The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ejournal.diprom, 2022-01-18 03:28:01

EJOURNAL_56_003

EJOURNAL_56_003

วารสารของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พิมพ์เป็นปีท่ี 55 ฉบับเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2556


กฏหมาย

สทิ ธปิ ระโยชน

ขอ้ พงึ ระวงั


ของชาตติ า่ งๆในกลมุ่ AEC


รเู้ ขา รเู้ รา


กบั เศรษฐกจิ ของประเทศ

เพอ่ื นบา้ นในอาเซยี น


ตติ ยานยนต์


มองแนวโนม้ สง่ ออกกลมุ่ สนิ คา้

เครอื่ งจกั รกลในตลาด ‘อนิ โดนเี ซยี ’


ทไี ทย แสนค็ ฟดู๊ ส์


รกุ ตลาดเวยี ดนาม

ลงสนามการคา้ AEC


แมลมุ ะมกอางร
เตรยี มความพรอ้ ม


ของประเทศตา่ งๆในอาเซยี น


เปิดประตกู ารคา้ สู่

AEC

ศูนยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 1
ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคท่ี 4


(เชยี งใหม่ เชยี งราย แมฮ่ ่องสอน ลำพนู ลำปาง พะเยา แพร่ น่าน)
(อดุ รธานี หนองบวั ลำภู หนองคาย เลย)

158 ถนนทงุ่ โฮเต็ล ต.วัดเกต อ.เมอื ง จ.เชียงใหม่ 50000
399 ม.11 ถนนมิตรภาพ ต.โนนสูง อ.เมอื ง จ.อุดรธานี 41330

โทรศพั ท์ (053) 245 361-2, 243 494, 242 226
โทรศัพท์ (042) 207 232-6, 207-238 โทรสาร (042) 207 241

โทรสาร (053) 248 315
e-mail: [email protected]

e-mail: [email protected]


ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 2
ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคท่ี 5


(พษิ ณโุ ลก สโุ ขทยั อุตรดติ ถ์ เพชรบรู ณ์ ตาก)
(ขอนแกน่ กาฬสนิ ธุ์ มหาสารคาม รอ้ ยเอด็

292 ถนนเลี่ยงเมือง-นครสวรรค์ ต.บา้ นกร่าง
มุกดาหาร สกลนคร )

อ.เมือง จ.พิษณโุ ลก 65000
86 ถนนมติ รภาพ ต.สำราญ อ.เมอื ง จ.ขอนแก่น 40000

โทรศพั ท์ (055) 282 957-9 โทรสาร (055) 283 021
โทรศพั ท์ (043) 379 296-9 โทรสาร (043) 379 302

e-mail: [email protected]
e-mail: [email protected]


ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 3
ศูนย์ส่งเสรมิ อุตสาหกรรมภาคท่ี 7


(พิจติ ร กำแพงเพชร นครสวรรค์ อทุ ยั ธาน
ี (อุบลราชธานี ยโสธร อำนาจเจรญิ ศรีสะเกษ)

ชยั นาท สงิ ห์บรุ ี ลพบุรี)
222 หมทู่ ่ี 24 ถนนคลังอาวุธ ต.ขามใหญ่ อ.เมือง

200 ม.8 ถนนเล่ยี งเมือง ต.ท่าหลวง
จ.อบุ ลราชธานี 34000

อ.เมือง จ.พิจิตร 66000 โทรศัพท์ (056) 613 161-5
โทรศัพท์ (045) 313 772, (045) 313 945,

โทรสาร (056) 613 559 e-mail: [email protected]
(045) 314 216, (045) 314 217

โทรสาร (045) 312 378, (045) 312 493

ศูนยส์ ง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคท่ี 8
e-mail: [email protected]


(สพุ รรณบรุ ี กาญจนบรุ ี อา่ งทอง พระนครศรอี ยธุ ยา
ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 6

นครปฐม นนทบรุ ี ราชบรุ ี สมุทรสาคร สมทุ รสงคราม

เพชรบรุ ี ประจวบคีรขี ันธ)์
(นครราชสีมา ชยั ภมู ิ บุรีรัมย์ สรุ ินทร)์

117 หมู่ 1 ถนนมาลัยแมน ต.ดอนกำยาน
333 ถนนมติ รภาพ ต.สูงเนนิ อ.สูงเนิน จ.นครราชสมี า 30170

อ.เมือง จ.สพุ รรณบุรี 72000
โทรศพั ท์ (044) 419 622 โทรสาร (044) 419 089

โทรศพั ท์ (035) 441 027, 441 029, 441 031
e-mail: [email protected]

โทรสาร (035) 441 030

e-mail: [email protected]
ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคท่ี 9


หน่วยงานส่วนกลาง
(ชลบรุ ี ฉะเชงิ เทรา ระยอง จนั ทบรุ ี สระบุร

ตราด นครนายก ปราจีนบรุ ี สระแก้ว)

(กรุงเทพมหานคร สมทุ รปราการ
67 ม.1 ถนนสขุ ุมวิท ต.เสมด็ อ. เมือง จ.ชลบุรี 20000

นนทบุรี ปทุมธาน)ี ถนนพระรามที่ 6 ราชเทวี โทรศพั ท์ (038) 261-203, 273-702, 784 654-5

กรุงเทพฯ 10400
โทรสาร (038) 273 701

โทรศพั ท์ 0 2202 4422-3 โทรสาร 0 2354 3152
e-mail: [email protected]



ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 10

ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 11

(นครศรธี รรมราช สรุ าษฎร์ธานี กระบ่ี ภูเกต็ พงั งา ระนอง ชุมพร)

(สงขลา ตรัง พัทลุง สตูล ยะลา ปัตตานี นราธวิ าส)
131 ม.2 ถนนเทพรตั นกวี ต.วดั ประดู่ อ.เมอื ง จ.สรุ าษฎร์ธานี 84000

165 ถนนกาญจนวนชิ ต.นำ้ น้อย อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
โทรศพั ท์ (077) 200 395-8 โทรสาร (077) 200 449

โทรศัพท์ (074) 211 905-8 โทรสาร (074) 211 904
e-mail:[email protected]

e-mail: [email protected]


เปลีย่ นแปลงพื้นท่ีจังหวดั ในความรับของศูนยส์ ง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคและหนว่ ยงานส่วนกลาง

ตามคำประกาศกรมส่งเสริมอตุ สาหกรรม ลงวนั ท่ี 12 ตุลาคม 2554

Contents


วารสารของกรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม พมิ พเ์ ปน็ ปที ่ี 55 ฉบบั เดอื นพฤษภาคม - มถิ นุ ายน 2556


16
05 SMEs Report

13

จุดยืนประเทศไทย

25
ศนู ย์กลางการคมนาคม

ศนู ย์กลางด้านเศรษฐกิจของภูมิภาคอาเซียน

28

13 Market & Trend


อุตสาหกรรมไทยหลังปี 2558

ชี้โอกาสและความท้าทาย


16 SMEs Talk


มุมมองและการเตรียมความพร้อม

ของประเทศต่างๆในอาเซียน


19 SMEs Focus


รู้เขา รู้เรา

กับเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน


22 SMEs Info


การเตรียมความพร้อม

ของกระทรวงอุตสาหกรรมเข้าสู่ AEC


25 Show Case


บริษัท ทีไทย สแน็ค ฟู๊ดส์ จำกัด

รุกตลาดเวียดนามลงสนามการค้า AEC


28 Show Case


ตติ ยานยนต์

มองแนวโน้มส่งออกกลุ่มสินค้าเครื่องจักรกล

ในตลาด ‘อินโดนีเซีย’


30 Information


สัญลักษณ์บ่งบอกวัฒนธรรม

ประจำชาติอาเซียน


32 Knowledge


กฎหมาย - สิทธิประโยชน์ - ข้อพึงระวัง

ของชาติต่างๆ ในกลุ่ม AEC ที่นักลงทุนพึงรู้ไว้


38 Report


เปลี่ยนโฉมหน้าเศรษฐกิจประเทศไทย ปี 2020

ก้าวใหม่เชื่อมไทยสู่โลก


40 Book Corner

Editor’s Talk


ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน

(ASEAN Economic Community: AEC)

อาเซยี น (ASEAN) หรอื “สมาคมประชาชาตแิ หง่ เอเชยี ตะวนั ออก กเจร้ามขสอ่งงเสรมิ อตุ สาหกรรม
เฉียงใต้” ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2510 โดยในระยะแรกนั้น มีสมาชิกเริ่มแรก
จำนวน 6 ประเทศ ได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพ ฯ 10400

ฟลิ ปิ ปนิ ส์ สงิ คโปร์ และไทย ภายหลงั ไดม้ สี มาชกิ เพม่ิ ขน้ึ อกี 4 ประเทศ คณะทป่ี รกึ ษา
คอื กัมพชู า ลาว พม่า และเวยี ดนาม หรือทเ่ี รียกกนั วา่ CLMV โดย

มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสันติภาพในภูมิภาคอันจะนำไปสู่ความเจริญ นายโสภณ ผลประสิทธิ์
ก้าวหน้าทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม และได้มีการรวมกลุ่มเพื่อ อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ขยายความร่วมมือและการค้าระหว่างกันให้มากยิ่งขึ้น โดยการจัดทำ นายวีรนันท์ นีลดานุวงศ์
เขตการคา้ เสรอี าเซยี น (AFTA) เมอ่ื ปี 2535
รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
นางศิริรัตน์ จิตต์เสรี
ต่อมาในปี 2546 อาเซียนได้กำหนดทิศทางที่แน่ชัดว่าความ รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
รว่ มมอื จะตอ้ งเดนิ ทางไปสกู่ ารเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN นายกอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์
Economic Community: AEC) ภายในปี 2558 ทง้ั น้ี ประชาคมเศรษฐกจิ รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
อาเซียนนั้น ถือเป็นเพียงหนึ่งในสามเสาหลักของประชาคมอาเซียน นายกิตติพัฒน์ ปณิฐาภรณ์
(ASEAN Community) โดยอีกสองเสาหลัก คอื ประชาคมความมน่ั คง ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง

อาเซียน (ASEAN Security Community) และประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community) และไดม้ ีการ บรรณาธกิ ารอำนวยการ
จัดทำกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เพื่อการดำเนินงานไป
สปู่ ระชาคมอาเซยี น
นางอร ทีฆะพันธ์ุ

ผู้อำนวยการกลุ่มประชาสัมพันธ์

ในการที่จะรวมตัวเป็น “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ภายใน
ปี 2558 นั้น กลุ่มประเทศอาเซียนได้จัดทำแผนงานในเชิงบูรณาการ บรรณาธกิ ารบริหาร
ในดา้ นเศรษฐกจิ ต่างๆ หรอื “พมิ พ์เขียวเพ่ือจัดต้งั ประชาคมเศรษฐกจิ
อาเซยี น” (AEC Blueprint) โดยมอี งคป์ ระกอบทส่ี ำคญั 4 เรอ่ื ง ดงั น้ี
นางสาวปาณทิพย์ เปลี่ยนโมฬี


1. การเปน็ ตลาดและฐานการผลติ เดยี ว
กองบรรณาธกิ าร
2. การสร้างอาเซียนให้เป็นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถใน

การแข่งขันสงู ในเวทกี ารคา้ โลก
นายชูศักด์ เอกชน, นางสมจิตต์ เตียวสุนทรวงศ์,

3. การพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเท่าเทียมกันระหว่างสมาชิก
นายวีระพล ผ่องสุภา, นายไพฑูรย์ มะเมียเมือง,

อาเซยี น
นางสุรางค์ งามวงศ์, นายธวัชชัย มะกล่ำทอง,

4. การเชอ่ื มโยงของอาเซยี นเขา้ กบั เศรษฐกจิ โลก
นางสาวกนกรักษ์ นุกูลโรจน์, นางเกสรา ภู่แดง

ทผ่ี า่ นมา นโยบายอตุ สาหกรรมของไทย มกั จะมงุ่ เนน้ ทก่ี ารผลติ
และการขยายตัวทางเศรษฐกิจในเชิงตัวเลขเป็นหลัก แต่ไม่ได้ให้ความ ฝา่ ยภาพ
สำคัญกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โครงสร้างการผลิต และ
การยกระดบั การพฒั นาอตุ สาหกรรมภายในประเทศ เพอ่ื ลดการพง่ึ พา นางวิพาณี อวยพรรุ่งรัตน์, นายชเนศ ศรีพิทักษ์,

การนำเขา้ และสรา้ งความยง่ั ยนื อยา่ งจรงิ จงั
นางสมใจ รัตนโชติ, นายธานินทร์ กลำพัก,

โครงการของรฐั บาลภายใตแ้ ผนการลงทนุ พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน นายสุทิน คณาเดิม,

ระบบคมนาคมขนสง่ พ.ศ.2556 - 2563 เพอ่ื รองรบั การเขา้ สปู่ ระชาคม
เศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างความ ฝ่ายสมาชกิ
แขง็ แกรง่ ใหก้ บั ระบบเศรษฐกจิ สงั คม เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มใหป้ ระเทศ
ไทยก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน และแข่งขันในตลาดโลกได้ นางสาวกัลศิญา ชุมศรี, นายสุรินทร์ ม่วงน้อย,

อยา่ งสมบรู ณแ์ บบ
นางสาวศิริธร ชัยรัตน์

บรรณาธกิ ารบรหิ าร

จัดพมิ พ์

บริษัท ซี แอด โปรโมชั่น (1997) จำกัด

77/14 หมู่บ้านชลลดา ซ.2 ถนนสายไหม

แขวงสายไหม เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220

โทร. 02 991 3031-3 แฟกซ์ 02 991 3066

บกถสสhสลนมมมรttรุ่มนััคคคั pณปพรรร:ผผ/าสรร/่่าาะธะeมนนชิกร-าาjาโเาชoวทมสริก็บuวรทัมวสไาrี่พซาnรา6ตันสรรaเ์สธาขl
ร.์า0ตdกอร2รiรุตาpม3สช.5สาgเ4ท่งหoเว3กส.ี2tรรกh9ริมท9ม

มสุต.าสร1า0ห4ก0
0รรม




“บทความ บทสัมภาษณ์


หรืองานเขียนที่ตีพิมพ์ในวารสารเล่มนี้


เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน
ทางวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป

หากประสงค์จะนำบทความใดๆ ในวารสารไปตีพิมพ์เผยแพร่
ควรแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรต่อกองบรรณาธิการ”

SMEs Report

เรอ่ื ง : ดร. สริ างค์ กลน่ั คำสอน


ศจุดนู ยนืยป์กระลเทาศงไทกยา
รคมนาคม


ศูนย์กลางดา้ นเศรษฐกิจของภมู ภิ าคอาเซยี น


ในการรกั ษาผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ รว่ มกนั และเพอ่ื เพม่ิ อำนาจทางการคา้ ในกลมุ่ สมาชกิ ประชาคม
เศรษฐกจิ อาเซยี น (Asean Economics Community หรอื AEC) นน้ั มคี วามจำเปน็ ทป่ี ระเทศสมาชกิ ตอ้ ง
มีการพัฒนาโครงข่ายการขนส่ง ระบบโทรคมนาคมและสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้าอื่นๆ
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนในการดำเนินธุรกิจ ก่อให้เกิดการหมุนเวียนอย่างเสรีของสินค้า
การบริการและเงินทุน ในการจัดระบบการขนส่งของประเทศนั้นจะต้องมีส่วนสนับสนุนและส่งเสริม
Roadmap ทเ่ี ปน็ จดุ เดน่ ของประเทศและสามารถเชอ่ื มโยงกบั ประเทศเพอ่ื นบา้ นได้


สำหรบั Roadmap ของประเทศสมาชกิ AEC อาทเิ ชน่
ศนู ยบ์ รกิ ารขนสง่ สนิ คา้ ประเภท Inland container depot หรอื
ไทย : การทอ่ งเทย่ี วและการขนสง่ ทางอากาศ
ICD ยงั มนี อ้ ย สภาพพน้ื ผวิ ถนนอยใู่ นสภาพไมด่ ี สว่ นทา่ เรอื
พมา่ : สนิ คา้ เกษตรและสนิ คา้ ประมง
ก็มีความคับคั่ง ในการจะเตรียมความพร้อมในการเข้าร่วม
เวยี ดนาม: โลจสิ ตกิ ส ์
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 จึงมีความจำเป็น
มาเลเซยี : ยางและสง่ิ ทอ
จะต้องแก้ไขปัญหาการคมนาคมโดยการพัฒนาโครงสร้าง
ฟลิ ปิ ปนิ ส:์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
พน้ื ฐานของการคมนาคมเพอ่ื ใหส้ ามารถเปน็ ศนู ยก์ ลาง (Hub)
อนิ โดนเี ซยี : ยานยนตแ์ ละผลติ ภณั ฑไ์ ม้
ของการดำเนนิ ธรุ กจิ และสามารถกระจายสนิ คา้ ไปยงั ประเทศ
สงิ คโปร:์ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพ
เพอ่ื นบา้ นทม่ี พี รมแดนตดิ กบั ประเทศไทย


ประเทศไทยเองนั้นนับว่ามีแหล่งที่ตั้งอยู่ในศูนย์กลางของ โครงการพัฒนาโครงข่ายการขนส่งที่ได้มีการศึกษาจาก
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป็นฐานการผลิตของอุตสาหกรรม สำนกั งานนโยบายและแผนการขนสง่ และจราจรมี 4 ดา้ นคอื

หลายประเภทจากการรว่ มลงทนุ จากในประเทศและตา่ งชาติ ทง้ั น้ี
เป็นเพราะประเทศไทยสามารถขนส่งวัตถุดิบและสินค้าได้ทั้ง 1. การปรับปรุงประสิทธิภาพการขนส่งที่ประตูการค้า
ทางบก ทางอากาศ และทางนำ้ อกี ทง้ั ยงั เปน็ แหลง่ ทต่ี ง้ั ทเ่ี หมาะ เชน่ ทา่ เรอื ทา่ อากาศยาน หรอื ดา่ นชายแดน

สมในการกระจายสินค้า อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของ
การคมนาคมในประเทศก็คือใช้การขนส่งทางบกมาก่อให้เกิด 2. การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานเพอ่ื รองรบั AEC ทง้ั ทาง
ต้นทุนการขนส่งที่สูง ระบบรางมีน้อยและไม่ครอบคลุมพื้นที่ ถนน ทางราง และระบบขนสง่ สาธารณะ


3. การพฒั นาสง่ิ อำนวยความสะดวกดา้ นการขนสง่ และ
โลจสิ ตกิ ส์


5อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

4.พัฒนาทางด้านกฏหมายและข้อตกลงระหว่างประเทศ GMS Economic Corridor

สำหรับสภาพปัจจุบันและแนวโน้มการพัฒนาระบบการขนส่ง (ทม่ี า: กระทรวงคมนาคม)

ทางบก ทางนำ้ และทางอากาศ เพอ่ื รองรบั AEC ของประเทศ
สรปุ ไดด้ งั น้
ี • ระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North-South
Economic Corridor: NSEC) จะเชื่อมเส้นทางคมนาคม
ทางบก
ระหวา่ งจนี ตอนใต้ ลาว พมา่ และไทย (เสน้ ทาง R3A/R3B)
และจีนตอนใต้กับเวียดนาม (เส้นทาง R12) โดยหลักแล้ว
ไทยสามารถส่งสินค้าไปจำหน่ายยังประเทศเพื่อนบ้านที่มี เส้นทางนี้จะแบ่งออกเป็น 3 เส้นทางคือ 1. เส้นทางสาย
ชายแดนติดกับไทย เช่น มาเลเซีย พม่า ลาวและกัมพูชา ตะวันตก (Western subcorridor) 2. เส้นทางสายกลาง
ซึ่งสามารถส่งต่อสินค้าไปยังเวียดนามและจีนตอนใต้ สำหรับ (Central Subcorridor) และ 3. เส้นทางสายตะวันออก
เส้นทางต่างๆ ที่เชื่อมการคมนาคมระหว่างไทยกับเพื่อนบ้าน (Eastern Subcorridor)

มหี ลายเสน้ ทาง ดงั น้

• ระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Economic
1. เส้นทาง R3A ถือว่าเป็นเส้นทางสายใหม่เชื่อมโยง Corridor: SEC) จะเชื่อมเส้นทางคมนาคมระหว่างไทย
ระหวา่ งไทย ลาวและจนี หรอื กลมุ่ ประเทศอนภุ าคลมุ่ นำ้ โขงทถ่ี กู กมั พชู า และเวยี ดนาม (เสน้ ทาง R1 และ R10) มรี ะยะทาง
สร้างภายใต้โครงการ “สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ” เส้นทางจะเชื่อม รวม 1,040 ก.ม. สำหรบั เสน้ ทาง R1 จะเปน็ เสน้ ทางทผ่ี า่ น
ตั้งแต่อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เข้าสู่ประเทศลาว กลางระหว่างทั้ง 3 ประเทศจากกรุงเทพมหานครไปยัง
(บ่อแก้ว หลวงน้ำทา บ่อเต็น) แคว้นสิบสองปันนา บ่อหาน พนมเปญ โฮจมิ นิ ซติ ้ี และวงุ เตา สว่ นเสน้ ทาง R10 จะเปน็
เชยี งรงุ้ และนครคุนหมิง ประเทศจีน ซึ่งสามารถส่งผ่านสินค้า เสน้ ทางทเ่ี ลยี บชายฝง่ั ทะเลตอนใต้

ต่อไปยังอินเดียได้ โดยไทยสามารถกระจายสินค้าเข้าสู่ตลาด
ผบู้ รโิ ภคมากกวา่ 200 ลา้ นคนดว้ ยเสน้ ทางน้ี โดยในชว่ งทแ่ี มน่ ำ้ ในปัจจุบันรัฐบาลไทยกำลังดำเนินการพัฒนาระบบ
โขงแหง้ ขอดจะมกี ารขนสนิ คา้ ในเสน้ ทางนม้ี ากขน้ึ สำหรบั ปลาย โทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศที่อยู่บนเส้นทาง
ทางทต่ี ลาดคนุ หมงิ นน้ั สนิ คา้ ไทยทไ่ี ดร้ บั ความนยิ ม คอื ผลไมส้ ด ดังกล่าวเพื่อเชื่อมโยงให้ไทยเป็นศูนย์กลางเชื่อมอาเซียน
อาทเิ ชน่ มงั คดุ ลำไย ทเุ รยี น และมะขาม เสน้ ทางนน้ี อกจากใช้ โดยได้มีการลงทุนด้วยงบประมาณ 2 ล้านล้านบาท
ขนสินค้าแล้วยังมีธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และเยี่ยมชม นอกจากนี้แล้วยังมีโครงการขยายช่องจราจรบนโครงข่าย
วฒั นธรรมระหวา่ งประเทศ สำหรบั ปญั หาทพ่ี บในเสน้ ทางนก้ี ค็ อื
ทด่ี า่ นบอ่ เตน็ ซง่ึ เปน็ จดุ เปลย่ี นถา่ ยสนิ คา้ ทต่ี ง้ั อยชู่ ายแดนลาว-จนี
มีความคับคั่งและรถบรรทุกยังไม่สามารถขนส่งสินค้าระหว่าง
ไทยและจนี ได้


2. แนวพื้นท่ีระเบียงเศรษฐกิจ (Economic Corridor)
จะอยภู่ ายใตก้ รอบความรว่ มมอื อนภุ มู ภิ าคลมุ่ แมน่ ำ้ โขง (Greater
Mekong Sub-region: GMS) ซง่ึ ไดม้ กี ารเชอ่ื มโยงดา้ นโครงสรา้ ง
พื้นฐาน (Hard infrastructure) อาทิเช่น ถนนหรือสะพานข้าม
แม่น้ำ และมีการเชื่อมโยงด้านระบบการทำงาน (Soft
infrastructure) แนวพน้ื ทร่ี ะเบยี งเศรษฐกจิ จะมเี สน้ ทางทเ่ี ชอ่ื มโยง
ประเทศในกลมุ่ GMS ซง่ึ ประกอบดว้ ย ไทย ลาว พมา่ กมั พชู า
เวียดนาม และจีนตอนใต้ (มณฑลยูนนานและกวางสี)
รวม 6 ประเทศ แนวพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจจะแสดงดังรูปที่ 1
โดยจะแบง่ พน้ื ทค่ี มนาคมทางบก ออกเปน็ สว่ นตา่ งๆ ดงั น้


• ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West
Economic Corridor: EWEC) จะเชอ่ื มเส้นทางคมนาคมระหวา่ ง
พมา่ ไทย ลาว และเวยี ดนาม มรี ะยะทางรวม 1,530 ก.ม. เปน็
เส้นทางตัดขวางเชื่อมระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกและ
มหาสมทุ รอนิ เดยี ตะวนั ตก จดุ ทผ่ี า่ นไทยคอื จดุ ขา้ มแดนสะพาน
มติ รภาพไทย-ลาวแหง่ ท่ี 2 ทจ่ี งั หวดั มกุ ดาหารและดา่ นทอ่ี ำเภอ
แมส่ อด จงั หวดั ตาก นอกจากนแ้ี ลว้ เสน้ ทางนจ้ี ะผา่ นจงั หวดั ตาก
สโุ ขทยั พษิ ณโุ ลก ขอนแกน่ กาฬสนิ ธ์ุ และมกุ ดาหาร


6 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

ทางหลวงอาเซียน โดยจะทำการขยายให้เป็น 4 ช่องจราจร 2. การดำเนนิ การสรา้ งทางรถไฟทเี่ ชอ่ื มพน้ื ทต่ี อนใน
รวมระยะทาง 6,693 ก.ม. ที่จังหวัดตาก สุโขทัย พิษณุโลก ของประเทศกบั พนื้ ทเ่ี ศรษฐกจิ ชายแดน เชน่

ขอนแกน่ กาฬสนิ ธ์ุ มกุ ดาหาร เสน้ ทางนย้ี งั อยภู่ ายใตโ้ ครงการ
พัฒนาโครงข่ายทางหลวงชนบทเชื่อมต่อด้านการท่องเที่ยว - เสน้ ทางสายเดน่ ชยั -เชยี งราย-เชยี งของ

อกี ดว้ ย
- เสน้ ทางสายบา้ นไผ-่ มหาสารคาม-มกุ ดาหาร

- เสน้ ทางอรญั ประเทศ-ปอยเปต

3. ทางหลวงพเิ ศษระหวา่ งเมอื ง หรอื Motor Way 3. แผนการพัฒนาเส้นทางรถไฟเชื่อมระหว่างทะเล
เพื่อให้ไทยเป็นศูนย์กลางในการกระจายสินค้าในภูมิภาค ฝงั่ อนั ดามนั และอา่ วไทย จดุ ประสงคข์ องเสน้ ทางรถไฟสายน้ี
อาเซียน กระทรวงคมนาคมได้มีการก่อสร้างทางหลวงพิเศษ เพื่อเชื่อมโยงกับตลาดในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งสามารถกระจาย
ทั้งหมด 5 เส้นทาง รวมระยะทาง 710 ก.ม. คือ
สินค้าไปสู่ภูมิภาคอื่นๆได้ เช่น เอเชียตอนใต้ ยุโรป หรือทวีป
1) สายบางปะอิน-สระบุรี-นครราชสีมา ระยะทาง 196 ก.ม. แอฟริกา เส้นทางนี้สามารถลดระยะเวลาเดินทางได้เนื่องจาก
2) สายชลบุรี-พัทยา-มาบตาพุด ระยะทาง 89 ก.ม.
ไม่ต้องผ่านช่องแคบมะละกา โครงการนี้เป็นส่วนร่วมของโครง
3) สายบางใหญ่-นครปฐม-กาญจนบุรี ระยะทาง 96 ก.ม.
การแลนด์บริดจ์ (โครงการสะพานเศรษฐกิจเชื่อมโยงทะเล
4) สายนครปฐม-สมุทรสงคราม-ชะอำ ระยะทาง 118 ก.ม. อันดามันและอ่าวไทย) แนวทางเบื้องต้นในการพัฒนาจะเป็น
และ 5) สายบางปะอิน-นครสวรรค์ ระยะทาง 206 ก.ม.
แนวเสน้ ทางรถไฟ 2 A (ทา่ เรอื นำ้ ลกึ ปากบารา-อำเภอระง-ู อำเภอ
ควนกาหลง- อำเภอรัตภูมิ-อำเภอหาดใหญ่-อำเภอนาหม่อม-
ทางราง
อำเภอจะนะ-ท่าเรือน้ำลึกสงขลาแห่งที่ 2 ระยะทางรวม 142
กิโลเมตร เชื่อมต่อกับสายหาดใหญ่-ปาดังเบซาร์ และ
รฐั บาลและการรถไฟแหง่ ประเทศไทยไดม้ โี ครงการพฒั นา สายหาดใหญ-่ สไุ หงโกลก

โครงสร้างพื้นฐานทางรางให้แก่ประชาชนในการเดินทางและ 4. แผนการพัฒนาศูนย์กลางขนส่งทางรถไฟบริเวณ
เพอ่ื การขนสง่ สนิ คา้ เพอ่ื รองรบั AEC ในหลายเสน้ ทาง ดงั น้
ี ท่าเรือแหลมฉบัง โครงการนี้มีงบประมาณลงทุนประมาณ
250,000 ลา้ นบาท ในการปรบั เปลย่ี นจากการขนสง่ ทางถนนมาสู่
1. การจัดทำแผนสร้างทางรถไฟรางคู่จำนวน ระบบราง โดยเป็นโครงการที่มีการดำเนินการระหว่างปี 2554-
6 เส้นทาง ระยะทางรวม 873 ก.ม. ให้แล้วเสร็จภายใน 2563 เสน้ ทางนเ้ี ป็นทางรถไฟรางคสู่ ายฉะเชิงเทรา-ทา่ เรือแหลม
ปี 2559 สำหรบั เสน้ ทางประกอบดว้ ย
ฉบงั มรี ะยะทางรวม 78 ก.ม. ผลประโยชนท์ ไ่ี ดจ้ ากโครงการน้ี
สามารถเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการขนสง่ สนิ คา้ ระหวา่ งสถานบี รรจุ
1) สายประจวบครี ขี นั ธ-์ ชมุ พร
ตู้สินค้าที่ลาดกระบังไปยังท่าเรือแหลมฉบังได้ถึงปีละ 8 แสนตู้
2) สายชมุ ทางถนนจริ ะ-ขอนแกน่
นอกจากนย้ี งั ไดม้ กี ารจดั โครงการบรกิ ารยกขนตสู้ นิ คา้ ทางรถไฟ
3) สายฉะเชงิ เทรา-คลองสบิ เกา้ -แกง่ คอย
ท่าเรือแหลมฉบังหรือ Single Rail Transfer Operator (SRTO)
4) สายนครปฐม-หนองปลาดกุ -หวั หนิ
ซึ่งจะมีการติดตั้งเครื่องมือยกขนตู้สินค้าชนิดเดินบนราง
5) สายมาบกะเบา-ชมุ ทาง ถนนจริ ะ นครราชสมี า
(Rail Mounted Gantry Crane หรือ RMG) ซึ่งตั้งเป้าหมายให้
6) สายลพบรุ -ี ปากนำ้ โพ
สามารถขนถา่ ยสนิ คา้ ไดถ้ งึ 2.0 ลา้ นทอี ยี ตู อ่ ปี


