The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ejournal.diprom, 2021-11-29 22:41:27

EJOURNAL_61_006

EJOURNAL_61_006

ISSN 0125-8516 วารสารของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พิมพ์เป็นปีท่ี 60 ฉบับเดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2561

SMEs Thailand 4.0

มน่ั คง มง่ั คงั่ ยงั่ ยนื

กอบชัย สังสิทธิสวัสด์ิ

เผยความส�ำเร็จหนนุ SMEs 4.0

พฒั กนาสแออป.พจลับิเคมชือนั ชAุมชISน
หุ่นยนต์ชงกบาารแสิ ฟตค้าแ่าหย่งโลDกEอNนาSคOต

A Cup of Joe
หนุนกาแฟไทยอยรู่ อดอยา่ งย่งั ยืน

Simply Natural
สารบำ� รุงพืชตอบโจทยอ์ อร์แกนกิ

BEGIN Baby Food
อาหารเสน้ ส�ำหรับลูกน้อย

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
พฒั นาโครงสรา้ งและใหบ้ รกิ ารสยู่ คุ SMEs 4.0

กองพฒั นาขดี ความสามารถธรุ กจิ อตุ สาหกรรม กลุ่มตรวจสอบภายใน
โทร. 0 2202 4560
• กลมุ่ พัฒนาการจดั การธุรกจิ โทร. 0 2202 4407
• กลุ่มพัฒนาบริการธุรกิจอตุ สาหกรรม
• กลุ่มผู้ประกอบการ ส�ำนักงานเลขานุการกรม
• กลุม่ พฒั นาการรวมกลุม่ อุตสาหกรรม
• กลมุ่ พัฒนาอตุ สากรรมรายสาขา โทร. 0 2202 4559, 0 2202 4560
กองพัฒนาดิจิทัลอุตสาหกรรม
โทร. 0 2367 8001, 0 2367 8167 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน
• กลุ่มเชือ่ มโยงธรุ กจิ ดิจิทัลอุตสาหกรรม
• กลุ่มพัฒนาผูป้ ระกอบการและบคุ ลากรดิจทิ ลั อตุ สาหกรรม โทร. 0 2202 4501
• กลมุ่ เพิม่ ขดี ความสามารถวสิ าหกิจด้วยดิจทิ ลั • กลุ่มยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน
กองพัฒนานวัตกรรม • กลมุ่ พฒั นาระบบบรหิ าร
และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม • กลุ่มแผนปฏบิ ัตงิ านและงบประมาณ
โทร. 0 2367 8001, 0 2367 8134 • กลุ่มติดตามและประเมินผล
• กลมุ่ ส่งเสรมิ มาตรฐานเทคโนโลยีการผลติ และผลติ ภณั ฑ์ • กลุ่มความรว่ มมือระหวา่ งประเทศ
• กลุ่มส่งเสรมิ นวัตกรรมอุตสาหกรรม • กล่มุ ศึกษาและพฒั นาระบบสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม
• กลมุ่ พฒั นาเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม กองโลจิสติกส์
• กุลม่ พฒั นาระบบการผลติ อัตโนมัติ โทร. 0 2202 4540
กองพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชน • กลมุ่ นโยบายและประสานเครือข่าย
โทร. 0 2367 8335 • กลุ่มพฒั นาระบบโลจิสติกส์
• กลุม่ ส่งเสรมิ การตลาดผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน • กลมุ่ มาตรฐานและนวัตกรรมโลจสิ ตกิ ส์
• กลุ่มพฒั นาผลติ ภัณฑช์ มุ ชน • กล่มุ ส่งเสริมโลจสิ ตกิ ส์องค์กร
• กลุ่มพัฒนาการผลติ อตุ สาหกรรม แกลอะงธสุร่งกเิสจใรหิมมผ่ ู้ประกอบการ
• กลมุ่ พฒั นาผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมชุมชน โทร. 0 2202 4489, 0 2202 4499
กองพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ • กลุ่มสนับสนุนการจดั ตงั้ ธุรกิจ
โทร. 0 2367 8022 • กลุ่มสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการใหม่
• กลุ่มเช่อื มโยงอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์ • กลุ่มสรา้ งสังคมผปู้ ระกอบการ
• กลมุ่ พัฒนาบคุ ลากรอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ศแลูนะยก์เาทรคสโื่อนสโลายรีสารสนเทศ
• กลุ่มพัฒนาอุตสาหกรรมสรา้ งสรรค์ โทร. 0 2202 4520
• กลุ่มส่งเสรมิ การออกแบบอตุ สาหกรรม • กลมุ่ บรหิ ารธรุ กจิ สารสนเทศ
• ศูนย์อตุ สาหกรรมอัญมณี จังหวดั พะเยา • กลุ่มพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
• กลุ่มระบบคอมพวิ เตอร์และเครอื ขา่ ย

