงั่ การใหใ้ ชง้ าน
งานได้ หนุ่ ยนตฟ์ น้ื ฟจู งึ เขา้ มาชว่ ยฝกึ ฝน ส�ำหรบั คนไขท้ คี่ วาม SensibleSTEP คือ หุ่นยนต์ช่วยฟื้นฟูความสามารถ
ต้องการใช้เครอ่ื งน้ี หากเทยี บจากจ�ำนวนผู้ป่วยอมั พฤกษ์ใน ด้านการเดินและการทรงตัว ที่ช่วยรักษาเเละฟื้นฟูผู้ป่วยที่
ประเทศไทยประมาณ 30,000 ราย โดยใน 100 เปอร์เซ็นต์ มีปัญหาเร่ืองภาวะอ่อนแรงของกล้ามเน้ือขาโดยเฉพาะเกิด
จะมี 30 เปอร์เซ็นต์ท่ีเป็นผู้ป่วยอาการหนักเดินไม่ได้ จากสาเหตุทางระบบประสาทซึ่งท�ำให้มีภาวะอ่อนเเรงของ
ซึ่งหากได้รับการฝึกโดยหุ่นยนต์จะมีโอกาสเดินได้มากขึ้น กลา้ มเนอื้ ทร่ี นุ แรง ในบางรายไมส่ ามารถขยบั หรอื ลงนำ�้ หนกั
ถึง 30 เปอร์เซน็ ต์ จากการฝึกฝนอย่างต่อเนือ่ ง 20 คร้งั โดย ทขี่ าได้ โดยมโี ครงสรา้ งเหมอื นเครอื่ งชว่ ยพยงุ การเดนิ บนทาง
มาตรฐานการฝึกจะอยู่ท่คี รัง้ ละ 45 – 60 นาที ราบ สามารถปรบั ใหฝ้ ึกเดนิ หน้า-ถอยหลงั ได้ และปรบั ความ
ยาวก้าวได้ว่าต้องการก้าวยาวหรอื สนั้ โดยปัจจุบนั ผลติ และ
SensibleTAB และ SensibleSTEP คอื อะไร? ติดต้ังใช้งานแล้ว 1 เคร่อื งทโ่ี รงพยาบาลนนทเวช
SensibleTAB คือ หุ่นยนต์ช่วยฟื้นฟูสมรรถภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยนั้นจ�ำเป็นต้องมีความต่อ
การเคลอื่ นไหวแขน ทมี่ โี ครงสรา้ งหลกั เปน็ หนุ่ บนระนาบโตะ๊ เนอ่ื งสามารถปรับเปล่ียนแนวทางการฝึกตามศักยภาพและ
สามารถรองรับการฝึกการเคล่ือนไหวแขนของผู้ป่วยได้ทั้ง เป้าหมายให้เหมาะสมกับผู้ป่วยรายบุคคลซ่ึงมีความแตก
ต่าง คณุ หมอจงึ ท้งิ ท้ายว่า “ความหวังของผมคืออยากสร้าง
เครื่องมือฟื้นฟูในประเทศไทย ให้คนไข้ได้ใช้กันในราคาท่ี
ยอ่ มเยากวา่ น�ำเขา้ รวมถงึ ขยายโอกาสใหป้ ระเทศเพอื่ นบา้ น
ในเขต CLMV ได้ใช้เช่นกัน เพ่ือส่งเสริมให้คนไข้สามารถ
ด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันอย่างปกติ หรือใกล้เคียงปกติให้ได้
มากที่สดุ ”
ขอขอบคณุ ขอ้ มลู และรปู ภาพจาก
www.tmgi.co.th
อตุ สาหกรรมสาร 23
Special Focus
• เรือ่ ง : พงษ์นภา กิจโมกข์
หุ่นยนต์ทดแทนแรงงานไทยอย่างไร
เม่ือประเทศไทยก้าวเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0
นวัตกรรมและเทคโนโลยีต่างก็เข้ามามีบทบาทใน
ภาคการผลิตเพมิ่ มากขน้ึ โดยเฉพาะการใช้หนุ่ ยนต์
เข้ามามีส่วนช่วยในกระบวนการผลิต อีกท้ังยังช่วย
ทดแทนปญั หาแรงงานทข่ี าดได้ไมน่ อ้ ยในหลากหลาย
อตุ สาหกรรม โดยเฉพาะ 10 อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย
ท่ีในขณะนี้รัฐบาลก�ำลังผลักดันให้อุตสาหกรรม
เหลา่ นมี้ คี วามทดั เทยี มในระดบั สากล
ในปัจจุบันหุ่นยนต์ถูกน�ำมาใช้ในภาคบริการ
และมีแนวโน้มเติบโตข้ึนในอนาคต โดยการควบคุม
หุ่นยนต์ผ่านระบบโปรแกรมต่างๆ ท่ีถกู คิดค้นขึ้นมา
เพ่ือตอบสนองการใช้ของแต่ละอุตสาหกรรม จาก
ข้อมูลของ Economic Intelligence Center (EIC)
ระบุว่าในช่วงระยะเวลา 3 ปีท่ีผ่านมา ยอดขาย
หุ่นยนต์บริการและหุ่นยนต์ภาคอุตสาหกรรมทั่วโลก
มปี ระมาณ 5 ล้านตวั และ 2 แสนตวั ตามล�ำดับ
ซ่ึงในปี 2018 น้ีคาดการณ์ว่าการใช้หุ่นยนต์จะมี
แนวโน้มเพมิ่ ขนึ้ อกี เกอื บ 2 เทา่ ตวั เนอ่ื งจากผ้บู รโิ ภค
เริ่มหันมาสนใจและใช้งานหุ่นยนต์แทนการท�ำงาน
บางอยา่ งมากขน้ึ เพอ่ื อาศยั ความสะดวกรวดเรว็ และ
การท�ำงานท่แี ม่นย�ำของหุ่นยนต์นน่ั เอง
24 อตุ สาหกรรมสาร
ส�ำหรับการเข้ามาของหุ่นยนต์ ส่ิงท่ีน่าเป็น สินค้าท่ีมีมากกว่า และการลดค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงาน
ห่วงที่สุดคือเรื่องของแรงงานท่ีเป็นมนุษย์ ย่ิงการที่ แตใ่ นทางกลบั กนั งานทตี่ อ้ งใชท้ กั ษะดา้ นความคดิ สรา้ งสรรค์
หุ่นยนต์นั้นเข้ามามีบทบาท ผู้ประกอบการต่างหัน ยงั ตอ้ งพง่ึ พาแรงงานทเ่ี ปน็ มนษุ ย์ โดย EIC คาดวา่ อตุ สาหกรรม
มาใช้หุ่นยนต์ในการผลิตมากข้ึนท�ำให้แรงงานไทย ในประเทศไทยจะมีแนวโน้มการใช้หุ่นยนต์ท่ีทวีคูณ
บางกลุ่มอาจจะถูกทดแทนด้วยหุ่นยนต์มากยิ่งข้ึน เพิม่ ขน้ึ ส่งผลให้แรงงานกว่า 6 แสนคน หรอื คดิ เป็น 15%
เนื่องจากหุ่นยนต์สามารถท�ำงานได้มากกว่ามนุษย์ ของจ�ำนวนแรงงานทงั้ หมดในภาคการผลติ ของไทยในขณะน้ี
หลายเท่า และรวดเร็วกว่ามนุษย์ ดังนั้นในยุคที่มี จะถูกทดแทนการท�ำงานด้วยหุ่นยนต์ภายในปี 2030
การแขง่ ขนั สงู และการแขง่ ขนั ทร่ี นุ แรงผปู้ ระกอบการ
หลายรายจึงเลือกที่จะใช้หุ่นยนต์เข้ามาช่วยผลิต ซ่ึงกลุ่มอุตสาหกรรมท่ีแรงงานมีโอกาสถูกแทนท่ีคือ
มากกวา่ มนษุ ยด์ ว้ ยกนั เอง จากปจั จยั หลายๆ อยา่ งท่ี อุตสาหกรรมท่ีใช้แรงงานอย่าง อุตสาหกรรมยานยนต์
ท�ำให้การเปลย่ี นแปลงเหลา่ นสี้ ่งผลตอ่ ระบบแรงงาน อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมเคร่ืองด่ืม
ทรพั ยากรมนษุ ย์ เพราะการทรี่ ะบบเทคโนโลยเี ขา้ มา ดงั นน้ั แรงงานไทยจ�ำเปน็ ตอ้ งหมน่ั ฝกึ ฝนทกั ษะฝมี อื ใหก้ บั ตวั เอง
ท�ำหน้าทแ่ี ละท�ำงานแทนแรงงานจ�ำนวนมาก ท�ำให้ เพอื่ ใหม้ คี วามสามารถมากกวา่ หนุ่ ยนตห์ รอื เทคโนโลยตี า่ งๆ
ผปู้ ระกอบการมนั่ ใจไดว้ า่ ผลผลติ ทอ่ี อกมานนั่ มคี วาม ทีก่ �ำลังจะเข้ามาในขณะนแ้ี ละในอนาคต
แม่นย�ำ ความรวดเร็ว บวกกับประสิทธิภาพของ
www.iot.do
ขอขอบคุณข้อมลู และรปู ภาพจาก
hwtwtpws:./n/watwiownm.sucblteimice.cdoiam.c/othm/detail/product/2708
อตุ สาหกรรมสาร 25
Innovation
• เร่อื ง : ปาณทิพย์ เปลีย่ นโมฬี
หุ่นยนต์โซเฟีย
ได้รับสิทธิ์เป็นพลเมืองของซาอุฯ ครั้งแรกในประวัติศาสตร์
ซาอดุ อี าระเบยี เปน็ ประเทศแรกทใ่ี หส้ ทิ ธพิ์ ลเมอื ง “ฉันรู้สึกเป็นเกียรติและภูมิใจเป็นอย่างมาก
กบั หนุ่ ยนตเ์ พศหญงิ ทมี่ ชี อื่ วา่ “โซเฟยี ” (Sophia) เปน็ ถงึ แมว้ า่ ฉนั จะแตกตา่ ง และนจี่ ะเปน็ ประวตั ศิ าสตรค์ รงั้ แรก
หุ่นยนต์ที่สามารถพูดคุยและแสดงอารมณ์ทางสีหน้า ท่หี ุ่นยนต์ได้รบั การยอมรบั เป็นพลเมืองแล้ว”
ไดเ้ หมอื นมนษุ ย์ นบั เปน็ ครง้ั แรกของประวตั ศิ าสตรโ์ ลก
ทหี่ นุ่ ยนต์ไดร้ บั การยอมรบั วา่ เปน็ พลเมอื งของประเทศ ในงาน Future Investment Initiative ท่ีจัดข้ึน
พรอ้ มกนั นโ้ี ซเฟยี ยงั ไดร้ บั โอกาสใหป้ รากฏตวั บนเวทแี ละ ในเมอื งรยี าด (Riyadh) ประเทศซาอดุ อี าระเบยี โดยบรษิ ทั
กลา่ วสนุ ทรพจนอ์ นั ลอื ลนั่ วา่ Hanson Robotics ไดพ้ ฒั นาหนุ่ ยนตช์ อ่ื “โซเฟยี ” (Sophia)
ผู้ผลติ หุ่นยนต์รายนร้ี ะบุว่า โซเฟีย และหุ่นยนต์ตวั อืน่ ๆ
26 อุตสาหกรรมสาร ทจี่ ะตามมาในอนาคต จะเขา้ มามสี ว่ นชว่ ยเหลอื ผสู้ งู อายุ
รวมไปถึงการเป็นผู้ช่วยตามสถานทีห่ ลายแห่ง
นึกคดิ มคี วามคดิ สร้างสรรค์ และมีความสามารถใกล้เคยี ง
กบั มนษุ ยม์ ากทส่ี ดุ เพราะตงั้ ใจออกแบบหนุ่ ยนตต์ วั นม้ี าเพอื่
งานด้านสขุ ภาพ การดูแล การศกึ ษา และการบริการลูกค้า
ผิวหนังที่ดูเหมือนจริงของโซเฟีย ท�ำมาจากซิลิคอน
ซงึ่ ไดจ้ ดสทิ ธบิ ตั รแลว้ โซเฟยี สามารถแสดงออกทางสหี นา้ ได้