ทางนำ้


1. การขนส่งทางเรือภายใต้ระเบียงเศรษฐกิจตะวัน
ออก-ตะวันตก (EWEC) จะทำการขนส่งจากเวียดนาม

7อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

ผ่านไทยไปยังพม่า จากเมืองท่าดานัง เวียดนาม ผ่านไปยังแขวง สำหรบั สนามบนิ นานาชาตสิ วุ รรณภมู ไิ ดร้ บั การผลกั ดนั
สะหวันนะเขตของลาว จากนั้นจะผ่านมายังสะพานมิตรภาพ 2 จากสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติให้เป็น
เพื่อข้ามแม่น้ำโขงที่จังหวัดมุกดาหาร โดยจะผ่านจังหวัดกาฬสินธุ์ ศูนย์กลางการขนส่งสินค้าทางอากาศของอาเซียน โดยมี
ขอนแกน่ เพชรบรู ณ์ พษิ ณโุ ลก ไปยงั จงั หวดั ตากกอ่ นเขา้ ไปยงั พมา่ เป้าหมายหลัก คือสามารถขยายปริมาณการขนส่งสินค้า
จนถงึ อา่ วเมาะตะมะ
ทางอากาศใหถ้ งึ 2 ลา้ นตนั ภายในปี 2558 จากการขยาย
ปรมิ าณการขนสง่ สนิ คา้ ผา่ นไทยไปยงั ประเทศเพอ่ื นบา้ นจาก
2. โครงการท่าเรือน้ำลึกทวายของพม่า (กำลังก่อสร้าง) 2.6 หมน่ื ตนั เปน็ 5 แสนตนั และทำรายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ 5 พนั ลา้ น
แม้ว่าจุดต้นทางของโครงการจะอยู่ในฝั่งพม่าแต่ไทยได้รับผล ถงึ 1 หมน่ื ลา้ นบาทตอ่ ปี

ประโยชน์จากเส้นทางการค้าที่เริ่มจากทางเข้าสู่มหาสมุทรอินเดีย
ยุโรปหรือตะวันออกกลาง ผ่านเข้ามายังประเทศไทย ซึ่งสามารถ การพฒั นาระบบการขนสง่ ในปจั จบุ นั ไดถ้ กู มงุ่ เนน้ เพอ่ื
ส่งต่อสินค้าผ่านไปยังลาวหรือกัมพชู าหรือท่าเรือดานังในเวียดนาม การขยายตลาดไปยังกลุ่มลูกค้าใหม่ดังเช่นกลุ่ม CLMV
ซึ่งเป็นเส้นทางไปสู่เอเชียตะวันออกซึ่งมีจีนและญี่ปุ่น สินค้าใน (กมั พชู า ลาว พมา่ และเวียดนาม) ท้งั นเ้ี น่อื งมาจากพบวา่
เสน้ ทางนท้ี ม่ี มี ลู คา่ สงู เชน่ นำ้ มนั หรอื กา๊ ซ
มีอัตราการขยายตัวของยอดการส่งออกในช่วง 10 ปีที่
ผ่านมา (ปี 2544-2554) ถึงร้อยละ 21 ในขณะที่ตลาด
3. ทา่ เรอื พาณชิ ยเ์ ชยี งแสน จงั หวดั เชยี งราย เปน็ ทา่ เรอื ท่ี อาเซียน ฝั่งตะวันออกที่เป็นลูกค้าเดิม เช่น สิงคโปร์
เชอ่ื มโยงกบั ประเทศกลมุ่ ลมุ่ แมน่ ำ้ โขงตอนบน ตามขอ้ ตกลงวา่ ดว้ ย มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี บรไู นและฟลิ ปิ ปนิ สม์ อี ตั ราการขยาย
ความร่วมมือเพื่อการเดินเรือพาณิชย์ในแม่น้ำล้านช้าง-แม่น้ำโขง ตวั ของการสง่ ออกประมาณรอ้ ยละ 13

ประกอบดว้ ย จนี พมา่ ลาว และไทย ทา่ เรอื นบ้ี รหิ ารงานโดยการ
ทา่ เรอื แห่งประเทศไทย ท่าเรือนเี้ ช่ือมโยงประเทศตา่ งๆ ผา่ นท่าเรือ ในการพัฒนาระบบคมนาคมนั้นจะต้องมีการวางแผน
กรงุ เทพ ทา่ เรือแหลมฉบงั และท่าเรอื ระนอง ส่วนท่าเรือเชียงแสน การจัดการโลจิสติกส์ควบคู่กันไปด้วย จากข้อกำหนดของ
2 ไดม้ กี ารดำเนนิ การกอ่ สรา้ งถนน 4 เลนเชอ่ื มเขา้ ทา่ เรอื เพอ่ื ชว่ ยให้ AEC นั้น ได้มีการระบุให้มีการเปิดเสรีในอุตสาหกรรม
ระบบการบรหิ ารจดั การขนสง่ มปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ
โลจิสติกส์ภายใต้กรอบความตกลงอาเซียน (ASEAN
Framework Agreement on Services) โดยจะมีการเปิด
4. ท่าเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี เป็นท่าเรือน้ำลึกใน อย่างเสรีในปี 2556 ธุรกิจที่สำคัญคือธุรกิจการให้บริการ
การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในเขตเศรษฐกิจแหลมฉบัง ขนสง่ ระหวา่ งประเทศผา่ นทางถนน ระบบราง ทางนำ้ และ
เปน็ ทางออกทางทะเลสปู่ ระเทศตา่ งๆ ทว่ั โลก ปจั จบุ นั กำลงั ดำเนนิ ทางอากาศ (International transport by road/rail/maritime/air
การก่อสร้างโครงการพัฒนาท่าเรือแหลมฉบังเฟส 3 (คาดการณ์ freight and courier service) สง่ิ ทผ่ี ปู้ ระกอบการตอ้ งใหค้ วาม
สน้ิ สดุ การกอ่ สรา้ งปี 2562) เพอ่ื ใหส้ ามารถแขง่ ขนั กบั โครงการทวาย สำคัญคือการใช้ประโยชน์จากการพัฒนาระบบคมนาคมที่
ของพม่าได้ รัฐบาลปัจจุบันได้มีการวางโครงการปรับแนวเส้นทาง เชื่อมโยงต่อกันถึงประเทศเพื่อนบ้าน โดยจะต้องพิจารณา
รถไฟความเร็วสูง สายนครราชสีมา-ท่าเรือแหลมฉบัง เพื่อขนส่ง รปู แบบและเส้นทางการขนส่งที่เหมาะสมกับประเภทสินค้า
สินค้าจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือและจากประเทศเพื่อนบ้าน มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น ระบบติดตามยาน
รวมทง้ั จนี มายงั ทา่ เรอื แหลมฉบงั โดยไมต่ อ้ งผา่ นกรงุ เทพฯ
พาหนะ (GPS) หรอื มกี ารจดั การการขนสง่ (Transportation
Management) ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ

ทางอากาศ
• ทมี่ าของขอ้ มลู

สำนกั งานนโยบายและแผนการขนสง่ และจราจร

ท่าอากาศยานนานาชาติของไทยมีหลายแห่งไม่ว่าจะเป็น สมาคมผรู้ บั จดั การขนสง่ สนิ คา้ ระหวา่ งประเทศ

ทด่ี อนเมอื ง สวุ รรณภมู ิ เชยี งใหม่ หาดใหญ่ เชยี งรายหรอื ภเู กต็ จาก กระทรวงคมนาคม

การเปิดเสรีด้านบริการภายใต้กรอบของ AEC จะมีส่วนสำคัญที่ การรถไฟแหง่ ประเทศไทย

ทำใหจ้ ำนวนการขนสง่ ทางอากาศและจำนวนเทย่ี วบนิ ในการตดิ ตอ่ การทา่ เรอื แหง่ ประเทศไทย

ธุรกิจหรือเพื่อการท่องเที่ยวจะเพิ่มขึ้น โดยพบว่ามูลค่าธุรกิจขนส่ง
ของไทยและการโดยสารทางอากาศในปี 2555 ขยายตวั เทยี บจากปี
2554 คิดเป็นร้อยละ 11.2 หรือคิดเป็นมูลค่า 126,500 ล้านบาท
สง่ิ สำคญั ทร่ี ฐั บาลตอ้ งใหค้ วามสำคญั คอื การสรา้ งเครอื ขา่ ยเชอ่ื มโยง
กับประเทศเพื่อนบ้านหรือประเทศในภูมิภาคเดียวกัน เพื่อให้
สายการบนิ ตา่ งชาตเิ ลอื กทจ่ี ะแวะยงั สนามบนิ ของไทย


8 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

SMEs Focus

เรอ่ื ง : นฤมล ชะนะคุ้ม


แตปลร่อะะกผเทาลศรกไเทขร้าะยทรในบ่วปตมร่อAะอชEาุตCคส
มาเหศกรรษรฐมกไิจทอยา
เซียน


บรรยาย: นายศริ ิรุจ จุลกะรตั น์

ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ


ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic
Community: AEC เป็นเป้าหมายของการรวมกลุ่มทาง
เศรษฐกิจของอาเซียน มีการเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี
การเคลื่อนย้ายบริการเสรี การเคลื่อนย้ายแรงงาน
ฝีมืออย่างเสรี การเคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี
การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น


อาเซียนจะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจ โดยจะมีตลาดและ
ฐานการผลิตร่วมกัน (Single Market and production base) และ
จะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานฝีมืออย่างเสรี


• ผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมในภาพรวม

ด้านบวก จะมีการขยายตลาดเพิ่มมากขึ้น วัตถุดิบสินค้าจะมี
ราคาถูกลง มีโอกาสการลงทุนเพิ่มมากขึ้น มีอำนาจในการต่อรอง
เพิ่มมากขึ้น แรงงานในสาขาที่ขาดแคลนก็จะมีเพิ่มขึ้น

ด้านลบ จะมีการแข่งขันที่สูงขึ้น การไหลเข้าของสินค้า
คุณภาพจะต่ำลง จะมีการย้ายฐานการผลิตเพิ่มมากขึ้น อาจเกิด
การไหลออกของแรงงานในสาขาที่ขาดแคลน

• ผลกระทบด้านสินคา้

ด้านบวก การแข่งขันสูงมากขึ้น เกิดทางเลือกให้กับผู้ซื้อ

ผู้บริโภค

ด้านลบ สินค้าไม่ได้มาตรฐานจากต่างประเทศ


9อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

• ผลกระทบด้านการลงทุน
• การพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศเริ่มมุ่งไปที่
ดา้ นบวก จะดงึ ดดู การลงทนุ จากตา่ งประเทศเพม่ิ มากขน้ึ
การส่งเสริมกิจกรรมต้นน้ำมากขึ้น

ด้านลบ อาจถูกแย่งการลงทุนจากต่างชาติไปประเทศ
ที่น่าสนใจ
• การเป็นฐานการผลิตรถยนต์และสิทธิประโยชน์
• ผลกระทบดา้ นการบริการ
ด้านภาษีจากการส่งเสริมการลงทุน ทำให้บริษัทรถยนต์
ด้านบวก จะทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรีและแก้ไขปัญหา และชิ้นส่วนทยอยตั้งหน่วยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใน
ขาดแคลนแรงงานฝีมือโดยเฉพาะภาคบริการที่เกี่ยวกับการ ประเทศไทยมากขึ้นเรื่อยๆ

ท่องเที่ยว อาทิ ร้านอาหารและโรงแรม ด้านบริการสุขภาพ
เช่น โรงพยาบาล บริการสปา
• ค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนาในอุตสาหกรรม
ด้านลบ คู่แข่งในอาเซียนจะเข้ามาเพิ่มขึ้นในสาขาที่มี ยานยนต์เพิ่มขึ้นจาก 293 ล้านบาทในปี 2548 มาเป็น
ข้อกังวล เช่น โลจิสติกส์ โทรคมนาคม สาขาที่ต้องใช้เงิน 507 ล้านบาทในปี 2550

ลงทุนและเทคโนโลยีสงู ธุรกิจสถาปนิกขนาดกลางและขนาดเล็ก




สงิ่ ทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ ใน AEC ตอ่ อุตสาหกรรมยานยนต


ผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมรายสาขา
• ผู้ประกอบการรายใหญ่ จะส่งออกยานยนต์เพิ่ม
มากขึ้น ชิ้นส่วนและวัตถุดิบที่ได้มีคุณภาพสูงขึ้น ส่งเสริม
อตุ สาหกรรมยานยนต์
ความสะดวกในการเป็นเครือข่ายการผลิตยานยนต์
แต่อย่างไรก็ตาม อาจสร้างผลกระทบในระยะยาวเพราะ
• อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์จะเติบโตและมีบทบาท อาจทำให้มีการขยายฐานการผลิตไปในประเทศอาเซียน
มากขึ้นในเครือข่ายการผลิตรถยนต์ของอาเซียน
รวมถึงการย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศในอาเซียน


• ผู้ผลิตส่วนใหญ่มีผลประกอบการดีขึ้นในช่วง 2545- • ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก จะมีการ
2549 แต่ความสามารถในการทำกำไรต่อรายได้ลดลง ขยายการผลิต การส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์ได้มากขึ้น
เนื่องจากต้นทุนการผลิตโดยเฉพาะเหล็กและแรงงานสูงขึ้น
แต่อย่างไรก็ตามผู้ประกอบการต้องปรับตัวให้เข้ากับ
เครือข่ายอาเซียนและผู้ผลิตที่มีศักยภาพในการแข่งขันต่ำ
• ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ไทยมีบทบาทมากขึ้นในการ อาจจะแข่งขันไม่ได้และต้องออกจากตลาดไป

ป้อนชิ้นส่วนยานยนต์ให้แก่อาเซียนในการผลิตรถยนต์ ขณะที่
ญี่ปุ่นมีบทบาทลดลง
แนวทางการรองรบั ผลกระทบ

• ในเชิงรุก จะมีการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน
• ในการซื้อกิจการ Ogihara Corp ของกลุ่มไทยซัมมิท สนับสนุนเครือข่ายทางธุรกิจและเครือข่ายการผลิตใน
สะท้อนว่า ผู้ผลิตชิ้นส่วนไทยต้องการยกระดับด้านเทคโนโลยี ภูมิภาคอาเซียน พัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดและ
และการผลิตของตนไปอีกขั้น
สนับสนุนการค้าชายแดน

• ในเชิงรับ สามารถปรับปรุงมาตรฐานการผลิต
• ไทยยังขาดเหล็กคุณภาพสูง ซึ่งเป็นวัตถุดิบต้นน้ำ และปรับปรุงกฎระเบียบและขั้นตอนต่างๆ เพื่อเพิ่ม
สำคัญในการผลิตรถยนต์
ประสิทธิภาพในการแข่งขัน


• อุตสาหกรรมยานยนต์เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่มี อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์

ความต้องการใช้เหล็กคุณภาพสูง โดยส่วนใหญ่นำเข้าจาก
ประเทศญี่ปุ่น
สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน AEC ต่ออุตสาหกรรมไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์

• ตัวอย่างผลิตภัณฑ์เหล็กที่ใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์
ซึ่งไทยและอาเซียนผลิตไม่ได้หรือได้น้อยมาก เช่น เหล็กแผ่น
รีดร้อนชนิดม้วนและเหล็กแผ่นเคลือบสังกะสีกัลป์วาไนซ์


10 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

• ด้านบวก จะมีโอกาสในการบุกตลาดอาเซียน
ในภูมิภาคอาเซียน มีการพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาด
• ด้านลบ จะต้องแข่งขันกับประเทศในอาเซียนโดย และสนับสนุนการค้าชายแดน

เฉพาะมาเลเซียและอาจต้องเผชิญกับการนำเข้าสินค้า
ราคาถกู ด้อยคุณภาพอีกด้วย
• ในเชิงรับ มีการปรับปรุงมาตรฐานการผลิต
แนวทางการรองรับผลกระทบ
และปรับปรุงกฎระเบียบและขั้นตอนต่างๆเพื่อเพิ่ม
• ในเชิงรุก จะมีการส่งเสริมการหาตลาดและ ประสทิ ธภิ าพในการแขง่ ขนั

การจับคู่ธุรกิจกับคู่ค้าในอาเซียน มีการสร้างเครือข่าย
พันธมิตรในไทยและต่างประเทศ มีการสร้างตราสินค้า อุตสาหกรรมยางและผลติ ภัณฑย์ าง

มีการยกระดับไปสู่ ODM/OBM และพัฒนาให้ไทยเป็น
ศนู ย์กลางผลิต
สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน ACE ต่ออุตสาหกรรมยางและ
• ในเชิงรับ มีมาตรการปกป้องผู้ผลิตในประเทศ ผลิตภัณฑ์ยาง

เพื่อลดการนำเข้าสินค้าด้อยคุณภาพ มีการรวมกลุ่มเป็น
คลัสเตอร์เพื่อพัฒนาทั้งห่วงโซ่อุปทานและแลกเปลี่ยน • ด้านบวก มีโอกาสในการบุกตลาดอาเซียนและ
องค์ความรู้และพัฒนาระบบโลจิสติกส์เพื่อรองรับการ โอกาสในการร่วมมือกันในอาเซียนเพื่อเป็นศูนย์กลางการ
ขนส่งระหว่างประเทศ
ผลิตยางของโลก


อุตสาหกรรมเกษตรแปรรปู
• ด้านลบ ต้องแข่งขันกับจีนและประเทศในอาเซียน
ด้วยกันโดยเฉพาะมาเลเซีย

สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน ACE ต่ออุตสาหกรรมเกษตร
แปรรปู
แนวทางการรองรบั ผลกระทบ

• ในเชิงรุก ได้ส่งเสริมการหาตลาดและจับคู่ธุรกิจ
• ด้านบวก จะเป็นประโยชน์ทางด้านการผลิต เช่น กับคู่ค้าอาเซียน ได้พัฒนาองค์ความรู้ฐานข้อมูลตลาด
แหล่งวัตถุดิบ แรงงานราคาถูกและได้ขยายตลาดใน ในอาเซียน อีกทั้งสร้างเครือข่ายพันธมิตรทั้งในและ
อาเซียน
ต่างประเทศและส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
การผลิต

• ด้านลบ ต้องแข่งขันกับประเทศในอาเซียนด้วย • ในเชิงรับ ได้รวมกลุ่มเป็นคลัสเตอร์เพื่อพัฒนา
กันโดยเฉพาะอินโดนีเซีย เวียดนาม มาเลเซียและ ทั้งสายโซ่อุปทานและยังส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์
ขาดแคลนวัตถุดิบภายในประเทศและราคาสูงกว่า เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มอีกทั้งสร้างตราสินค้าและพัฒนา
ประเทศเพื่อนบ้าน
ผลิตภัณฑ์ให้หลากหลาย


แนวทางการรองรบั ผลกระทบ
อตุ สาหกรรมพลาสติกและเม็ดพลาสติก

• ในเชิงรุก จะเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน
มีการสนับสนุนเครือข่ายทางธุรกิจและเครือข่ายการผลิต สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน AEC ต่ออุตสาหกรรมพลาสติก
และเม็ดพลาสติก


อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
11

• ในด้านบวก มีโอกาสในการบุกตลาดอาเซียนโดย

เฉพาะพลาสติกบรรจุภัณฑ์
ส่ิงท่ีจะเกิดข้ึนใน AEC ต่ออุตสาหกรรมอัญมณี
และเคร่อื งประดบั

• ในด้านลบ ต้องแข่งขันกับประเทศในอาเซียนด้วยกัน
โดยเฉพาะสิงคโปร์และมาเลเซีย และประเทศนอกอาเซียน • ในด้านบวก เป็นแหล่งผลิตพลอยสีของโลกที่สำคัญ
เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี
เคลื่อนย้ายการลงทุนไปยังประเทศอื่นในอาเซียนได้ง่ายขึ้นและ
ลดต้นทุนการผลิตได้ด้วยการเคลื่อนย้ายแรงงานอย่างเสรี

แนวทางการรองรับผลกระทบ

• ในเชิงรุก ได้ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา ได้ขยาย • ในด้านลบ ไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูงในทุก
ตลาดโดยเจาะกลุ่มเป้าหมายเฉพาะกลุ่ม ได้ส่งเสริมการจับคู่ ตลาดหลัก ยกเว้นอาเซียน มีสินค้าฟุ่มเฟือยการซื้อขึ้นกับ
ธุรกิจ พัฒนาฐานข้อมูลตลาดอาเซียนและพัฒนาประเทศ รายได้และภาวะเศรษฐกิจ มีวัตถุดิบที่จำกัดและแต่ละประเทศ
ไทยให้เป็นศูนย์กลางการผลิต
มีวัตถุดิบที่แตกต่างกันและการแข่งขันทางการค้ารุนแรง
• ในเชิงรับ ยกระดับการผลิตไปสู่ ODM/OBM มากขึ้น

สร้างเครือข่ายการผลิตทั้งในและต่างประเทศ รวมกลุ่มเป็น
คลัสเตอร์เพื่อพัฒนาทั้งสายโซ่อุปทานและสร้างตราสินค้า
สง่ิ ท่เี กดิ ขึ้นใน AEC ต่ออุตสาหกรรมน้ำตาล


อตุ สาหกรรมสิง่ ทอและเครอื่ งนงุ่ ห่ม
• ในด้านบวกมีความสามารถในการแข่งขันอยู่ในระดับสงู
กว่าประเทศอื่นโดยเปรียบเทียบในทุกตลาดหลัก ยกเว้นตลาด
สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน AEC ต่ออุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่อง สหรัฐฯ

นุ่งห่ม

• ในด้านลบมีปัญหาโครงสร้างเชิงระบบของไทย ผลิต
• ในด้านบวก มีโอกาสในการลงทุนต่างประเทศเพื่อลด ภาพน้ำตาลต่อไร่ ไทยเท่ากับ 10.2 ตันต่อไร่ ออสเตรเลีย
ต้นทุนค่าแรงในประเทศที่เพิ่มสูงขึ้น มีโอกาสในการใช้สิทธิ เทา่ กบั 13.4 ตนั ตอ่ ไร่ และ บราซลิ 12.5 ตนั ตอ่ ไร่ และแนวโนม้
GSP ใน CLMV เพื่อส่งออกไปยุโรป ได้มีโอกาสในการร่วมมือ การเติบโตของเครื่องดื่มที่ไม่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์และ
กันเพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าของโลก
ของหวานมีการขยายตัวดี


• ในด้านลบ ต้องแข่งขันกับประเทศในอาเซียนด้วยกัน แนวทางการรองรบั ผลกระทบ

โดยเฉพาะ อินโดนีเซีย มาเลเซีย เวียดนามและประเทศนอก • ในเชิงรุก สามารถเพิ่มผลผลิตอ้อยต่อไร่ ใช้เทคโนโลยี
อาเซียน เช่น จีน ไต้หวัน เกาหลี ฮ่องกง ญี่ปุ่น
ที่ทันสมัยเพื่อลดต้นทุน เพื่อส่งเสริมแผนการตลาดในอาเซียน
โดยมุ่งเน้นตลาดในอินโดนีเซีย เวียดนาม และฟิลิปปินส์

แนวทางการรับผลกระทบ
• ในเชิงรับ สามารถปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมอ้อยและ
• ในเชิงรุก ได้แสวงหาแหล่งวัตถุดิบคุณภาพดี ราคาถกู น้ำตาลทราย เพิ่มความสามารถในการแข่งขันเชิงกฎหมาย
จาก AEC ได้ย้ายฐานการผลิตไปในประเทศที่มีความได้ และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เผยแพร่ความรู้เรื่องแหล่งกำเนิด
เปรียบในการส่งออกและแรงงานราคาถูก ทำวิจัยด้านการ สินค้าและตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาทางด้านกฎหมายกฎระเบียบ
ตลาด สร้างตราสินค้า พัฒนาไปสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ที่เกี่ยวข้องอีกด้วย

ทำวิจัยและพัฒนารายผลิตภัณฑ์

• ในเชิงรับ ได้รักษาตลาดเดิมและเจาะตลาดใหม่ที่มี ท่ีมา

แนวโน้มที่ดี เช่น สเปน ตุรกี มีการเชื่อมโยงกับประเทศใน งานสัมมนาให้ความรู้เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

อาเซียนในการแบ่งผลิตตามความถนัดในห่วงโซ่อุปทาน รวม วันที่ 6-8 มี.ค. 2556 ณ โรงแรม มิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ

กลุ่มเป็นคลัสเตอร์ สนับสนุนการเข้าถึงแหล่งทุน
จัดโดย กระทรวงอุตสาหกรรม



สง่ิ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ใน AEC ตอ่ อตุ สาหกรรมเคมภี ณั ฑ์


• ในด้านบวก มีโอกาสในการนำเข้าปุ๋ยเคมีราคาถกู จาก
มาเลเซียสำหรับผลิตผลทางการเกษตรและมีโอกาสในการ
นำเข้าสารตั้งต้นคุณภาพดีราคาถูกสำหรับอุตสาหกรรม
ต่อเนื่องอื่นๆ


• ในด้านลบ ต้องแข่งขันกับประเทศในอาเซียนด้วยกัน
โดยเฉพาะมาเลเซีย สิงคโปร์ และประเทศนอกอาเซียน เช่น
จีน ญี่ปุ่น สหรัฐฯ


12 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

Market & Trend

เรอ่ื ง : นฤมล ชะนะคุ้ม


อตุ สาหกรรมไทยหลงั ปี 2558


ชโ้ี อกาสและความท้าทาย


ถึงเวลานี้ ปี 2556 เหลืออีกไม่ถงึ 2 ปี ตอ้ งเรยี กว่า นับถอยหลงั เข้าไปทุกขณะกบั การกา้ วสกู่ ารค้าและ
การลงทุนภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรอื AEC ท่จี ะเกดิ ขึ้นในปี 2558 ดว้ ยการรวมตวั กนั ของ
10 ประเทศ ในภมู ิภาคอาเซยี นได้แก่ ไทย พม่า สงิ คโปร์ ลาว กัมพูชา เวยี ดนาม มาเลเซยี อินโดนีเซีย
บรไู น และฟิลปิ ปนิ ส์ ซง่ึ รวมกันแล้วจะมปี ระชากรมากกวา่ 600 ล้านคน


รนอางยปเรจะนธานนสำภชายัอตุศสริ าิ
หกรรมแหง่ ประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะก่อให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจ
แบบใหม่ (New Growth) การค้าและการลงทุนจะเสรีอย่างมาก

แต่ในขณะเดียวกันเมื่อมีการเปิดตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนแล้ว

ทุกอย่างจะอยู่บนพื้นฐานของการแข่งขัน โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม
ที่จะเป็นตัวขบั เคลอ่ื นหลกั และชช้ี ะตาอนาคตประเทศวา่ ‘ขน้ึ หรอื ลง’


ในงานสัมมนาให้ความรู้เพื่อเตรียมความพร้อม สู่ประชาคม
อาเซียน เมื่อวันที่ 6-8 มีนาคม 2556 ณ โรงแรม มิราเคิล แกรนด์ คอน
เวนชั่น กรุงเทพฯ ซึ่งกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นโต้โผจัดขึ้น เวทีนี้ยัง
คงรวบรวมวิทยากรผู้มากความรู้และประสบการณ์ในด้านอุตสาหกรรม
โดยเฉพาะการเสวนาหัวข้อ ‘โฉมหน้าอุตสาหกรรมไทยหลังปี 2558
โอกาสและความท้าทาย’ ที่ได้ผู้ทรงคุณวุฒิมาร่วม แลกเปลี่ยนมุมมอง
ถึง 3 ท่าน ได้แก่


นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
การท่องเที่ยวและกีฬา


นายเจน นำชยั ศริ ิ รองประธานสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย
นายอภยั ชนม์ วัชรสนิ ธ์ุ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัทเครือเจริญ
โภคภัณฑ์ ดำเนินรายการโดย ดร.สมชาย หาญหริ ัญ หัวหน้าผู้ตรวจ
ราชการกระทรวงอุตสาหกรรม


อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
13

• วันนี้ AEC เป็นอยา่ งไร เดนิ ไปถึงไหนแล้ว
นายวีระศักดิ์ โควสรุ ตั น์

นายวีระศักด์ิ โควสุรัตน์ - เรื่อง AEC เข้าใจว่า 3 ปี
ที่ผ่านมานี้ทุกคนเคยได้ยินมามากพอสมควรและไม่มีใครที่ หลังจากนั้น พอเติบโตขึ้นเรื่อยๆ นโยบายก็เริ่มเปลี่ยน
ไม่มีโอกาสได้ฟังการสัมมนาเรื่องนี้ ถ้าถามว่า AEC ที่เริ่มขึ้น ไปการแข่งขันมันก็เริ่มมากขึ้น เราผลิตเองเราก็มีความรู้สึกว่า
ในวันที่ 1 มกราคม 2559 จะมีอะไรเปลี่ยนแปลงหรือไม่ คนเราก็มี ความรู้เราก็มี สร้างคนขึ้นมาให้มีความรู้ทาง
ขออนุมานว่าในอาเซียนจะไม่ค่อยมีอะไรเปลี่ยนมาก แต่ใน ด้านช่าง ด้านของฝีมือแรงงานต่างๆ เราก็คิดว่าเราสามารถ
โลกมันจะเปลี่ยนไปเยอะ พอถึงเวลานั้น 2-3 อย่างที่กำลังจะ แข่งขันกับประเทศอื่นได้ สินค้าของเราก็เริ่มเจาะตลาดไปใน
เกิดขึ้นและกำลังจะเปลี่ยนแปลงโดยที่ไม่ต้องสนใจเลยว่าเป็น ต่างประเทศมากขึ้น เราเริ่มผลิตเพื่อการส่งออก เศรษฐกิจ
สมาชิกอาเซียนหรือไม่ อย่างแรกก็คือการเซลงไปของสหภาพ ของเราก็เริ่มไปผูกกับเศรษฐกิจโลก ไปผูกกับประเทศที่เรา
ยุโรปจะส่งผลแรงขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งถึงเวลานั้นแล้วทั่วโลก ส่งสินค้าไปให้ ซึ่งหลักๆเลยความต้องการแต่ต้นก็คือ
จะได้รับผลกระทบนั้นอย่างแท้จริง อย่างที่สองก็คือสหรัฐฯ สหรัฐอเมริกา เพราะเราต้องส่งสินค้าไปประเทศนี้ค่อนข้าง
จะไม่ค่อยหันกลับมาดูหัวแม่เท้าตัวเองมากขึ้น มองจุดยืน เยอะ กับยุโรปก็เยอะ สองตลาดนี้ถือเป็นตลาดหลักของเรา
ตัวเองมากขึ้น แล้วก็จะรู้ว่าผลประโยชน์ของตัวนั้นมีอยู่ 2 ที่ ในเบื้องต้นที่ทำสินค้าส่งออกด้านอุตสาหกรรม

เมอ่ื กอ่ นสหรฐั ฯเคยเขา้ ใจมาโดยตลอดนบั รอ้ ยปวี า่ ผลประโยชน์
ของตัวนั้นอยู่กับยุโรป แต่ในช่วง 5-8 ปีที่ผ่านมาสหรัฐฯค่อยๆ หลังจากนั้นอุตสาหกรรมไทยก็ขยายตัว และเริ่มมีปัจจัย
มองเห็นตัวเองมากขึ้นว่า ผลประโยชน์ของตัวเองที่แท้จริงนั้น อื่นเข้ามาเช่น สินค้ามีความหลากหลายมากขึ้นไม่ว่าจะเป็น
อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก และที่จะมองเห็นตัวเองชัดขึ้นอีกก็คือ เครื่องจักร หัตถกรรม สินค้าไอที เป็นต้น ระยะหลังมาก็จะ
การหันกลับมาปฏิรูปตัวเองครั้งใหญ่เพราะจะเป็นโอกาส เป็นของอุตสาหกรรมยานยนต์ ซึ่งก็จะเห็นว่าเป็นการลงทุน
สำคัญที่จะเปลี่ยนเป็นประเทศที่ก้าวหน้าด้วยน้ำมันดีเซลกับ ของต่างชาติที่เข้ามาในไทย เนื่องจากเขาก็ยังมองเห็นโอกาส
น้ำมันเบนซิน ทั้งสองสิ่งนี้ขับเคลื่อนสหรัฐฯ มาโดยตลอดกว่า มองเห็นว่าเรายังมีแรงงาน มีปัจจัยการผลิตที่ดี สำหรับ
100 ปีที่ผ่านมา
อุตสาหกรรมอาหาร ก็เติบโตได้ดีเพราะว่าเราก็มีวัตถุดิบ
มีกระบวนการที่เกิดอุตสาหกรรมอาหารขึ้นมาได้ ซึ่งสาเหตุ
• ถ้าเรามองในเชิงธุรกิจคิดว่าการเปิด AEC ภาค ที่เรามีอุตสาหกรรมหลากหลายดังปัจจุบัน เนื่องจากว่าเรามี
อุตสาหกรรมมีความพรอ้ มมากนอ้ ยเพยี งใด
การผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้าและก็มีการผลิตเพื่อการ
ส่งออก เมื่อก่อนนี้เรื่องของกำแพงกั้นพอเราผลิตเรื่อง
นายเจน นำชัยศิริ - ขอย้อนมาว่าอุตสาหกรรมไทย การส่งออกเราก็ไม่อยากให้สินค้าจากต่างประเทศเข้ามา
เกิดขึ้นมาได้ยังไง อุตสาหกรรมไทยก็เหมือนกับหลายๆ แข่งขันง่ายๆ เราก็มีการตั้งกำแพงภาษีเพื่อที่จะปกป้อง
ประเทศเกิดขึ้นมาเนื่องจากว่าเราต้องการทดแทนการนำเข้า อุตสาหกรรมภายในประเทศ อันนี้เป็นเรื่องธรรมดา
เพราะว่าพอสังคมโตขึ้นประเทศโตขึ้นความต้องการในเรื่อง ทุกประเทศก็ทำเหมือนกัน เป็นที่ทราบกันดีว่าอุตสาหกรรมใน
ของสินค้าในการอุปโภคบริโภคต่างๆมันเพิ่มขึ้น เราจะซื้อเขา อาเซียนส่วนใหญ่ก็เกิดขึ้นด้วยลักษณะที่คล้ายๆกันก็คือ
ต่อไปหรือว่าเราน่าจะเปลี่ยนได้มันก็มีความรู้สึกว่าเราก็น่า ทดแทนการนำเข้าและก็มีการปกป้อง แล้วจะเห็นได้ว่าพอเริ่ม
จะผลิตเองได้ เพราะว่าเรื่องเทคโนโลยีเครื่องจักรต่างๆมันเกิด
ขึ้นมันก็มีอยู่ทั่วไปเราก็สามารถที่จะซื้อหามาได้ ที่สำคัญก็คือ
ปัจจัยการผลิตสำหรับอุตสาหกรรม เป็นที่ทราบกันดีคือ 4M
หลักเลยก็คือ Money เรื่องเงินในการลงทุนต่างๆ ถ้ามันมีผล
ตอบแทนเงินมาเอง แต่ปัจจัยที่เป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ
ก็คือเรื่องของ Manpower แรงงาน เรามีแรงงานอยู่ เทคโนโลยี
เราก็มีอยู่ เรามีแรงงานเรามีทุนพอหาได้ ตลาด (Market) ก็พอ
ไปได้มีตลาดที่ดี ตอนที่เราเริ่มต้นทั้ง 20 ล้านคนมันก็เกิดขึ้นใน
ประเทศไทย เงินทดแทนการนำเข้า สินค้าอะไรที่เป็นสินค้า
พื้นฐานก็เกิดขึ้นในอุตสาหกรรม ที่เริ่มเกิดขึ้นก็จะเป็น
อุตสาหกรรมอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ซึ่งก็เห็นชัดเจนว่ามันเป็น
เรื่องของปัจจัยสี่


14 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

มีการส่งออกก็จะเริ่มมีการแข่งขันกัน ก็คงจะปฏิเสธไม่ได้ ในเรื่องของโอกาสและความท้าทาย ก่อนจะมองไป
ว่าอุตสาหกรรมของเราในอาเซียนส่วนใหญ่จะมีลักษณะ ในอนาคตผมอยากจะขออนุญาตท่านนักอุตสาหกรรมกรุณา
แขง่ ขนั กนั ซง่ึ การแขง่ ขนั กนั มนั กเ็ ปน็ พน้ื ฐานของอุตสาหกรรม มองกันอีกว่าเราจะเป็นนักยิงธนู มีนก 3 ตัว แล้วดึงสายไป
อาเซียนมาเป็นเวลานานแล้ว
ข้างหลังต้องศึกษาประวัติศาสตร์ ผมเอาด้วยนะครับว่า
เพราะเราจะเปลี่ยนจากสมาชิก 60 กว่าล้าน เป็น 600 ล้าน
พอเข้าสู่ประชาคมอาเซียนแล้ว จริงๆแล้วมันเกิดขึ้นหลัง ในวันที่ 1 มกราคม 2559 เราผ่านพ้นเหตุการณ์ที่ยิ่งใหญ่
จากที่ลดภาษีแล้ว ไม่ได้อยู่ภายใต้ AEC ไม่เกี่ยวกัน ของมนุษยชาติเมื่อประมาณ 70 ปีก็คือสงครามโลกครั้งที่ 2
แต่แน่นอนประเทศอาเซียนที่เข้ามาร่วมกันภายหลังที่เขามี วันนี้ก็รู้สึกเสียใจอยู่ว่า เอ๊ะ... เราทำผิดกันตรงไหน คิดกัน
กำแพงภาษีอยู่ ในกรอบของอาเซียนก็จะทำให้ประเทศต่างๆ ไม่ครบตรงไหนมั้ย เพราะว่าอยู่ๆเราปล่อยให้คนของเรา
ลดภาษีตามกันมา ซึ่งเป็นเรื่องที่เราต้องทำความเข้าใจ ยากจนกว่าครึ่งประเทศ แล้วเราจะปล่อยให้คนยากจนได้ยัง
คำถามก็คือว่า ในวันที่ 1 มกราคม 2559 จะเห็นภาพอะไร ไงกว่าครึ่งประเทศ ถ้าไม่ไปเปรียบเทียบกับญี่ปุ่นและเกาหลี
บ้าง ก็บอกได้ว่าเราเห็นภาพของห้องนอนของเราเหมือนเดิม แต่จะเปรียบเทียบแค่เกาะ 3 เกาะที่อยู่ข้างๆประเทศไทย
เราก็คงไม่ได้ย้ายไปนอนประเทศอื่น เราก็ยังทำมาหากินกัน ก็คือเกาะไต้หวัน ฮ่องกง และสิงคโปร์ ในเกาะนี้ถือว่า
อยู่ประเทศเดิม สินค้าก็ยังเหมือนเดิม ลูกค้าก็ยังเป็นลูกค้า การงานเขาโอเค เรามี 1 บาท เขามี 20 บาท คือเขามี
รายเดิมๆอยู่ ถามว่าสิ่งที่จะเกิดขึ้นจะส่งผลกระทบต่อ ทรัพยากรอะไรใน 3 เกาะทำไมเขาดีกว่าเรา ผมมองตรงนี้
อะไรบ้าง เราอาจจะมองว่าอุตสาหกรรมของเราต้อง เป็นโอกาสไม่ได้มองว่าจะตำหนิใคร อยู่ๆ 70 ปี เราปล่อยให้
มีพันธมิตรมากขึ้น เพราะว่าตอนนี้เราพูดถึงอาเซียนที่มีคน คนของเราจนอยู่ 2-3 รุ่น แล้วถามว่าไทยกับ 3 เกาะเพื่อน
600 ล้านคน ไม่ได้พดู ถึงประเทศไทยอย่างเดียว ต้องกลับมา บ้านเขามีอะไรดีกว่าเรา คำตอบคือไม่มี ทรัพยากรธรรมชาติ
มองว่าเราต้องทำสินค้าเพื่อมาขายคน 600 ล้านคน เราจะ ก็ไม่มีเลย แต่เพียงเขาถกู ฝรั่งเคยครอบครองเลยเป็นประเทศ
ต้องปรับตัวยังไง ตรงนี้มันเป็นสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นแล้วเรา เมืองท่า ฉะนั้น 100 บาทที่หลวงเขามี 50 บาท เขาเอาไปทำ
ควรต้องให้ความสำคัญ
ด้านท่าเรืออะไรต่างๆ ส่วนอีก 50 บาท เขาเอามาเตรียม
ประชาชน ฉะนั้นโอกาสความท้าทายคือทำอย่างไรให้
ส่วนเรื่องของการเตรียมความพร้อมมันต้องขึ้นอยู่กับ ประเทศของเราเตรียมประชาชน การเตรียมประชาชนพอเขา
จิตใจมากกว่า ถ้าเรามีใจที่พร้อมเราก็จะทำทุกอย่างขึ้นมาได้ บอกว่า ถ้าเขาจะเป็นประเทศเมืองท่า ทางเดียวก็คือคนของ
แต่ถ้าใจยังไม่พร้อมเราก็ไม่ขยับตัว ตรงนี้เป็นสิ่งที่เราสร้างให้ เขาต้องรู้จักพาณิชยกรรม คือ ค้าขายอย่างถูกต้องทำตาม
เกิดความสนใจ สร้างให้เกิดการเห็นโอกาสที่มันจะเกิดขึ้น
กฎหมายและก็เสียภาษี ทำให้ GDP ของประเทศโต แค่นั้น
เองครับ

• โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยท่ีจะไป
อาเซยี น
ทั้งหมดนี้คือข้อมูลสั้นๆ ในบางมุมจากผู้เชี่ยวชาญและ
ผู้ประกอบการ ทว่าในหลายประเด็นที่ได้พูดคุยกันถือเป็น
นายอภยั ชนม์ วชั รสนิ ธ์ุ – ผมในฐานะของพ่อค้าขายไก่ ข้อมูลเจาะลึกจากประสบการณ์จริงที่น้อยคนจะได้รับทราบ
(ยิ้มกว้าง) ตอนนี้เหลือแค่เฉพาะที่ ‘บรูไน’ ที่ไม่ได้ไปขาย และอย่างที่วิทยากรทุกท่านได้เน้นย้ำ วันนี้ AEC กับ
เพราะว่าทางห้างของบรูไนกลางวันไม่ค่อยมีคนเดินและ ผู้ประกอบการไทย ไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป การเตรียม
ประชากรเขาก็น้อย ฉะนั้นก็ไม่รู้จะไปขายอะไรที่บรูไน ความพร้อมจะต้องลงมือ... เดี๋ยวนี้เลย

นอกนั้นในประเทศเพื่อนบ้านทั้งหมดเราก็เอาผลิตภัณฑ์
เข้าไปขายอยู่แล้ว เราก็เอาสิ่งที่เจริญโภคภัณฑ์ทำเริ่มต้นก็คือ

ประเทศเวียดนามเมื่อ 20 กว่าปีก่อน ก็เอาเทคโนโลยี 4

เดือนได้เงินให้กับชาวบ้านเขาทำ ก็คือเอาข้าวโพดไปให้เขา • ที่มา:

ปลกู พอเขาปลกู ข้าวโพดได้ เราก็ไปรับซื้อข้าวโพดมาทำเป็น งานสัมมนาให้ความรู้เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

อาหารไก่และก็ยังส่งเสริมอีกกลุ่มหนึ่งก็คือเลี้ยงไก่ แล้วก็มีไก่ วันที่ 6-8 มี.ค. 2556 ณ โรงแรม มิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น

ให้ผู้บริโภคได้ทำกิน หลังจากนั้นพอมีไก่มากขึ้น ดัชนี กรุงเทพฯ

ผู้บริโภคก็สูงขึ้นตามค่าราคาน้ำมัน แต่ไก่ราคามันอยู่กับที่ จัดโดย กระทรวงอุตสาหกรรม

ราคาเลยถกู ลงเหมือนกับ 40-50 ปีที่แล้ว นี่ก็คือเรื่องที่ไปที่มา
ซึ่งในกัมพูชา ลาว และพม่า เราก็เข้าไปในลักษณะนี้
อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
15
เหมือนกัน

SMEs Talk

เรอ่ื ง : นฤมล ชะนะคมุ้

มมุ มองและการเตรียมความพร้อม

ของประเทศตา่ งๆในอาเซียน


บรรยาย: รศ.ดร.สมภพ มานะรงั สรรค์ อธกิ ารบดสี ถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์


ประเทศไทยกำลงั เขา้ เปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นหรอื AEC ในปี 2558 หรอื ในอกี
2 ปขี า้ งหนา้ แตด่ เู หมอื นวา่ บรรยากาศความตน่ื ตวั ในสงั คมไทยเกย่ี วกบั AEC ยงั มอี ยู่
นอ้ ยมาก การพยายามทำความเข้าใจถึงผลกระทบของ AEC และการเตรียมความ
พร้อมรับมือกับการเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ AEC ยังจำกัดอยู่เฉพาะผู้ประกอบการ
เพยี งบางกลมุ่


จดุ แขง็ ของประเทศไทย 


เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศสมาชิกอื่นของ AEC ผมเห็นว่า ประเทศไทยมีความได้เปรียบในหลายประเด็น
ซึ่งจุดแข็งเหล่านี้ทำให้ไทยมีศักยภาพสูงในการเป็นศนู ย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุนของ AEC


1) ท่ีตงั้ ทางภมู ิศาสตร์ 

ประเทศไทยตั้งอยู่ศูนย์กลางของภูมิภาคและมีพรมแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้านมากที่สุดในภูมิภาค
นอกจากนี้ที่ตั้งของประเทศไทยยังมีความเสี่ยงภัยธรรมชาติค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับเพื่อนบ้านหลายประเทศ
แม้ปีที่ผ่านมาไทยต้องเผชิญวิกฤตน้ำท่วมใหญ่ แต่เป็นภัยพิบัติที่สามารถพยากรณ์ล่วงหน้าได้และสามารถ
เตรียมการป้องกันได้


16 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

2) ระดบั การพฒั นาประเทศ 
อรศธกิ.ดารรบ.สดมสี ภถพาบมนั ากนาระจรดั งั กสารรรปคญั ์
ญาภวิ ฒั น์

ประเทศไทยมีระดับการพัฒนาประเทศสูงกว่า
ประเทศส่วนใหญ่ในอาเซียน ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับ 4) ความสมั พันธ์ทางเศรษฐกิจกับอาเซยี น

การศึกษาขั้นพื้นฐาน แรงงานมีฝีมือและบุคลากรระดับสูง ไทยมีมูลค่าการส่งออกและนำเข้ากับอาเซียน 7.5
มีจำนวนมากพอสมควร ประเทศไทยยังมีระบบ หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 หรือร้อยละ 15 ของ
สาธารณสุขที่มีคุณภาพและทั่วถึง โครงสร้างพื้นฐานได้รับ มูลค่าการค้าภายในอาเซียนทั้งหมด นับเป็นอันดับ 3
การพัฒนาค่อนข้างมากโดยเฉพาะถนน ขณะที่สถาบัน รองจากสิงคโปร์และมาเลเซีย นอกจากนี้ไทยยังเกิน
กฎระเบียบ สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ มีการพัฒนา ดุลการค้าต่ออาเซียน 1.36 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ เป็น
มากพอสมควร นอกจากนี้เงินบาทได้รับการยอมรับจาก อันดับ 2 รองจากสิงคโปร์ และเป็นเพียง 1 ใน 3
ประเทศเพื่อนบ้าน ทำให้การค้าชายแดนสามารถซื้อขาย ประเทศที่มีดุลการค้าเกินดุลต่ออาเซียน ซึ่งสะท้อนว่า
เป็นเงินบาทได้
ไทยน่าจะรับประโยชน์จาก AEC โดยเฉพาะในแง่การ
3) ขนาดของประเทศและตลาด 
ขยายการส่งออกไปยังอาเซียน

เศรษฐกิจไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจาก 5) ความเชอื่ มโยงกับเศรษฐกิจโลก 

อินโดนีเซีย ไทยยังมีประชากรจำนวนมาก ใกล้เคียงกับ เศรษฐกิจไทยมีความเชื่อมโยงด้านการค้าและ
จำนวนประชากรของประเทศพม่า และเวียดนาม แต่คน การลงทุนกับต่างประเทศสูงมาก ระดับการเปิดประเทศ
ไทยมีระดับรายได้และมีกำลังซื้อสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน Degree of Openness ของไทยสงู ถึงร้อยละ 129 ของจีดี
นอกจากนี้ไทยมีพื้นที่เพียงพอสำหรับการพัฒนาและ พีในปี 2548 การขยายตัวของเศรษฐกิจไทยพึ่งพาการ
รองรับการลงทุนในภาคการผลิต แตกต่างจากสิงคโปร์ที่มี ลงทุนจากต่างประเทศมาโดยตลอด ไทยจึงมีความพร้อม
พื้นที่จำกัด
และประสบการณ์ในการทำการค้าและดึงดูดนักลงทุน
ต่างประเทศมากกว่าประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ
ซึ่งหมายความว่า การเข้าเป็น AEC จะทำให้ประเทศไทย
มีโอกาสได้รับประโยชน์จากการค้าและการลงทุนจาก
ประเทศนอกกลุ่ม AEC มากกว่าประเทศสมาชิก AEC
ส่วนใหญ่




อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
17

จุดออ่ นของประเทศไทย
มากขึ้น เช่น อินโดนีเซีย เมียนมาร์ เป็นต้น นอกจากนี้
ประเทศไทยยังมีสัดส่วนต้นทุนด้านพลังงานและต้นทุนด้าน
ในการเข้าเป็นสมาชิก AEC มีอยู่หลายประเด็นเช่นกัน การขนส่ง และ โลจิสติกส์สงู มาก ในภาวะที่ราคาน้ำมันโลกมี
ซึ่งปัจจัยเหล่านี้อาจทำให้ประเทศไทยไม่ได้รับประโยชน์อย่าง แนวโน้มสูงขึ้น ไทยจึงมีแนวโน้มสูญเสียความน่าสนใจในการ
เต็มที่หรืออาจทำให้เราเสียโอกาสหรือได้รับผลกระทบจาก เข้ามาลงทุนมากขึ้นเรื่อยๆ

AEC มากขึ้น

5) ปัญหาทางการเมืองและการบริหาร  การพัฒนาของ
1) การขาดความเขา้ ใจและขาดความตระหนกั  
เศรษฐกิจไทยไปอย่างเชื่องช้าและต้องหยุดชะงักเป็นระยะๆ
ผลการสำรวจของหลายสถาบัน พบว่าสังคมไทย เนื่องจากมีอุปสรรคจากปัญหาทางการเมืองและการบริหาร
ยังขาดความตื่นตัวเกี่ยวกับการเป็น AEC ประชาชนและ เช่น ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง ทั้งการปฏิวัติและการ
ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ยังขาดความตระหนักถึงความสำคัญ ชุมนุมประท้วง ปัญหาการทุจริตคของนักการเมืองและ
ผลกระทบ และความจำเป็นในการเตรียมความพร้อม ยกเว้น เจ้าหน้าที่รัฐซึ่งทำให้ภาคธุรกิจมีต้นทุนแฝงสูงมาก ตลอดจน
ผู้ประกอบการขนาดใหญ่หรือหน่วยงานที่ทำธุรกิจกับต่าง ปัญหาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของหน่วยงาน
ประเทศอยู่แล้ว การขาดความเข้าใจและความตระหนักอาจ ภาครัฐ เป็นต้น

สร้างปัญหาให้กับผู้ประกอบการไทย ทำให้ขาดความรู้ความ
เข้าใจในการใช้ประโยชน์จาก AEC ทำให้เสียโอกาสหรือ จากการวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนของประเทศไทย
พลาดโอกาสที่กำลังจะเปิดออก และทำให้ขาดการเตรียม เมื่อต้องเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ AEC คำถามคือ ประเทศไทยได้
ความพร้อมและไม่สามารถปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบจาก เตรียมการรับมือกับการเข้าเป็น AEC แล้วหรือไม่ คำตอบคือ
AEC ได้ทันเวลา
ดูเหมือนว่าประเทศไทยยังไม่มียุทธศาสตร์ของประเทศในเวที
2) การไม่รู้จักเพอ่ื นบ้าน 
อาเซียนไว้ชัดเจนนัก ทิศทางในอนาคตจึงเป็นไปตามแรงผลัก
นอกจากคนไทยจะไม่เก่งในการใช้ภาษาอังกฤษซึ่งเป็น ของสถานการณ์ แต่ไม่ได้เกิดจากการวางแผนหรือเตรียมการ
ภาษาสากลแล้ว คนไทยยังมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ ล่วงหน้า ขณะที่มาตรการเตรียมความพร้อมเข้าสู่การเป็น
เพื่อนบ้านน้อยมาก ระบบการศึกษาของไทยขาดทางเลือกใน AEC ไม่เห็นเป็นรูปธรรม สถานการณ์เช่นนี้จึงน่าเป็นห่วง
การเรียนรู้ ภาษา วัฒนธรรม เศรษฐกิจเกี่ยวกับประเทศ สำหรับประเทศไทย

เพื่อนบ้าน ขณะที่สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ไม่เอื้อต่อการ • ที่มา:

ติดต่อค้าขาย ลงทุน หรือท่องเที่ยวกับประเทศเพื่อนบ้าน
งานสัมมนาให้ความรู้เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

3) ความไม่สะดวกบางด้านในการดำเนนิ ธรุ กิจ 
วันที่ 6-8 มี.ค. 2556 ณ โรงแรม มิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น

แมว้ า่ จากการจดั อนั ดบั Doing Business ของธนาคารโลก กรุงเทพฯ

ประเทศไทยอยใู่ นอนั ดบั ท่ี 17 จาก 183 ประเทศ (สิงค์โปรอยู่ จัดโดย กระทรวงอุตสาหกรรม

อันดับ 1 และมาเลเซียอันดับ 18) แต่หากพิจารณาดัชนี
บางด้านพบว่ายังเป็นอุปสรรคในการทำธุรกิจ ได้แก่

“การเริ่มต้นธุรกิจ” ธุรกิจที่เข้ามาลงทุนหรือทำธุรกิจใน
ไทย ต้องติดต่อกับหน่วยงานราชการจำนวนมาก มีขั้นตอน
หลายขั้นตอน และใช้เวลามากในแต่ละขั้นตอน

“การขอสินเชื่อ” ผู้ประกอบการมีข้อจำกัดในการเข้าถึง
สินเชื่อ โดยเฉพาะรายย่อย และต้นทุนทางการเงินของไทย
ยังค่อนข้างสูง เพราะธุรกิจสถาบันการเงินของไทยยังมี
ลักษณะผกู ขาดในระดับหนึ่ง

“การจัดเก็บภาษี” อัตราภาษีนิติบุคคลของไทยอยู่ที่
ร้อยละ 30 สูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน อย่างไรก็ตามหาก
รัฐบาลมีนโยบายลดภาษีนิติบุคคลน่าจะเป็นผลดีในการ
ดึงดูดการลงทุน

4) ต้นทุนการทำธุรกิจที่สูงขึ้น  โดยเฉพาะอัตราค่าจ้าง
แรงงานในประเทศไทยที่สูงขึ้น ขณะที่นักลงทุนในโลกกำลัง
มองหาแหล่งลงทุนแหล่งใหม่ที่มีต้นทุนแรงงานต่ำกว่าจีน
การลงทุนในโลกจึงมีแนวโน้มไหลเข้าไปยังเศรษฐกิจเกิดใหม่

18 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

SMEs Focus

เรอ่ื ง : นชุ เนตร จกั รกลม


ร้เู ขา รู้เรา


กับเศรษฐกิจของประเทศเพ่ือนบ้านในอาเซียน


บรรยาย: ดร.ชลจติ วรวงั โส วรี กลุ สถาบนั วจิ ยั นโยบายเศรษฐกจิ การคลงั


เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจเอเชีย เศรษฐกิจ เศรษฐกิจโลก หรือเศรษฐกิจมหภาค (ดอกเบี้ย อัตรา
ประเทศเพอ่ื นบา้ น และเศรษฐกจิ ไทย มคี วามสำคญั แลกเปลี่ยน เงินเฟ้อ ดุลการคลัง) ก็เปรียบเสมือนดวงอาทิตย์
และเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกันอย่างไร?
เราไม่สามารถควบคุมได้ ซึ่งหากเปรียบเทียบกับเศรษฐกิจของ
ไทยที่เป็นต้นไม้แล้ว ตัวควบคุมที่จะส่งผลให้ไทยเกิดระบบ
เศรษฐกิจที่กำลังพอดี ก็คือ เศรษฐกิจมหภาพของไทย นั่นคือ
ธนาคารแห่งประเทศไทย และ กระทรวงการคลัง ซึ่งระบบ
เศรษฐกิจนั้นเป็นการเชื่อมโยงส่วนต่างๆให้มีชีวิตร่วมกัน
เอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน ไม่สามารถมองและแก้ปัญหา
แยกส่วนได้


ซึ่งตัวชี้วัดถึงมาตรฐานการครองชีพของประชากรใน
ประเทศนั้นๆ ที่รู้จักกันดีก็ คือ จีดีพี หรือ ผลิตภัณฑ์มวลรวม
ในประเทศ หรือ ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (Gross
Domestic product : GDP) หมายถึง มูลค่าตลาดของสินค้า
และบริการขั้นสุดท้ายที่ถูกผลิตในประเทศในช่วงเวลาหนึ่งๆ
โดยไม่คำนึงว่าผลผลิตนั้นจะผลิตขึ้นมาด้วยทรัพยากรของ
ชาติใด ซึ่งการเติบโตของโครงสร้างของเศรษฐกิจโดยรวม
ต้องดูที่เศรษฐกิจโลกเป็นหลัก เวลามองภาพรวมของ
เศรษฐกิจไทย โลกจะมองในมุมของเศรษฐกิจเอเชีย เพราะ
ไทยเป็นประเทศเล็กและเป็นประเทศเปิด ที่มีส่วนในภาพรวม
เศรษฐกิจโลกเพียง 0.38% เท่านั้น


อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
19

เศรษฐกิจไทยปี 2555
รู้จักเศรษฐกิจประเทศเพ่ือนบา้ น


จากข้อมูลของสภาพัฒน์ฯ มีผลิตภัณฑ์มวลรวม การเข้าร่วมเป็นหนึ่งในเออีซีนั้น ประเทศไทยจึงมี
ประชาชาติที่แท้จริง (Real GDP) ในปี 2555 ขยายตัว บทบาทพอสมควร จึงมีความสำคัญยิ่งที่เราต้องรู้จักและ
ร้อยละ 6.4 โดยมีแรงขับเคลื่อนมาจากการบริโภคภาค จับตามองประเทศเพื่อนบ้าน เพราะประเทศเพื่อนบ้านเรา
ครัวเรือน และการลงทุนจากการฟื้นฟูหลังน้ำท่วม และ นั้นก็รู้จักเราดีเช่นเดียวกัน เพราะประเทศในแถบนี้พึ่งพา
มาตรการกระตุ้นการบริโภคของภาครัฐ และอัตราการ อาศัยกันตลอด ทั้งทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และ
เติบโตของจีดีพีในประเทศไทยล่าสุด คือ 6.4 ซึ่งจีดีพีจะ พลังงาน