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 1 - 11

05 20 Biz Trends

Hilight Simply Natural สารบำ� รงุ พชื ตอบโจทยอ์ อรแ์ กนกิ
ภายใตโ้ ครงการ T-GoodTech ชอ่ งทางจบั คธู่ รุ กจิ B2B
SMEs 4.0 ม่นั คง ม่งั ค่ัง ย่งั ยนื
38
Contents
วารสารอตุ สาหกรรมสาร Packaging
ฉบับเดอื นพฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2561
นำ�้ ตาลดอกมะพรา้ วเกรดพรเี มยี ม
11 บรรจภุ ณั ฑท์ เี่ ปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม
ภายใตโ้ ครงการสรา้ งมลู คา่ เศรษฐกจิ
Market & Trend เชงิ สรา้ งสรรคข์ องประเทศไทย

A Cup of Joe หนนุ กาแฟไทยอยรู่ อดอยา่ งยง่ั ยนื 08 Interview
นำ� รอ่ ง 3 หมบู่ า้ นในเชยี งราย นา่ น เพชรบรู ณ์
เปน็ แบบอยา่ งหมบู่ า้ นกาแฟทแี่ ขง็ แกรง่ กอบชยั สงั สทิ ธสิ วสั ด์ิ เผยความสำ� เรจ็ หนนุ SMEs 4.0

ภายใตม้ าตรการพเิ ศษ Big Brother ดา้ นเกษตรแปรรปู 23 Local SMEs

14 เบสท-์ แพค คอนกรตี จ.หนองบวั ลำ� ภู
ผผู้ ลติ คอนกรตี อดั แรง คอนกรตี ผสมเสรจ็
Innovation ดาวเดน่ SMEs ไทย : DIP Stars ภายใตก้ ารบรหิ ารงาน
ของศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 4
หนุ่ ยนตช์ งกาแฟ : DENSO Robotic Café
บารสิ ตา้ แหง่ โลกอนาคต ภายใตม้ าตรการพเิ ศษ Big Brother 26 Opportunity
เพอื่ บม่ เพาะแนวคดิ ธรุ กจิ และเทคโนโลยี ผลกั ดนั SMEs สเู่ วทโี ลก
กสอ. จบั มอื AIS รว่ มพฒั นาแอปพลเิ คชนั
16 e-Commerce ชมุ ชน : Thai DIP CIV
ภายใตม้ าตรการพเิ ศษยกระดบั อตุ สาหกรรมชมุ ชน
SMEs Focus เชอ่ื มโยงการตลาด - การทอ่ งเทย่ี ว

ทายาทนติ ยสารขวญั เรอื น 28 Smart Biz
เปดิ ตวั ธรุ กจิ ใหม่ BEGIN Baby Food
โอ.อ.ี ไอ พารท์ ผผู้ ลติ ชน้ิ สว่ นโลหะจบั มอื ญป่ี นุ่
อาหารเสน้ สำ� หรบั ลกู นอ้ ย เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพแรงงานดว้ ย Visualize Craftsmanship
ภายใตห้ ลกั สตู รเศรษฐใี หม่ ภายใตโ้ ครงการจรวด 3 ขนั้ ‘3–Stage Rocket Approach’
กองสง่ เสรมิ ผปู้ ระกอบการและธรุ กจิ ใหม่
31 Product Design

5 ผลติ ภณั ฑส์ รา้ งสรรคใ์ สไ่ อเดยี ‘ไทยทำ� เอง’

34 Development

สรา้ งและเชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ย คลสั เตอรอ์ ตุ สาหกรรมแหง่ อนาคต