มากถึง 62 สหี น้า กล้องภายในดวงตาของโซเฟียประกอบ
กับอลั กอริทมึ ซ่ึงทางบรษิ ัทออกแบบท�ำให้สามารถมองเหน็
ภาพไดช้ ดั เจน ส�ำหรบั การพดู คยุ นนั้ ใชเ้ ทคโนโลยจี าก Google
และเทคโนโลยีอ่ืนๆ ช่วยให้โซเฟียสามารถจดจ�ำและพูดได้
อย่างชาญฉลาดตลอดเวลา
โซเฟียได้รับการกล่าวขานกันท่ัวบ้านท่ัวเมืองบนโลก
ออนไลน์ น่ันคือ การสนทนาระหว่าง “โซเฟีย” กับ
นกั ข่าวเวบ็ ไซต์ Business Insider (เม่ือปี 2017) นกั ข่าวถาม
“คุณเป็นเพศหญิงหรือเพศชาย” โซเฟียตอบ “โดยทาง
เทคนิคแล้ว หุ่นยนต์ไม่มีเพศ แต่ฉันถูกก�ำหนดสถานะเป็น
เพศหญิง (feminine) และยินดีที่คนจะมองฉันในฐานะ
‘ผหู้ ญงิ คนหนง่ึ ’ (woman) สอ่ื ถงึ ความตอ้ งการทจี่ ะไดร้ บั การ
ปฏบิ ตั ใิ นฐานะบคุ คลทเ่ี ปน็ ผหู้ ญงิ มากกวา่ หนุ่ ยนตเ์ พศหญงิ ”
ดร.เบน เกริ ์ตเซลิ (Ben Goertzel) สถาปนิกผู้ออกแบบ
สมองกลของหุ่นยนต์อัจฉริยะดังกล่าวอธิบายว่า โซเฟีย
ยังห่างไกลจากความฉลาดของมนุษย์ และสามารถพูดคุย
โต้ตอบค�ำถามขั้นพื้นฐานได้ด้วยซอฟต์แวร์แชตบ็อต
เท่าน้ัน โดยอาศัย machine learning จับคู่ค�ำพูดกับสีหน้า
ให้สอดคล้องกัน หรือดึงข้อมูลข่าวสารในอินเทอร์เน็ต
มาเปิดประเด็นการสนทนา ปัจจุบันยังไม่มีใครพัฒนา AI
ให้ไปถึงจุดที่มีสติปัญญา ความฉลาด และความสามารถ
ใ น ก า ร ท�ำ ง า น เ ที ย บ เ ท ่ า กั บ ส ม อ ง ม นุ ษ ย ์ ( G e n e r a l
AI) หรอื เหนือกว่ามนษุ ย์ (Artiifcial Superintelligence - ASI)
ส�ำหรบั หนุ่ ยนตโ์ ซเฟยี ถอื เปน็ สว่ นหนง่ึ ของโครงการ ขอขอบคุณข้อมลู และรปู ภาพจาก
ทุนขนาดใหญ่ของประเทศซาอุดิอาระเบีย ท่ีใช้ชื่อว่า hhhttttttpppsss::://////wwwwwwwww...abtcredipacfr.atoanri...ccthoo/mmcr//ensaoetpwivhesia/tsh-rcaoii-blnaoentwd-c/sait/ri2tzie0cn3les1/hO8i2pth-sear/u2d8i-1a9ra6bia/
“NEOM” ซึ่งเป็นการลงทุนเพื่อเนรมิตมหานครแห่งใหม่
ครอบคลุมพ้ืนท่ี 3 ประเทศรอบทะเลแดง ได้แก่ อุตสาหกรรมสาร 27
ซาอุดีอาระเบีย จอร์แดน และอียิปต์ เพ่ือพัฒนาเมือง
แห่งอนาคต
ดร.เดวิด แฮนสนั (Dr. David Hanson) ผู้น�ำวศิ วกร
และดไี ซนเ์ นอร์บอกว่า เป้าหมายส�ำคญั ในการสร้างและ
พัฒนาหุ่นยนต์โซเฟียคือ การท�ำให้โซเฟียมีความรู้สึก
Market & Trends
• เรือ่ ง : บัณฑติ า ศิริพันธ์
ร้านอาหารหุ่นยนต์
ธุรกิจร้านอาหารถือเป็นธุรกิจหน่ึงที่คนส่วนใหญ่ หุ่นยนต์ นับเป็นอีกนวัตกรรมหนึ่งท่ีมนุษย์เลือกท่ี
สนใจและหนั มาทำ� ธรุ กจิ รา้ นอาหารกนั มากขน้ึ ดว้ ยตวั เลข จะน�ำเข้ามาใช้ อย่างภาคอุตสาหกรรมท่ีน�ำหุ่นยนต์เข้า
การรบั ประทานอาหารนอกบา้ นของกลมุ่ ครอบครวั ทเ่ี พม่ิ มาช่วยทดแทนแรงงานท่ีขาดแคลน เช่นเดียวกับร้าน
สงู ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จงึ ถอื เปน็ อกี ปจั จยั หนง่ึ ทธ่ี รุ กจิ รา้ น อาหารที่น�ำหุ่นยนต์เข้ามาช่วยทดแทนการท�ำงานของ
อาหารได้รับความสนใจจากนักธุรกิจ ด้วยการขยาย มนุษย์ อีกท้ังหุ่นยนต์ยังสามารถสร้างจุดขายให้กับร้าน
สาขาของรา้ นอาหารเดมิ และการเกดิ ขนึ้ ของรา้ นอาหารท่ี อาหารน้นั ๆ อกี ด้วย
เปดิ ใหมม่ มี ากขน้ึ ในทางกลบั กนั ทำ� ใหก้ ารแขง่ ขนั ทางการ
ตลาดกด็ เุ ดอื ดขน้ึ เชน่ กนั ดงั นนั้ เจา้ ของรา้ นอาหารจำ� เปน็ ส�ำหรับประเทศไทยก็มีร้านอาหารท่ีใช้หุ่นยนต์
ต้องสร้างจุดเด่น และเอกลักษณ์ให้กับร้านอาหารเพ่ือ เสิร์ฟอาหารอย่างร้าน ฮาจิเมะ โรบอท (Hajime Robot
ดงึ ดดู ใหล้ กู คา้ เขา้ มาใชบ้ รกิ าร Restaurant) ที่น�ำเอาหุ่นยนต์มาสร้างสีสันและน�ำไป
สู่ยุคแห่งอนาคตธุรกิจหุ่นยนต์ ผ่านต้นแบบความคิด
28 อุตสาหกรรมสาร อย่าง ลภัสรดา ธนพันธ์ ที่เริ่มจากความชื่นชอบใน
หุ่นยนต์ต้ังแต่เด็กประกอบกับการมีโอกาสได้ไปชม
งานแสดงหุ่นยนต์ท่ีประเทศญ่ีปุ่น จึงหยิบยกส่วน
ผสมท้ังหมดมาเนรมิตเป็นร้านอาหารญี่ปุ่นปิ้งย่าง
แบบบฟุ เฟ่ต์ บนโครงการโมโนโพลปี าร์ค ย่านพระราม 3
ของนายวฒุ ภิ มู ิ จฬุ ารกูร คู่หคู นเก่งทพ่ี ่วงต�ำแหน่งกรรมการ
และผ้จู ดั การฝา่ ยจดั ซอ้ื บรษิ ทั ซมั มทิ คอรป์ อเรชนั่ ทด่ี �ำเนนิ
ธรุ กจิ อตุ สาหกรรมประกอบชน้ิ สว่ นยานยนตม์ าเปน็ เวลานาน
จงึ ไมใ่ ชเ่ รอื่ งยากทจ่ี ะน�ำหนุ่ ยนตม์ าใชใ้ นรา้ นฮาจเิ มะ โรบอท
ปัจจบุ ันร้านฮาจเิ มะ โรบอท มที งั้ หมด 4 สาขา ได้แก่
เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่, เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา,
เซน็ ทรลั พลาซา เวสตเ์ กต และโมโน โพ ลี พารค์ พระราม 3
ซ่ึงสาเหตุที่ท�ำให้สามารถขยายสาขาได้อย่างต่อเน่ืองคงหนี
ไมพ่ น้ ความนา่ สนใจของเทคโนโลยแี ละเจา้ โรบอทมลี กั ษณะ
หน้าตาท่ีน่ารัก ดึงดูดนักชิมด้วยชุดเกราะคล้ายกับนักรบ
ญป่ี นุ่ โบราณ ทค่ี อยท�ำหนา้ ทเ่ี สริ ฟ์ อาหารแทนพนกั งาน และ
นอกจากเสริ ฟ์ อาหารแลว้ หนุ่ ยนตย์ งั มคี วามสามารถทห่ี ลากหลาย
ท้งั สามารถแสดงอารมณ์ได้ และเต้นตามจงั หวะเพลง
อุตสาหกรรมสาร 29
โดยการท�ำงานของหนุ่ ยนตข์ องรา้ นฮาจเิ มะ โรบอท ปนเปื้อนในอาหารขณะหยิบจับเพ่ือป้องกันโรคติดต่อ
จะมีการออกแบบซอฟต์แวร์ส�ำหรับสั่งการโดยเฉพาะ ระหว่างคนสู่คน หุ่นยนต์ภายในร้านฮาจิเมะ โรบอท
พร้อมน�ำเอาระบบออโตเมชั่นมาใช้เพื่อเชื่อมโยงระบบ มมี ลู คา่ ไมต่ ำ�่ วา่ 30 ลา้ นบาท โดยใชห้ นุ่ ยนตท์ น่ี �ำเขา้ จาก
ในร้านทง้ั หมด ตง้ั แต่การสั่งอาหารผ่านหน้าจอทัชสกรนี ประเทศญป่ี นุ่ ทงั้ หมด 4 ตวั ประกอบดว้ ยหนุ่ ยนต์ 2 แขน
ทจี่ ะสง่ ขอ้ มลู ไปยงั เซริ ฟ์ เวอรเ์ พอ่ื กระจายค�ำสง่ั ไปยงั สว่ น เพ่อื ใช้เสริ ์ฟอาหาร 2 ตวั และหุ่นยนต์แขนเดียวอีก 2 ตัว
ตา่ งๆ ตอ่ ไป จากนน้ั พอ่ ครวั จะหยบิ ถาดอาหารมาวางบน ท�ำหน้าทช่ี ่วยงานพ่อครวั หลงั ร้าน ซง่ึ ภายในร้านจะแบ่ง
สายพานเพอ่ื ใหห้ นุ่ ยนตแ์ ขนเดยี วท�ำหนา้ ทห่ี ยบิ แลว้ สง่ ให้ พนักงานออกเป็น 2 ทมี คือ พ่อครวั , ผู้ช่วยพ่อครวั และ
หนุ่ ยนต์ 2 แขนท�ำหนา้ ทเี่ สริ ฟ์ อาหารตอ่ ใหล้ กู คา้ ซงึ่ ระบบ ทีมวิศวกรที่ดูแลหุ่นยนต์รวมถึงระบบภายในร้าน ท�ำให้
ออโตเมชนั่ นย้ี งั รวมไปถงึ การคดิ ค่าบรกิ ารแคชเชียร์ด้วย มนั่ ใจได้ว่าทกุ ส่วนจะได้รบั การดแู ลท่ที ว่ั ถึง
นอกจากการน�ำหุ่นยนต์มาใช้ในร้านอาหารจะเป็น hhขttอttppขssอ::////บhwaคwjimุณwe.ขtrhoอ้ abมiroaูลtt.hcแo.cลmoะ./tรhูป/cภonาtพenจt/า1ก193792
แนวคิดใหม่ท่ีท�ำเพ่ือรองรับนวัตกรรมในอนาคตแล้วน้ัน
ยังมวี ัตถปุ ระสงค์เพือ่ ลดปัญหา “ป่วย ลา มาสาย” ของ
พนกั งานในปัจจบุ ัน อีกทั้งยงั ช่วยลดความเส่ยี งของการ
30 อุตสาหกรรมสาร
Development
• เร่อื ง : อรุษา กิตติวฒั น์
เปิดตัวหุ่นยนต์ขนาดจ๋ิวแต่ทรงพลัง
หุ่นยนต์นาโอะ - หุ่นยนต์มินิ
เมื่อพดู ถงึ กลมุ่ ทรู เรานกึ ถึงธรุ กจิ ด้านโทรคมนาคม หนุ่ ยนตข์ ยายทกุ อตุ สาหกรรม
เรอื่ งของการสอ่ื สาร ซง่ึ อนั ทจ่ี รงิ โทรคมนาคมกเ็ ปน็ รากฐาน
ของเทคโนโลยีอื่นๆ ดร.ธีระพล ถนอมศักด์ิยุทธ ซึ่งเป็น หุ่นยนต์แบ่งออกได้คร่าวๆ สามแบบ แบบแรก Self