เติบโตได้นั้นย่อยต้องมาจากภาคการผลิตเท่านั้น
ที่ประกอบด้วย การเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ ในส่วนของสังคมและวัฒนธรรมของประเทศ
ที่มาจากทรัพย์สินของประเทศ นั่นคือ คน+ความรู้ ที่จะ เพื่อนบ้าน สามารถยกตัวอย่างได้พอสังเขป เช่น ลาว
รวมกันเป็นเทคโนโลยีปัจจัยพื้นฐานที่เติมเต็มความ ยังมีวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมที่เรียบง่ายและเนิบช้า
แข็งแกร่งในแต่ละประเทศ ซึ่งการค้าในไทยไม่ว่าจะเป็นใน แต่เป็นประเทศที่ค่อนข้างใกล้เคียงกับประเทศไทย
ประเทศและระหว่างประเทศ ยังเพิ่มขึ้นได้นั้นจะต้อง มากทส่ี ดุ ในแถบน้ี สนิ คา้ จากประเทศไทยทค่ี นลาวชน่ื ชอบ
ประกอบด้วย 6 สมมติฐานที่ใช้ในการประมาณการ มากก็คือ เครื่องใช้ไฟฟ้า เพราะถือว่าเป็นการมอบของ
การเติบโตของเศรษฐกิจด้วยกัน ได้แก่
ขวัญให้กันอย่างมีเกียรติ และเวลาข้ามมาซื้อของที่
เมืองไทย จะนิยมมาซื้อของที่ ‘สยามพารากอน’ มาก
1. สัดส่วนการค้าของประเทศไทยและประเทศคู่ค้า
ส่วน กัมพูชา ประชากรส่วนใหญ่ขี่จักรยานไปตลาดมี
2. ราคาสินค้าส่งออกและสินค้านำเข้า
ทรัพยากรธรรมชาติเหลือเฟือ โดยเฉพาะไม้ สินค้าของ
3. อัตราดอกเบี้ยของธนาคารแห่งประเทศไทย
บ้านเราที่ขายดีมากในกมั พชู า คอื ขา้ วไทย และ ชาตรามอื
4. การลงทุนการใช้จ่ายของภาครัฐ
เวียดนาม พาหนะหลักที่นิยมมาก คือ มอเตอร์ไซต์
5. อัตราแลกเปลี่ยน
มีการผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้มากมายมีคุณภาพและราคา
6. อัตราน้ำมัน
ไม่แพง ส่วนผลิตภัณฑ์ของบ้านเราที่นิยมในกัมพูชา คือ

แบรนด์สุขภัณฑ์คอตโต้


สินค้าส่งออกของแต่ละประเทศที่ขึ้นชื่อ เริ่มจาก
ประเทศไทย อาทิ ยางพารา ยิบซัม สินค้าธรรมชาติ
ผลิตภัณฑ์ไอที ชิ้นส่วนยานยนต์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
และสินค้าเกษตร รวมถึงเรื่องของโรงพยาบาล

ทั้งประสิทธิภาพและการบริการที่ขึ้นชื่อ, กัมพูชา มีเสื้อผ้า
เครื่องแต่งกาย ข้าว และการท่องเที่ยว, เวียดนาม
ผลิต รองเท้าส่งออก โดยเฉพาะ แบรนด์ไนกี้ และอดิดาส,
พม่า ส่งออกก๊าซธรรมชาติเป็นหลัก


20 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

ส่วนมลู ค่าการค้าชายแดนของไทยกับประเทศเพื่อน • ระบบขนส่งมวลชนทางราง ที่จะเพิ่มระบบรถไฟฟ้าขนส่ง
บ้านทั้ง พม่า ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย มีแนวโน้มการ มวลชนในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล 10 เส้นทาง

ขยายตัวโดยเฉลี่ยประมาณ 13 % ต่อปี ยกตัวอย่าง
เฉพาะในปี พ.ศ. 2554 ปริมาณสินค้าผ่านแดนนั้นมี • มีการเปลี่ยนการขนส่งจากทางถนนสู่ระบบราง มีการ
มูลค่ากว่า 29,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งสิ่งที่เราต้อง เชื่อมต่อภูมิภาคที่เรียกว่า ระเบียงเศรษฐกิจ (Economic
เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการขยายตัวที่เพิ่มขึ้น Corridors) เป็นโครงข่ายถนนเชื่อมโยง AEC

ต่อเนื่องทุกปีนั่นก็คือ ระบบขนส่ง และ โลจิสติกส์ รวม
ทั้งปรับปรุงระบบอำนวยความสะดวกทางการค้า และ • มีการพัฒนาประตูการค้าทั้งทางเรือและท่าอากาศยาน
การเปิดเมืองหน้าด่านต่างๆ จะทำให้เศรษฐกิจของ รวมถึงมีการพัฒนาโครงข่ายขนส่งภายในประเทศหลายประเภท
ประเทศเพื่อนบ้าน มีบทบาทต่อเศรษฐกิจภูมิภาคและ ไม่ว่าจะเป็น รถไฟ รถไฟฟ้าความเร็วสูง ถนน มอเตอร์เวย์
เศรษฐกิจโดยรวมของไทยเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ อาทิ ลำน้ำ และชายฝั่ง

เศรษฐกิจของจังหวัดอุดรธานีที่มียอดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ในไตรมาสที่ 1 ของปีนี้
ผลการดำเนินการที่คาดหวังจากการลงทุน ได้แก่

1. ต้นทุนโลจิสติกส์ต่อจีดีพีลดลงจากปัจจุบันไม่น้อยกว่า
กลยุทธ์ของประเทศไทย
2 % (ปัจจุบัน 15.2)

2. สัดส่วนผู้เดินทางระหว่างจังหวัดโดยรถยนต์ส่วนบุคคล
การสร้างความยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจไทย นั้นต้อง ลดลงจาก 59 % เหลือ 40%

สร้างความเท่าเทียมกัน เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน 3. ความเร็วเฉลี่ยของรถไฟขนส่งสินค้า เพิ่มขึ้นจาก 39
การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน และสร้างกลไกในระบบและ กม./ชม. เป็น 60 กม./ชม. และขบวนรถโดยสารเพิ่มขึ้นจาก 60
ในบุคลากร มิติทางสังคมในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลง กม./ชม. เป็น 100 กม./ชม.

พอสมควร เราต้องเข้าใจโครงสร้างตัวเราก่อนว่า 4. สดั สว่ นการขนสง่ ทางรางเพม่ิ ขน้ึ จาก 2.5% เปน็ 5 %

เศรษฐกิจตัวเราอยู่ตรงไหน เศรษฐกิจโลก และเพื่อน 5. สดั สว่ นการขนสง่ ทางนำ้ เพม่ิ ขน้ึ จาก 12% เปน็ 18 %

บ้านอยู่ตรงไหน เพราะเศรษฐกิจจะพัฒนาไปไม่ได้ 6. สดั สว่ นการเดนิ ทางรถไฟฟา้ เพม่ิ ขน้ึ จาก 5% เปน็ 30 %

หากปราศจากการลงทุนในโครงสร้างเชิงพื้นฐาน 7. ลดความสูญเสียจากน้ำมันเชื้อเพลิงไม่น้อยกว่า
การรู้เขารู้เรา จึงสำคัญอย่างยิ่งทั้งในเชิงเศรษฐกิจและ 100,000 ล้านบาท/ปี

สังคม
8. ปริมาณผู้โดยสารทางรถไฟเพิ่มขึ้นจาก 45 ล้านเที่ยว/ปี
เป็น 75 ล้านเที่ยว/ปี

แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของ 9. ปริมาณการขนส่งสินค้าผ่านเข้า-ออก ณ ด่านการค้า
ประเทศด้านการขนส่ง
ชายแดนที่สำคัญ เพิ่มขึ้น 5%

10. ลดระยะเวลาการเดินทางจากกทม. ไปยังเมืองภมู ิภาค
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของระบบขนส่งใน ด้วยรถไฟความเร็วสูงภายในรัศมี 300 กิโลเมตรรอบกรุงเทพฯ
ประเทศ ซึ่งรวมอยู่ในงบประมาณการลงทุนในโครงสร้าง ในระยะเวลาไม่เกิน 90 นาที จากเดิมใช้เวลาเฉลี่ยประมาณ 3
พื้นฐาน 2 ล้านล้านบาทของรัฐบาล และหวังผลให้ ชั่วโมง

ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของเส้นทางการค้าในอาเซียน ประเทศเพื่อนบ้าน-โอกาสพัฒนาร่วมกันในภูมิภาค-ความ
ซึ่งมีประเด็นที่น่าจับตามอง ดังนี้
สำคัญเชิงกลยุทธ์ต่อประเทศไทย คือการขยายความเจริญด้าน
โครงสร้างพื้นฐานและพื้นที่อุตสาหกรรมเพื่อเป็นเครื่องมือในการ
ยกระดับการพัฒนาประเทศเพื่อนบ้าน สร้างความมั่งคั่งใน
ภูมิภาค สร้างความมั่นคงในระดับพื้นที่ และความสัมพันธ์อันดี
ระหว่างประเทศ




• ทมี่ า:

งานสมั มนาใหค้ วามรเู้ พอ่ื เตรยี มความพรอ้ มสปู่ ระชาคมอาเซยี น

วนั ท่ี 6-8 มนี าคม 2556 ณ โรงแรม มริ าเคลิ แกรนด์ คอนเวนชน่ั กรงุ เทพฯ


อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
21

SMEs Info

เรอ่ื ง: นฤมล ชะนะคมุ้

การเตรียมความพร้อม


ของกระทรวงอตุ สาหกรรมเข้าสู่ AEC


บรรยาย: นายหทยั อไู่ ทย

รองผอู้ ำนวยการสำนกั งานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม


ประชาคมอาเซียน จะเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญของเศรษฐกิจไทยและภูมิภาคอาเซียนเพราะจะเป็น
วันที่เราได้เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งหมายถึงการเปิดเสรีด้านการค้า
การลงทุนก็จะมีการเคลื่อนย้ายสินค้าบริการ ทุน แรงงานฝีมือ นอกจากนั้นต้องมีการสร้างมาตรฐาน
สินค้าในกลุ่มการค้าประเทศอาเซียนด้วย ซึ่งตลอดเวลาที่ผ่านมา นายสุภาพ คลี่ขจาย ที่ปรึกษา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ได้เห็นความสำคัญและสนับสนุนให้มีการจัดสัมมนาให้ความรู้
แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ AEC อย่างต่อเนื่อง


22 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

และหน่วยงานที่ต้องรับบทบาทหลักในการขับเคลื่อน เช่น มาตรฐาน ISO สำหรับผลิตภัณฑ์ทั่วไป มาตรฐาน
ครั้งนี้ก็คือ กระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่ง นายหทัย อู่ไทย IEC สำหรับบริภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
รองผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กฎระเบียบของ UNECE Regulations สำหรับยานยนต์
ได้เปิดเผยความคืบหน้าในการตรียมความพร้อมของ และชิ้นส่วน หรือหากไม่มีมาตรฐานสากลก็อาจกำหนด
กระทรวงอุตสาหกรรมเข้าสู่ AEC โดยความคืบหน้า ขึ้นใหม่หรือนำมาตรฐานของประเทศสมาชิกที่มีใช้อยู่
ล่าสุด เป็นการขับเคลื่อนเพื่อตอบสนองนโยบาย มาปรับให้สอดคล้องเป็นที่ยอมรับซึ่งกันและกันโดยอาจ
ด้านมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง โดยที่ประชุม กำหนดเป็นมาตรฐานอาเซียน

รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน ครั้งที่ 24 เมื่อเดือนตุลาคม
2535 ได้จัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐาน • จัดทำความตกลงยอมรับร่วม เป็นการกำหนด
และคุณภาพของอาเซียนขึ้น เพื่อหาแนวทางในการลด ขอบข่ายและเงื่อนไขในการยอมรับผลการตรวจสอบ
อุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า ซึ่งคณะกรรมการ รับรองที่ดำเนินการโดยหน่วยตรวจสอบรับรองของ
ที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน ประเทศสมาชิกผู้ส่งออกเพื่อนำมาใช้ประกอบการตรวจ
ได้กำหนดแนวทางดังนี้
สอบรับรองสินค้าโดยไม่ต้องตรวจสอบรับรองซ้ำใน
ประเทศผู้นำเข้า

• ปรับมาตรฐานและกฎระเบียบทางเทคนิคเป็นการ
ปรับมาตรฐานที่ใช้แตกต่างกันอยู่ในแต่ละประเทศให้ • พัฒนาระบบด้านกฎระเบียบในการตรวจสอบ
สอดคล้องกับมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล รับรองของภูมิภาค เป็นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ด้านมาตรฐานของมวลประเทศสมาชิกให้สามารถ
ดำเนินการในเรื่องดังกล่าวได้อย่างสอดคล้องกัน
ทั้งภูมิภาค


• กลไกในการดำเนินงาน คณะกรรมการที่ปรึกษา
ด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียนมีคณะทำงาน
ต่างๆ รองรับซึ่งคณะทำงานเหล่านี้ประกอบด้วยผู้แทน
ของหน่วยงานผู้ถือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องของทุก
ประเทศสมาชิกร่วมกันศึกษาและหาแนวทางในการ
ปรับมาตรฐานและกฎระเบียบให้สอดคล้องกัน
ในอาเซียน รวมทั้งพิจารณาแนวทางในการทำความ
ตกลงยอมรับร่วมสำหรับระบบการตรวจสอบรับรอง
ซึ่งขณะนี้ ประกอบด้วย


• คณะทำงานกำกับดูแลภาพรวม จำนวน 3 คณะ

• คณะทำงานคณะที่ 1 ด้านมาตรฐานและความตกลง

ยอมรับร่วม

• คณะทำงานคณะที่ 2 ด้านการรับรองระบบงานและ

การตรวจสอบรับรอง

• คณะทำงานคณะที่ 3 ด้านมาตรวิทยาเชิงกฎหมาย

• คณะทำงานรายสาขาผลติ ภณั ฑ์ จำนวน 8 คณะ

• คณะกรรมการร่วมรายสาขาสำหรับบริภัณฑ์ไฟฟ้า

และอิเล็กทรอนิกส์

• คณะทำงานด้านผลิตภัณฑ์ยานยนต์และชิ้นส่วน

• คณะทำงานด้านผลิตภัณฑ์ยาง

• คณะทำงานด้านผลิตภัณฑ์อาหารแปรรปู

• คณะกรรมการด้านเครื่องสำอางอาเซียน


อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
23

• คณะทำงานด้านผลิตภัณฑ์ยา
ปัญหาทางการค้าที่เกิดจากการที่ประเทศสมาชิกบังคับใช้
• คณะทำงานด้านเครื่องมือแพทย์
มาตรฐานและขั้นตอนการตรวจสอบรับรองสินค้าที่แตก
• คณะทำงานดา้ นยาแผนโบราณและผลติ ภณั ฑเ์ สรมิ อาหาร
ต่างกัน อันจะเป็นการขจัดอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า
ซึ่งส่งเสริมให้เกิดการเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรีได้ใน

ภูมิภาค ตลอดจนช่วยให้สินค้าของกลุ่มอาเซียนเป็นที่
บทบาทของ สมอ. ในการเข้าร่วมประชาคม ยอมรับและสามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก

เศรษฐกิจอาเซยี น ในปี 2558

นี่คืองานบางส่วนที่กระทรวงอุตสาหกรรมได้เร่งเดิน
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) หน้าเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับผู้ประกอบการ
ในฐานะสถาบันมาตรฐานแห่งชาติเป็นผู้แทนประเทศไทย อุตสาหกรรมทุกภาคส่วนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนใน
ในคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของ หลายมิติ ซึ่งหากผู้ประกอบการท่านใดต้องการได้รับ
อาเซียนและได้เข้าร่วมดำเนินการตามกิจกรรมข้างต้น ความช่วยเหลือ สนับสนุน หรือมีข้อแนะนำเกี่ยวกับ
อย่างต่อเนื่อง ประสานกิจกรรมด้านมาตรฐานและ นโยบายและโครงการต่อเนื่องกับ AEC สามารถติดต่อ
การตรวจสอบรับรองของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเทศ ได้ที่หน่วยงานของ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ทั้งยัง
กับประเทศสมาชิกอื่นรวมถึงสำนักเลขาธิการอาเซียน โดย สามารถติดตามข้อมูลและเข้าร่วมกิจกรรมโครงการต่างๆ
สมอ. ร่วมทำงานกับหน่วยงานผู้ถือกฎระเบียบไทยที่ ของกรมฯ ได้ผ่านเว็บไซต์ www.dip.go.th.

เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา • ทม่ี า

สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ งานสมั มนาใหค้ วามรเู้ พอ่ื เตรยี มความพรอ้ มสปู่ ระชาคมอาเซยี น

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมการขนส่งทางบก ซึ่งต่าง วนั ท่ี 6-8 มนี าคม 2556 ณ โรงแรม มริ าเคลิ แกรนด์ คอนเวนชน่ั
รับผิดชอบคณะทำงานรายสาขาที่ตนมีความเชี่ยวชาญ
กรงุ เทพฯ



การดำเนินงานของอาเซียนตามกิจกรรมที่สำคัญ

ข้างต้นนั้น นอกจากจะช่วยอำนวยความสะดวกในการ
ส่งออกไปยังอาเซียน โดยอาศัยมาตรฐานและกระบวนการ
การตรวจสอบรับรองสินค้าที่ปรับเข้าหากันและเป็น
ที่ยอมรับร่วมกันของอาเซียนและใช้กลไกการยอมรับร่วมใน
ผลตรวจสอบรับรองของประเทศสมาชิก ยังมีส่วนช่วยแก้ไข

24 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

Show Case

โดย นชุ เนตร จกั รกลม

รบรุกิษตทั ลทาีไทดยเวแสยี นดค็ นฟาูด๊ มส์
จำกดั


ลงสนามการค้า AEC


นึกถึงปลาหมึก นึกถึง ‘สควิดดี้’…เป็นสโลแกนท่ีแสนจะคุ้นหู เพราะ
ได้ยินได้ชิมมาต้ังแต่เด็ก จนถึงตอนน้ี สควิดด้ี ก็ยังครองใจคนทุกวัย
ครองตลาดปลาหมึกปรุงรสได้อย่างเหนียวแน่น อะไรคือเคล็ดลับ
ที่ทำให้ บริษัท ทีไทย แสน็ค ฟู๊ดส์ จำกัด ผลักดันแบรนด์นี้จนประสบ
ความสำเร็จมาอย่างยาวนาน และสามารถก้าวสู่ตลาด AEC
ได้ไปตดิ ตามกนั


บริษัท ทีไทย แสน็ค ฟู๊ดส์ จำกัด ถือว่าเป็นผู้นำด้านการผลิตและส่งออก
ขนมขบเคี้ยวประเภทปลาหมึก ภายใต้แบรนด์ “มิสเตอร์ สควิด” และ “สควิดดี้”
มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 ด้วยแรงผลักดันที่ต้องการสร้างธุรกิจของตนเอง โดยเริ่มจาก
ห้องแถว 1 คูหา...


ซึ่งผู้ริเริ่มคนเก่งอย่าง คุณมิตร เตชะไกรศรี เผยง่ายๆ ว่า เริ่มต้นจากสิ่งที่
ชอบเรียนรู้จากความชอบนั้น แล้วสร้างกิจการเล็กๆ เกี่ยวกับขนมขบเคี้ยวประเภท
ปลาหมึกขึ้นมา นั่นนับเป็นก้าวแรกและตั้งแต่นั้นมาก็สั่งสมประสบการณ์ขึ้นเรื่อยๆ
ภายใตป้ รชั ญา “สรา้ งสง่ิ ทด่ี ที ส่ี ดุ ” จนผา่ นมากวา่ 5 ทศวรรษทบ่ี รษิ ทั ทไี ทย แสนค็ ฟดู๊ ส์
จำกัด ประสบความสำเร็จสามารถขึ้นแท่นเป็นผู้นำด้านขนมขบเคี้ยวประเภท
ปลาหมึกปรุงรสของไทย ภายใต้แบรนด์ “มิสเตอร์ สควิด” และ “สควิดดี้” ภายใต้
ผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายโดนใจผู้บริโภค อาทิ ปลาหมึกอบกรอบปรุงรส ปลาหมึกบด
ปรุงรส ปลาหมึกเส้นปรุงรส ปลาหมึกบดหยักปรุงรส ปลาหมึกตัวปรุงรส และหนวด
ปลาหมึกปรุงรส


อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
25

photo: www.manager.co.th/iBizChannel


คณุ ถาวร เตชะไกรศรี
และนอกจากจะผลิตจำหน่ายภายในประเทศแล้ว
กรรมการผู้จัดการ
บริษัทฯ ยังส่งออกผลิตภัณฑ์ไปประเทศต่างๆ เช่น อเมริกา
แคนาดา มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฮ่องกง และในอาเซียนด้วย
ภายใต้ความอร่อยมีเอกลักษณ์นั้น เกิดขึ้นจากความ ซึ่งบริษัทฯ ได้ลงทุนด้านระบบการผลิตทั้งเพิ่มเครื่องจักรที่
ใส่ใจ การค้นคว้าเทคโนโลยีเพื่อมาตรฐานอีกระดับ จากรุ่น ทันสมัยและนำเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาช่วยให้การผลิตคง
สู่รุ่น ผลิตภายในโรงงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ด้วยงบ คุณภาพและรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ และยังพัฒนาและ
ประมาณกว่า 60 ล้านบาท บนพื้นที่ 8 ไร่ เพื่อวางระบบ คิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของ
เทคโนโลยีขั้นสูงที่ค้นคว้าขึ้นเพื่อพัฒนาการผลิตเฉพาะด้าน ผู้บริโภคอย่างไม่หยุดนิ่ง รวมถึงพัฒนาผลิตภัณฑ์ถั่วลิสง
โดยเฉพาะ ภายใตล้ ขิ สทิ ธข์ิ องบรษิ ทั ฯ ปจั จบุ นั โรงงานแหง่ น้ี เคลือบแป้งอบกรอบออกจำหน่าย เพื่อเป็นอีกทางเลือกให้
สามารถผลิตสินค้าได้ถึง 1,500 กิโลกรัมต่อวัน ควบคู่ไป กับลูกค้า โดยคัดแต่ถั่วลิสงคุณภาพดี ผ่านเกณฑ์
กับระบบบำบัดน้ำเสียสมบูรณ์แบบ คำนึงถึงการรักษา มาตรฐานยุโรป ไม่มีสารอัลฟาท็อกซิน ผลิตด้วยเทคโนโลยี
สภาพแวดล้อม และยังได้รับรองมาตรฐาน HACCP ทันสมัยจากประเทศญี่ปุ่นโดยที่ไม่ผ่านการทอด อาทิ
(MASCI) และ HALAL (Isalamic Committee of Thailand) ถั่วลิสงเคลือบอบกรอบบรรจุกระป๋อง ถั่วลิสงอบกรอบ
ด้วย ซึ่ง คุณถาวร เตชะไกรศรี กรรมการผู้จัดการ
บรรจุซองสามเหลี่ยม(ปิรามิด) ถั่วลิสงอบกรอบบรรจุซอง
เปิดเผยว่า
หมอน ลาวานัท และรับผลิตภายใต้แบรนด์ของบริษัทฯ/
ลกู คา้ รวมทง้ั ยงั แตกไลนผ์ ลติ ภณั ฑถ์ ว่ั ลสิ ง โดยนำนวตั กรรม
“ปัจจุบันตลาดรวมผลิตภัณฑ์ปลาหมึกปรุงรสมีมูลค่า ใหม่ๆมาใช้ เช่น ถั่วเคลือบดอกกุหลาบ นำคุณประโยชน์
ประมาณ 400 ลา้ นบาท โดยมผี ผู้ ลติ 2 รายใหญค่ อื สควดิ ดี้ จากดอกไม้มาเคลือบด้านนอก ซึ่งนวัตกรรมนี้ได้รับรางวัล
และเต่าทอง ที่ผลัดกันเป็นผู้ครองตลาดส่วนใหญ่ โดย ที่ 2 (silver prize) จาก Korea Invention Promotion
มีส่วนแบ่งทางการตลาดรวมกันกว่า 80% ซึ่งในส่วนของ Association

ผลิตภัณฑ์สควิดดี้มีส่วนแบ่งทางการตลาด 42% ส่วนที่
เหลือเป็นผู้ประกอบการรายเล็กๆ และผลิตภัณฑ์ คุณถาวรให้ความเห็นเพิ่มเติมว่า ข้อเสียเปรียบของ
จากปลาเส้น บริษัทจึงวางแผนขยายตลาดทั้งในและ เอสเอ็มอี คือ การเป็นองค์กรเล็กๆ มีเงินทุนจำกัด ซึ่งต้อง
ต่างประเทศควบคู่กันเพื่อตอบสนองความต้องการของ เพิ่มศักยภาพเพื่อลดข้อเสียเปรียบ ด้วยการร่วมมือกับ
ผู้บริโภคให้หลากหลาย ครอบคลุม มีการวิจัยพัฒนา พันธมิตรอย่าง โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมในลักษณะ
ผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา เพื่อรักษาคุณค่าทาง พันธมิตร(คลัสเตอร์) โดยบริษัทฯ ได้จับกลุ่มเป็นพันธมิตร
อาหารของปลาหมึก โดยเฉพาะโปรตีนและความอบกรอบ ย่อยของจังหวัดฉะเชิงเทราจำนวน 5 แห่งทั้งด้านอาหาร
เพื่อรักษาความกรอบและสดใหม่ให้อยู่ได้นาน”


26 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

ปัจจัุนตลาดรวมผลติ ภัณฑ์ปลาหมกึ ปรงุ รส

มีมูลคา่ ประมาณ 400 ล้านบาท


โดยมีผู้ผลิต 2 รายใหญ่คือ สควดิ ดแ้ี ละเต่าทอง

ที่ผลดั กันเปน็ ผคู้ รองตลาดส่วนใหญ่


บรรจุภัณฑ์ ขนส่ง และ วัตถุดิบ ร่วมมือกันพัฒนาตลาด ช่องว่างสำหรับนักลงทุนหน้าใหม่ อย่างไรก็ตามคนที่จะเข้าไป
การผลิตบุคลากร การบริหารจัดการ และการขยายสินค้า ก็ต้องศึกษาว่าน่าจะเข้าไปลงทุนทำอะไรให้สามารถแข่งขันกับ
เป้าหมายคือลดต้นทุนและเพิ่มอำนาจต่อรองรวมทั้งยัง นักลงทุนที่มีอยู่เป็นจำนวนมากอยู่แล้วเช่นกันด้วย

ร่วมมือกันเพื่อขยายตลาดส่งออกอีกด้วย

ผู้บริหารสควิดดี้ ยังเผยจากข้อมูลและประสบการณ์ที่เขา
สว่ นการเปดิ ตลาดในประเทศเวยี ดนาม และการเตรยี ม สัมผัสด้วยว่า ตอนนี้มี 5 ธุรกิจที่น่าลงทุนในเวียดนาม
ความพร้อมรับมือ AEC นั้น คุณถาวรให้ความเห็นว่า
ประกอบด้วย  ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มของวัสดุก่อสร้าง  เพราะ
เวียดนามมีการเติบโตอย่างมากในช่วงนี้ จึงมีการสร้าง
“ถึงแม้เวียดนามจะเปิดประเทศได้ไม่นานนัก แต่เป็น สาธารณูปโภคมากมาย จำเป็นต้องใช้สินค้าในกลุ่มของวัสดุ
ประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอยู่ไม่น้อย มีความมั่นคง ก่อสร้าง  ผลิตภัณฑ์พลาสติก ผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารทะเล
ทางการเมอื งทเ่ี สถยี รภาพ รฐั บาลเวยี ดนามเองกเ็ รง่ ผลกั ดนั ผลิตภัณฑ์ด้านการเกษตร  ซึ่งถ้าจะไปลงทุนเวียดนาม  แนะนำ
ระบบต่างๆให้เข้มแข็งเพื่อการพัฒนาประเทศ และยังรุก ให้เริ่มจากการไปค้าขายก่อน  เพราะคนเวียดนามยอมรับใน
การแข่งขันกับต่างประเทศอีกด้วย ส่วนเรื่องลักษณะ คุณภาพของสินค้าไทย เช่นเดียวกับประเทศพม่า ในขณะ
ประชากรของเวียดนามกว่า 90 ล้านคน ค่อนข้างมีความ ที่สินค้าที่มาจากประเทศจีนยังมีข้อจำกัดเพราะถูกมองว่าเป็น
คล้ายคลึงกับประเทศจีนมาก ซึ่งเราเองทำการค้ากับจีนอยู่ สินค้าราคาถูก คุณภาพไม่ดี ดังนั้น การเข้าไปหาตัวแทน
แล้ว ดังนั้น รูปแบบทางการค้าส่วนใหญ่จะได้แบบอย่างมา จำหน่ายที่โน่น โดยหาสินค้าจากประเทศไทยไปขายจะมีโอกาส
จากจีนนั่นเอง และการลงทุนในเวียดนามก็มีความ ที่ดีกว่า

น่าสนใจมากสำหรับนักลงทุนชาวต่างชาติ เพราะตลาดเขา
เปิดกว้างเพื่อดึงนักลงทุนชาวต่างชาติให้เขามาลงทุนใน ที่สำคัญและคิดว่าเป็นโอกาสที่ดีสำหรับคนไทยคือ การที่
ประเทศนั่นเอง และยังมีหน่วยงานส่งเสริมการลงทุนต่างๆ คนเวียดนามยอมรับในคุณภาพสินค้าจากประเทศไทยสูง
เหมือน BOI บ้านเรา สนับสนุนเพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับ ทำให้การสร้างแบรนด์ในเวียดนามในประสบการณ์ของ
นักลงทุน ตอนนี้จึงมีนักลงทุนจำนวนมากทั้งชาวเอเชียและ บิ๊กบอสสควิดดี้แล้ว เขาบอกว่า “สร้างง่ายกว่าการสร้าง
ยุโรปมาลงทุนที่เวียดนามจำนวนมาก เพราะเวียดนามมี แบรนด์ในประเทศไทยเสียอีก”