36 Report

ชมุ ชนตะเคยี นเตย้ี จ.ชลบรุ ี เกาะสมยุ ของบางละมงุ ตน้ แบบหมบู่ า้ น CIV
ภายใตโ้ ครงการหมบู่ า้ นอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

40 Good Governance

อานสิ งสก์ ารทำ� ทาน

41 Book Corner

Editor’s Talk วารสารอุตสาหกรรมตพี มิ พ์ต่อเน่ืองมายาวนาน
นบั ถงึ ปัจจุบันเปน็ ปีที่ 60
จาถกงึ TShMaiElasn4d.04.0
เจ้าของ
Thailand 1.0 คือ ยุคของเกษตรกรรม คนไทยปลูกข้าว พืชสวน
พืชไร่ เลย้ี งหมู เป็ด ไก่ น�ำผลผลติ ไปขาย สร้างรายไดแ้ ละยังชพี กรมสง่ เสริมอุตสาหกรรม

Thailand 2.0 คือ ยุคอุตสาหกรรมเบา ในยุคน้ีเรามีเครื่องมือ ถนนพระรามโทที่ ร6ศัพเขทต์ ร0าช2เ2ท0ว2ี 4ก5ร1ุง1เทพฯ 10400
เขา้ มาชว่ ย เราผลติ เสอื้ ผา้ กระเปา๋ เครอ่ื งดมื่ เครอื่ งเขยี น เครอ่ื งประดบั
เปน็ ต้น ประเทศเรม่ิ มีศกั ยภาพมากขึ้น ที่ปรึกษา

Thailand 3.0 คือ ยุคอุตสาหกรรมหนัก เราผลิตและขายส่งออก นายกอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์
เหลก็ กล้า รถยนต์ ก๊าซธรรมชาติ ปนู ซเี มนต์ เป็นต้น โดยใชเ้ ทคโนโลยี อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
จากตา่ งประเทศ เพื่อเน้นการส่งออก นายภานุวัฒน์  ตริยางกูรศรี
รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
Thailand 4.0 คือ การปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ โดย
ปรับโครงสร้างจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรม นายจารุพันธุ์ จารโยภาส
ไปสู่การขับเคล่ือนด้วยเทคโนโลยี - ความคิดสร้างสรรค์ - นวัตกรรม รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
และเปลี่ยนโครงสร้างจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้น
ภาคบริการมากข้ึน นายเดชา จาตุธนานันท์
รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
SMEs หรือ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เป็นพลังส�ำคัญ
ที่สนับสนุนการเติบโตในทุกภาคส่วนของเศรษฐกิจไทย เป็นเสมือน นายเจตนิพิฐ  รอดภัย
ฟันเฟืองที่ท�ำให้เครื่องจักรใหญ่ของประเทศเดินไปข้างหน้าได้ เป็น เลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
กลไกที่ช่วยกระจายผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจไปสู่ภาคประชาชน
อยา่ งทวั่ ถงึ และทสี่ ำ� คญั ชวี ติ ของคนไทยจำ� นวนมากพงึ่ พงิ ธรุ กจิ SMEs นายวีระพล  ผ่องสุภา
และหลายประเทศท่ีประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาและยกระดับ ผู้อำ�นวยการกลุ่มประชาสัมพันธ์
SMEs ของเยอรมนี ฝรงั่ เศส อติ าลี ญป่ี นุ่ ไตห้ วนั ตา่ งกย็ กระดบั SMEs
ใหเ้ ข้มแขง็ สู่ SMEs 4.0 ในทีส่ ดุ บรรณาธิการบริหาร

บรรณาธกิ ารบรหิ าร นางสาวปาณทิพย์ เปลี่ยนโมฬี

กองบรรณาธกิ าร

นางสมจิตต์ เตียวสุนทรวงศ์, นายชเนศ ศรีพิทักษ์,
นางสาวกมลชนก กุลวงศ์, นางสาวนฤมล ผึ้งเนียม,
นางสาวจุฑารัตน์  เคนจอหอ, นายไพฑูรย์ มะเมียเมือง,
นางเกสรา ภู่แดง, นายธานินทร์ กล่ำ�พัก, นางสุรางค์ งามวงศ์,