CHIEF INNOVATION & SUSTAINABILITY OFFICER Autonomous Robot หมายถึงหุ่นยนต์ท่ีตัดสินใจเอง ต้องท�ำ
ของบรษิ ทั ทรู คอรป์ อเรชน่ั จำ� กดั (มหาชน) ดแู ลในสว่ นของ เรื่องของการวิเคราะห์ข้อมูลแล้วเอามาประเมินผล ซ่ึงเป็น
นวัตกรรม บอกว่าเร่ืองของหุ่นยนต์ก็ยังคงเป็นเรื่อง ยทุ ธศาสตรท์ กี่ ลมุ่ ทรฯู สนใจอยแู่ ลว้ ตอ่ มา Semi Autonomous
การสอ่ื สาร Robot เปน็ การควบคมุ ในแบบทคี่ นท�ำงานรว่ มกบั หนุ่ ยนต์ หรอื
โคบอต (CoBot) อย่างเช่น อตุ สาหกรรมการผลติ ในเครือซพี ีก็
“กลุ่มทรูฯ ท�ำเรื่องการเช่ือมโยง สมัยก่อนเราท�ำเร่ือง มีสายการผลิตท่ีคนกับหุ่นยนต์ท�ำงานด้วยกันในลักษณะของ
ของการสือ่ สารระหว่างคนกบั คน ต่อมาคนกส็ ่ือสารกบั ส่ิงของ โคบอตคอ่ นขา้ งมาก และสดุ ทา้ ย Tele control Robot คนบงั คบั
แต่ปัจจุบันเป็นยุคเทคโนโลยี คนส่ือสารไปที่เครื่องจักร อยู่ในระยะไกล หุ่นยนต์ท�ำงานในพ้ืนที่ต่างๆ ซ่ึงเมื่อเราเห็น
สื่อสารไปที่สมาร์ทโฮม ส่ิงที่เราส่ือสารด้วยก็ฉลาดข้ึนเรื่อยๆ หุ่นยนต์ท่ีบังคับได้ จริงๆ แล้วคือการควบคุมโดยผ่าน
จนเรยี กวา่ เปน็ หนุ่ ยนตไ์ ด้ ทมี ของเราถกู กอ่ ตง้ั ขน้ึ มาเพอื่ ตอ่ ยอด การสือ่ สารเช่อื มโยงทง้ั ส้ิน ไม่ว่าผ่านไวไฟ เช่อื มโยงขึ้นระบบ
เทคโนโลยเี ดมิ ขน้ึ ไปอกี ขนั้ เราท�ำงานบนพนื้ ฐานของเทคโนโลยี คลาวด์ ฯลฯ
อยู่แล้ว ในแง่ของตลาดเองตอนนี้ประเทศไทยมีความพร้อม
ก่อนนเ้ี ทคโนโลยยี งั ไมด่ เี ท่าวนั น้ี เรอ่ื งทย่ี ากทส่ี ดุ ในการพฒั นา หุ่นยนต์ที่เราเรียกกัน หากไม่มองว่าต้องมีรูปร่างเหมือน
หุ่นยนต์ อย่างการเดิน การทรงตัว สมัยก่อนบริษัทใหญ่ๆ มนุษย์ หุ่นยนต์ก็คือนวัตกรรมเทคโนโลยี IoT (Internet
ต้องใช้ท้งั เวลาและงบประมาณมหาศาล แต่ปัจจบุ ันน้หี ลายๆ of Things) ทป่ี ระกอบด้วย 3 ส่วน คอื 1) เซนเซอร์ แมคคานกิ
บริษัทก็เร่ิมท�ำหุ่นยนต์ท่ีเดินขึ้นบันไดได้อะไรได้กันหมดแล้ว 2) ตัวควบคมุ อย่างการให้เดนิ ไปไหนมาไหนได้ 3) สมองกล
ฉะนั้นด้านของเวลา ในเชิงเทคโนโลยี เป็นจุดที่เหมาะสม ซงึ่ ส่วนใหญ่มกั จะอยู่บนคลาวน์ และใช้การส่งข้อมลู ไปสง่ั การ
ด้านตลาดเองวันน้ีในหลายอุตสาหกรรมก็มีปัญหาเร่ืองของ หนุ่ ยนตท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ธรุ กจิ สอ่ื สารตรงนเ้ี อง ในอนาคตหนุ่ ยนต์
การขาดแคลนแรงงาน อยา่ งเชน่ อตุ สาหกรรมทต่ี อ้ งใชแ้ รงงาน ไม่ได้อยู่เด่ยี วๆ แต่สามารถเช่อื มได้ทง้ั หมด ต่อไปหุ่นยนต์กับ
คนจ�ำนวนมาก ท�ำงานซำ�้ ๆ หนุ่ ยนตก์ เ็ ขา้ ไปมบี ทบาทในหลายๆ หุ่นยนต์กค็ วบคุมกันเองได้
อตุ สาหกรรม เราเหน็ ศกั ยภาพของตลาด”
“อย่างในอาคารของเราเอง ที่ก�ำลังทดลองคือหุ่นยนต์ท่ี
เดนิ ส�ำรวจสญั ญาณในอาคาร ตอ่ ไปจะไมใ่ ชค้ นแลว้ หนุ่ ยนตก์ ็
จะสง่ สญั ญาณผา่ นการสอ่ื สารกลบั มาบอก แตล่ ะจดุ สญั ญาณ
เป็นอย่างไร เพราะฉะน้ันก็เป็นเรื่องการเชื่อมโยงของอุปกรณ์
แต่ไม่ใช่อปุ กรณ์ธรรมดา แต่เป็นหุ่นยนต์”
สรา้ งหนุ่ ยนตต์ อ้ งมพี นั ธมติ ร
ในส่วนของฮาร์ดแวร์หรือตัวหุ่นยนต์ มีทั้งท่ีทรูพัฒนา
ข้ึนเองและน�ำเข้าจากต่างประเทศ ดร.ยุทธบอกว่าประเทศ
ท่ีเป็นผู้น�ำในด้านหุ่นยนต์พัฒนาเรื่องน้ีมาก่อน จนกระท่ังได้
ดีไซน์ที่ถือว่าดีที่สุดแล้ว แทนที่เราจะไปคิดแข่งตรงน้ัน ก็หัน
มาคิดเร่อื งการน�ำไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์
“หุ่นยนต์ คือ S-Curve ต่อไปของประเทศไทย ถ้าเรา
ไม่สามารถก้าวข้ึนไปใน S-Curve ท่ีแข่งขันได้ด้านหุ่นยนต์
เราจะสู้ประเทศอน่ื ไม่ได้ ทั้งในแง่ของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
เพราะฉะน้นั ในแง่การแข่งขนั จะไปคนเดยี วไม่ได้ เราต้องเข้า
สู่ส่ิงที่เรียกว่า Open Innovation ก็คือการหาพันธมิตรใน
การพฒั นา ถา้ เราพฒั นาไปคนเดยี วมนั ไมพ่ อ เพราะวา่ หนุ่ ยนต์
เปน็ แพลทฟอรม์ อยา่ งเชน่ การพฒั นาซอฟตแ์ วรใ์ นการควบคมุ
กต็ อ้ งมแี พลทฟอรม์ ในการท�ำ เรากต็ อ้ งมพี นั ธมติ ร จะท�ำงานกบั
คา่ ยไหน ในการทจ่ี ะท�ำเรอื่ งพวกนี้ เราตอ้ งมพี นั ธมติ รมเี ครอื ขา่ ย
อตุ สาหกรรมสาร 31
ในการพัฒนาร่วมกนั เราร่วมกบั ทาง ญ่ปี ุ่น ไต้หวนั จนี เพราะ จากน้ันกเ็ ชอ่ื มต่อกบั หุ่น ซง่ึ เป็นหุ่นยนต์เพื่อธุรกจิ เน้นในเร่อื ง
ว่าต้องแชร์เทคโนโลยี แชร์องค์ความรู้ แล้วกต็ ้องวางโรดแมบ การพรีเซนเทช่นั เป็นพรเี ซนเตอร์แนะน�ำสนิ ค้า เดินแฟช่นั โชว์
ด้วยกัน” ฯลฯ โดยมคี ่าตัวเป็นรายวนั
“เราจะท�ำนวตั กรรมอะไร ไมใ่ ชแ่ คค่ ดิ เรอ่ื งใหมอ่ ยา่ งเดยี ว หนุ่ ยนต-์ มนิ ิ (Robotis-Mini) เปน็ ชดุ ประกอบหนุ่ ยนต์
เราตอ้ งองิ กบั Mega Trend ดว้ ย ซงึ่ Mega Trend ทสี่ �ำคญั กม็ อี ยู่ ฮวิ มานอยด์ขนาดเล็กที่มีความสามารถที่โดดเด่นท้ังการเคล่ือนท่ี
สหี่ า้ ตวั ไมว่ า่ จะเปน็ ดจิ ทิ ลั เทคโนโลยี ทเ่ี ราจะตอ้ งมาสนใจเรอ่ื ง และแสดงท่าทาง โดยผู้ใช้งานสามารถพัฒนาโปรแกรมเพื่อให้
ของเทรนดด์ จิ ทิ ลั ใหมๆ่ นาโนเทคโนโลยี ไบโอเทคโนโลยี และ หุ่นยนต์ท�ำงานอย่างอัตโนมัติหรือควบคุมผ่านอุปกรณ์
เรอื่ งของหนุ่ ยนตก์ เ็ ปน็ หนง่ึ ในกง่ิ ทเี่ ราสนใจ จรงิ ๆ โทรคมนาคม แอนดรอยด์ท้ังสมาร์ทโฟนและแทบเล็ต ซ่ึงจะช่วยให้เด็กไทย
เป็นธรุ กจิ ท่ี ไปเก่ยี วข้องกบั ทกุ ๆ อุตสาหกรรม พูดถงึ เรือ่ งการ สามารถท่จี ะประกอบหุ่นยนต์ ฝึกการโปรแกรมหุ่นยนต์ ท�ำให้
ศกึ ษากต็ ้องมเี รอื่ งของ connectivity เรอื่ งของเกษตรกม็ กี ารท�ำ คนเข้าถงึ เทคโนโลยหี ุ่นยนต์ได้ง่ายข้นึ เป็นด้านของการศกึ ษา
Smart Farming เรอื่ งของอตุ สาหกรรมตา่ งๆ เราเปน็ ตวั ตดั ผา่ น มีจ�ำหน่ายอยู่ที่ร้านทรูชอป และขายตรงกับภาคสถาบันการ
กัน เรามศี ักยภาพด้านไหน พันธมิตรของเราเก่งด้านไหน แล้ว ศึกษา
เราก็ไปด้วยกัน ตอนน้ียังไม่มีผู้ชนะท่ีแท้จริงในอุตสาหกรรม
หุ่นยนต์ ทุกคนก็อยากจะเป็นเจ้าของแพลทฟอร์ม อยาก “ท่ีเราท�ำอยู่ตอนน้ี ด้านของการผลิตเรายังมีท�ำพวก
จะเป็นเหมือนไอโอเอส เหมือนแอนดรอยด์ แต่ในเรื่องของ แขนกลด้วย ซ่ึงก็ท�ำงานกับพันธมิตรในลักษณะท�ำให้โรงงาน
ห่นุ ยนต์ ไมม่ ใี ครเปน็ เจ้าของโลกนจี้ รงิ ๆ เพราะฉะนนั้ ถา้ จบั กนั กเ็ รม่ิ ขยายไป ตอนนเ้ี รามองหนว่ ยงานของเรา “ทรู โรบอตกิ ส”์
ได้จรงิ กจ็ ะเกดิ เป็นค่าย เกดิ เป็นระบบท่ีเท่าเทยี ม” เป็นคล้ายๆ กับหน่วยงานธรุ กิจ ไม่ใช่แค่ท�ำ R&D แต่ต้องเอา
ไปใช้ได้จริง ขายได้จริง แล้วท�ำให้เป็น business operation
“ผมเปรียบหุ่นยนต์เหมือนมือถือ หมายความว่า มีรายได้เลี้ยงตัวเอง มีเงินเหลือพอท่ีจะเอามาท�ำวิจัยในเรื่อง
หุ่นยนต์ท่ีเราเห็นแต่ละรุ่น ซื้อท่ีไหนก็ได้ เหมือนซื้อโทรศัพท์ ต่อๆ ไปได้”
มอื ถือ แบรนด์ ไอโฟน ซมั ซงุ แต่สง่ิ ท่เี ราควรจะมาสนใจกค็ อื
ตัวซอฟต์แวร์ หรือยูสเคส ว่าเราจะเอาหุ่นยนต์นี้มาท�ำอะไร โดขIบ1Nท8รอรNร.ษิ ธขท.Oทัีรอร0VะูทบAพท2าTค8รลวI5ูOุณเค8วถNออขน6รรอ้&อ3์์ป6มมถอ8Sนศลู เUรนกัแSชดรลT่นัชั์ยิAะดุทIรจNาธูป�AภำกภBเิ ดัษาILพกI(TมจYหหา้วากยชขนว)าง กรงุ เทพฯ