ประชากรมากถึงกว่า 90 ล้านคน มีทรัพยากรธรรมชาติ ข้อมูลจาก: www.tthai.co.th, www.manager.co.th

โดยเฉพาะอาหารทะเลอยู่เป็นจำนวนมาก แต่ก็ยังมี
บรษิ ัท ทไี ทย แสนค็ ฟดู๊ ส์ จำกัด

สำนักงานขาย

ที่ตั้ง : 465/1 Soi Wat Pai-ngen, Chan Rd.,

Sathon, Bangkok 10120 Thailand

โทรศัพท์ : 02 6730-044-6 โทรสาร : 02 211-5238

อีเมล์ : [email protected]


อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
27

Show Case

โดย นชุ เนตร จกั รกลม

คุณพัชรนิ ทร์ โพธิ์ศริ สิ ุข


ตติ ยานยนต์


มองแนวโน้มส่งออกกลมุ่ สนิ ค้าเครอื่ งจักรกล

ในตลาด ‘อินโดนีเซยี ’


บริษทั ตติ ยานยนต์ จำกัด เริม่ กอ่ ตงั้ ขนึ้ ในปี 2545 กบั แนวคดิ ท่ีจะนำยานยนตค์ ุณภาพสงู ในราคามาตรฐาน
จากบริษัท สามมิตร มอเตอร์ส แมนูแฟคเจอร่ิง จำกดั มาพัฒนาภาคการเกษตร เพอ่ื ให้เกษตรกรมอี ปุ กรณ์
ท่ีได้มาตรฐานสากลที่ช่วยทุ่นแรงในการทำเกษตรกรรม และคุ้มทุน โดยมุ่งเน้นไปที่ ผลิตภัณฑ์รถเก่ียว
นวดขา้ ว สามมิตร รถเอนกประสงคแ์ ละอปุ กรณ์ทางการเกษตร เชน่ ใบมีด ใบดนั ดิน จานไถ เป็นตน้


คุณพัชรินทร์ โพธิ์ศิริสุข กรรมการผู้จัดการ ของ ตติ ยานยนต์ และรอง เดินทางและขนส่งทางบกได้สะดวก เช่น
ประธานกลุ่มเครื่องจักรกลการเกษตร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ประเทศพม่า ลาว กัมพูชา และเวียดนาม
ก็ได้นำทั้งประสบการณ์ที่คร่ำหวอดในแวดวงเกษตรกรรมมายาวนานรวมทั้งความรู้ ส่วนประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียที่ทาง
ความสามารถมาพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกลทางการเกษตร และแนวทางของ กลุ่มเริ่มมีการขยายตลาดส่งออก ได้แก่
บริษัทฯ เพื่อสร้างประโยชน์ให้กับเกษตรกรในประเทศไทยเรื่อยมา โดยที่บริษัทฯเองก็ อินเดีย ศรีลังกา และ อินโดนีเซีย ที่กำลัง
เป็นหนึ่งในกลุ่มเครื่องจักรกลการเกษตร ภายใต้การกำกับดแู ลของสภาอุตสาหกรรม เป็นดาวรุ่งของอุตสาหกรรมรถยนต์และ
แห่งประเทศไทย เพื่อช่วยเหลือและสนับสนุนกิจการของสมาชิกสภาอุตสาหกรรม เครื่องจักรกลการเกษตรในอาเซียนอยู่

แห่งประเทศไทยให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นตัวแทนในการประสานนโยบาย ณ ขณะนี้ ซึ่งคาดการณ์ว่ามีแนวโน้มการ
และดำเนินงานระหว่างสมาชิกกลุ่มกับภาครัฐ และยังส่งเสริมให้ผลิตภัณฑ์ เติบโตในทิศทางที่ดีมาก โดยคุณพัชรินทร์
อุตสาหกรรมไทยสามารถขยายตลาดได้ทั้งในและต่างประเทศ
ให้ความเห็นว่า


สำหรับการขยายตลาดในภูมิภาค สมาชิกของกลุ่มเครื่องจักรกลการเกษตรส่วน “ชื่อเสียงของเครื่องจักรกลการ
ใหญ่จะประกอบด้วยผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือSME เกษตรของไทยเป็นที่ยอมรับกันในแถบอา
ซึ่งผู้ประกอบการเหล่านี้มีการขยายตลาดเครื่องจักรกลเกษตรของไทยในแถบ เซียนมานานแล้ว ถ้าเปรียบเทียบสินค้า
อาเซียนมากว่า 10 ปี ส่วนใหญ่เป็นประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทย สามารถ เครอ่ื งจกั รกลการเกษตรของไทยกบั จนี แล้ว

28 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

ผู้ประกอบการเคร่อื งจักรและอุปกรณก์ ารเกษตรของไทย

น่าจะมีโอกาสเติบโตอีกมากในตลาดอินโดนเี ซยี ที่เป็นตลาดใหญ่

โดยใชก้ ลยุทธการติดตอ่ ธรุ กิจในรปู แบบของคลัสเตอร์


จะเห็นว่าสินค้าของไทยเป็นที่ยอมรับในเรื่องคุณภาพ • ปัญหาเอกสารศุลกากร สินค้าสญู หาย และมีต้นทุน
อายุการใช้งาน และราคาเป็นอย่างดี ดังนั้น ผู้ประกอบการ การขนส่งสินค้าที่สูง ควรทำการติดต่อกับคนในพื้นที่หรือ
เครื่องจักรและอุปกรณ์การเกษตรของไทยน่าจะมีโอกาส นักธุรกิจท้องถิ่น

เติบโตอีกมากในตลาดอินโดนีเซียที่เป็นตลาดขนาดใหญ่
โดยใช้กลยุทธ์การติดต่อธุรกิจในรูปแบบของคลัสเตอร์ และ • ปัญหาเรื่องราคาสินค้าที่มีผลกระทบจากต้นทุนการ
ติดต่อธุรกิจผ่านทางบริษัทใหญ่ที่เข้าไปลงทุนในอินโดนีเซีย ขนส่งสินค้าที่ไม่เท่ากัน แต่ราคาสินค้าในตลาดจำเป็นต้อง
ก่อนหน้า เพราะจะง่ายกว่า มีอำนาจต่อรองมากกว่า เป็นราคาเดียวกันในทุกที่

การลุยเดี่ยวเข้าไปเจรจาติดต่อเอง และบริษัทใหญ่ที่เข้าไป
ทำธุรกิจก่อนหน้ายังสามารถช่วยเหลือ และให้การแนะนำ • ปัญหาการรับซื้อสินค้าแบบเหมาตู้คอนเทนเนอร์
ได้อีกด้วย เพราะผู้ประกอบการเอสเอ็มอีเครื่องจักรกล ซึ่งทางกลุ่มใช้วิธีทำคลัสเตอร์ ส่งสินค้าแชร์กันทั้งสินค้า
การเกษตรเป็นกลุ่มธุรกิจขนาดย่อมที่มีข้อจำกัดในเรื่องของ ขนาดเล็กและใหญ่

เงินทุนและบุคคลากร ดังนั้นการทำธุรกิจในประเทศ
อินโดนีเซียจึงออกมาในรูปแบบของการค้ามากกว่าการ คุณพัชรินทร์ ยังปิดท้ายด้วยว่า ในส่วนของกลุ่ม
ลงทุน และจำเป็นอย่างมากที่ต้องหาคู่ค้าที่มีศักยภาพและ เครื่องจักรกลการเกษตรเราเป็นผู้นำในอาเซียนอยู่แล้ว
ความน่าเชื่อถือทางธุรกิจ เพื่อทำสัญญาและช่วยเรื่องการ แต่จุดอ่อนที่ยังต้องแก้ไขภายในคือ เรื่องของบุคคลากร
ดำเนินการด้านเอกสารทางราชการต่างๆ รวมทั้งเรื่อง ภาษา ข้อมูลและเครือข่าย ผู้ประกอบการยังขาดข้อมูล
ส่งสินค้าไปขาย และการกระจายสินค้าสู่ตลาด”
เกี่ยวกับธุรกิจ ซึ่งภาครัฐควรมาช่วยสนับสนุนเรื่องข้อมูล
และแหล่งข้อมูลให้คำปรึกษาและช่วยเหลือ เอสเอ็มอีใน
คุณพัชรินทร์ ยังเล่าถึงประสบการณ์ตรงที่ได้ทำ เรื่องเครือข่ายทางธุรกิจ เป็นการลดความเสี่ยงในธุรกิจได้
การค้ากับประเทศอินโดนีเซีย ว่าคุณภาพสินค้าและโรงงาน รวมถึงเรื่องการทำการตลาดให้เข้มแข็งมากยิ่งขึ้นเพื่อ
ของเรา สามารถตอบโจทย์เรื่องความสามารถในการผลิต พัฒนาให้การส่งสินค้าของไทยไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง
และเทคโนโลยีที่ใช้ได้ อย่างไรก็ตามปัญหาและอุปสรรคต่อ ต่างชาติ ก็น่าจะสามารถทำกำไรได้มากกว่าการเป็นผู้ผลิต
การประกอบธุรกิจดังกล่าวที่พบมีหลายด้าน ได้แก่
เพียงอย่างเดียว จึงอยากฝากให้ภาครัฐช่วย ผลักดันผู้
ประกอบการไทยให้ขยายการค้าการลงทุนไปยังต่าง
• ปัญหาเรื่องคู่ค้าไม่สามารถทำตามที่สัญญากันไว้ ประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะอินโดนีเซียซึ่งมีตลาดใหญ่
ไม่ตรงต่อเวลา ขาดวินัย และมักรับปากเพื่อปิดโอกาสไม่ให้ มีศักยภาพและมีความพร้อมในหลายด้าน เพราะหาก
ไปติดต่อกับคู่ค้ารายอื่นๆได้ ดังนั้นในการหาคู่ค้าจึงควร เริ่มต้นช้าไปโอกาสตีตลาดอินโดนีเซียก็จะทำได้ยากยิ่งขึ้น

พิจารณาให้รอบคอบถึงความสามารถของคู่ค้า
ข้อมลู จาก: www.tate-vehicle.co.th


• ปัญหาการขนส่งไปขาย เพราะภูมิประเทศเป็น
หมู่เกาะ ต้องอาศัยการขนส่งสินค้าทางเรือเป็นหลัก แต่มัก
เกิดความสับสนในเรื่องของท่าเรือรับส่งสินค้า


บรษิ ทั ตติ ยานยนต์ จำกัด (เครื่องจักรกลการเกษตร)

เลขที่ 703 ถนนเพชรเกษม

แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ

โทร 02-8047981-2

www.tate-vehicle.co.th


อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
29

Information

เรอ่ื ง: ปาณทพิ ย์ เปลย่ี นโมฬี


สญั ลกั ษณบ์ ่งบอกวัฒนธรรม

ประจำชาตอิ าเซยี น


ประเทศ เมอื งหลวง คำทกั ทาย อาหารประจำชาต ิ ดอกไมป้ ระจำชาติ


ราชอาณาจกั รไทย กรงุ เทพมหานคร สวสั ด ี ตม้ ยำกงุ้ ดอกราชพฤกษ์ /ดอกคณู


สหภาพพมา่ เนปดี อว ์ มงิ กาลาบา หลา่ เพด็ (Lahpet) ประดู่ (Padauk)

นำใบชามาหมกั ทาน


กบั เครอ่ื งเคยี ง


สาธารณรฐั เวยี งจนั ทน ์ สะบายด ี ซบุ ไก่ (Chicken Soup) ลลี าวดี

ประชาธปิ ไตย
ตม้ ไกใ่ สต่ ะไคร้ ใบสะระแหน่

ประชาชนลาว

(สปป.ลาว)
ปรงุ รสเปรย้ี วๆเผด็ ๆ


ราชอาณาจกั รกมั พชู า พนมเปญ ซวั สเด อามอ็ ก (Amok) ดอกลำดวน (Rumdul)

คลา้ ยหอ่ หมก ทำจากปลา


เครอ่ื งแกง และกะทิ


30 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

ประเทศ เมอื งหลวง คำทกั ทาย อาหารประจำชาต ิ ดอกไมป้ ระจำชาติ


สาธารณรฐั สงั คม ฮานอย ซนิ จา่ ว Nem ดอกบวั

นยิ มเวยี ดนาม หรอื เปาะเปย๊ี ะเวยี ดนาม

แผน่ แปง้ หอ่ ไสห้ มู กงุ้ ไก่


กนิ กบั นำ้ จม้ิ


มาเลเซยี กวั ลาลมั เปอร ์ ซาลามตั ดานงั นาซิ เลอมกั (Nasi Lemak) ชบา (Hibiscus)

ใบเขตา้ยวทหางุ นกกบั บั กเะคทรอ่ืแิ งลเะค
ยี ง


ปลา ถว่ั ไข่


สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี จาการต์ า ซาลามตั เซยี ง กาโด กาโด (Gado Gado) ดอ(Mกกoลonว้ ยOไมrcร้hาidต)
ร ี

ผกั และธญั พชื ราดดว้ ยซอสถว่ั


สาธารณรฐั สงิ คโปร์ สงิ คโปร ์ หนหี า่ ว ลกั สา (Laksa) ดอกกลว้ ยไมใ้ นกลมุ่

เปน็ กว๋ ยเตย๋ี วตม้ ยำ (ใสก่ ะท)ิ แวนดา้ (Vanda Miss Joaquim)


สาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ มะนลิ า กมู สุ ตา อโดโบ้ (Adobo) ดอกพดุ แกว้

ทำจากเนอ้ื หมหู รอื ไกห่ มกั (Sampaguita Jasmine)

ปรงุ รสกอ่ นนำไปอบหรอื ทอด




บรไู นดารสุ ซาลาม บนั ดาร ์ ซาลามตั ดานงั อมั บยู ตั (Ambuyat) ดอก Simpor

เสรเี บกาวาน แปง้ เหนยี วขน้ ทานกบั หรอื ทเ่ี รารจู้ กั กนั

ในชอ่ื ดอก Dillenia

เครอ่ื งเคยี ง

อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
31

Knowledge

เรอ่ื ง : จารวุ รรณ เจตเกษกจิ


กฎหมาย - สิทธปิ ระโยชน์ - ข้อพงึ ระวัง

ของชาตติ ่างๆ ในกล่มุ AEC ทีน่ ักลงทุนพึงรู้ไว


กัมพูชา (Cambodia)
• ระบบการเงิน การธนาคาร และกระบวนการยุติธรรม อยู่ระหว่าง
พฒั นาใหม้ คี วามเปน็ สากลและนา่ เชอ่ื ถอื

กฎหมาย-สทิ ธปิ ระโยชนเ์ กย่ี วกบั การลงทนุ จาก
ตา่ งประเทศทส่ี ำคญั
• ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งไทยและกมั พชู า อยรู่ ะหวา่ งคลค่ี ลาย และเปน็
การสง่ เสรมิ การลงทนุ
ปเผนปรู้บา่รรื่อะเะรงชวโิโลอ่ืยภตั •ะถชศิคเอืกนอากทาส์ใียัมรนาตดจพงกรอา้กูช์ัมง่อาดาพพรนนิ เนัูชมองแธานิดยาเมกกน่าปติอ่ง็นรไแนดวรใลทังนนิธะำนีททั้นวสั้นอ้ี่มกจิ ญั คง่อีปาถวรญนรน่ิณระทาหสท์ำเใลชิทดกาน่ีกธๆงาเกิภ
รลตคาาี่ยวั ร้าพแงเ/มททกกอืาานี่สงรรุหด
ลพใรงนูอดื ทผกถุนจู้าึงดัถรเคจ้าขวไำ้ามรหตต่จนลรำา่ าวเยปดจเแ็นพสลออ่ื ะทบดเแูั้งคขเลว้ารผาถื่อมลึงง
ร1ะ00ยะแเ•ลวละเาไปดดิร้3บัเสกปราี กีรหยาากรกเลวเขงน้ า้ทภไนุปาษลโตีงดทายมนุ อเใงนนอ่ื ญุเนขาไตขตนกใคิ หามรช้ ลอางตุวทตสนุา่างหเชชกาน่รตรลิยมงกทเแวนุตน้ ไถ่ ภดา้ ร้านอ้ษำยเี เปลงน็นิะ
เข้ามาลงทุน 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ จะได้สิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษี • คนกมั พชู าสามารถพดู ไดห้ ลายภาษา ทง้ั ภาษาเขมร ไทย เวยี ดนาม
4 ปี ถา้ ลงทนุ 10-30 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ฯ จะไดร้ บั การยกเวน้ ภาษี 5 ปี อังกฤษ หรือแม้กระทั่งภาษาจีน ญี่ปุ่น และเกาหลี อย่างไรนั้นนักลงทุน/
และถา้ ลงทนุ เกนิ 30 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ฯ จะยกเวน้ ภาษใี ห้ 6 ปี อยา่ งไรนน้ั คา้ ขาย กค็ วรเรยี นรภู้ าษาเขมรเพอ่ื การสอ่ื สารเบอ้ื งตน้

ปนผลู้ติจั งจบิ ทบุคุ นุ•••นัค
ภลสใไากหมาษมั้ห่มมนีพลาีกติชรูักาถบิาปรโแคุครอลคะวนะกลบเไงันอมคนิ นยมุ่มอทู่ักกี หอร่ีลาอก้รงรืยอนยทลกอดึุนะกาโตครป่า2รกร0งงำะ
ชกเหาาทตนรศลิไดไดงดรท้ราอ้ ับนุ คยกมา่าาางสรเเิปนสปน็รคฏีข้าิบโอแดัตงลยิทระไฐัี่เมทบ
ม่่ารเขีิกทอ้ าียจรมำขกกอับดั ง
ไม่ว่าจะเป็นเงินเพื่อการชำระค่าสินค้า เงินต้น ดอกเบี้ย ค่าใช้สิทธิ์ • การใช้จ่ายในกัมพูชา สามารถใช้ได้ทั้งเงินสกุลเรียลของกัมพูชา
คา่ จดั การ รวมทง้ั สามารถโอนกำไรหรอื เงนิ ทนุ กลบั ประเทศไดท้ ง้ั ระหวา่ ง นดน้อั ลในลราะรบส์ บหเรศฐั รฯษฐแกลจิ ะสแว่ มนก้ ใรหะญทจ่ง่ั เะงในิ ชดเ้ งอ่ นิ งดเวอยี ลดลนาารส์มหรแฐัลฯะ
เงนิ บาทไทย อยา่ งไร
ดำเนนิ โครงการและภายหลงั เลกิ โครงการ

แรงงาน ค่าแรงเฉลี่ยต่อเดือนยังคงอยู่ในระดับต่ำเพียง 66 ขอ้ ควรรอู้ นื่ ๆ

กดปททมัด่อีด่ีระนพลินิ ทลสชรู ้วทะางูางสยรดค่ี กส์ดุะนอิ่ ันหยนบาร9ขใฐัห9ว่อา้ ฯจส้งยปะมทิคหไีาธรมแรกนิั้งม่อืล
กั ขีะแลปอ้ใลงหจระทเ้ะำกชนุ มกาฎ่ตดัาอหา่ ณดางมคชา้ านาา2ยรตร,แห0ะเิ ช0รรยง0า่อื ะงทสเาบวด่ีง่ิ นลปานิ ไทาลไดดใกู้ใน้อหสกทยร้คาง้ัา้า่วรนงงาเสห้ีไชมรงูาา่ นคสกน้ัุ้มดุเ(ปปแคน็จัร7รงจส0องบุญังาปแนันญร)ีใมงหาหงกี เ้เาาชชานกาา่่ร เทFทรlาายีoงaงลศtกinลุห••าgกรรอรืกาะEกัปม1บxรัพจcบบhจูชหอาaุบารตัnทอไืันgรปดeาอร้รGแะัตับRSลมรPสaกาาtิทเณeแป(G)ธลลeิป1กโยี่nด3รเนe0ปยะrใaลโธเชlรยiนี่ยz้แยี ชeาบนลdนคบ์(จาม1Sลารy.อคกกsดยtลนeอ5ตาmา6ลวั ง)นลภ
กาoาาัมfปยรพ์สรใPูชตะrหeาเก้ รทfeาัฐศrเรeฯปจnป็นดัเcชรeผก่ะนsู้กา)มรำสาภห(ณิทาMนษธดaีิพ4nอMa,ิเัต0gศF0รeษNา0d
เปน็ สญั ญาเชา่ ทด่ี นิ ระยะสน้ั ทม่ี กี ารกำหนดเวลาในการเชา่ ไว้ สามารถตอ่ ((Most-Favored Nation Treatment) จากสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และ
อายุใหม่ได้ สำหรับการถือครองกรรมสิทธิ์ในที่ดินนั้น ชาวต่างชาติไม่ ประเทศที่พัฒนาแล้วต่างๆ และสิทธิประโยชน์ภายใต้กรอบความร่วมมือ
สามารถถอื ครองได้
WTO APEC GMS ACMECS

ขอ้ พงึ ระวงั

• กฎหมายและกฎระเบียบอยู่ระหว่างการปรับปรุงทำให้มี • กัมพูชากำลังจะออกกฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ ในปี ค.ศ 2015
การเปลย่ี นแปลงบอ่ ย
ก(กโจพดาาาย.กรรศเผไนก.มลบั•อืม่2ติ ถบ5ขีชภอืท5อ้ าาศ8กุกวย)าบำกใสหเนา้ัมพนนนปพื่อาจดรูชพดะะเารึงมทุเอท่ืกนเธี งคศับักนกเชลบกิ(าlาoงาล้ิรวcทสยรaไบังุ่นเทlถอสเcยรขอoญั วม้าnกาีวมญteทัฒา(nาเeลหtณxน)งมpธ
ทจoอืรrาุนรนtกมกpไโคนัทeดลrยยf้าทoส
ยrง้ัmิทคนaธช้ลี nิปาึงcรวกeะก)ันโมั มยแพาลชชูกะนาส์ทรสดั ี่สบั ่วสำสนว่คอ่ื นหัญไมนทลูึ่งยคมคไดือาา่ ้
• ระบบการจ่ายเงินใต้โต๊ะยังมีอยู่มาก เพราะการจ่ายเงินเพื่อ
อหปสคำำนนฏนค)บ่วิ ญัวยแตั ย•งลิ
คาะโตดนวรลาอ้ยขามยเอดฉสลงบพระะราัฐดโิะ8ยภวเ0ังกจคขาท้ใขาหนาอดกนงงกธมัปา้ รุาทพรกระท่ีชูใจิ ชอ้หากางม้บากถขีรรรน่ินคิกทมาา้าง้ั กัดเรปปทตไรมน็ ดัะี่เปใ่เเสรหท็นอ่ืนิ ญศสงใเทจามป่ โกส่ีาน็ดลากผยมมู้ใ(าแปชรี รลาด้รถยะะลุ ทชมไพดำาีปนิ ไน้กดัญจิ อ้ร้ตยห~ตนา1ลอเใ4ออยนงดา่ลทเปงจา้าไน็นนงร • ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ (Valued Added Tax-VAT) อตั รารอ้ ยละ 10

นั้นปัจจุบันชาวกัมพูชาเริ่มมีกำลังซื้อมากขึ้น (รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี
ในปี 2555 อยทู่ ป่ี ระมาณ 2,361 ดอลลารส์ หรฐั ฯ หรอื 76,000 บาท)
และตอ้ งการสนิ คา้ ทม่ี คี ณุ ภาพ โดยในสายตาของผบู้ รโิ ภคกมั พชู าสนิ คา้
ไทยเปน็ สนิ คา้ ทม่ี คี ณุ ภาพดกี วา่ เวยี ดนามและจนี ทง้ั นส้ี นิ คา้ ตดิ ตลาดมกั
ปเถพกคาูลฒักรรอืล่อคนมงมอา•เหคนกทมโราเคอ่ืำคาลงใรมยหหงียขกสใ้มนนนาราปสร้าแยคง่งจักบพ้าจาเบหกบุื้นรนค็่นัอฐา้ไอนดาด
านทัจ้งจโำานยดกกงััย้าคนมเรา่ฉไีใตมใพนชลเ่ พาจ้ราะา่ยีะดยรงยะใพนเะบอพดเบื่รอา้เสชินป่มาน่น้อธตส้ีงาไ้งูกนฟรณันฟครวกาู้ปวมารโนถรภจงึำถ้ คคดปูกอา่รทลทยะอะปดู่ี่รกะเนิาบเหลแแวียียลล่านนะะง
คา่ เชา่ อาคารทม่ี รี าคาสงู ดว้ ยเชน่ กนั ตลอดจนพน้ื ทห่ี า่ งไกลยงั มอี นั ตราย
จากกบั ระเบดิ


32 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

บรูไน (Brunei)
• ตลาดบริโภคขนาดเล็กมาก เพราะมีประชากรน้อย อย่างไรนั้น
กำลังซื้อมีสูงมาก เห็นได้จากรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี ในปี 2555 อยู่ที่
กฎหมาย-สทิ ธปิ ระโยชนเ์ กย่ี วกบั การลงทนุ ประมาณ 50,440 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือ 1.6 ล้านบาท เพราะบรูไนเป็น
จากตา่ งประเทศทสี่ ำคญั
ประเทศที่อุดมไปด้วยแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ (ราคาขายน้ำมันใน
บรไู น ดเี ซลอยทู่ ล่ี ติ รละ 8 บาท เบนซลิ ลติ รละ 12 บาทเทา่ นน้ั )

การสง่ เสรมิ การลงทนุ

รท้อายงกลาะ•ร
อ10น0ุญทาง้ัตนก้สี าารขลางกทาุนรลจงาทกนุตท่า่ีองปนุญระาเทตศจะขแ้ึนลอะยให่กู ้ตบั ่ากงาชรตาตัดสิถนิือใหจุ้นขไอดง้ • บรูไนยังไม่สามารถผลิตอาหารได้เพียงพอต่อความต้องการของ
คนในประเทศ เหน็ ไดจ้ ากรอ้ ยละ 60 ของอาหารทบ่ี รโิ ภคในประเทศมาจาก
• ไมม่ กี ารเกบ็ ภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คธรรมดาและหา้ งหนุ้ สว่ น และไมม่ ภี าษี การนำเขา้ และสว่ นมากนำเขา้ มาจากกลมุ่ ประเทศอาเซยี น

สง่ ออก ภาษขี าย ภาษเี งนิ เดอื น ภาษกี ารผลติ มเี พยี งการเรยี กเกบ็ ภาษี
นติ บิ คุ คลจากรปู บรษิ ทั เทา่ นน้ั โดยปจั จบุ นั อยทู่ ร่ี อ้ ยละ 22 นอกจากนย้ี งั มี • การเจรจาธรุ กจิ กบั ชาวบรไู นมกั ตอ้ งมกี ารพบปะกนั มากกวา่ 1 ครง้ั
การยกเวน้ ภาษตี า่ งๆ ใหแ้ กผ่ เู้ รม่ิ กจิ การและกจิ การทไ่ี ดร้ บั การสง่ เสรมิ ให้ เนื่องจากวัฒนธรรมของชาวบรูไนเน้นการพบปะเพื่อให้เกิดมิตรภาพและ
กปาระรจกา้องบงใานนบในรไูปนระพเทรศอ้ ม
ยงั ใหส้ ทิ ธพิ เิ ศษตา่ งๆ เพอ่ื จงู ใจใหม้ กี ารลงทนุ และ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลมากกวา่ มงุ่ เนน้ ใหเ้ กดิ ธรุ กจิ เพยี งอยา่ งเดยี ว


แรงงาน
• บรไู นไมม่ กี ารจดั เกบ็ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ (Valued Added Tax-VAT)

บเปรน็ ไู นไป••เตชาน่บกมารกคไูรนาวจรไา้ามอมงนไ่แตดญุรอ้ ก้ งงาำงกตหาาในนรหขมดม้ ออีคกี งตัวาตรารลามจาคา้ยดา่งืด
จแหรา้ งยงงขุ่นาน้ั นตดตำ่ ้วา่ ยงคชขา่า้อจตจา้ไิ ำดงกใ้
นัดแดต้าล่ นะแสรางขงาาอนาขชอพี ง • บรไู นเปน็ ประเทศสงั คมมสุ ลมิ ทำใหม้ สี ภาพชวี ติ ความเปน็ อยคู่ อ่ น
ขา้ งเรยี บงา่ ยไมม่ สี ถานบนั เทงิ เรงิ รมย์ ทำใหห้ ลงั เลกิ งานชาวบรไู นสว่ นใหญ่
ขอ้ พงึ ระวงั
จะอยู่ในที่พัก และสิทธิสตรีถูกจำกัดตามหลักศาสนา อย่างไรนั้นรัฐบาล
บรไู นไดเ้ รม่ิ เปดิ กวา้ งในเรอ่ื งสทิ ธสิ ตรมี ากขน้ึ แลว้ เหน็ ไดจ้ ากการประกาศ
สสกขบอ่นง่ำรผไูคนสนลัญ
่งแใ•รหละทกก้ะหสราำวะรงิใ่าบนหคงวำ้กโปปนเาขรรกรา้ะม์ขา-เสคีนรทสง่วสศอง่ัา่งขซอมสนอ้ืกใ่วสกาสนนิดลนิ ใคช้ใคหหา้ิดา้ญขญกอ่จนัม่สงะมกั บ่วตจารน้อกะไู มงนขใมนาน้ึมกีกทอขี จาาน้ัยรงะตกู่ ขเมบัอศนีนชรนสษามกั ่งวฐาธผสกกรุ ่ากิงิจนคจิแทสลทโปางิะำงครเในสห์รโอป่ืิง่วบ้ คงมรรจเ์โษิทปปาุนน็ัทกร์ แก้ไขกฎหมายครอบครัวอิสลาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปกป้องสตรีและ
• ขาดแคลนแรงงาน เนอ่ื งจากประชากรมเี พยี ง 4 แสนกวา่ คน
เดก็ จากปญั หาความรนุ แรงในครอบครวั