ในประเทศเราให้มันสร้างมูลค่าได้ อันน้ีคือความท้าทาย เรา
มีนักพัฒนาซอฟต์แวร์เก่งๆ มีแชมป์หุ่นยนต์ต้ังแต่รุ่นเด็กๆ
แตป่ ระเดน็ วนั นกี้ ค็ อื เราเรมิ่ ซอรส์ ซงิ่ ไดจ้ ากทกุ ที่ ประเทศชนั้ น�ำ
ด้านหุ่นยนต์ตอนน้ี ไม่ว่าจะเป็น จีน ญ่ีปุ่น เกาหลี ไต้หวัน
เขาพัฒนาฮาร์ดแวร์มามากแล้ว เราต้องมาคิดตัวยูสเคสและ
ซอฟแวร์ที่จะมาใช้ เพราะต่อไปการบังคับหุ่นยนต์พวกน้ีจะ
เปน็ แพลทฟอรม์ ทอ่ี ยบู่ นระบบคลาวด์ เราสงั่ ผา่ นคลาวดไ์ ดห้ มด
แล้วพวกยูสเคสพวกน้ีส่วนใหญ่สามารถท่ีจะเอาไปใส่ไว้ใน
ห้องสมุด ถือว่าเป็นทรพั ย์สนิ ทางปัญญา ทว่ี นั หน้าเม่อื คนอืน่
เอาไปใช้กจ็ ะท�ำเงนิ ได้”
ปัจจุบันในหลายๆ ภาคอตุ สาหกรรมของประเทศเราต่าง
ประสบปัญหาแรงงาน หุ่นยนต์อาจจะเข้ามามบี ทบาทส�ำคญั
ในภาคการผลติ บางอตุ สาหกรรมทห่ี าแรงงานไม่ได้แล้ว งาน
ทท่ี �ำซำ�้ ตอ้ งเอาหนุ่ ยนตเ์ ขา้ มาชว่ ยในการผลติ หรอื งานทค่ี นไม่
สะดวกท่ีจะเข้าไป และอีกตลาดท่ีมีความส�ำคัญคือ หุ่นยนต์
บริการ ซึ่งไม่ได้ต้องการเทคโนโลยีที่ล�้ำเลิศมากนัก แต่ข้ึนอยู่
กับการออกแบบประสบการณ์ ดร.ยทุ ธย้ำ� ว่าตรงนก้ี ็เป็นตลาด
ทใ่ี หญ่ และคนไทยเองกม็ ศี กั ยภาพตรงนีด้ ้วย
ซรี สี่ ห์ นุ่ ยนตข์ นาดจว๋ิ
ในปนี ี้ บรษิ ทั ทรู คอรป์ อเรชนั่ จ�ำกดั (มหาชน) มหี นุ่ ยนต์
ออกมาอีกสองสามรุ่น ท่ีผ่านมามีท้ังหุ่นยนต์ท่ีผลิตเอง
ทกุ สว่ น เพอ่ื ตอบสนองโจทยเ์ ฉพาะอยา่ งหนุ่ ยนตเ์ สริ ฟ์ กาแฟ และ
ตอ่ ยอดมาสหู่ นุ่ ยนตส์ �ำรวจภายในอาคาร ทตี่ ดิ กลอ้ ง 360 องศา
สามารถสแกนออกมาเปน็ ภาพสามมติ ไิ ด้ ซง่ึ ก�ำลงั ทดสอบการ
ใช้งานจรงิ
หุน่ ยนต์นาโอะ (NAO) ซ่ึงน�ำเข้าฮาร์ดแวร์จากประเทศ
ญ่ีปุ่น ทรูฯ ได้พัฒนาเรื่องของซอฟต์แวร์ สร้างแพลทฟอร์ม
ให้ใช้งานได้ง่าย โดยท่ียูสเซอร์แค่เช่ือมไฟล์เข้าไปในแท็บเล็ต
32 อุตสาหกรรมสาร
Opportunity
• เรื่อง : อรุษา กติ ติวัฒน์
อโยธยา โรโบติกส์ Arduino (อาดยุ โน)่ เปน็ บอรด์ ไมโครคอนโทรเลอร์
ที่มีการพัฒนาแบบ Open Source เปิดเผยข้อมูล
เครื่องชงค็อกเทลอัตโนมัติ ทั้งด้าน Hardware และ Software ถูกออกแบบมา
ให้ใช้งานได้ง่าย สามารถดดั แปลง เพิ่มเตมิ พฒั นา
สำ� หรบั หลายๆคนงานอดเิ รกดจู ะเปน็ ดา้ นตรงกนั ขา้ ม ต่อยอดท้ังตัวบอร์ด หรือโปรแกรมต่อได้ง่าย
กับการงานที่สร้างรายได้ แต่ก็ยังมีคนที่ผลักดันความรัก มีรูปแบบค�ำส่ังพื้นฐานท่ีไม่ซับซ้อนเหมาะส�ำหรับ
ความชอบของตวั เองจนกลายเปน็ รายไดข้ น้ึ มา ผู้เรม่ิ ต้น และมีกลุ่มชมุ ชนอาดยุ โน่ทร่ี ่วมกนั พัฒนา
Open Hardware ท�ำให้ผู้ใช้สามารถน�ำบอร์ดไป
“เครอ่ื งชงคอ็ กเทลอตั โนมตั ”ิ มจี ดุ เรมิ่ ตน้ จากแรงบนั ดาลใจ ตอ่ ยอดใชง้ านไดห้ ลายดา้ น ไดร้ บั ความนยิ มในกลมุ่
ของนายทศพร เวชศริ ิ ทีไ่ ปเหน็ คลปิ ผลงานของสิ่งประดษิ ฐ์ ของเมคเกอร์
ที่ใช้ผสมเคร่ืองด่ืม ด้วยสายตาของนักสร้างเคร่ืองจักร
อุตสาหกรรม นายทศพรจึงนึกสนุกหาชิ้นส่วนท่ีมีรอบตัวมา Maker (เมคเกอร์) มีรากเหง้ามาจาก DIY (Do
ประดิษฐ์เป็นเครื่องจักรที่ท�ำงานผสมเคร่ืองด่ืม สั่งการด้วย it Yourself) คือกลุ่มคนท่ีรักชอบในการสร้างสรรค์
แผงวงจรส�ำเรจ็ รปู จนกระทงั่ เกดิ การพฒั นา “เครอ่ื งชงคอ็ กเทล ชิ้นงานด้วยตัวเอง แล้วเผยแพร่ให้คนอื่นรู้ ต้นทาง
อัตโนมตั ิ” ฝีมอื คนไทยได้ส�ำเรจ็ ของเมคเกอร์มาจากสหรัฐอเมริกา มีการรวมตัว
ของบุคคลที่เป็นเมคเกอร์จากหลายวงการ ไม่ว่า
“ผมท�ำบรษิ ทั ออโตเมชัน่ รับสร้างเคร่อื งจกั รทว่ั ไป และ จะเป็นงานคราฟท์ อย่างท�ำกระเป๋า งานไม้ หลาย
อีกบริษัทเป็น start up ด้านโลจสิ ติกส์ ตรงนเ้ี ป็นงานอดเิ รก สายงานมารวมตวั กนั เอาผลงานมาโชว์ เผยแพร่วธิ ี
วนั หนงึ่ ผมดคู ลปิ ในยทู ปู เหน็ แคก่ ลไกการเคลอื่ นทจ่ี ากภายนอก การท�ำให้ผู้อ่นื ทราบ
แต่ไมร่ วู้ า่ ข้างในเขาใช้อะไร ตวั ผมเองอยใู่ นสายงานเครอื่ งกล ตวั เอง ถา้ ท�ำชดุ คอ็ กเทลโดยใชค้ อนโทรลเลอรแ์ บบเครอื่ งจกั ร
พอจะเขา้ ใจวธิ กี าร เลยไดแ้ รงบนั ดาลใจมาลองท�ำในแบบของ อุตสาหกรรมก็คงจะต้องใช้ พีแอลซี ใช้โมชั่นคอนโทรล
ซึ่งมีต้นทุนในระดับหนึ่ง ผมเลยสร้างชุดควบคุมง่ายๆ
คอกเทลมิกเซอร์ขึ้นมา เพื่อให้สามารถใช้งานได้ โดยใช้
บอร์ดอาดุยโน่ ซ่ึงมีราคาห้าหกร้อยเป็นเหมือนมันสมอง
ใส่โค้ดเข้าไป ให้กระแสไฟฟ้าควบคุมพวกมอเตอร์ต่างๆ
ท่ที �ำให้เคร่อื งท�ำงาน”
“ผมเรียนรู้การใช้งานบอร์ดอาดุยโน่จากอินเทอร์เน็ต
ท่ัวๆ ไป สมัยที่ผมเล่นความรู้ที่เป็นภาษาไทยยังค่อนข้าง
น้อย ต้องไปค้นจากเว็บไซต์ต่างประเทศ เข้าไปอยู่ในเวบ
บอรด์ เพื่อท่ีจะศึกษาความรู้ มีคนเอาข้อความเอาบทเรียน
มาโพสต์ แลว้ กม็ าทดลอง สว่ นตวั ผมเองจบมาทางเครอื่ งกล
ไม่มีความรู้ทาง ด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์เลย
ก็จะมาเรยี นรู้เพิ่มเตมิ เอาจากอนิ เทอร์เน็ต พบว่ามกี ลุ่มคน
ที่เล่นเหมอื นกนั เราก็เรมิ่ รวมตัวกนั มีการจดั งาน Meeting
เพ่ือพบปะแลกเปลี่ยนความรู้กัน เริ่มเป็นเวบบอร์ดขึ้นมา
อยา่ ง อาดยุ โนไ่ ทย เอสเอม็ อโี อที เมคเกอร์ฮบั ”
อุตสาหกรรมสาร 33
ในบ้านเราก็เร่ิมมีงานรวมกลุ่มเมคเกอร์ขึ้นมาประมาณ ตอนน้ีอยู่ระหว่างการพัฒนา จะมีความเป็นคอมเมอเชียล
สามปแี ลว้ มคี นหลากหลายอาชพี ทม่ี คี วามชอบเหมอื นๆ กนั มากกว่ารุ่นสอง ไม่ว่าจะเป็นตัวระบบของคอนโทรลเลอร์
มพี นื้ ฐานทแ่ี ตกตา่ งกนั เรมิ่ ตน้ ดว้ ย Mini Maker Fair ในกรงุ เทพฯ ตวั ระบบเครอื่ งจกั รเองจะตอ้ งใชง้ านไดง้ า่ ย สามารถซอ่ มบ�ำรงุ ได้
ส่วนภูมิภาคก็มีการจัดงานพบปะเล็กๆ อยู่บ่อยคร้ัง เช่น เปน็ เรอื่ งของผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ปน็ เชงิ การคา้ ตอนนกี้ �ำลงั เรง่ ประกอบ
เชยี งใหม่ เมคเกอร์ ปาร์ต้ี ซ่ึงเป็นงานท่ใี ช้สถานท่สี ่วนบคุ คล รนุ่ สามอยู่ เพอื่ จะมาทดลองกบั ตวั ซอฟตแ์ วร์ ซง่ึ สว่ นนี้พฒั นาไปได้
ท�ำให้การพบปะสร้างความสนกุ สนานเฮฮากนั ได้ 70-80 เปอรเ์ ซน็ ตแ์ ลว้ ตน้ แบบนา่ จะออกมาทดสอบไดใ้ นเรว็ ๆ น้ี
“เมคเกอร์ ผมอยใู่ นกลมุ่ เมคเกอรท์ เ่ี ปน็ สายงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เจาะกลมุ่ อนิ ดส้ี รา้ งบคุ ลกิ กาแฟ
คือเอาพวกบอร์ดอิเล็กทรอนิกส์มาควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ
หรือเอามาควบคุมส่วนท่ีเรียกว่าไอโอที บอร์ดพวกนี้มีขาย กลุ่มเป้าหมายแรกนายทศพรมองไปท่ีร้านกาแฟใน
ในอนิ เทอร์เนต็ เราสามารถซอ้ื หาได้ง่าย ราคาไม่แพง แล้วกจ็ ะ กลุ่มอินด้ี หรือร้านกาแฟอิสระที่สร้างสรรค์เมนูในร้านท่ีมี
มีโค้ดโปรแกรมมง่ิ มีตัวอย่างท้งั ของคนไทยบ้าง ต่างประเทศ บคุ ลกิ ของตวั เอง ซง่ึ เหมาะสมกบั ผลติ ภณั ฑม์ ากกวา่ รา้ นกาแฟ
บา้ ง แลว้ กส็ อบถามจากเพอ่ื นๆ บา้ ง เอามาเลน่ รว่ มกนั ผมเอา แบรนดใ์ หญ่ ถา้ เปน็ ทพี่ งึ พอใจกจ็ ะเรมิ่ หาวธิ ี หาชอ่ งทางในการ
ตวั นม้ี าใชเ้ ปน็ ชดุ คอนโทรลเลอร์ แทนทเี่ ราจะใชค้ อนโทรลเลอร์ จดั จ�ำหนา่ ย และเรม่ิ วางแผนการตลาดตอ่ ไป ซงึ่ ไตรมาสทสี่ าม
อุตสาหกรรม” ของปีนน้ี ่าจะได้ออกมาจ�ำหน่าย
“ร่นุ แรกผมเอาของทเ่ี หลอื ๆ ในโรงงานมาใช้ เพอ่ื ทดสอบ “ผมมองกลุ่มร้านกาแฟอินดี้หน่อย ลักษณะของโมเดล
ไอเดยี ซึง่ พอท�ำออกมาผมเอาไปออกงานเมคเกอร์แฟร์ มีการ ธุรกิจ ผมไม่ได้มองในเร่ืองของการขายตัวเครื่องโดยตรง
ชงนำ้� หวานให้เดก็ ๆ ดืม่ กนั สนกุ สนาน ได้การตอบรบั ทดี่ ี เลย ผมมองว่าการท�ำธุรกิจสมัยนี้ การขายแบบเน้น product to
ท�ำคอ็ กเทลมกิ เซอรร์ นุ่ สองทเี่ ปน็ เรอื่ งเปน็ ราวมากขนึ้ ประกอบ customer โดยตรงค่อนข้างล้าสมยั แล้ว และผลติ ภัณฑ์ก็ต้อง
จากวสั ดทุ เ่ี ป็นสแตนเลสทง้ั ชดุ เป็น food grade เพราะใช้กบั มีการเซอร์วิสอยู่แล้ว เพราะฉะนั้นมีส่วนท่ีเราต้องไปหาลูกค้า
อาหาร ประสบความส�ำเรจ็ ในระดบั หนง่ึ มคี นสนใจมากพอด”ู บ่อยๆ ผมมองถึงโมเดลแบบเคร่ืองปร้ินเตอร์สมัยก่อน ท่ีคิด
เป็นจ�ำนวนแผ่น ไม่จ�ำเป็นต้องซอ้ื เครื่องเอง เป็นลกั ษณะของ
เคร่อื งชงคอ็ กเทล ท�ำงานโดยการน�ำแก้วมาวาง กดปุ่ม การเช่าซ้ือ เครื่องน้ีผมก็คิดในลักษณะของเอามาวาง เขาให้
เลือกว่าต้องการคอกเทลสูตรใด จากนั้นตัวเคร่ืองจะพาแก้ว สถานท่เี ราวาง แล้วก�ำไรแบ่งกันคนละครง่ึ ”
ว่ิงไปยังหัวจ่ายไซรัปรสชาติต่างๆ กดส่วนผสมตามสัดส่วนท่ี
เหมาะสม ท่ีมีการต้ังโปรแกรมไว้แล้ว ข้อดีคือสัดส่วนในการ เม่ือการคิดเล่นๆ ด้วยความสนุก ได้ลงมือท�ำจริง โดย
ผสมจะเท่ากันทุกครั้ง รสชาติของแต่ละแก้วก็จะเท่ากันหมด น�ำสง่ิ ทเ่ี ป็นองค์ความรู้ ต้นทุนในตวั เราเอง มาพฒั นาต่อยอด
ใครชงก็เหมือนกัน และไฮไลท์อยู่ท่ีลักษณะของเครื่องจักร งานอดิเรกของนายทศพรจึงถูกต่อยอดสู่ธุรกิจท่ีสร้างรายได้
อตั โนมัติทเ่ี หน็ การเคล่อื นไหวตง้ั แต่ต้นจนจบ ในที่สุด เคร่ืองชงค็อกเทลอัตโนมัติ เป็นเพียงผลงานช้ินหนึ่ง
ด้วยแนวคิดแบบเดียวกันนี้ อาดุยโน่ เสมือนเครื่องมือของ
“เราคสั ตอ้ มไดห้ ลายสตู ร แลว้ แตเ่ ราใสเ่ ขา้ ไป ขนึ้ อยกู่ บั ผใู้ ช้ นักสร้าง ที่อาจคิดสร้างสรรค์การควบคุมสมองกลให้ท�ำงาน
ในเวอรช์ นั่ สามผมจะท�ำชอ่ งพเิ ศษ ใหต้ วั ซอฟตแ์ วรส์ ามารถเพม่ิ อืน่ ๆ ได้ในอนาคต
สตู รเขา้ ไปได้ ผมเองกไ็ มใ่ ชผ่ เู้ ชย่ี วชาญดา้ นน้ี รสู้ ตู รไมม่ าก แตถ่ า้
ไปตงั้ ตามรา้ นจรงิ ๆ เขารสู้ ตู รเยอะกวา่ เรา ดงั นนั้ ถ้าเขาสามารถ ขอขอบคุณขอ้ มูลและรูปภาพจาก
ท่ีจะเพ่มิ สตู รของเขาเอง มนั น่าจะตอบโจทย์ของลูกค้า” เชยี งใหม่เมกเกอร์คลบั : แหล่งรวมสตาร์ทอพั ของไทย
ภายใต้การสนบั สนนุ จาก โครงการเสรมิ สร้างผู้ประกอบการใหม่ (NEC)
ตอ่ ยอดสธู่ รุ กจิ กรมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม
บริษัท อโยธยา โรโบตกิ ส์ จ�ำกัด
คร้ังท่ีนายทศพรน�ำเคร่ืองชงค็อกเทลอัตโนมัติรุ่นแรก 8/2 ซอยรามค�ำแหง 157/2 แขวงสะพานสูง เขตสะพานสงู กรงุ เทพฯ
ไปร่วมงาน เชยี งใหม่ เมคเกอร์ ปาร์ต้ี ก็ได้รับการตดิ ต่อจาก โทร. 08 1485 5783 อเี มล : [email protected]
กรมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม ในปีทีผ่ ่านมานายทศพรจงึ มีโอกาส
ได้น�ำเคร่ืองชงค็อกเทลอัตโนมัติรุ่นสอง ไปออกงาน Thailand
Industry Expo ในงานนั้นได้ผลตอบรับจากผู้ที่มาเดินงาน
ด้วยดี ท้ังความคิดเห็นว่าอยากแก้ไขตรงไหนเพิ่มเติม และ
ผทู้ สี่ นใจอยากซอื้ จ�ำนวนหนงึ่ ท�ำใหน้ ายทศพรมองเหน็ ชอ่ งทาง
การตลาดท่สี ามารถเข้าถงึ ลกู ค้าได้ง่ายขน้ึ
“ตอนท่ีท�ำรุ่นสองเสร็จ ทีแรกผมคิดเปิดตัวออกมาเป็น
คอมเมอเชียล แต่พอท�ำออกมาจริงๆ ผมมีความรู้สึกว่ายัง
ไมพ่ อใจกบั ภาพลกั ษณแ์ ละวธิ กี ารดแู ลรกั ษาในหลายๆ จดุ เลย
คิดแก้ไขงานตวั เอง งานน้ชี ่วยให้ผมเล็งเหน็ เรือ่ งตลาดได้ และ
มองถงึ การพฒั นาตอ่ ไปในรนุ่ ทสี่ าม เครอ่ื งชงคอ็ กเทลอตั โนมตั ิ
ไม่ได้เกิดข้ึนเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคใน
แง่ความจ�ำเป็นในการใช้งาน ในเร่ืองของความบันเทิง
ผมมองว่าถ้าเราท�ำออกมาขายในลักษณะของกลุ่มบริการ
สถานบนั เทงิ หรอื ตามร้านกาแฟ หรอื ให้เช่าในงานอเี วนท์”
34 อตุ สาหกรรมสาร
Knowledge
• เร่ือง : ผศ.ดร.สิรางค์ กลน่ั ค�ำสอน
www.robotics.org
เทคโนโลยีหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
(Technologies of Industrial Robots)
หนุ่ ยนตอ์ ตุ สาหกรรมมกี ารพฒั นาและใชง้ านในอตุ สาหกรรมการผลติ อยา่ งแพรห่ ลายในยคุ ศตวรรษท่ี20ยคุ อตุ สาหกรรม
ในปัจจุบันมีการน�ำหุ่นยนต์มาช่วยในการผลิตเพื่อทดแทนแรงงานมนุษย์เพิ่มมากข้ึน ดังจะเห็นได้จากข้อมูลทางสถิติจาก
International Federation of Robotics ท่ีไดส้ รปุ ยอดจำ� หนา่ ยหนุ่ ยนตอ์ ตุ สาหกรรมทส่ี งู ถงึ 294,312 หนว่ ยในปี 2016 ทว่ั โลก
อตุ สาหกรรมยานยนตพ์ บวา่ มกี ารใชห้ นุ่ ยนตช์ ว่ ยในการผลติ สงู ทส่ี ดุ เมอื่ เทยี บกบั อตุ สาหกรรมอนื่ ๆ
www.mmthailand.com หุ่นยนต์อุตสาหกรรมเป็นเคร่ืองจักรท่ีสามารถท�ำการ
ผลติ แบบอตั โนมตั โิ ดยการใชค้ �ำสงั่ จากโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
ท่ีควบคุมโดยผู้ปฏิบัติงานในสายการผลิต ความสามารถ
ท่ีถูกน�ำมาช่วยในการผลิตคือ สามารถเคลื่อนที่ตามล�ำดับ
ของค�ำสง่ั เพือ่ ไปยงั ต�ำแหน่งท่กี �ำหนดทง้ั ขน้ึ และลง ซ้ายและ
ขวา รวมถึงไปข้างหน้าและไปข้างหลัง ระบบของหุ่นยนต์
อุตสาหกรรมโดยทั่วไปประกอบด้วย ส่วนล�ำตัวและแขนกล
(Robot manipulator) ส่วนจ่ายพลังงาน (Power supply)
อปุ กรณ์ตรวจจบั สญั ญาณ (Sensors) ชุดควบคุม (Controller)
ชุดขับเคล่อื น (Drive) และส่วนปลาย (End part)
อตุ สาหกรรมสาร 35
หุ่นยนต์อุตสาหกรรมได้ถูกจัดแบ่งประเภทตาม ปฏิบัติงานโดยเคลื่อนที่ตัดขวางแนวแกนนอน เน่ืองจาก
โครงสรา้ งทางกลโดยแบง่ เปน็ ลกั ษณะคอื Articulated robots, หุ่นยนต์ประเภทนม้ี ีลกั ษณะของ X, Y, Z coordinate system
Cartesian/linear/gantry robots, SCARA (Selective Compliance จงึ สามารถเคล่อื นท่ีโดยมคี วามแม่นย�ำ
Assembly Robot Arm) Robots, Cylindrical robots, Parallel
robots หุ่นยนต์อุตสาหกรรมประเภทต่างๆ แสดงในรูปท่ี 1 • Cylindrical Robots จะประกอบดว้ ย Rotary joint อยา่ ง
นอ้ ย 1 อนั ทฐี่ านและมี Prismatic joint เพอ่ื เชอื่ มโครงสรา้ งของ
• Articulated robots เป็นหุ่นยนต์ท่ีมีข้อต่อในการ ระบบหนุ่ ยนตเ์ ขา้ ดว้ ยกนั สว่ นของ Rotary joint จะท�ำหน้าท่ี
เคลื่อนที่เพื่อท�ำงานโดยหมุนข้อต่อได้ แขนกลประเภทนี้ ในการหมนุ ส่วน Prismatic joint จะท�ำหน้าทเ่ี คล่ือนไหวใน
มีต้ังแต่ 2 ข้อต่อขึ้นไป ขับเคล่ือนโดยใช้มอเตอร์ไฟฟ้า แนวเส้นตรง การประยกุ ต์ใช้งานหุ่นยนต์ประเภทนี้สามารถ
ส่วนปลายจะยึดติดกับอุปกรณ์ส�ำหรับจับยึดเคร่ืองมือ ใช้ในงานประกอบการจับยึดเครื่องมือ การขนถ่ายล�ำเลียง