• Brunei Halal ตราสมี ว่ ง เปน็ ตรารบั รองมาตรฐานสนิ คา้ ฮาลาลท่ี • โครงการก่อสร้างสะพานมิตรภาพบรูไน-มาเลเซีย เพื่อเชื่อมโยง
เสน้ ทางการเดนิ ทางผา่ นเขต Temburong ของบรไู น และเขต Limbang ของ
ออกโดยกระทรวงศาสนาบรูไน ซึ่งประเทศต่างๆ สามารถขอตรา รัฐซาราวัคของมาเลเซียได้เริ่มขึ้นแล้วเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2554 เมื่อ
รบั รองดงั กลา่ วเพอ่ื ใชใ้ นสนิ คา้ ทผ่ี ลติ ของตน
การกอ่ สรา้ งสะพานแลว้ เสรจ็ จะชว่ ยสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ภายในภมู ภิ าค โดย
เพม่ิ โอกาสทางธรุ กจิ ใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการของทง้ั สองประเทศ และสง่ เสรมิ
Brunei Halal ตราสเี ขยี ว ใชก้ บั สนิ คา้ ฮาลาลทผ่ี ลติ ในบรไู น การทอ่ งเทย่ี วในเขต Temburong ของบรไู นดว้ ย

เทา่ นนั้

ฟิลปิ ปนิ ส์ (The Philippines)

Bฮ
าruลnาลeiทผ่ี Hลaติ laในl บตรรไู านสเทเี ขา่ ยี นวน้ั
ใชก้ บั สนิ คา้
Brunei Halal ตราสีม่วง เป็นตรา กฎหมาย-สทิ ธปิ ระโยชนเ์ กยี่ วกบั การลงทนุ จาก
รบั รองมาตรฐานสนิ คา้ ฮาลาลทอ่ี อกโดย ตา่ งประเทศทส่ี ำคญั

กระทรวงศาสนาบรไู น ซง่ึ ประเทศตา่ งๆ
สสนิามคาา้ รทถผ่ี ขลอติ ตขรอางรตบั นร
องดงั กลา่ วเพอ่ื ใชใ้ น การสง่ เสรมิ การลงทนุ

• รฐั บาลฟลิ ปิ ปนิ สม์ กี ารใหส้ ทิ ธปิ ระโยชนแ์ กน่ กั ลงทนุ แตกตา่ งกนั
• ไมม่ ขี อ้ กำหนดโดยเฉพาะในดา้ นการปอ้ งกนั การลอกเลยี นแบบ
แมว้ า่ จะจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา้ และสทิ ธบิ ตั ร อยา่ งไรนน้ั หากมี ไปขน้ึ อยกู่ บั สถานทต่ี ง้ั และการจดทะเบยี นธรุ กจิ

กเมเศลรารือณกษกกเีฐกเว•รกดิา่ ียจิ ขสขแนานา้ึ ลใขดจนะาะแอเสยคศตุ าดึลรสขตษนาาาฐทหมมศรกนราัพระสุษรยเมตบยารยี กศเ์ บนแราปอ่บืลสงฏะุคตจกบิคราาตั์ลกรขิศนบอาผกัรงสหิู้มเสรนาีคยีหรานวราา
หนชมกอัรรือูาศ้คณนกึวษาโายมจาบบเกั ชารรี่ย
ไูยนวสยชางัาธคญางรดนณยิ้านมะ • การลงทุนในเขตนิคมอุตสาหกรรมหรือเขตเศรษฐกิจพิเศษ

ขอ้ ควรรอู้ นื่ ๆ
มสคโดทิา่คี ยใธวชกพิาจ้ มร•แเิ า่ศุงพรยษมสงรตงาะอ้ าา่เมนมชนงนา่ขิลๆรอาอกถใงซตหั านโึ่งครก้รำมายบรั เคงงกีอภสาิ่นเัตาวจร/คนร้ผา้า้ ารงภลงฐัพคขากแน่้นื้าัษำลจฐตไเี ว้งรา้าำ่ นิ
กนขงไลสแอดัลบูงงน้ ฟสะปติ อลุิดรบิ ตุปิะปคุ สเปัจทคานิจลศหสุบเไกปแ์ดันรน็ต้รคเกมหว่าตสลลแา่นาังรงบัจงก4าขส-นั 8กัน้นใหนุปนตักแี่ำ
แภตอลล่ายะษะู่ทไพีแดี่ น้ืลร้1บัทะ0่ี
สมรกเศฐั ง่ษคี รมผวษัตนลารฐมใต•ิยกหปร์เจิบเ้วีปลสเรา่ป็อนถไูกน็นดทยี าแปภรั้งรบภกกยัปบาครสระพตะงรู ทอสมคลงรำวาุขวรหดาแะงรมเลบกบสั มะลอรชน่ันีาบาคโภารวหงายตามทชยกา่ แาางใรธตลงชัฐกปิก้าะมาตไรานตฐรัริ
เตยดมมอรแูนอื ีสิลตงแลขมรลอาวี สี มะา่งงู รกยมมฐั าังลารทากแกรยลรงูตะะดโลทเดำปอรยรน็วดมงปงตจพี กรนำราะแะรรเะทหมคบศหนลบทา่งงั ่ี ดอลลาร์สหรัฐฯต่อวัน ทั้งนี้สหภาพแรงงานฟิลิปปินส์มีความแข็งแกร่ง
มบี ทบาทมาก และมกี ารเรยี กรอ้ งคา่ แรงเพม่ิ บอ่ ย


ทด่ี นิ ใหส้ ทิ ธนิ กั ลงทนุ ตา่ งชาตถิ อื ครองทด่ี นิ ในกรณที ม่ี กี ารรว่ มทนุ
กบั คนฟลิ ปิ ปนิ ส์ โดยถอื หนุ้ ไดไ้ มเ่ กนิ รอ้ ยละ 40 และสามารถเชา่ ทด่ี นิ ได้
สถอืงู สคดุรอมงาทกด่ี กนิ ว
า่ 50 ปี รวมถงึ สามารถซอ้ื ทอ่ี ยอู่ าศยั ไดแ้ ตไ่ มไ่ ดร้ บั สทิ ธใิ ห้

ขอ้ พงึ ระวงั

• อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลปัจจุบันกำหนดไว้ที่ร้อยละ 30 และ
ภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 12 ซึ่งสูงที่สุดในประเทศสมาชิกอาเซียน ทั้งนี้
สนิ คา้ ทม่ี แี หลง่ กำเหนดิ จากไทยจะไดร้ บั สทิ ธพิ เิ ศษทางภาษี โดยมอี ตั รา
ภแวสนุ่ลาาวธะษาาในี นยร••ำณบทเขไโาาปูมคา้งงโม่กพรภMงคาีน้ืคสรFวทขเNรามม่ีน้ั้ามอืคีพแงปงวลพน้ือลาะฐื้ยนอมาบู่CดฐเนสอE่ภามย่ีPยนยั งไีTคใยมตนรรังเ่อ่ง้ัพชะไก
วีมหยี าติว่งไรแดาพ่ ถงล้รอกู ระับจอ้ ทเกบัยหราลตพัน็ ระวั ไยพไดส์ป0ัฒจ้ นิเ-ารนยีก1มา0กไพฟี
มควฟา่ากไาก้ ถลดน่กับั ักรเบลวมอ่ก็โดยถขยโงึ มมเเปฉยคี น็พนวตอ้าาน้มยะ
อยา่ งไรนน้ั รฐั บาลกำลงั เรง่ ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งพน้ื ฐาน เพอ่ื ดงึ ดดู การลงทนุ
จากตา่ งประเทศ


อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
33

• ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของฟลิ ปิ ปนิ สป์ ระกอบดว้ ยมากกวา่ 7,000 • บรษิ ทั ทด่ี ำเนนิ การลงทนุ ดา้ นการวจิ ยั และพฒั นาเองจะสามารถนำ
หมู่เกาะ ทำให้เส้นทางคมนาคมไม่สะดวก เนื่องจากยังไม่มีการสร้าง คา่ ใชจ้ า่ ยมาหกั ภาษไี ด้

ถนนเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งแต่ละเกาะภายในฟิลิปปินส์ ทำใหต้ น้ ทนุ ค่าขนส่ง ไ1ด0,ร้ 0บั 0ก0•แ•ทารด่บีสรธงนิเาารุหงทมกาน็ใตจิานหชรตอ่ ส้อถเา่คทิบดสง่าธอืจชง่ นิแนเาางรกักตนิ ง
ลรสิกขฐังาลั้นบทมบัตานุ าใล่ำตรนถา่ ร
3กงปู 0ชยู้ เ0างมื นิตเดงตเิ ชนิอรา่ จาลทาตลด่ีกา่ านิแงรปไห์สดรลหส้ะง่ รงเูททัฐสนุศตดุ ใไ่อนด3เป้
0ด-ร9ือะ9นเทปศหี ไรด
ือโ้ ปดยระไมมต่ าอ้ณง
สินค้าสงู และการขนส่งสินค้าทั้งจากภายนอกและภายในประเทศล้วน
พมแปลกังร่ึ ะพเะกมาคดิ าก••นขณาจน้ึภใรรนนขรัยอ้นุนสพยแัสง(ิลบปรคง่ งะัตรทมบะิทาฟอ่4ชงา0ิลยเางรคิปกธอื ขรปรเรองป้ัรทินงมน็
ีจ่มสสชำ์มีฐำานีคคาตวนญัวิ นาไะป
ดมยร้แแาะกตกช่กาจไตกนตร่าม้ฝทงาุ่นงก้ั กหันภมม(ดูเbาข)eกาlรทไoฟะwง้ั หรนะวร้ี pเา่าบoยงvิดผไeดู้มrเ้ดtีฐฉyินลาถนย่lี inลตะe่มดอ่ )ี ขอ้ พงึ ระวงั

คนตอ่ ปี ในปี 2555 อยทู่ ป่ี ระมาณ 4,214 ดอลลารส์ หรฐั ฯ หรอื 135,000 ทนั ที
• ภาษนี ำเขา้ คอ่ นขา้ งสงู และตอ้ งดำเนนิ การเสยี ภาษี ณ จดุ นำเขา้ โดย
บาท อยา่ งไรนน้ั ผมู้ รี ายไดร้ ะดบั ปานกลางเรม่ิ มากขน้ึ

• อตั ราภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลปจั จบุ นั กำหนดไวท้ ร่ี อ้ ยละ 25 และภาษี
• ยังมีปัญหาการคอรัปชั่นแม้รัฐบาลจะมีนโยบายปราบปราม การขาย (Sales Tax) สำหรบั สนิ คา้ ทน่ี ำเขา้ มาจำหนา่ ยในประเทศมาเลเซยี
เขม้ งวดขน้ึ
จะตอ้ งเสยี รอ้ ยละ 10 ทง้ั นม้ี าเลเซยี ไมม่ กี ารจดั เกบ็ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ


• ฟลิ ปิ ปนิ สก์ ำลงั มขี อ้ พพิ าทกบั ประเทศจนี เรอ่ื งเขตแดนทางทะเล
• มาเลเซียมักใช้มาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี (NTBs) เช่น
ขอ้ ควรรอู้ นื่ ๆ
Cกมทลeขิผั่บีาrสตลสtiทิรตfิินiกc•ธไคaดาแ์ิ t้ารสใi้ลoทดนินnะา้ปี่นรคนเบัรำป้าสะเรน็ทขเขุอทต้าี่ตองศมน้กนิด
)าาาตแรมมลคลายั ามุ้้วเปดคอ(กน็มาราขอจักรอ้งสตถสกรดิูกนิดี้าฉลคกงลอคาน้ั ากนวทกาเำาลมเ/งขียกเกา้สนาาียรแรเคนหกบา้อ่ืำาบรหงยะจนหแาหดวมกปรา่ ม้จืองราะปเมิ ปตมาร็นระีณกกคเาทาสู่แรศราขจยร่งดโงัปดกไทนมยับะเช่เปสเฉดับอิ้นืพเียนคจานน้าะ/
• ความนา่ สนใจของฟลิ ปิ ปนิ สอ์ ยทู่ ท่ี รพั ยากรธรรมชาตทิ ย่ี งั ไมไ่ ดม้ ี เทา่ ทค่ี วร

มขทกตทอาา่ออ่ปี รงงงงรนปคเคะทำรชนำย่ีะมาใวเเนกางททในิรปศข่ีชเรกทน้ึป้นะอืน่ีชรกิเบอ่ืทะำเกรโจศยาลิ1ำดชย0นีขสน0ไวดึ้นงัอ์นเ้กลยขมะา้แา่า้ าสนลงปกีคเะรตฯนมะลรม็ เีกวฯททตมำ)ศ่ี ลลถพจเชองังึ นำ้ื กซน่ดนทาื้อจวก่ีรทสนนเาปี่ตชัมมรน็่วเวรีากยาน์ตกษยกำ้ลตไราทดะรทดำท้ทตรขใม่ีาพัุ้นหนงน่ักยฐ้าภคาดาาางนกรใคจหบระใาแญครตกริโว้ภ่่แาแเ(รคมลนทงภะเอ่ืองปาแางงน็ยจหนแอาใดลในนกยงง่ ู่
ประเทศ
• มาเลเซียไม่อนุญาตให้รถบรรทุกสินค้าของไทยเข้าไปในมาเลเซีย
• ฟลิ ปิ ปนิ สก์ ำลงั จะเปน็ ศนู ยก์ ลางธรุ กจิ บรกิ ารขา้ มประเทศ CALL ทำใหผ้ สู้ ง่ ออกของไทยตอ้ งขนถา่ ยสนิ คา้ เปลย่ี นรถทบ่ี รเิ วณชายแดน

CENTER แทนทอ่ี นิ เดยี

• ฟลิ ปิ ปนิ สเ์ ปน็ ประเทศทม่ี คี วามสามารถในการผลติ สนิ คา้ อาหาร ขอ้ ควรรอู้ น่ื ๆ

แสสเรชัฐลง่ินน่ อบะคอปขา้าก•า้ลอรวะาฟซรสหง่ึสิแลบราตนิปวรปไ่ยิมจปมัญมำถิเ่นพนขงึหสออยีวา์เางนงภรหพผมิ่มัยบู้าอาดธรบรกรฮำโิ รรภาเโิมนโลภคดชินาคฟยาลกใลิสตนาปิา
ิอปรเปยพหรนิะ่าตัฒเงสุสทต์นำศ่อคาคเอ่อฟัญนนุตลิื่อมขปิสงาา้ ปาจงอหนิหายกสกล่าต์รกางรอ้กาไมงรหรพมอกลง่ึาีป็ตาพหารยาะมากชรโาดาเปพรกยัจนื่อรทจำมกว่ั เุบาขไาปันกา้ร • แม้ว่าตลาดมาเลเซียมขี นาดเล็กแต่สามารถนำไปส่ตู ลาดท่ีใหญไ่ ด้
รสนยิ มในการบรโิ ภคสนิ คา้ จะเนน้ สนิ คา้ ทม่ี คี วามเรยี บงา่ ย สะดวกและ เพราะเป็นประเทศที่สามารถกระจายสินค้าต่อไปยังประเทศอื่นๆ ได้
เหมาะสมกับระดับรายได้ และปัจจุบันได้เริ่มเปลี่ยนไปตามนโยบาย (Springboard) เนอ่ื งจากนกั ธรุ กจิ ในมาเลเซยี สว่ นใหญม่ คี คู่ า้ และเครอื ขา่ ย
รฐั บาลในทางทจ่ี ะชว่ ยกนั อนรุ กั ษธ์ รรมชาตแิ ละลดมลภาวะโลกรอ้ นมาก ทมน16เน่้ีัาป,ก1กน็8กำต6ลว••ลา่งัดตดารซอลอ้ดอ้ื่าลยาใสนลหดลงูยาญมะะรเสุ หส์เ่โป6ลฮหน็ 0น็มิรรไ์บจดขฐั ขำนจา้ฯอนราางหู-กวดปTรนรกuรอืามaละยsาช5าไก2งาด(0กมเ้ดอ,ฉร0าาว้ทล0เทยลย่ีง้ั บมิปตเจซาปีรอ่ นีียทะรคเ-
ะทนอสชนิตศิงาคเอ่นกดโปบัรยีปปีถ
รใรอื ์น)ะศปมเาปีาส2็นณน5ดา5่า25อน8สิ อพลลยารา้ ทู่มมนป่ี แครอดนะยนมา่แางล2ณไะ4ร
ยง่ิ ขน้ึ ดว้ ย
ชว่ั โมง ทม่ี กี ารจดั ระบบและขน้ั ตอนพธิ กี ารผา่ นแดนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
พรอ้ มมสี ง่ิ อำนวยความสะดวกรองรบั คน สนิ คา้ และยานพาหนะเขา้ -ออก
มาเลเซีย (Malaysia)
ตลอด 24 ชว่ั โมง


กฎหมาย-สิทธิประโยชน์เกี่ยวกับการลงทุน พม่า (Myanmar)

จากตา่ งประเทศทส่ี ำคญั

การส่งเสริมการลงทุน กฎหมายส่งเสริมการ กฎหมาย-สทิ ธปิ ระโยชนเ์ กยี่ วกบั การลงทนุ จากตา่ ง
ลงทุนจากต่างประเทศของมาเลเซีย มีความหลากหลาย ซึ่งนอกจาก ประเทศทส่ี ำคญั

สทิ ธปิ ระโยชนท์ างภาษแี ลว้ ยงั ไดม้ กี ารกำหนดสทิ ธปิ ระโยชนเ์ ปน็ พเิ ศษ ทพตรา่่ี.ศฐัง.ปอ2นร••5ะญุ 5เนนท5ากัักศต
ลล
งงฉททบนุ ุนบั ตตา่ก่า2งงา0ชช1ราา2สต”ตสิ่งิสาเมาสมผีมารลาริมบรถถกงัถครอืา่วบั หรมในุ้ลชทใงแุ้นนทลกกวุ้นับจิ นกรบั ัฐา“ตรหกไง้ั รฎดแือร้หตภอ้ ว่มยานั าคลทยเะ่ีอก2ก1าช0รพ0นลฤพงใศนมทจก่าุนกิ จิไจาดกยา้ใานนกร
ใใทภนนาี่รกอษัฐจติุ บี ใกส••าหาาง้รกธหนสทรุกาัว่กกร่ี รรนฐัลจิรสเองมทปนนทล่ีฐน็ ัญุบุางนเวทนสตาลนุคตน่าาวใงุนนา
ช5มราะโรปตยดู้ ี(ิะสKยแแnาเลรoฉมะกwพาหleราา(Pdถะกgioถเอeปnือ-ุตeBน็ หeสaกrsุ้นจาิ eกSหใdนtากaEรกtรcuทิจรosล่ี n)มกงoาฐทไmดรานุ yไร้ นใ)ดบั นคด้กรอวว้้อาตุ ยารยสล
มลาดรหะหู้ กยเ1รชอ่ร0่นมน0 สดั สว่ นไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 35 ของมลู คา่ การลงทนุ รวม

อตุ สาหกรรมทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยขี น้ั สงู การวจิ ยั และพฒั นา และอตุ สาหกรรม • ยกเวน้ ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล 5 ปแี รกนบั จากปที เ่ี รม่ิ ดำเนนิ การ และ
มัลติมีเดีย เป็นต้น จะได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ทั้งหมดเป็นเวลา อาจขยายเปน็ 8 ปี (ขน้ึ อยกู่ บั ประเภทกจิ การ และหลกั เกณฑ)์

5-10 ปี
• ยกเวน้ หรอื ลดหยอ่ นภาษเี งนิ ได้ จากการนำผลกำไรกลับไปลงทนุ
• รัฐบาลมาเลเซียจัดแพ็กเกจ (Packaged) สิทธิประโยชน์ซึ่ง ใผมทหลลีู่หมกคาภ่ำกา่ าไต••มรยลทีกไธใมาไ่าีนุรดดม่รรกจ้ใยกีะิจนาึดายสขกรกะณย่กงเิจวดอึากะลรกอนาสาจิกรน้ั ง่กมจ1อาโะาอปดรไเกมปยี

าจ็น้รเะัขบปคอกน็ ำงขานรอรัฐงึ ลงถบรดงึฐัาหปลบรยจาะ่อละโนพยตชรภิจานาาบข์รษณทอีเย่ีงงาปงัินจดรไ่าะำดยเเ้ทรนค้อศนิ่ายแธชลรุลดกะะเชจิปอย5รยใะ0หู่ชก้ตาขรชาอณมนงี
คพรขัฐอริเบอศงโบษาคลคแรจลงกกัดมุ ่โาคใทหรงร้ั แ้บสงลกทิระิษาธครปิัทวทรทาะี่มมี่สโีคยมนชวคีใจานณุ มสท์ คานาา่มง่านภาสา่ารนสถษในตแีจใ่อลอจระขยอสอ่างทิ งงไธโดโคปิด้ รรดขงะเกึ้นโดยาอ่นรชยนนู่กน้ัสอ์ ับๆิทน่ื ค
ๆธวิปาใรหมะเ้ตปโ้อยน็ งชกกนราณ์ทรี่ี พมา่ ”


34 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

ทั่วไปซ•ึ่งนปักัจลจงุบทันุนตธ่านงาชคาาตริกสลาามงแาหรถ่งใสชห้อภัตารพาเแมลียกนเปมลารี่ย์ นปเงรินะกตารราใตช่า้องัตปรราะแเทลศก สปป.ลาว (Laos)

เปลย่ี นลอยตวั แบบจดั การตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 เมษายน 2555 โดยประกาศอตั ราแลก
เปลย่ี นเงนิ ตราตา่ งประเทศเปน็ ประจำทกุ วนั
กฎหมาย-สิทธิประโยชน์เก่ียวกับการลงทุน
จากตา่ งประเทศทส่ี ำคญั

แรงงาน
ใปนรกะจิ โกย••าชรไนนดทัก์ร้ร่ี ลบฐัั3องสทนรทิ ะญุุนธดพิตกาับเิ่ตาาศขงรษ
ชสอทางง่ าตเกงสิสิจภรากามิ มษาการตี าแรารถลมลถะทงือเร่ีทขฐัหนุตกุ้น
พำใหื้นนนกทดิจี่ทกีโ่รดาัฐรยใไเหปด้กน็้ร้อาไปยรตสลา่งะมเสส1รทิ0ิมธ0


• ตอ้ งจา้ งพนกั งานพมา่ ในตำแหนง่ ทไ่ี มต่ อ้ งใชท้ กั ษะเปน็ หลกั
การลงทนุ

• กำหนดสดั สว่ นการจา้ งพนกั งานพมา่ ในตำแหนง่ ทใ่ี ชท้ กั ษะ ดงั น้ี 5 ปี • กำไรทน่ี ำไปขยายกจิ การไดร้ บั อนญุ าตใหไ้ ดร้ บั การยกเวน้ อากร
แจงารำนกนรทวอ้ อ้น••ยงพลถกตนะน่ิาอ้ กั ร
งงจ2จา5า้ ดันงใทพภหง้ัานม้หยกั กีมใงานดารน
ฝ1ตกึ0อ้ องปบดรีรำอ้มเนยพลนิ ฒั ะกาน5รา0ผทา่ กั นษแหละนฝะว่ ภมียาอืงยาแในรนงขงอา1งน5รฐั ปกรีหาอ้ รรยอถื ลบา่ ะยรษิท7ทัอ5ดจดัอขหงอคาง์ กำไรในปกี ารบญั ชี

ความรแู้ ละเทคโนโลยี
• ได้รับการยกเว้นภาษีนำเข้า และอากรที่เก็บจากการนำเข้า
• คา่ แรงเฉลย่ี ตอ่ เดอื นยงั คงอยใู่ นระดบั ตำ่ เพยี ง 50 ดอลลารส์ หรฐั ฯ หรอื อปุ กรณ์ เครอ่ื งอะไหล่ พาหนะการผลติ ทางตรง วตั ถดุ บิ ทไ่ี มม่ อี ยใู่ น
ประมาณ 1,600 บาท
ปแประรรเทปู •••ศยไหสดกรหาร้อืเมรบัวปือน้ากรมรกาะถีแารกสยรตอเง่ก่ไกบผมเบ็วเล่เปน้ภพกน็ภาียำผษาไงลรษพซี ติ สอี้อทภนง่ นุอณั ผ(อTลฑแกhิตเล์eพภสะอ่Aืำัณรสvหาoฑง่ยรiอdบัร์กaอบัผึ่งnกอลสc
น่eืติำๆเภoรfณั็จ(Dรภฑูปoาเ์uทยพbหี่นอ่ืleลำสเงัง่Tขทอa้าxอไ่ี มaดกtาiช้
oเำnพร)
ื่อะ
ที่ดิน เช่าที่ดินได้ทั้งจากรัฐบาลและโดยตรงได้จากภาคเอกชนที่รัฐบาล ภาษีอากร และค่าธรรมเนียมอื่นๆ ตามระเบียบกฎหมายแล้ว) กลับ
สนบั สนนุ ระยะเวลาการเชา่ ทด่ี นิ 30 ปี สามารถตอ่ สญั ญาไดอ้ กี 1 ครง้ั รวม ประเทศได้ โดยผา่ นระบบธนาคารทม่ี ี สำนกั งานใน สปป.ลาว

ระยะเวลาไมเ่ กนิ 60 ปี ทง้ั นจ้ี ะมกี ารทบทวนคา่ เชา่ ทด่ี นิ ทกุ 5 ปี
แรงงาน รัฐบาลเป็นผู้ประกาศใช้ระดับเงินเดือน หรือค่าแรง

ขอ้ พงึ ระวงั
ขั้นต่ำในแต่ละช่วงเวลา โดยนายจ้างไม่มีสิทธิ์กำหนดระดับเงินเดือน
• ภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 30 อย่างไรนั้นพม่าไม่มีการจัดเก็บภาษี หรอื คา่ แรงตำ่ กวา่ ระดบั ทร่ี ฐั ไดป้ ระกาศใช้ ปจั จบุ นั คา่ แรงขน้ั ตำ่ ตอ่ คน

กกมวาลู า่รคปดา่ า้กเ••พนครม่ิแเระศมอบร
งจ้ ษบปะฐสรเรกถะม่ิ จิเาทป
บศกนั คกแราลอระงเงแนนิ บโขยบอบเงสาพรยมมี ยา่างั สกคว่ขงนเน้ึ นในห้ แเญตรอ่ืก่่ ผงอขกูงอขทงาพั คดยวโงัดาคมยงมรมฐั น่ั บีบคทางลบข
อาทงชสาำตคเิ ญัหนในอื ตลไ(9ดา่อ4โ้วเดดบรยะือาทกบนทดี่าวุ)อรินา่ ย
ใหทู่ คชเ้ ่ีชนา6า่วล2ตา6ซว่า,อ้ื0สง0ชา0ขามาตากยไิรบีมถแ่มย(ลกีสะสทิ2รทิ,ธ4บั ธิ์ถ3มกิ7ือราคดรบรกใอาชทงป้อใ)รยนะาห่ทโงยรด่ี ไอืชรนิ นน2น้ัท์โ4ดชด่ี ,0ายนิ 7วกใ6ตหฎา่ค้หกงนมชบี ตาา/คา่ตยงนทิทช/เ่ีี่ดวาขันนิตา้

• เงินจ๊าดของพม่ามีแนวโน้มจะแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต มาลงทุนทำธุรกิจในลาวอาจขอใช้สิทธิในการใช้ที่ดินโดยการเช่าหรือ
ตามการไหลเข้าของเงินทุนต่างประเทศ แม้จะมีการปฏิรูประบบอัตราแลก สัมปทานแล้วแต่กรณี โดยกรณีทั่วไปสามารถเช่าจากเอกชนสูงสุด

เปลย่ี นมาใชแ้ บบลอยตวั ภายใตก้ ารจดั การ (Managed Floating Exchange Rate) 30 ปี เชา่ จากรฐั บาลสงู สดุ 50 ปี

ตง้ั แต่ 1 เมษายน 2555 แลว้ กต็ าม
ขอ้ พงึ ระวงั

• ระบบการคมนาคมและสาธารณปู โภคไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพและขาดแคลน อำนาจ•กลาราตวดัมสีกนิ าใรจกสรงู ะจกาฎยหอมำานยาแจลใะหร้กะัเบบเยีจบ้าใแนขแวตงล่ ะททำอ้ใหงถ้เจน่ิ ้าแแตขกวตงา่ มงี
ตยอกงาัา้อไทรงมลใิ เ่ถชงส•ท้นเรวนุแนี ลโรยดางไงั ยรฟงไะใามฟนยนส่า้ บะสมหาทว่บงนนา่ รูพเึ่งมณรน้ืใอืานท์ กกแห่รีไะามมา้ บรมป้ม่ ดบชจัที ำโาจกั เทวบุนษรตนัินคะา่ จกฝมงะามีชนเรารอืาม่ิตคตพเิตมดลฒัลนิอทอทนดำดาาจใจงหปนเนโ้ขรกคอบัา้ ารยไปรงปภู่เรสด
งุารินแยา้ ทลงใตพว้าแก้งน้ื ภตาฐท่ราาปยกุนกใอทนคยจ่ี ปรา่ะองรรยอะงขเงังทคอรบศังง กนั นกั ลงทนุ จงึ ควรศกึ ษาขอ้ มลู ทอ้ งถน่ิ อยา่ งรอบคอบ เชน่ กฎหมาย
รัฐบาลทหารมาเป็นเวลานานจะไม่คุ้นเคยกับการทำงานในภาคอุตสาหกรรม ส่งเสริมการลงทุนของ สปป.ลาว ได้ให้สิทธิแก่แขวงฯ มีอำนาจใน
ทำใหต้ อ้ งเสยี เวลาและคา่ ใชจ้ า่ ยในการพฒั นาบคุ ลากร
การอนุมัติการลงทุนต่างประเทศสำหรับโครงการในบัญชีส่งเสริม
• กำลงั ซอ้ื ของประชากรในพมา่ สว่ นใหญย่ งั คงตำ่ มาก
(Activities Promoted for Foreign Investment) ที่มีมูลค่าไม่เกิน
• มีการเรียกเก็บเบี้ยใบ้รายทาง เพื่ออำนวยความสะดวกทางธุรกิจ
5 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ฯสำหรบั 4 แขวงใหญค่ อื นครหลวงเวยี งจนั ทน์
การคา้ และการขนสง่
3แขลวา้ งนห•••ดลเภอคงวลานิ่างษลกเพชาเีบี งร่ารขนิะส์ออไบหาดงาครลน้ ฐังาาติ ฯรวบิสแหขคุขำราหควือดงลรสเบัสสริ่งอ้ถแะปยขยีหลวลรวูกภงะันสอาน2น่ืรพ8้าะๆงเ(
แขแมลกตีอะวัตภง่ แรขาลาน้ึษะส-มี แูงลลูมขงควา)
า่งกเจพำโม่ิ ดปรยาอ้ เสยฉักลพะาแะ1ลใ0นะ