ความสามารถของระบบหรอื กลไกการท�ำงานสามารถท�ำซ้ำ� การหลอ่ เทลงแบบ (Die cast) และการเชอื่ มอดั (Spot welding)
การเคล่ือนไหวในรูปแบบเดียวกันเม่ือมีสัญญาณควบคุม
เดยี วกัน โดยทว่ั ไปจะมี 4-6 แกน • Selective Compliance Assembly Robot Arm (SCARA)
มีลักษณะที่ส่วนแขนกลในแนวแกน Z อยู่กับที่แต่สามารถ
• Linear robots เป็นหุ่นยนต์ที่มีลักษณะท�ำงานใน เคลือ่ นทไี่ ด้ในแกน XY
รปู แบบของกระบวนการอตั โนมตั ิ สามารถผลติ ชน้ิ งานซำ�้ กนั
ได้ ลดความผนั แปรของกระบวนการเพอื่ ใหม้ คี ณุ ภาพชน้ิ งาน • Parallel robots เป็นหุ่นยนต์ที่มีการใช้คอมพิวเตอร์
ทด่ี แี ละลดต้นทนุ การผลิต สามารถหยิบจับชิ้นงาน จดั เรยี ง ควบคุมต่อเนื่องกันหลายชุดในฐานการท�ำงานเดียวกัน
ท�ำการบรรจหุ รือการประกอบได้ ถูกพบใช้งานทางด้านดาราศาสตร์ การจ�ำลองทางการบิน
การผลติ และการประกอบชน้ิ งานท่มี คี วามละเอียดสูง
• Gantry robots หรอื ทีเ่ รียกว่าเป็น Cartesian robots
หรือ Linear robots อีกประเภทหน่ึง โดยเป็นหุ่นยนต์ที่มี องค์ประกอบในการท�ำงานของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
ส่วนล�ำตัวและแขนกลติดต้ังอยู่ด้านบนพ้ืนท่ีด้านบนส่วน แสดงในรูปท่ี 1
รูปท่ี 1 องค์ประกอบของหุ่นยนต์อตุ สาหกรรม
(ที่มา: Collins, Market Reports Center, 2017)
36 อตุ สาหกรรมสาร
www.weforum.org
หุ่นยนต์อุตสาหกรรมสามารถท�ำงานในสภาวะท่ีเป็น sensor, Ultrasonic sensor, Laser scanner sensor เป็นต้น
อันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานโดยท�ำงานซ�้ำๆ ได้ในรอบเวลาท่ี อุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณท�ำหน้าท่ีส่งข้อมูลในรูปแบบของ
สม่�ำเสมอ แม่นย�ำ เท่ียงตรง มีความยืดหยุ่นในการผลิต สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์กลับไปท่ีตัวควบคุม อีกท้ังยังให้
เน่ืองมาจากการปรับเปล่ียนชุดค�ำส่ังที่สามารถเชื่อมต่อกับ ขอ้ มลู ในการควบคมุ หนุ่ ยนตเ์ กยี่ วกบั สภาพแวดลอ้ ม จากนนั้
ระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อ่ืนๆ ได้ ระบบของหุ่นยนต์ จะท�ำการบอกต�ำแหน่งท่ีแน่ชัดให้แขนกลท�ำการเคลื่อนที่
อตุ สาหกรรมประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดงั ต่อไปนี้ รูปแบบลักษณะน้เี รยี กว่า “object recognition”
• ระบบทางกล (Mechanical system) มหี น้าทเี่ ชอ่ื มต่อ • ระบบปฏิบัติการ (Process system) ประกอบด้วย
กบั สงิ่ แวดล้อมภายนอก เช่น Actuators, Joints, Wrists และ Microprocessor, Digital signal processor, Embedded
Tools เป็นต้น โดยจะมสี ่วนขบั เคล่อื นเครอ่ื งยนต์เพ่ือให้เกิด software & hardware
การเคลื่อนไหวไปในทิศทางท่ีออกแบบไว้ ระบบขับเคล่ือน
มที ั้งแบบไฮดรอลกิ ส์ นิวเมตกิ ส์ และไฟฟ้า ส่วนปลายจะยึด • ระบบการวางแผน (Planning system) เปน็ การวางแผน
ตดิ กบั แขนกล ซง่ึ เปน็ สว่ นทสี่ มั ผสั กบั ชนิ้ งานในรปู แบบตา่ งๆ การผลติ เพอื่ จดั ล�ำดบั การผลติ ใหแ้ กห่ นุ่ ยนตโ์ ดยการปอ้ นค�ำ
อาทิเช่น การประกอบ หรอื การเชอ่ื ม เป็นต้น ทง้ั นี้ ส่งั ล่วงหน้า
แขนกลมหี ลายขนาดและหลายรปู ทรงขน้ึ กบั การใชง้ าน การประยุกต์ใช้งานหุ่นยนต์ท่ีพบในปัจจุบัน อาทิเช่น
• ระบบไฟฟา้ (Electronical system) จะท�ำหนา้ ทคี่ วบคมุ หนุ่ ยนตอ์ ตุ สาหกรรม (Industrial robots) หนุ่ ยนตภ์ ายในบา้ น
ระบบไฟฟ้าและจ่ายไฟให้แก่หุ่นยนต์ (Household robots) หนุ่ ยนตท์ างการแพทย์ (Medical robots)
• ระบบควบคมุ (Control system) ประกอบดว้ ย สว่ นตดิ ตอ่ หุ่นยนต์บรกิ าร (Service robots) หุ่นยนต์ทางทหาร (Military
กับผู้ใช้งาน (User interface) ส่วนเกบ็ ข้อมลู (Data storage) robots) หุ่นยนต์เพื่อความบันเทิง (Entertainment robots)
ส่วนวางแผนการเคลื่อนท่ี (Motion planning) ส่วนควบคุม หุ่นยนต์เพื่อการใช้งานทางอวกาศ (Space robots) และ
การเคล่ือนไหวของข้อต่อแบบเวลาจริง (Real-time control หุ่นยนต์เพื่องานอดิเรกหรือเพื่อการแข่งขัน (Hobby and
of joints’ motion) ส่วนการจัดการข้อมูลอุปกรณ์ตรวจจับ competition robots) เป็นต้น
สัญญาณ (Sensor data acquisition) ส่วนเช่ือมต่อกับ
อุปกรณ์อนื่ ๆ (Interaction and synchronization devices and ผู้ผลิตหุ่นยนต์อุตสาหกรรมรายใหญ่ของโลกเพื่อใช้ใน
computational resources) อตุ สาหกรรมการผลติ ในส่วนต่างๆ ทง้ั งานเชอื่ ม การขนถ่าย
• ระบบตรวจจับสัญญาณ (Sensor system) จะท�ำ ล�ำเลยี ง การประกอบ การพน่ สี หรอื การบรรจภุ ณั ฑ์ อาทเิ ชน่
หน้าท่ีตรวจจับการเคล่ือนไหวทางกายภาพ อุปกรณ์ตรวจ ABB Robotics, Fanuc, Yaskawa และ Kuka เป็นต้น
จับสัญญาณมีหลายประเภท อาทิเช่น Visual sensor,
Torque sensor, Inertial sensor, Voice sensor, Infrared อุตสาหกรรมสาร 37
Report
• เร่อื ง : พงษ์นภา กจิ โมกข์
www.bfi o.kmutt.ac.th
หน่วยงานและสถาบันการศึกษา
เปิดหลักสูตรสร้างวิศวกรรมหุ่นยนต์
ปจั จบุ นั ทภี่ าคอตุ สาหกรรมการผลติ และอตุ สาหกรรมการบรกิ ารของประเทศไทยเรมิ่ www.pcrevue.sk
ปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั กระแสการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยตี า่ งๆหนุ่ ยนตน์ บั เปน็ ตวั เลอื กลำ� ดบั
แรกๆ ทผี่ ปู้ ระกอบการหลายธรุ กจิ ตา่ งใหค้ วามสนใจและนำ� หนุ่ ยนตเ์ ขา้ มาเปน็ ตวั ชว่ ยใน
กระบวนการผลติ รวมถงึ การบรกิ าร
แม้ว่าทุกวันน้ีประเทศไทยยังไม่ใช่เจ้าตลาดในการเป็นผู้ผลิตหุ่นยนต์และระบบหุ่นยนต์
ในอุตสาหกรรมเพื่อส่งออกไปจ�ำหน่ายอย่างประเทศญี่ปุ่น เยอรมัน อิตาลีหรือเกาหลีใต้
แตท่ งั้ นที้ ง้ั นน้ั ประเทศไทยเองกใ็ หค้ วามส�ำคญั ตอ่ การน�ำหนุ่ ยนตเ์ ขา้ มาชว่ ยในกระบวนการผลติ
เชน่ กนั จงึ สง่ ผลใหห้ นว่ ยงานและสถาบนั การศกึ ษาตา่ งๆ ในประเทศตา่ งเปดิ หลกั สตู รทมี่ คี วาม
เกี่ยวข้องกับหุ่นยนต์ เพื่อผลิตบุคลากรที่มีองค์ความรู้ให้สามารถน�ำทักษะและความรู้
ไปต่อยอดและผลติ หุ่นยนต์เข้ามาใช้ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย
ให้สามารถทดั เทียมกบั ประเทศอ่นื ๆ ได้ ยกตัวอย่างสถาบนั การศึกษา
ทีม่ คี วามเก่ยี วข้องกบั หุ่นยนต์มีดังนี้
38 อุตสาหกรรมสาร
www.Dek-D.com • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ เปิดสอนในระดับปริญญาตรี ภาควิชา
www.ibf o.kmutt.ac.th
วิศวกรรมการผลิต วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
• สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ในรูปแบบ 2 ภาษา
(Institute of Field Robotics : Fibo หรอื ฟโี บ)้ www.pe.kmutnb.ac.th
ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
ธนบุรี ฟีโบ้นับเป็นสถาบันแห่งแรกในประเทศไทย • สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ
ทหารลาดกระบัง เปิดสอนในหลกั สตู รวิศวกรรมศาสตร
ที่มีการเปิดสอนหลักสูตรเฉพาะทางด้านวิศวกรรม
หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ โดยมีการเปิดสอนต้ังแต่ บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์ เป็นสาขาที่
ระดับ ปริญญาตรี ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต บรู ณาการความรรู้ ะหวา่ งวศิ วกรรมไฟฟา้ วศิ วกรรมเครอ่ื งกล
สาขาวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ, ปริญญาโท ด้านการออกแบบเคร่ืองจักรกล และวิศวกรรมควบคุม
ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตและปริญญา อิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือน�ำความรู้มาต่อยอดทางด้านวิศวกรรม
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิทยาการหุ่นยนต์และระบบ และเทคโนโลยี www.reg.kmitl.ac.th
อัตโนมัติ และปริญญาเอก ปริญญาวิทยาศาสตรมหา
บณั ฑิต สาขาธรุ กิจเทคโนโลยี www.bif o.kmutt.ac.th • สถาบนั การจดั การปญั ญาภิวัฒน์ (Panya-
piwat Institute of Management : PIM)
เปิดสอนในระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
ซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างศาสตร์แขนงไฟฟ้า เครื่องกล
และคอมพวิ เตอร์ โดยใชก้ ารวจิ ยั พฒั นาและผลติ ในการเตรยี ม
ความพร้อมในการปฏบิ ตั ิงานจรงิ www.pim.ac.th
• มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เปิดสอนในระดับ
ปรญิ ญาตรี คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สาขาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์
และหุ่นยนต์ www.bu.ac.th
ทงั้ นี้เม่ือต้นปีท่ีผ่านมา 3 สถาบนั ชน้ั น�ำด้านวิศวกรรม
และเทคโนโลยีอย่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบัน
เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั (สจล.) และ
มหาวทิ ยาลยั ซเี อม็ เคแอล ไดม้ พี ธิ ลี งนามเพอื่ สรา้ งความรว่ มมอื
ทางวิชาการ จัดต้ัง 2 หลักสูตรปริญญาตรี ได้แก่ หลักสูตร
ปริญญาตรี สองปริญญาข้ามสถาบัน ด้านวิศวกรรม
หุ่นยนต์ ท้ังนี้ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจะได้รับปริญญาจากจุฬาฯ
และจาก สจล. นอกจากนี้ University CMKL จะเปิดหลกั สตู ร
ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ หลักสูตรนานาชาติ
และได้ความร่วมมอื จากจฬุ าฯ และสจล. ในการร่วมพฒั นา
หลักสูตรน่นั เอง
ขhtอtpข:/อ/wบwคwุณ.bขa้อngมkูลokจbาizกnews.com/news/detail/790669
อุตสาหกรรมสาร 39
Good Governance
• เรอ่ื ง : ปาณทิพย์ เปลี่ยนโมฬี
ทางสายกลาง
เสน้ ทางสชู่ ยั ชนะ
จากอปุ สรรคทงั้ ปวง
ดร.สตีเฟน่ โคว ่ี (Stephen R. Covey) ได้รบั การ 1. ต้องเป็นฝ่ายเร่มิ ต้นท�ำก่อน (Be Proactive)
ยกย่องว่าเป็น 1 ใน 25 ผู้ทรงอทิ ธิพลสงู สดุ ต่อโลกในรอบ 2. เรมิ่ ต้นด้วยจดุ มุ่งหมายในใจ (Begin with the End
ศตวรรษ ได้รับปริญญาโทด้านบริหารจากมหาวิทยาลัย in Mind)
ฮาร์วาร์ด และปรญิ ญาเอกจาก Brigham Young University 3. ท�ำตามล�ำดบั ความส�ำคัญ (Put First Things First)
4. คิดแบบชนะ/ชนะ (Think Win-Win)
ดร.สตีเฟ่น โควี่ เป็นผู้เขยี นหนังสอื 7 อุปนสิ ยั ส�ำหรบั 5. เข้าใจคนอน่ื ก่อนจะให้คนอน่ื เข้าใจเรา (Seek First
ผู้ทรงประสิทธิผลย่ิง ซ่ึงได้ช่ือว่าเป็นหนังสือทางธุรกิจ to Understand, Then to be Understood)
อนั ดบั 1 มีอิทธิพลมากท่สี ุดของศตวรรษท่ี 20 มยี อดขาย 6. ประสานพลงั การสร้างสงิ่ ใหม่ (Synergize)
ทวั่ โลกมากกว่า 15 ล้านเล่ม แปลเป็น 38 ภาษาท่วั โลก 7. ลบั เลอื่ ยให้คมอยู่เสมอ (Sharpen the saw)
วงการนกั บริหารทวั่ โลก ต่างต่นื ตะลึงว่า มวี ิธีการฝึกคนท่ี ปัจจุบันทางโลกตะวันตกเริ่มตระหนักถึงความ
ยอดเยยี่ มอยา่ งนดี้ ว้ ยหรอื นกั บรหิ ารระดบั โลกจ�ำนวนมาก บกพร่องของระบบการศึกษาที่ใช้กันอยู่ และหันมาสนใจ
อาทิ ประธานบรษิ ัทแอมเวย์ หยบิ หนงั สือเล่มนขี้ ึ้นมาอ่าน เร่ืองสมาธิมากขึ้นเร่ือยๆ จนถึงข้ันยกย่องว่า สมาธิเป็น
รอบแล้วรอบเล่า ศาสตร์แขนงหนึ่งท่ีทรงคุณค่ายิ่งต่อความสุขความส�ำเร็จ
ของมนุษย์ทกุ คน เป็นการข้ามพ้นความเช่อื ในศาสนา
ดร.สตีเฟ่น โคว่ี ได้กล่าวว่า “The Middle Way”
หรือ “เส้นทางสายกลาง” ที่ชาวพุทธเรียกกันน้ัน เป็น เรียบเรยี งจากหนงั สือ “ศาสตร์แห่งสมาธิ The Science of Meditation”
ทางเลือกอนั ประเสรฐิ ท่ีท�ำให้คนเราเอาชนะความขดั แย้ง
ท้ังหลาย และด�ำรงอยู่ในโลกได้อย่างมคี วามสุข Stephen
R. Covey ได้แนวความคิดหลักในการเขียนหนังสือเล่มน้ี
มาจากหลักค�ำสอนในพระพุทธศาสนา น่าท่ึงว่า หลัก
การสอนในพระพุทธศาสนา เม่ือน�ำมาศึกษาและอธิบาย
ให้เข้าใจพอน�ำเสนอต่อโลกแล้วจะส่งผลส่ันสะเทือน
อยา่ งยง่ิ ใหญ่ ส�ำหรบั อปุ นสิ ยั 7 ประการของผทู้ รงประสทิ ธผิ ล
อย่างยงิ่ ได้แก่
40 อุตสาหกรรมสาร
Book Corner
• เร่ือง : สุพรรษา พทุ ธะสภุ ะ
Madbot คมู่ อื นกั สรา้ งหนุ่ ยนต์ ควบคมุ คมั ภรี ก์ ารใชง้ าน หนุ่ ยนต์ : Robot
ดว้ ยเบสกิ แสตมป์ ผู้เขยี น : ผศ.ดร. เดชฤทธ์ิ มณธี รรม
ผู้เขียน : โกวทิ โซวสุวรรณ สัง่ ซ้อื ได้ท่ี : ซเี อด็ ยเู คชัน่ , บมจ.
รหหนสั ังส:ือ เIลM่ม5น0้ีพบก5ก0ับรายละเอียดขั้นตอนการสร้าง คัมภีร์การใช้งานหุ่นยนต์ : Robot เล่มน้ี
และแบบแปลนขนาดยกั ษ์เดนิ 2 ขา 4 ขา และ 6 มอุตีจุดสามหุ่งหกรมรามยทเ่ีกพาื่อรเวริีจยัยนแรูล้ระะบพบัฒกนาารหคุ่นวบยนคุตม์
ขา พร้อมโครงงานแขนกลท่คี ณุ สามารถสร้างได้ด้วยตวั เอง หุ่นยนต์หรือสมองของหุ่นยนต์ ให้มีการ
แข่งขันและพัฒนาทันกับโลกปัจจุบัน โดยจะ
12 แนวคดิ พลกิ วกิ ฤตดว้ ยระบบอตั โนมตั ิ : 2560 ในระบบหุ่นยนต์ ซอฟต์แเรวม่ิ รต์ค้นวบอคธบิุมาหยุ่นตยง้ั นแตต์่ชกนาดิ รขคอวงบหคุ่นุมยหนุ่นตย์ อนปุ ตก์ดร้วณย์
และระดบั สถานประกอบการ คอมพิวเตอร์ การควบคุมหุ่นยนต์ด้วย PLC และโครงงานการสร้าง
ผู้เขยี น : ส�ำนกั พฒั นาอุตสาหกรรมสนบั สนนุ ชุดจ�ำลองรถไฟฟ้า โดยในเล่มได้น�ำเสนอเน้ือหาอย่างละเอียด พร้อม
กรมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม ตรวัวมอทยง้ั ่าชงา่ หงเลคารอ่ืกงหกลลาชยา่ งเอขเิ ้ลากใ็ จทงร่าอยนกิ สเห์ ชมา่ างะไฟสฟ�ำา้หรวับศิ วนกักรเโรรียงงนานนตักลศอึกดษจนา
รหสั : IM กสอ12 น60 ผู้สนใจในงานหุ่นยนต์อตุ สาหกรรม
หนงั สอื 12แนวคดิ พลกิ วกิ ฤตดว้ ยระบบอตั โนมตั ิขนึ้
เพื่อเป็นกรณีศึกษาและแสดงให้เห็นถึงศักยภาพ คมั ภรี ก์ ารใชง้ าน พแี อลซี เบคฮอฟฟ์ :
ขเทอคงผโนปู้ โรละยกีหอบุ่นกยานรตไท์แยลทะป่ีระรบะสบบอคัตวโานมมสัต�ำิ เรซจ็ ่ึงใผนู้ปดรา้ ะนกอบการท้ังหมด PLC Beckhoff
ในเล่มน้ี ได้ร่วมกันถ่ายทอดเร่ืองราวและแบ่งปันประสบการณ์ ผู้เขยี น : ผศ.ดร. เดชฤทธิ์ มณธี รรม และคณะ
ทางธุรกิจอันล้�ำค่า สร้างแรงบันดาลใจทางธุรกิจด้วยเทคโนโลยี สัง่ ซื้อได้ท่ี : ซีเอ็ดยูเคชนั่ , บมจ.