กทสวา่านรงลกปงล••ฏทาิบนุหกงฉัทตนฎบำิว่ ใบัยแ(หRงใลเ้หาuกะนlมดิeเจข่sค2อ้า)ว0งหา1แรนม2ฐัล้ลายยะทา่งังรั ชขีม่ทะา้าเคี้อดบว
งกียาถามบิ่นรไขใไมหมั้นช่ บ้ ่สตดั ราอเกิจมนานารแทร(ลPถเ่ี ปะrตoอน็ ัดcยสeสรู่าdะินกuหใลrวจeา่sเตอง)ลพงภอไฒั ดาดนย้ตจาใน้อต
มง้กสปี ฎอญั บหหมถาาาใมนย พน้ื ทเ่ี ศรษฐกจิ -ทอ่ งเทย่ี ว เชน่ เวยี งจนั ทน์

• มรี ะบบอปุ ถมั ภ์ ซง่ึ หากนกั ลงทนุ สามารถเขา้ ถงึ ไดท้ ง้ั ในระดบั ประเทศ • ตลาดลาวมขี นาดเลก็ เพราะมปี ระชากรนอ้ ย และกำลงั ซอ้ื ไม่
และ/หรอื ระดบั พน้ื ทจ่ี ะทำใหก้ ารคา้ ไดร้ บั การสนบั สนนุ ดว้ ยดจี ากรฐั แตห่ ากไม่ สูงมากนัก โดยรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ที่ 2,866 ดอลลาร์สหรัฐฯ
สามารถเขา้ ถงึ ได้ การลงทนุ จะไมค่ อ่ ยราบรน่ื
หรอื ประมาณ 92,000 บาท อยา่ งไรนน้ั พฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภคลาวมคี วาม
ขอ้ ควรรอู้ น่ื ๆ
โดดเดน่ ตรงทไ่ี มช่ อบเปน็ หน้ี กลา้ ซอ้ื และนยิ มใชข้ องแท้ หรอื กลา่ วได้
• ตง้ั แตว่ นั ท่ี 8 ม.ิ ย. 2555 ความตกลงเพอ่ื การสง่ เสรมิ และคมุ้ ครองการ วสโดา่ำยไคมเฉัญน่ ••พยิ ามคหใะนในรเชจกือไข้า้ทาเอคแยรงขรทคลือวำวองขธรใก่าแุรนเยสกลพพดิจยีน้ื งันกนทคธาแท่ี วรมบเ่ีาสขิตบมา้รร
จไ้าทปรงางิทสใงำัมจธธกพุรรุ บักกันิจคจิธกน
์ทาลี่ดราีกควับ้าไมเภปว่ าา่็นคจเรระื่อัฐทงำสแกำลาคระคัญบา้ ุคมหคารอืลก
ลงทนุ ระหวา่ งไทย – พมา่ มผี ลใชบ้ งั คบั แลว้
ลงทุน และควรหลีกเลี่ยงการพูดเรื่องประวัติศาสตร์ การเมือง และ

• พมา่ มพี ฒั นาการทางการเมอื งอยา่ งตอ่ เนอ่ื งนบั ตง้ั แตป่ ี 2554 ทไ่ี ดจ้ ดั ตง้ั การพดู ตลกเรอ่ื งภาษา

รัฐบาลที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและหัวหน้ารัฐบาล ส่งผลให้ได้รับการ

พอตผรัฐยอ่่อฒั บเ่านนนงาคอ่ืไาลลรงกพน
าามั้นยรน่ปมาไาราดะนต้พชารากัปฒธารปินะรไคาเทตปวยศํ่ารแจะบละชาะยาตกกธราิเปลรไแปิกตลกรยะอาแคงรลดคืนะอวสเงํ่าจิทกบรธบั จาิพชตาิเนหรศใกยษหลุด้พมุ่ ยGมนิงS่าอ้กPหยับรใจชือนานไพกมกมน่นลา่ าั้นุ่มนนซาขง่ึ้อปึ้นปยรอจั อะยจยเู่กบุท่าับนัศง
อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
35
• พม่ากำลังจะเป็นเส้นทางลัดโลจิสติกส์ เส้นใหม่ของภูมิภาค โดย
เสน้ ทางลดั ใหมท่ ส่ี ำคญั คอื เสน้ ทางไปเอเชยี ใต้ ตะวนั ออกกลาง ยโุ รป ทไ่ี ม่
ตอ้ งผา่ นชอ่ งแคบมะละกา

•ขอ้เสคถวยี รรรภอู้ าน่ืพๆกา
รเมอื งลาวมน่ั คง
• ตน้ ทนุ การผลติ สงู กวา่ ประเทศเพอ่ื นบา้ นอน่ื ๆ อยมู่ าก อาทิ ตน้ ทนุ
• สปป. ลาว สว่ นใหญเ่ ปน็ ภเู ขาและทร่ี าบสงู และเปน็ ประเทศทไ่ี มม่ ี อสงั หารมิ ทรพั ยใ์ นเมอื งใหญ่ (ทง้ั ราคาซอ้ื และเชา่ ) อยา่ งเชน่ ฮานอย และ
ทางออกทางทะเล (Land Lock) และเป็นประเทศที่เน้นการอนุรักษ์ โฮจิมินห์ ปรับตัวขึ้นมาก ค่าประกันสังคมซึ่งคิดเป็นร้อยละ 15 ของ
ธรรมชาติ ให้ความสำคัญต่อวิถีชีวิต วัฒนธรรมของประชาชนมากกว่า เงนิ เดอื น และราคาพลงั งานทส่ี งู ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

ดา้ นเศรษฐกจิ

รไใเลหดหบั ดลร้ก้สลบัอืาทิงสรจธ•0สถพิาง่ลาเกเิปอนศารอน็วษะอ้ กไตยดดสน้Nลา้ร้นิ
oนบัะคrภmสา้ 9ทิาaข0ษlธอพิศีTงเหrลเิลุ aศลากdษอวืeาทไกปRา0รส.งe8กlห(aGาtรสSioฐรั Pนิคnฯ)คsา้ จา้ม((หาNภีMกตัTาFสRถษNห)กลี รรจ)ดฐัราจลมอกางเสมกจอหรสากิารหกฐทัารรแอิฐั อ้ ลสเอมยงะ่ิเลรมทยกิะรอโุ ารกิ ไปห4าซ5มง่ึแรสวล–ภมง่ะาผถ6ไษดล0งึ ี้ • คุณภาพแรงงานค่อนข้างดีมีฝีมือ ขณะที่ค่าจ้างยังค่อนข้างต่ำ
• แผนยุทธศาสตร์เขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ตอถปกูลยรเอะ่าลดเงยีดไ••จนร็นนนแตปขอบัล้นญั าตั บาแดรหดงราคาา่กงกลยวงาาะา
ารรเเมนยมงา้นิมนดิ ยี่ฝาทงแเีมราชลพันือือะยสแกถส์งูลาือ
นิ ะรทธผเนาู้หบงา็รนปคิหญัไาดารญรย้จรงั าาะไสกมดงูคพ่ับนฒั กโดเลนวยาาียเงเฉดทถพนา่ ึงาทาสะค่ีมูงสวยไนิ รมังคข่เโา้ ชดาตื่อดยดิ เมแตฉคั่นพลลาใานนดะ
สปป.ลาว ปี 2554-2563 ไดว้ างแนวทางจะจดั ตง้ั เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษและ ค่าเงินด่อง (ค่าเงินด่องมีความผันผวนมาก) และมักจะออมด้วยการซื้อ
เขตเศรษฐกจิ จำเพาะเพม่ิ เปน็ 41 แหง่ ภายในปี 2563 โดยแบง่ เปน็ เขต ทองคำและถอื เงนิ ดอลลารส์ หรฐั ฯ

เศรษฐกจิ พเิ ศษ 7 เขต และเขตเศรษฐกจิ เฉพาะดา้ นการคา้ การบรกิ าร
จแลากะจทำอ่ นงเวทนย่ี ดวงั ก2ล9า่ เวขมตที เต่ีขง้ัตอเศยรใู่ นษแฐขกวจิ งเฉทพช่ี าายะแดดา้ นนตอตุดิ สกาบั หไทกยรรจมำแนปวรนรปู175แเหขง่ต
• ภาษาอังกฤษยังไม่แพร่หลายนัก กระทั่งในด้านการค้าและการ
ลงทนุ ตลอดจน ชาวเวยี ดนามไมน่ ยิ มพดู ภาษาองั กฤษมากนกั

เวียดนาม (Vietnam)
บปเวงัรยี คับดบัปน•ใราชุงมก้ ฎเอขเกหีพม้ ทมื่อขง้ัาอน้ ยยำขงั นน้ึมกวกีฎอยาราคระทเวเปบิ ามลยีมาย่ีบสตนตะรแา่กดปงาวๆลรกงดยบา้ งัตอ่นขลยสาอคขุดดอรคง้ัจนวนาาเพมมมรยชัาาดัแตะลเรรจกะฐันสาบใง่ิรนาแทลกวี่ไพาดมรยล่ใตาชอ้ คี ย่ภมวา
าามษมแแีขกลอไ้ ขะง

กฎหมาย-สิทธิประโยชน์เก่ียวกับการลงทุนจาก ขอ้ ควรรอู้ นื่ ๆ

ตา่ งประเทศทสี่ ำคญั
ปแลละอฟดล••ิภปิยัตกปสลานิงูาร
สเดม์
ขอื นงามดคี ใวหาญม่มปน่ั รคะงชแาลกะรตเกอ่ อื เนบอ่ื 9ง0รลวา้มนถคงึ นเปน็รอปงรจะาเทกศอทนิ ม่โี ดคี นวเี าซมยี
การสง่ เสรมิ การลงทนุ

ทลรง่ี ฐัทอุนน••ญุ จนไำดากั นตร้ลบวั
งนสทเทินุงธินตพิา่ลงเิงศชทษาุนตทสิาสางถมภาาานรษถทตี ถี่ตาอื ั้งมหขเนงุ้ออ่ื ใงนนโคกไขรจิ งขกกอาางรรรไฐลัดงร้ อ้ทอยาุนลทะิแปล1ระ0ะส0เัดภใสทน่วกกนจจิิ กกกาาารรร
• เวียดนามได้รับสิทธิพิเศษทางการค้าจากนานาประเทศ อาทิ
สง่ ออก เชน่ การลงทนุ ในเขตอตุ สาหกรรมการผลติ นกั ลงทนุ จะไดร้ บั สทิ ธิ GSP (Generalized System of Preferences) สทิ ธพิ เิ ศษ Most Favor Nation
ยกเว้นภาษีบางส่วนในการลงทุน 12 ปีแรกและได้รับการยกเว้นภาษีใน
(MFN) และสทิ ธทิ างการคา้ พเิ ศษทท่ี ำไวก้ บั ประเทศตา่ งๆ

3 ปแี รกของการดำเนนิ งาน

• ใหส้ ทิ ธพิ เิ ศษในการนำเขา้ วตั ถดุ บิ จากตา่ งประเทศแกน่ กั ลงทนุ
• เวียดนามมีชายแดนติดกับจีน และมีข้อตกลงการขนส่งระหว่าง
ข3,อ0ง0ร0ฐั ท•แ•บบรด่ีไาาสงมนิทลงาม่
เามวกี นนายี ากรัดรถคลยนโ่างดึาอทแหมนนรุ รเงตงเอื ชเนิา่ฉโน่อกงลนชลกี่ยาทบั าตตรปร่อพัมิเรงเสียดะนิ ทิส์เือจทนิธา่นศใิขยนไอภด9กง4าภ้านษรากัดถ ียล
ออืหงลคลทลรงันุ อกามงราทา์สรเด่ีปหปนิฏรน็ ใัฐบิขนฯอตั กงติ รหราณฐัรม
ือที ขปม่ี อ้ รกี กะาำมรหรานว่ ณมด นสจตบนีนิลรัดเิค-าหวเวดา้ณมยีเไ•ราปพดยี ยนจนรบแมนีกัารลแ
ธมอ้ ดะรุ ยกคนทแจิ ้าเลอ่ี หเขววน้ มายีญุ อื
ยดนาทนตใาานใงมหออนดร้ ีเถยิมตี ยม)ลนก์พตารรรว์วอ้ พง่ิมมรบทะเพปหั้งม่ิะมวเสา่ักสงนจน้ กทะทนั นชาไาำงดซอร้ ง่ึะกี (ไๆเมง1ินต่ห0หอ้ นงแลา้ เหังปง่มแลลีกย่ี เพะานไอร่ืถมนขา่ น่ ยำยยิสารมยถ่ง
ทนุ กบั ชาวเวยี ดนาม และสามารถเชา่ ทด่ี นิ ไดส้ งู สดุ 50-70 ปี หรอื ขน้ึ อยกู่ บั
ระยะเวลาทก่ี ำหนดใน Investment License ของโครงการลงทนุ
สงิ คโปร์ (Singapore)

ขอ้ พงึ ระวงั

• ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลรอ้ ยละ 25 และภาษมี ลู คา่ เพม่ิ รอ้ ยละ 10
กฎหมาย-สิทธิประโยชน์เก่ียวกับการลงทุน

• เวยี ดนามยงั คงมปี ญั หาคอรปั ชน่ั และระบบราชการมคี วามลา่ ชา้ จากตา่ งประเทศทสี่ ำคญั

(Red Tape)
การสง่ เสรมิ การลงทนุ

• รฐั บาลเวยี ดนามปกปอ้ งธรุ กจิ ทอ้ งถน่ิ คอ่ นขา้ งมาก เหน็ ไดจ้ ากการ • ใหค้ วามเทา่ เทยี มกนั ระหวา่ งนกั ลงทนุ ในประเทศและตา่ งประเทศ

คเกผอวตุลาวยี บรติสดลคนานงห•มุมาทกกแมุปนราลค)รัญระอ่มนแโนหตดำปขเาา่ยรขา้งพรเา้งฉตปู ลยพอ้ นกาังงามากงเะรผาเพธลนนชุรงรำ้ญิใกาทมนะิจนปุนั ปวกใญัพา่นราเชืะหบรวเผยีาาแทไลดงลศฟริตนะาไดอานมยบัมุตำ้ก่เมพตสาโกัาาีรยรลจหงง(งจะกพหาดารา้อนกำรมออมเนลทตุอ้ใงนิหัยส้งทกปญานุาปหรร่ๆระกเหะอชรมรจงราอื ะงมชตนเเชขนง้ัอตน่้าเแกงอ้ไอ่ืลชปงกนะาจทจิ ไยภดัำขกฝาคใใาง่ันนควิร
• เปิดกว้างให้นักลงทุนต่างประเทศสามารถลงทุนได้ร้อยละ 100
ผลัดกันเดินเครื่องจักร อย่างไรนั้นปัญหาดังกล่าวน้อยลงในระยะสั้น
เกือบทุกสาขา ยกเว้นเพียงด้านการกระจายเสียง และการจัดสรรคลื่น
ส่วนการแก้ปัญหาระยะยาว คือ รัฐบาลเวียดนามได้บรรจุแผนในการ คกไดวา้าร(ปมInถรc•••ะo่ี (กmยสบไอมงกูeรสบเิษ่มวtดุ ธaัทน้ีกไxรุ มภทากaเ่าี่ดรจิกllษคอoำนิ wเอเวีรงนอ้กบaนิ ินnยนคไcกลดอeุมาะน้ก)รกติปใ4ลาห9บิรง)รก้ะคุทโกเบัอคทุนจิ ผนลศดกเู้ เร
า้างม(่ิรนCินดกกoตา้อ่rาpนรตรoหางว้ัraนตกิจtงัจิeัย่าสกแงอืiาปnลพรcะรเมoิ ปพะmพน็เัฒทe์ เ(วไศนมtลaาแเ่าxกเล)อนิ 5ะงแร-1ผจอ้ล0ะลยะสลปกภาะำี
ามษไ5าร)เี
ใงรนนิถ
พัฒนาพลังงานของชาติ โดยจะสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เพื่อรองรับภาวะ นำคา่ ใชจ้ า่ ยมาหกั ภาษไี ด้

ขาดพลงั งานในอนาคต แตก่ เ็ ปน็ แผนระยะยาว ซง่ึ โครงการจะลลุ ว่ งในอกี • มเี ขตปลอดภาษี เพอ่ื อำนวยความสะดวกใหแ้ กก่ ารนำเขา้ -สง่ ออก
3จคอส0นำัภือกเาปนดัRพขีอ่ื ค•1า้ทงวAงมี่เเาหปสามสน็นจ้นเ่วา้าอรทน
ว็กยาขใกู่ใงหอนาคงญรปมรขัจถ่มนาจยดีาเพุบนคระียตันมบงใ์มแนบลีข2เโวะ้อลยีถจชจดนำ่สอิ นกนตงาัดจหกิ มรแสนาลท์ทจเะม่ีพารมปีงรีคใารซนะะวึ่งสถเาสวทนิม่งียนธผไดมภิสลน่สาาใาพหะยมดห้ต
ไวล้นมกกัท่เพขุนเอียชคงง่น่าเพวขยีอนปดสัญนแ่งหลาสมาะูง และขนส่งสินค้า ซึ่งมีทั้งหมด 5 แห่ง โดยเป็นท่าเรือ 4 แห่ง และ
ทา่ อากาศยาน 1 แหง่ สนิ คา้ ในเขตดงั กลา่ วจะไดร้ บั การยกเวน้ ภาษี รวม
36 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
ปรถะงึรดทับบัา่เพเผแ•ริ่มจู้อืรคดัสขงา่กงงิึ้นจคาาอา้นรโยปงจ ่าแะรงรส์อตงาย
ง่อมทู่าเา่นีน6รสื่อถ,6งูงพ30กั (เโชสดด่นนิ ยอคเลฉคา้ ลพโ่าาดาจรยะ้าส์ ไกงงิมเาคฉเ่ รสโลปจยี ี่ยา้รคงต์ า่ แ่อ(ใ5รชเง,ด1จ้ ง8ือา่า0นยนภใดทนาออ้ กยลงลใถลนุ่มน่ิาผร)7ส์ู้ใ2แชหลช้แระว่ัฐัรมโง)ม
งกี งาา
นร

ทสจะงิส่ี คดาโแูมปล••ารคร์ขแถสู่ (ยรปตมางรรรยงะวสาเมจวรนสลาวตณมอาา่ กบถงางึไช1รดบาเว้ตุตกแา่ รษทิสตขต่ีนยี นออ้ณบงเงอาตอกงทนาาม)ยรรีตกุทตาลาอ่ยำอรงเไดทดดาอืำนรข้ ะนงน้ัใายนตนะสแำ่ จเลงิวไามคะลกนโ่มาปกอ้คี6ราย2วจ์ รากะปพมวตเีำาส่ปอ้ นาน็งกั4มแ,ใ6า0สน5ร0ดปถ0ปงเรพหี
ะดลยีเอทงกั ลศพฐล
อาานทร่ี์ ขอ้ พงึ ระวงั

ทด่ี นิ อนญุ าตใหน้ กั ลงทนุ ตา่ งชาตถิ อื ครองกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ และสง่ิ ปลกู • ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลรอ้ ยละ 25 และภาษมี ลู คา่ เพม่ิ รอ้ ยละ 10

• ขั้นตอนและการดำเนินงานของทางราชการกระบวนการมาก
สร้างในสิงคโปร์ได้ ชาวต่างชาติมีสิทธิในการเช่าที่ดินในเขตอุตสาหกรรม และลา่ ชา้

สงู สดุ 60 ปี และในสว่ นของพาณชิ ยกรรม โรงแรมและทพ่ี กั อาศยั สงู สดุ
• กฎและระเบียบยุ่งยากซับซ้อน ตลอดจนกฎหมายและ
99 ปี
กฎระเบยี บบางอยา่ ง ไมม่ คี วามชดั เจนและโปรง่ ใส

Wถปจากูรoบักจrlมดลัdดอีก••Cนัจายoมรำดrงักกีrนบัมuาำวpอปี รหนtยกiญั oนททู่ดีnดาห่ ่ีกเชIา1รnนั อ่เอื4dรก0งทeอ่ื าทxใ่งี รจชากนใาน้งนาำกกำรปเคขาเีข1รา้อ2า้น7ส0รผ8ร์1ำนิ กัปั0เคขปแ
ชา้า้ลรน่ั จใะะใหาเผนทกน้ ลรศต้อะไาท่มยบงว่ัจ้ลบปโางลรรกากะเชเช8ทกจน่ ศาาเรเปกพกน็กโม่าิ ดารม4ยรอาจออทกดันิกา่ขอโม
น้ึดนั านดตเเีบัหซรขน็กยี อไไาดดงร้้
ขอ้ พงึ ระวงั
• ขาดแคลนสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
• ขาดแคลนแรงงาน
เช่น สะพาน สนามบิน ท่าเรือ ระบบไฟฟ้า น้ำประปา ตลอดจน
• ตลาดขนาดเลก็ มเี พยี งประมาณ 5 ลา้ นคน และประชากรสงิ คโปร์ อุตสาหกรรมสนับสนุนที่มีประสิทธิภาพ (Supporting Industry or
คมคเปแ่หูีวลขาลี่ยง่มาในยแนแเตปชปอ้กืรละชตเงาท่าอตศงยิ ตจ่า(จนีางนีมรมวอามดุปเาเลรนเเล็วซิสยยี ัยต์ กแอลลานิอะรเดดอบจยีนิรนโิโดกแภนลาคระเี ซขแอยีอขน่ื
ง่งๆแข)ตันท่ลสำูงะใมหเชาร้ ื้อสกนชยิาโดตมยกิ เาแฉรลพบะารมะโิ ภจีกคาามกรี Processing Technology)

ทมส่ีีตดุำใแน•ข•หปอ้นสภรคงิ่งาะคทษวเทโรี่ตเีปงศรั้งนิรอสู้ ยเ์ไปมนื่ดุทน็าน้ๆธชแติศกิห
บิาอลคสุ าง่ คตเกซลรรยี ์ซระนอ้จึ่ง
ยเาปลย็นสะศนิ 1ูนค7า้ยไแ์กทลลยะาไภปงากสษาปู่ มีรรขลูะนคเทสา่ ศเ่งพตทม่ิา่ างรงอๆ้ เรยทือลว่ัขะโอล7งกเซอดง่ึเชตว้ ยียำ่ ตา่ งปร•••ะขภเตทายัลศดธาแรดเรคชอมน่ลนิ ชนโจาดแาตรนกิงเีเจงซชานียีน่ นเทแมวมผ่ียีกี น่ปีดาดนรระแนิาสขมไหง่บขวแกนั ลาสสะรนิงณูอานิ แ์มโเดลดิ ยนะยี เคำ้
ฉทวพาว่ ามมะช
สำนิ นคาา้ญรา
คาถกู จาก
ตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งทำให้สิงคโปร์ได้เปรียบทางด้านการขนส่งและมี ขอ้ ควรรอู้ นื่ ๆ

บทบาทเปน็ พอ่ คา้ คนกลางระหวา่ งโลกภายนอกกบั ประเทศในภมู ภิ าค
ต(2ป4ลร0าะดมล•ทา้านณี่อมคนิีศน2โักด1ย0นหภเีรลซอืาา้ยี พคนเปรใคง่ึนน็ นหธต)นุรลนง่ึกาขบัิจดอถอขงอืานปศหาราาะดสรชใฮนหาากาญลอร่ทาสิ โลงด้ัลหยามมเมพดจี ร
ใำานนะอวปานรเปซะยีรชะนาชกาตรกลรร้ออปยดรลจะนะมเาป8ณน็8
• สงิ คโปรเ์ ปน็ ประเทศทม่ี คี วามเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกจิ อนั เนอ่ื งมาจาก • แมป้ ระชากรอนิ โดนเี ซยี สว่ นใหญจ่ ะมฐี านะยากจน แตป่ ระชากร
จดุ แขง็ ดา้ นวสิ ยั ทศั นข์ องผนู้ ำประเทศ เสถยี รภาพทางการเมอื ง การบรหิ าร ทม่ี ฐี านะดี แมจ้ ะมไี มเ่ กนิ รอ้ ยละ 10 ของประชากรทง้ั หมด แตก่ ม็ กี ำลงั
จกทดัารพัรกวยาารส์•งทนิแสรทผพังิ านคยงรโาปะปกญยั รระถ์มญยกูนาาจษุว
ดั ทยอด่อี์ นั ยขี ดอา่ บังงมรใฐัหปี บเ้รปาะน็ลสป
ทิ รธะภิ เาทพศดกที าส่ีรสดุ รใา้นงเอสเรชรยีคใน์ นวกตั ากรรครมุ้มคแรลอะง ซอ้ื สงู มากและนยิ มสนิ คา้ ทม่ี คี ณุ ภาพ

• มีทรัพยากรทั้งเกษตรและอุตสาหกรรมจำนวนมหาศาล เช่น
อนิ โดนีเซีย (Indonesia)
แปครมา่ธลนาม์าตนคุำม้ แมทลนัาะงเขเรปา้อื ็วนระปกหราวะแา่เฟทงปศยรทะาี่ตงเทพั้งศาอผรยาา่ ู่ในนนหทำ้ลำมาเนัยลเยสกุทน้า๊ ซทธธศารงาร
สมตชรา์ตโิ ดถยา่ มนหีเสนิ ้นแทลาะง

กฎหมาย-สทิ ธปิ ระโยชนเ์ กย่ี วกบั การลงทนุ จาก แหลง่ ขอ้ มลู : รวบรวมจากหลายแหลง่ ทเ่ี ผยแพรข่ อ้ มลู ประเทศอาเซยี น

ตา่ งประเทศทส่ี ำคญั
http://aec.ditp.go.th

การสง่ เสรมิ การลงทนุ
http://www.dtn.go.th

และคา่•••ลไไยขดดิ กสรร้้ เบบััวทิ น้สกธทาิภ์ิ รธดาลพิษงั ดนเิซี ศหน้ัอ้ ษยนหอ่ทานาจกงอาผภกาปู้ ากผรษรละขตีกกาาำอเมไขบรา้เงก
เอ่ื างนนิรไไปขทนัขยผอเสลงรยี ฐัดภ
อากษเใีบนย้ี อนิคโา่ ดธนรรเี ซมยีเนแยีลมว้ http://www.ditp.go.th

สามารถนำหลกั ฐานมาเพอ่ื ขอยกเวน้ ไมต่ อ้ งเสยี ภาษปี ระเภทเดยี วกนั ใน http://www.eastasiawatch.in.th

ประเทศไทยได้
hhhhhttttttttttppppp::::://////////wwwwwwwwwwwwwww.....knssemmsxemismeede.a.bggsc.oaego.rao.tethn.h.t
.ch
co
omm


แรงงาน มจี ำนวนแรงงานมาก และคา่ แรงถกู โดยปจั จบุ นั คา่ แรง http://rss2.thaichamber.org

เฉลย่ี ตอ่ เดอื น 169 ดอลลารส์ หรฐั ฯ หรอื ประมาณ 5,400 บาท อยา่ งไร
เนพทสกทิด่ีัน้น้ื ษนิธทคตใิ่ี่านรท(ตจfกกrด่ีวั้าeราองนิeรรแมยhเพoรา่ตlงแงาdางเละชมาะlปaน่นกคnลฎจdา่กูคะหจา่มrาม้ i(จgใงีคาาh้หใยวtนงส้sาขแจ)ทิมอราธงแแงกเงิตอตปาานจิ่กรน็นะตโ์ตเใดใวาน่าหนลจงอส้เีาะตซตุ ทิสสายีสธงูงูมาสใิกจนแหดุวะตรกา่ ปูไ่ลรใ9มนรแะ5ใ่มบชอชนนปบุตแ่ ำ้บ)ีนตสมทา่วาสนั งคห
ทิ จๆดิกธะขรใิสขรนอองูมกงกงสแาทวทิลรา่ด่ี สะธในิ รนเิแสา้ ภตงรเช่ลาใสี นน่คะง่ิ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
37
ปลูกสร้างบนที่ดิน (ให้สิทธิเป็นเวลาสูงสุด 80 ปี) และสิทธิในการใช้
ประโยชน์บนที่ดินตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด ที่ดิน (ให้สิทธิเป็นเวลา
สงู สดุ 80 ป)ี

Report

เรอ่ื ง: ปาณทพิ ย์ เปลย่ี นโมฬี


เปลี่ยนโฉมหน้าเศรษฐกจิ ประเทศไทย ปี 2020

กา้ วใหมเ่ ชอ่ื มไทยสู่โลก


ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบคมนาคมขนสง่ ของประเทศ หรอื 250 กม.ต่อชั่วโมง สามารถวิ่งผ่าน 21 จังหวัด และ
การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานระยะยาว 7 ปี (ปี 2556-2563) ขนผู้โดยสารได้ 30 ล้านเที่ยวในปี 2565 รถไฟฟ้า
กระทรวงคมนาคม ได้กำหนดภารกิจเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการ ในกทม. จากที่มี 4 สายทาง 80 กม. ขนผู้โดยสารได

ประกอบดว้ ย 3 ดา้ นสำคญั ดงั น้
ี 9 แสนคน / เทย่ี วตอ่ วนั อกี 7 ปจี ะมี 10 สายทางยาว

ดา้ นท่ี 1 :
410 กม.และขนคนได้ 5.36 ลา้ นคน / เทย่ี วตอ่ วนั


การพฒั นาโครงขา่ ยคมนาคมขนสง่ ทางบกเชอื่ มโยงพนื้ ทเ่ี ศรษฐกจิ • โครงขา่ ยขนสง่ มวลชน

ทสี่ ำคญั ของประเทศและเพอื่ นบา้ น แบง่ ออกเปน็ 3 โครงขา่ ย คอื
โครงข่ายนี้จะเน้นเฉพาะพื้นที่กรุงเทพฯ และ
ปริมณฑล โดยจะเร่งปรับปรุงให้ครอบคลุมพื้นที่บริการ
• โครงขา่ ยถนน
เพิ่มขึ้น และสอดคล้องกับการขยายตัวของเมืองและการ
เร่งพัฒนาระบบขนส่งทางถนน อาทิ เร่งสร้างโครงข่ายทางหลวง ใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ

พเิ ศษระหวา่ งเมอื ง (มอเตอรเ์ วย)์ อกี 5 สายทาง คอื

บางปะอนิ -สระบรุ -ี นครราชสมี า
ด้านท่ี 2 :

บางปะอนิ -นครสวรรค์

บางใหญ-่ นครปฐม-กาญจนบรุ ี
การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานการขนสง่ ทางอากาศ

นครปฐม-สมทุ รสงคราม-ชะอำ
เรง่ ขยายขดี ความสามารถและคณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร
ชลบรุ -ี พทั ยา-มาบตาพดุ

รวมไปถึงการก่อสร้างทางหลวงสายหลักเชื่อมโยงเมืองหลัก ของทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ิ ใหท้ นั สมยั สามารถรองรบั
ในภมู ภิ าค ทง้ั น้ี เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการเดนิ ทางและขนสง่ สนิ คา้
ผโู้ ดยสารไดเ้ พม่ิ ขน้ึ จากปลี ะ 45 ลา้ นคน เปน็ 60 ลา้ นคน
• โครงขา่ ยรถไฟ
ตามโครงการพฒั นาทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ริ ะยะท่ี 2

เรง่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการขนสง่ ทางราง ตามแผนการลงทนุ ระยะ
เรง่ ดว่ น พ.ศ. 2553-2558 ทง้ั น้ี เพอ่ื พฒั นาใหร้ ะบบรถไฟเปน็ ระบบหลกั ใน ด้านท่ี 3 :

การขนส่งสินค้า ระหว่างพื้นที่ผลิตภายในประเทศกับท่าเรือแหลมฉบัง
และพัฒนาศูนย์เปลี่ยนถ่าย, รูปแบบการขนส่ง เพื่อเชื่อมโยงการขนส่ง การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานการขนสง่ ทางนำ้ ภายใน
รปู แบบตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั
ประเทศและเปน็ ประตกู ารขนสง่ ของอนภุ มู ภิ าค

รวมไปถงึ โครงการจดั ทำระบบรถไฟรางคู่ และรถไฟสายใหม่ คอื

บา้ นไผ-่ มหาสารคาม-มกุ ดาหาร
เร่งพัฒนาท่าเรือแหลมฉบังให้เป็นประตูการขนส่ง
อรญั ประเทศ-ปอยเปต
สู่ท่าเรือหลักต่างๆ ของโลก และเป็นส่วนหนึ่งของท่าเรือ
ทา่ เรอื ฝง่ั อา่ วไทย-อนั ดามนั
หลกั ในภมู ภิ าคอาเซยี น  รวมถงึ พฒั นาระบบขนสง่ ชายฝง่ั
นอกจากนี้ ยังเตรียมการพัฒนาโครงข่ายระบบรถไฟความเร็วสูง เชื่อมโยงกับท่าเรือแหลมฉบัง และการสร้างท่าเรือใหม่
(ไฮสปดี เทรน) เพอ่ื เชอ่ื มโยงกบั ประเทศเพอ่ื นบา้ นในอนภุ มู ภิ าค
ในฝง่ั อนั ดามนั เพอ่ื รองรบั การคา้ กบั อนิ เดยี , ตะวนั ออกกลาง,
การเปลี่ยนรถไฟรางเดี่ยวเป็นรางคู่อีก 2,857 กิโลเมตร ขนสินค้า แอฟรกิ า และยโุ รป เชน่ ทา่ เทยี บเรอื ชายฝง่ั ทา่ เรอื ชมุ พร
ได้มากกว่า 50 ล้านตัน และขนคนได้มากกว่า 75 ล้านคนต่อปี จาก ท่าเรือน้ำลึกสงขลา และการศึกษาก่อสร้างท่าเรือปากบารา
11 ลา้ นตนั และ 45 ลา้ นคนตอ่ ปี สว่ นไฮสปดี เทรน สามารถวง่ิ ไดเ้ รว็ ถงึ
สำหรับกรอบแผนการลงทุนเบื้องต้นนั้น ทาง
38 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
กระทรวงคมนาคมได้แบ่งออกเป็น 5 ส่วนด้วยกัน
ประกอบดว้ ย


1) ทางราง โดยส่วนใหญ่เป็นโครงการเดิมที่ได้
ประกาศไวก้ บั รฐั สภา 4 เสน้ ทาง คอื ไฮสปดี เทรน รวมทง้ั
รถไฟฟา้ 10 เสน้ ทาง สว่ นรถไฟรางคู่ ไดเ้ พม่ิ เสน้ ทางใหม่
เช่น เส้นทาง เด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ,บ้านภาชี-
นครหลวง, บา้ นไผ-่ มกุ ดาหาร-นครพนม

สำหรบั รถไฟฟา้ 10 เสน้ ทาง มดี งั ตอ่ ไปน้
ี เตรียมเชื่อมโยงมายังไทยด้วย แผนปฏิบัติการเบื้องต้นของ
1. รถไฟสายชานเมอื งสายสแี ดงเขม้
โครงการลงทนุ 2.2 ลา้ นลา้ นบาท ทง้ั เรอ่ื งรถไฟความเรว็ สงู 4
(ม.ธรรมศาสตร์ ศนู ยร์ งั สติ - มหาชยั ) 
เสน้ ทาง รถไฟรางคู่ การพฒั นาขนสง่ ทางนำ้ และการพฒั นา
2. รถไฟชานเมอื งสายสแี ดงออ่ น (ศาลายา - หวั หมาก)
ท่าอากาศยานได้มีการกล่าวถึงมาระยะหนึ่งแล้ว และจาก
3. Airport Rail Link (สนามบนิ ดอนเมอื ง - สนามบนิ สวุ รรณภมู )ิ
ยทุ ธศาสตรด์ า้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานในระบบขนสง่ ของประเทศ
4. รถไฟฟา้ สายสเี ขยี วเขม้ (ลำลกู กา - บางป)ู
พ.ศ. 2556 – 2563 รฐั บาลไดจ้ ดั หาแหลง่ เงนิ ทนุ นอกเหนอื
5. รถไฟฟา้ สายสเี ขยี วออ่ น (ยศเส - บางหวา้ )
จากงบประมาณแผ่นดินเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน
6. รถไฟฟา้ สายสนี ำ้ เงนิ
วงเงนิ 2 ลา้ นลา้ นบาท

(บางซอ่ื - หวั ลำโพง, ทา่ พระ - พทุ ธมณฑล สาย 4)

7. รถไฟฟา้ สายสมี ว่ ง (บางใหญ่ - ราษฎรบ์ รู ณะ)
การวางรากฐานเพอ่ื พฒั นาประเทศ โดยเฉพาะนโยบาย
8. รถไฟฟา้ สายสสี ม้ (จรญั สนทิ วงศ์ - มนี บรุ )ี
โครงสร้างพื้นฐานการพัฒนาระบบรางเพื่อขนส่งมวลชน
9. รถไฟฟา้ สายสชี มพู (แคราย - มนี บรุ )ี
และการบรหิ ารจดั การระบบขนสง่ สนิ คา้ และบรกิ าร อยา่ งไร
10. รถไฟฟา้ สายสเี หลอื ง (ลาดพรา้ ว - สำโรง)
กต็ าม ภายใตส้ ถานการณเ์ ศรษฐกจิ ของประเทศทไ่ี มส่ มดลุ ย์
และเศรษฐกิจโลกที่ผันผวน ทำให้มีความจำเป็นต้องปรับ
2) ทางถนน ทางรัฐบาลจะปรับยุทธศาสตร์ให้เน้นขยายถนน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศใหม่ เพื่อให้ทันกับการ
4 ช่องทางในสายทางหลัก ที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดและภูมิภาคต่างๆ  เปลย่ี นแปลงและสามารถแขง่ ขนั ไดใ้ นเวทโี ลก โดยไมล่ ะเลย
กับการกระจายรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน
3) ทางนำ้ เตรยี มสรา้ งทา่ เรอื เพม่ิ 3 แหง่ คอื ทา่ เรอื สงขลา, ซง่ึ การพง่ึ พาระบบโครงสรา้ งพน้ื ฐานของรฐั แบบเกา่ จะทำให้
ทา่ เรอื ชมุ พร และทา่ เรอื ปากบารา
ลา้ หลงั ไมส่ ามารถแขง่ ขนั กบั ประเทศใดๆ ในเวทโี ลก


4) ทางอากาศ (ลงทุนโดยบริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด ระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา ไทยลงทุนด้านโครงสร้าง
มหาชน)
พื้นฐานน้อย เมื่อเทียบกับงบประมาณแผ่นดิน ในปี 2555
แม้งบประมาณแผ่นดินจะสูงถึง 2.4 ล้านล้านบาท แต่งบ
5) ส่วนอ่ืนๆ สัดส่วน 1% เป็นตั้งงบไว้เผื่อเหลือเผื่อขาด ลงทนุ เพม่ิ ขน้ึ เพยี ง 1 แสนลา้ นบาทเมอ่ื เทยี บกบั 10 ปที แ่ี ลว้
นอกจากนเ้ี งนิ จำนวนดงั กลา่ ว ยงั เตรยี มสรา้ งศนู ยก์ ระจายสนิ คา้ เพม่ิ การลงทนุ ครง้ั ใหมข่ องรฐั บาลในการพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน
15 แหง่ ทว่ั ประเทศ และดา่ นศลุ กากรอกี ดว้ ย
ด้านการขนส่ง เพื่อสร้างโอกาสและสร้างรายได้ใหม่ที่
สามารถเชื่อมต่อระหว่างเมืองเศรษฐกิจทั้งภายในและต่าง
เพมิ่ ขดี ความสามารถการขนสง่ สนิ ค้าทางเรือ
ประเทศไดร้ วดเรว็ มตี น้ ทนุ ตำ่ ทส่ี ดุ สามารถกา้ วสศู่ นู ยก์ ลาง
ระบบการขนส่งแห่งภูมิภาคเอเชีย การพัฒนาระบบ
การแก้ปัญหาการจราจรแออัดบริเวณท่าเรือแหลมฉบังจะเน้น โครงสรา้ งพน้ื ฐานครง้ั น้ี เปน็ การลงทนุ เพอ่ื ชวี ติ ของประชาชน
ถนนหลัก ซึ่งกรมทางหลวงจะนำงบในส่วนที่รัฐบาลเตรียมออก ครง้ั ใหญ่ เพอ่ื ใหม้ รี ายไดแ้ ละคณุ ภาพชวี ติ อยา่ งเทา่ เทยี มกนั
พระราชบญั ญตั กิ เู้ งนิ จำนวน 2 ลา้ น 2 แสนลา้ นบาทมาใชใ้ นการเพม่ิ เปลี่ยนโฉมหน้าของเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้านการ
ชอ่ งทางจราจรทางหลวงหมายเลข 7 เชอ่ื มจากนคิ มอตุ สาหกรรมใน ท่องเที่ยวได้รับการยกระดับและได้รับความสะดวก
จงั หวดั ระยอง ไปยงั ทา่ เรอื แหลมฉบงั จาก 4 ชอ่ งทางเปน็ 14 ชอ่ งทาง การขนสง่ รวดเรว็ สามารถเพม่ิ มลู คา่ สนิ คา้ โดยเฉพาะสนิ คา้
โดยใชง้ บ 2,500 ลา้ นบาท และสรา้ งถนนมอเตอรเ์ วยร์ ะหวา่ งชลบรุ ี เกษตรของไทย และทง้ั หมดนถ้ี อื เปน็ พน้ื ฐานสำคญั ทช่ี ว่ ยให้
ไปนคิ มอตุ สาหกรรมมาบตาพดุ โดยใชง้ บ 18,000 ลา้ นบาท
นกั ลงทนุ ตา่ งประเทศไดต้ ดั สนิ ใจเรว็ ขน้ึ ทจ่ี ะเขา้ รว่ มลงทนุ ใน
ประเทศไทย

นอกจากน้ี ยงั จะเชอ่ื มถนนจากระยองไปทา่ เรอื แหลมฉบงั , สรา้ ง • แหลง่ ขอ้ มลู

จดุ ตดั วงแหวนบรเิ วณบา้ นหนองขาม-บางพระ รวมทง้ั ปรบั ปรงุ ระบบ http://hilight.kapook.com

ขนสง่ ทางรางและทางนำ้ ภายในทา่ เรือแหลมฉบงั ใหม้ ีความสะดวก http://www.tnnthailand.com/news

เพอ่ื ลดปรมิ าณการขนสง่ ทางถนน
http://www.ptp.or.th/news

งาน “Thailand 2020 กา้ วใหมเ่ ชอ่ื มไทยสโู่ ลก”

ปัจจุบันท่าเรือแหลมฉบังมีตู้สินค้าขนถ่ายผ่านท่าปีละ 7 ล้าน ณ ศนู ยร์ าชการเฉลมิ พระเกยี รติ

4 แสนทอี ยี ู จากขดี ความสามารถทร่ี องรบั ได้ 10 ลา้ น 8 แสนทอี ยี ู ถนนแจง้ วฒั นะ จ.นนทบรุ ี 8-12 มนี าคม 2556

ตอ่ ปภี ายใตก้ ารสง่ ออกขยายตวั รอ้ ยละ 15 ตอ่ ปี คาดวา่ ตสู้ นิ คา้ ทม่ี ี

อยจู่ ะเตม็ ขดี ความสามารถในอีก 2-3 ปีข้างหน้า ดังนั้นจึงต้องเร่ง
พัฒนาขยายโครงสร้างถนน, จดุ ตดั การจราจรภายในและภายนอก
อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
39
ท่าเรือ รวมถึงขยายประตูเข้า-ออกท่าเรือให้รองรับการขนส่งตู้สินค้า
ถงึ 20 ลา้ นทอี ยี ตู อ่ ปี


ลงทนุ โครงสร้างพนื้ ฐานครงั้ ใหญ ่


การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของรัฐบาลในงบประมาณ 2 ล้าน
ลา้ นบาท ซง่ึ ถอื เปน็ การลงทนุ ครง้ั ใหญแ่ ละจำเปน็ ของประเทศ โดยจะ
เน้นการลงทุนสร้างระบบการคมนาคมแบบราง เพื่ออำนวยความ
สะดวกในการขนส่งสินค้าและบริการ ที่มีต้นทุนต่ำกว่าการขนส่ง
ระบบอื่น ปัจจุบันตลาดการส่งออกสินค้าหลักของไทยเปลี่ยนจาก
ตลาดยุโรปและสหรัฐอเมริกาสู่ตลาดอาเซียนและจีน ซึ่งจีนได้มี
การสรา้ งโครงขา่ ยขนสง่ สนิ คา้ เชอ่ื มสปู่ ระเทศลาว เวยี ดนาม รวมถงึ

เรื่อง : แว่นขยาย

ชอ่ื หนงั สือ : AEC Thai กับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ผเู้ ขยี น : บุญชัย ใจเย็น

รหสั : E 330 A55

เนื้อหาเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมในการเป็นสมาชิก AEC อย่างไร ท่าทีของไทยเป็นอย่างไร ผลดี
ของ AEC ที่มีต่อประเทศไทยมีอย่างไร สามารถหาคำตอบจากหนังสือเล่มนี้ได้ AEC ไม่ใช่เพียง
อาเซียน การเตรียมตัวรับ AEC AEC จะเปลี่ยนไทย-โลก ประโยชน์ที่ไทยได้รับจาก AEC ประเทศไทย
ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศมาเลเซีย ประเทศสิงค์โปร์ ประเทศบรไู นดารุสซาเลม ประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศกัมพูชา ประเทศพม่า ประเทศเวียดนาม ประเทศลาว

ชอื่ หนังสอื : ก้าวทัน 10 ประเทศอาเซียน

ผเู้ ขยี น : ไกรพล เทียนแก้ว

รหสั :  E 330 ก551

เนื้อหาเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ทำความรู้จักกับกลุ่ม
ประเทศเพื่อนสมาชิกทั้ง 10 ประเทศโดยได้รวบรวมข้อมูลประวัติแต่ละชาติอาเซียน วัฒนธรรม
ประเพณี ภาษา การปกครองและอื่นๆ

ช่ือหนังสอื : เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2558

ผูเ้ ขียน : ฝ่ายวิชาการปัญญาชน

รหสั :  E 330 ต55

เนื้อหาเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2558 โดยมีประวัติความเป็นมา
ของอาเซียน การรวมตัวของอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ปี 2558 AEC
กับนโยบายภาครัฐ ภาคเอกชน กับความตื่นตัว ความมั่นคงและการเมืองของอาเซียน ปัญหาและ
อุปสรรคที่สำคัญ การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมท่องเที่ยวเมื่อเป็นอาเซียน


ช่ือหนังสอื : ทำมาหากินอย่างไร เมื่อไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน AEC 2558

ผู้เขยี น : ฝ่ายวิชาการปัญญาชน

รหสั :  E 330 ท55

เนื้อหาเกี่ยวกับการตั้งหลักในแง่อาชีพเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนปี พ.ศ.2558 สะท้อน
ความคิดเห็นกูรูด้านเศรษฐกิจและผู้เชี่ยวชาญด้านสาขาอาชีพต่างๆ SMEs ไทยตื่นตัวรับกระแส
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC Logistic ธุรกิจการขนส่งไทยเฟื่องรับ AEC เปิดเวทีอุตสาหกรรม
อาหารไทยรับ AEC ธุรกิจท่องเที่ยวและสปาเตรียมรับ AEC มองหาอาชีพกับการเข้าสู่ AEC

คนรุ่นใหม่จะกลายเป็นพลเมืองอาเซียน

ชอื่ หนังสอื : เราคืออาเซียน ประชาคมอาเซียน

ผูเ้ ขียน : พัชรา โพธิ์กลาง

รหัส :  E 330 ร55

เนื้อหาเกี่ยวกับการทำความรู้จักประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ และเรียนรู้เรื่องประชาคม
อาเซียนในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจ ซึ่งแบ่งออกเป็น 7 บทดังนี้ บทที่1 เปิดประตูสู่อาเซียน
บทที่2 ประชาคมอาเซียน บทที่3 บทบาทของอาเซียนในเวทีโลก บทที่4 รู้จักสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ
บทที่5 ความเหมือนในความต่างเอกลักษณ์แห่งอาเซียน บทที่6 ผูกพันฉันเพื่อนบ้าน บทที่7
เที่ยวอาเซียน


40 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

ช่ือหนังสอื : อาเซียน 360 องศา
ชือ่ หนงั สอื : รู้จักประชาคมอาเซียน

ผู้เขยี น : ฝ่ายวิชาการเอ็กซเปอร์เน็ท
ผเู้ ขียน : วิทย์ บัณฑิตกุล

รหัส : E 330 อ551
รหสั :  E 330 ร551

เนื้อหาเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม เนื้อหาประกอบด้วยตราสัญลักษณ์ของอาเซียนและความหมาย
สู่การเข้าเป็นประชาคมอาเซียน ภาษา แผนที่อาเซียน รู้จักอาเซียน ก่อนเกิดอาเซียน รวมเป็นอาเซียน

วัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง มีแต่ประโยชน์ อนาคตอันรุ่งโรจน์ของประชาคมอาเซียน ประชาคม
สภาพภูมิศาสตร์และโอกาสดีๆมากมาย อาเซียนคืออะไร เส้นทางสู่ความสำเร็จของประชาคมอาเซียน
ที่จะเกิดขึ้นแก่คนไทยและประเทศไทย
กฎบัตรคือกฎเหล็กของอาเซียน รู้จักประเทศประชาคมอาเซียน,
ราชอาณาจักรไทย, ราชอาณาจักรกัมพูชา, รัฐบรูไนดารุสซาลาม, สาธารณรัฐแห่งสหภาพ
เมียนมาร์, สาธารณรัฐฟิลิปปินส์, มาเลเซีย, สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว,
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม, สาธารณรัฐสิงคโปร์, สาธารณรัฐอินโดนีเซีย



ช่ือหนังสอื : รู้จักอาเซียน รู้ก่อน ดีก่อน

ผเู้ ขียน : Piyaphon H.

รหัส : E 330 ร552

รายละเอียดประกอบด้วย ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน เกี่ยวกับวิสัยทัศน์อาเซียน สัญลักษณ์และ
ประเทศสำคัญในอาเซียน คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับอาเซียน


ชอื่ หนงั สือ : เรียนรู้เรื่องอาเซียน ASEAN

ผเู้ ขยี น : พนิดา อนันต์รัตนสุข

รหสั : E 330 ร553

เนื้อหาเป็นการเรียนรู้เรื่องราวของ 10 ประเทศอาเซียนแบบทุกซอก
ทุกมุมทั้งเรื่องราวประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง
และอื่นๆ ที่เราต้องรู้ก่อนเข้าร่วมประชาคมอาเซียนในปี 2558
ในรูปแบบสนุก เข้าใจง่าย ได้ประโยชน์และสาระครบถ้วน


ช่ือหนงั สอื : วิถีไทยในเงาอาเซียน
ชอ่ื หนงั สอื : อาเซียน รู้ไว้ ได้เปรียบแน่

ผูเ้ ขยี น : ปิยมิตร ปัญญา
ผูเ้ ขียน :  สุรินทร์ พิศสุวรรณ

รหัส : E 330 ว55
รหสั :   E 330 อ552

เนื้อหาเกี่ยวกับสถานการณ์ ในไทยและ เนื้อหาเกี่ยวกับการทำความรู้จักอาเซียน Asean Now ทำไมต้อง
ประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งเปรียบจุดร่วม เป็นประชาคมอาเซียน Asean so What คู่ค้าอาเซียน Asean
เทียบจุดต่างสู่เส้นทางอาเซียน 2558
Partners การเมืองและความมั่นคงอาเซียน Asean Political-Security
เศรษฐกิจอาเซียน Asean Economic สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
Asean Socio Cultural คนที่อาเซียนต้องการ People Needed
จิตวิญญาณของอาเซียน Spirit of Asean


ชื่อหนงั สอื : สุดยอดคัมภีร์อาเซียน

ผเู้ ขยี น : ทีมนักวิชาการอาเซียน

รหัส : E 330 ส55

เป็นการนำเสนอ ความรู้เกี่ยวกับอาเซียนที่เริ่มปูพื้นฐานเกี่ยวกับความเป็นมาของประชาคมอาเซียนและ

เพื่อนบ้านที่เป็นสมาชิกอาเซียนจำนวน 10 ประเทศ ทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม และยังได้เก็บ
สถิติข้อมูลสำคัญต่างๆ ที่ควรรู้เกี่ยวกับอาเซียนมาแปลงเป็นแผนภาพที่เข้าใจง่าย เป็นต้น


สถานท่สี อบถามรายละเอียดและข้อมลู เพ่มิ เตมิ หอ้ งสมดุ กรมสง่ เสริมอุตสาหกรรม

โทร.02-202-4425 หรอื 02-354-3237 เวบ็ ไซต์ http://library.dip.go.th


อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร
41

ใวบาสรมสคั ารสรมอาตุ ชสิกาหกรรมสาร 2556

โปรดกรอกข้อมูลทั้งหมดเพื่อประโยชน์ในการจัดส่งข้อมูลที่ท่านต้องการ

วนั ทส่ี มคั ร........................................................เลขทบ่ี ตั รประจำตวั ประชาชน
ชอ่ื / นามสกลุ ...............................................................................................................................................................................
บรษิ ทั /หนว่ ยงาน...........................................................................................................................................................................
ทอ่ี ย.ู่ ..........................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
จงั หวดั ........................................................ รหสั ไปรษณยี .์ ......................................... เวบ็ ไซตบ์ รษิ ทั ..................................................
โทรศพั ท.์ ..................................................................................... โทรสาร....................................................................................
ตำแหนง่ ...................................................................................... อเี มล.......................................................................................

แบบสอบถาม

1. ผลติ ภณั ฑห์ ลกั ทท่ี า่ นผลติ คอื ………………………………………………………………………………………...............................……………………

2. ทา่ นรจู้ กั วารสารนจ้ี าก…………………………………………………………………………………………………………………………………...............

3. ขอ้ มลู ทท่ี า่ นตอ้ งการคอื ……………………………………………………………………………………………………………………………….....…………

4. ประโยชนท์ ท่ี า่ นไดจ้ ากวารสารคอื ……………………………………………………………………………….………………………..............………………

5. ทา่ นคดิ วา่ เนอ้ื หาสาระของวารสารอตุ สาหกรรมสารอย่ใู นระดบั ใด เมอ่ื เทยี บกบั วารสารราชการทว่ั ไป

ดที ส่ี ดุ ดมี าก ด ี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรงุ

6. การออกแบบปกและรปู เลม่ อยใู่ นระดบั ใด

ดที ส่ี ดุ ดมี าก ด ี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรงุ

7. ขอ้ มลู ทท่ี า่ นตอ้ งการใหม้ ใี นวารสารนม้ี ากทส่ี ดุ คอื (ใสห่ มายเลข 1...2...3... ตามลำดบั )

การตลาด การใหบ้ รกิ ารของรฐั สมั ภาษณผ์ ปู้ ระกอบการ ขอ้ มลู อตุ สาหกรรม อน่ื ๆ ระบ.ุ ...........................................

8. คอลมั นท์ ท่ี า่ นชอบมากทส่ี ดุ (ใสห่ มายเลข 1...2...3... ตามลำดบั ความชอบ)

Interview (สมั ภาษณผ์ บู้ รหิ าร) Product Design (ออกแบบผลติ ภณั ฑ)์ Good Governance (ธรรมาภบิ าล)

SMEs Profile (ความสำเรจ็ ของผปู้ ระกอบการ) Report (รายงาน / ขอ้ มลู ) Innovation (นวตั กรรมใหม)่

Market & Trend (การตลาด / แนวโนม้ ) Book Corner (แนะนำหนงั สอื ) อน่ื ๆ ระบ.ุ ..........................................

9. ทา่ นไดร้ บั ประโยชนจ์ ากวารสารอตุ สาหกรรมสารมากนอ้ ยแคไ่ หน

ไดป้ ระโยชนม์ าก ไดป้ ระโยชนพ์ อสมควร ไดป้ ระโยชนน์ อ้ ย ไมไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชน์

10. เทยี บกบั วารสารราชการทว่ั ไป ความพงึ พอใจของทา่ นทไ่ี ดร้ บั จากวารสารเลม่ น้ี เทยี บเปน็ คะแนนไดเ้ ทา่ กบั

91-100 คะแนน 81-90 คะแนน 71-80 คะแนน 61-70 คะแนน ตำ่ กวา่ 60 คะแนน

42 อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส า ร

กอรตุ มสสาง่ หเสกรริมร



กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม


ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กทม. 10400


สำนกั พัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนนุ (สพส.)


กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม


ถนนพระรามท่ี 4 (กลว้ ยนำ้ ไท) ซอยตรมี ติ ร เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110

http://e-journal.dip.go.th


วารสารอุตสาหกรรมสารออนไลน


วารสารอตุ สาหกรรมสาร เปน็ วารสารในสังกดั กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม เปน็ สือ่ สิง่ พิมพ์ของราชการท่ีมอี ายุ
ยาวนานกวา่ 50 ปี เปน็ ฐานข้อมูลสำคัญในการสง่ เสรมิ ความรู้ดา้ นอุตสาหกรรม เนือ้ หาภายในเลม่


ประกอบดว้ ย แนวโน้มของอุตสาหกรรม กระบวนการผลิต การตลาด การบริหารการจดั การ การพฒั นารปู แบบ
ผลติ ภณั ฑ์ การใหบ้ รกิ ารตา่ งๆ ตลอดจนตวั อยา่ งผปู้ ระกอบการทปี่ ระสบความสำเรจ็ ในธรุ กจิ อตุ สาหกรรม


NEW


ประช1า0คปมรเศะเรทษศฐกAิจEอCา
เซีย
10 ปีแห่งความสำเร็จ
เตรียมพร้อม SMEs สู่ AEC
เบื้องหลังความสำเร็จของSMEs

โครงการ NEC สร้างผู้ประกอบการใหม
่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน


เพิ่มมูลค่า อุตสาหกรรมไทย เพิ่มมูลค่า อุตสาหกรรมไทย นวัตกรรม & ความคิดสร้างสรรค
์ โอกาสทีท้าทายของ SMEs


ยกเครอ่ื งสนิ คา้ ชมุ ชนไทย ใหโ้ ดนใจตลาดโลก
ขนมพลิกบทบาทเป็นสินค้าเศรษฐกิจ กระแสศิลธรรมตื่นตัว ตลาดบรรจุภัณฑ


ศูนย์กลางการแพทย์แห่งเอเชีย อาหารพร้อมทาน เกษตรแปรรูป ธุรกิจ ชา-กาแฟ


อาหารแช่แข็ง โอกาสและธุรกิจ ขนมไทย ผู้ประกอบการสตร
ี บริการจากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

สมัครเป็นสมาชิกไดท้ ่ี :

สวามรัคสราผร่าอนุตเสคารห่ือกงแรรฟมกซก์ทลี่หุ่มมปารยะเชลาขสัม0พ2 ัน3ธ5์4ก3ร2ม9ส9่งเหสรรือิมอสุตมสัคารหผก่านรรeมmถaนilน:พeระ-รjoามuทr่ี n6 aเขlต@รhาชoเทtmวี กaทiมl..c1o04m00


Click to View FlipBook Version