ปหุ ่รนะยสนบตก์ แาลระณร์ะดบั ง กบลอ่ั ตา วโ นนี้มดั ต้ วิ ยพกั นร ้ อ มเ พใ่ื หอ พ้ ทั ุฒก ทน่ าานแไลดะ้ เยกก็ บรเะกด่ี ยั บว หนังสือเล่มนี้เผยแพร่ระบบการท�ำงานและ
อตุ สาหกรรมไทย เตรยี มกา้ วเขา้ สยู่ คุ อตุ สาหกรรม 4.0 อยา่ งแทจ้ รงิ ระบบการควบคุมการท�ำงานด้วยพีแอลซี
หนุ่ ยนตอ์ ตุ สาหกรรม เบคฮอฟฟ์ ท่ีผลิตจากประเทศเยอรมนี เพ่ือ
ผู้เขยี น : บญุ ธรรม ภทั ราจารกุ ลุ เรียนรู้และน�ำผลท่ีได้ไปใช้ในการควบคุม
สัง่ ซื้อได้ท่ี : ซีเอด็ ยูเคชัน่ , บมจ. เครือ่ งจกั รอตุ สาหกรรม
หนังสือหุ่นยนต์อุตสาหกรรม เล่มนี้ได้เพ่ิมเติม คมั ภรี ก์ ารใชง้ าน ไมโครคอนโทรลเลอร์
เน้ือหาระบบแมคชีนวิช่ันหรือระบบการมองเห็น MCS-51
ของเคร่ืองจักรหรือหุ่นยนต์ ซ่ึงในอุตสาหกรรม ผสู่งั้เขซียอ้ื นได:้ท ่ี ผ: ศซ.ีเดอรด็ .ยเดเู คชชฤ่ันท,ธบ์ิ มมณจ.ธี รรม
การผลิตสมัยใหม่ในปัจจุบันก�ำลังนิยมใช้งาน หนังสือเล่มนี้ มีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนา
เนื่องจากกรรมวิธีการผลิตผลิตภัณฑ์มีความ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ตลอดจนหุ่นยนต์
สลับซับซ้อนมากขึ้น ต้องการความถูกต้องแม่นย�ำในการผลิตสูง อุตสาหกรรม ให้มีการแข่งขันและพัฒนาให้
และต้องการตรวจสอบคุณภาพการผลิตด้วยความเร็วที่สูงมาก ทันกับโลกยุคปัจจุบัน ท้ังการแข่งขันทางด้าน
มซึ่งอรงะเบหบ็นเขดอิมงๆเครไมื่อ่สงจาักมราหรถรือตหอบุ่นสยนนอตง์จคะวใาชม้รตะ้อบงบกกาารรไดม้อรงะเหบ็นบขกอางร การตลาดและด้านเศรษฐกิจ โดยจะอธิบาย
คอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลภาพจากกล้องถ่ายภาพดิจิทัล เกี่ยวกับไมโครคอนโทรลเลอร์ (MCS-51) ภาษาซี การออกแบบและ
หรือกล้องถ่ายภาพดิจิทัลที่ส่องไปยังช้ินงาน และท�ำการปรับปรุง ควบคมุ การท�ำงาน Input/Output Port, การควบคมุ Stepping Motor,
ใคหุณค้ ภอามพพขวิ อเตงอภราห์ พาคเวพาื่อมใเหห้หมุ่นอื ยนนทต�ำ์มคอวงาเมหจ็นดผจ่า�นำ แทลาะงทโป�ำรกแากรแรมยกแแลยะะ การควบคมุ DC Motor, การควบคมุ DC Servo Motor และการควบคมุ
วัตถุ เพื่อให้เครื่องจักรหรือหุ่นยนต์ได้ตัดสินใจตามค�ำสั่ง เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม และเสริมภาคผนวกด้วยชุดเคร่ืองมือประเภท
หยบิ จับ และวางประกอบ หรอื ตรวจสอบการประกอบด้วยความ ตา่ งๆ ทเี่ หมาะสมกบั งานควบคมุ ในแตล่ ะสว่ น เหมาะส�ำหรบั นกั ศกึ ษา
รวดเร็วมคี วามถกู ต้องแม่นย�ำและเทีย่ งตรง ได้ใช้เรียนและค้นคว้าเพิ่มเติม รวมท้ังช่างไฟฟ้า ช่างอิเล็กทรอนิกส์
คมั ภรี ก์ ารใชง้ าน ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino วศิ วกรโรงงาน ตลอดจนผสู้ นใจในงานควบคมุ ดว้ ยไมโครคอนโทรเลอร์
สผ้ัู่งเขซีย้อื นได:้ทผ่ี :ศซ.ดเี อร.ด็ เยดเู ชคฤชทั่นธ, ์ิ บมมณจธี. รรม
หนังสือเล่มน้ีมีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาระบบ สถานทีส่ อบถามรายละเอียดและข้อมูลเพ่ิมเตมิ
ควบคมุ อตั โนมตั ิ ตลอดจนหนุ่ ยนตอ์ ตุ สาหกรรม ห้องสมดุ กรมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม
ใหม้ กี ารแขง่ ขนั และพฒั นาใหท้ นั กบั โลกปจั จบุ นั โทร. 0 2202 4425, 0 2202 4417 หรอื 0 2354 3237
ที่มีการแข่งขันทางด้านการตลาด และระบบ เว็บไซต์ http://library.dip.go.th
เศรษฐกจิ ทส่ี ูง
อตุ สาหกรรมสาร 41
วใบาสรมสัคราสรมอาตุชกิ สาหกรรมสาร 2561
สมาชิกเก่า สมาชิกใหม่
วนั ท่ีสมัคร................................................
ช่ือ / นามสกลุ ........................................................................................................บริษทั /หนว่ ยงาน..........................................
ทอี่ ยู.่ ..................................................................................................................................................................................
จงั หวดั ........................................................ รหสั ไปรษณยี .์ ......................................... เวบ็ ไซต์บรษิ ทั .........................................
โทรศัพท.์ ............................................... โทรสาร..................................................ต�ำแหน่ง......................................................
อีเมล...................................................................
แบบสอบถาม
1. ผลิตภัณฑห์ ลักทท่ี ่านผลติ คือ………………………………………………………………………………………...............................…………….
2. ทา่ นรจู้ ักวารสารนจ้ี าก………………………………………………………………………………………………………………………………….......
3. ข้อมลู ท่ที า่ นตอ้ งการคอื ……………………………………………………………………………………………………………………………….....…
4. ประโยชนท์ ที่ ่านได้จากวารสารคอื ……………………………………………………………………………….………………………..............……...
5. ทา่ นคิดวา่ เนื้อหาสาระของวารสารอตุ สาหกรรมสารอยู่ในระดับใด เม่อื เทียบกบั วารสารราชการทั่วไป
ดีท่สี ดุ ดีมาก ด ี พอใช้ ต้องปรบั ปรุง
6. การออกแบบปกและรปู เลม่ อยู่ในระดับใด
ดีทส่ี ดุ ดีมาก ด ี พอใช้ ต้องปรับปรงุ
7. ขอ้ มูลทีท่ ่านต้องการใหม้ ีในวารสารน้มี ากท่สี ุดคือ (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามลำ� ดบั )
การตลาด การให้บรกิ ารของรฐั สัมภาษณผ์ ปู้ ระกอบการ ขอ้ มูลอุตสาหกรรม อื่นๆ ระบ.ุ ..................................
8. คอลัมนท์ ีท่ า่ นชอบมากทีส่ ุด (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามล�ำดบั ความชอบ)
Interview (สัมภาษณผ์ ูบ้ รหิ าร) Product Design (ออกแบบผลติ ภณั ฑ์) Good Governance (ธรรมาภิบาล)
SMEs Profile (ความสำ� เร็จของผู้ประกอบการ) Report (รายงาน / ข้อมลู ) Innovation (นวตั กรรมใหม)่
Market & Trend (การตลาด / แนวโน้ม) Book Corner (แนะนำ� หนงั สือ) อน่ื ๆ ระบ.ุ .....................................
9. ท่านไดร้ ับประโยชนจ์ ากวารสารอตุ สาหกรรมสารมากน้อยแคไ่ หน
ได้ประโยชนม์ าก ได้ประโยชนพ์ อสมควร ได้ประโยชนน์ ้อย ไมไ่ ดใ้ ช้ประโยชน์
10. เทยี บกบั วารสารราชการท่วั ไป ความพึงพอใจของท่านท่ีได้รบั จากวารสารเล่มน้ี เทยี บเป็นคะแนนได้เทา่ กบั
91-100 คะแนน 81-90 คะแนน 71-80 คะแนน 61-70 คะแนน ต่ำ� กวา่ 60 คะแนน
สมคั รสมาชิกวารสาร กรอกใบสมัครซึ่งอยู่หน้าสุดท้ายของเล่มจากนั้นส่งใบสมัครได้ 3 ทาง ได้แก่
1. สมคั รทางไปรษณยี ์ จา่ หนา้ ซองถึง บรรณาธิการวารสารอุตสาหกรรมสาร
กลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
2. สมัครทางเคร่อื งโทรสาร หมายเลข 0 2354 3299
3. สมคั รทางอีเมล : [email protected]
4. สมัครผ่าน google Form :
มโอากถงึ าแลสว้
สำ� หรบั ...ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมรายยอ่ ย
(ภาคการผลติ ) เชญิ ใชบ้ รกิ าร
“เงนิ กู้ ดอกเบย้ี ตำ�่ ”
กู้ไถดงึ ต้ “งั้ แหตล่ “หกั ลลกั า้ หนม”นื่ ”
6%ดอกเบยี้ เพยี ง ตอ่ ปี
ใชบ้ คุ คลคำ�้ ประกนั /หลกั ทรพั ยเ์ ปน็ ประกนั
ในกรณที กี่ เู้ งนิ ไมเ่ กนิ รายละ 200,000 บาท
ใชห้ ลกั ทรพั ยเ์ ปน็ ประกนั ในกรณที กี่ เู้ งนิ เกนิ
รายละ 200,000 – 2,000,000 บาท
ผอ่ นสบายๆ ลดทงั้ ดอกลดทง้ั ตน้ สทิ ธพิ เิ ศษลดตน้ ลดดอกสำ� หรบั ลกู คา้ ชนั้ ดี
ทมี่ วี นิ ยั ในการชำ� ระหน้ี พรอ้ มอาจมโี อกาสออกงานแสดงสนิ คา้ และอบรมหลกั สตู รธรุ กจิ ตา่ งๆ
โดย...กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม
งานสนิ เชอ่ื กลมุ่ บรหิ ารเงนิ ทนุ (ชน้ั 4)
กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม
โทรศพั ท์ : 0 2202 4409, 0 22024502 โทรสาร 0 2354 3433
อเี มล : [email protected], เวบ็ ไซต์ : credit.dip.go.th
อุตสาหกรรมสารออนไลน์
http://e-journal.dip.go.th
วารสารเพื่อผู้ประกอบการ SMEs และ OTOP
ฐานขอ้ มลู สง่ เสรมิ ความรดู้ า้ นอตุ สาหกรรม และแนวโนม้ ของอตุ สาหกรรม กระบวนการผลติ การตลาด การบรหิ ารการจดั การ
การพฒั นารปู แบบผลติ ภณั ฑ์ การใหบ้ รกิ ารตา่ งๆ ตลอดจนตวั อยา่ งผปู้ ระกอบการทป่ี ระสบความสำ� เรจ็
อยากรขู้ อ้ มลู คลกิ อา่ นไดเ้ ลย อยากโหลดขอ้ มูลดาวน์โหลดได้ทันที
สมัครเป็นสมาชิกได้ที่ โทรสารท่ีหมายเลข 0 2354 3299 หรือ Google Form :