นายสุรินทร์ ม่วงน้อย, นางสาวกัญศิญา ชุมศรี,
นางสาวกนกรักษ์ นุกูลโรจน์, นางสาวศิริธร ชัยรัตน์,

นายธวัชชัย มะกลํ่าทอง

จัดพมิ พ์

บริษัท ซี แอด โปรโมชั่น (1997) จำ�กัด
77/14 หมู่บ้านชลลดา ซอย 2 ถนนสายไหม
แขวงสายไหม เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220
โทรศัพท์ 0 2991 3031-3 โทรสาร 0 2991 3066

สมัครสมาชิกวารสาร

กรอกใบสมคั รซึง่ อยหู่ น้าสุดท้ายของเล่ม
จากน้ันส่งใบสมคั รได้ 3 ทาง ได้แก่

1. สมคั รทางไปรษณยี ์ จ่าหน้าซองถึง
บรรณาธกิ ารวารสารอุตสาหกรรมสาร
กลุม่ ประชาสมั พันธ์ กรมส่งเสริมอตุ สาหกรรม
ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
2. สมคั รทางเครื่องโทรสาร หมายเลข 0 2354 3299
3. สมัครทางอีเมล : [email protected]
4. สมคั รผ่าน Google Form :

“บทความ บทสัมภาษณ์ หรืองานเขียนที่ตีพิมพ์ในวารสารเล่มนี้
เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ทางวารสารไม่จำ�เป็น
ต้องเห็นด้วยเสมอไป หากประสงค์จะนำ�บทความใด ๆ ในวารสาร
ไปตีพิมพ์เผยแพร่ ควรแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรต่อกองบรรณาธิการ”

SMEs 4.0 Hilight

• เรื่อง : นุชเนตร จกั รกลม

SMEs 4.0 www.theeleader.com

มั่นคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน

Thailand 4.0 เปน็ นโยบายการพฒั นาเศรษฐกจิ Thailand 4.0 คอื อะไร ?
ที่เน้นการขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม ซ่ึงมุ่งหวังให้
ผู้ประกอบการไทย โดยเฉพาะ SMEs ปรับตัวเป็น “Thailand 4.0” หรือ “ประเทศไทย 4.0” เป็น Roadmap
SMEs 4.0 ที่ด�ำเนินการด้วยความคิดสร้างสรรค์ การปฏิรูปประเทศไทย ในการปรับเปล่ียนโครงสร้างเศรษฐกิจ
และสามารถน�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาสร้าง ไปสเู่ ศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนโดยองคค์ วามรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยี
มูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการของตนตัวเอง ขน้ั สงู ใหป้ ระเทศไทยหลดุ พน้ จากกบั ดกั ทฉี่ ดุ รงั้ การพฒั นาประเทศไว้
ได้อยา่ งม่ันคง ม่งั คั่ง และยง่ั ยืน ด้วยการเดนิ หน้าในทกุ มติ ิ

“Thailand 4.0” จึงเป็นโมเดลการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในยุคน้ี
ที่ทุกภาคส่วนต้องมีส่วนร่วมไปด้วยกันโดยเฉพาะภาคเอกชนและ
ผู้ประกอบการ SMEs ท่ีต้องช่วยกันผลักดันไปพร้อมๆ กัน โดย
เป้าหมายของ Thailand 4.0 ท่สี �ำคญั คอื การปรับเปลีย่ นโครงสรา้ ง
เศรษฐกิจไทยให้มีความสมดุลมากขึ้น มีการวางอนาคตอย่างมี
ทศิ ทางทชี่ ดั เจน ผา่ นกลไกขบั เคลอื่ นประเทศชดุ ใหม่ ทเี่ นน้ การสรา้ ง
ความเข้มแข็งจากภายใน (Local Economy) เพือ่ ให้เศรษฐกจิ ไทย
มีความยืดหยุ่น สามารถรองรับผลกระทบจากสภาวะความผันผวน
ภายนอก รวมทงั้ สามารถตอบโจทยก์ ารเชอ่ื มโยงกบั ประชาคมโลกได้

กา้ วส่ยู คุ ไทยแลนด์ 4.0

“ประเทศทมี่ คี วามมนั่ คง มง่ั คงั่ ยงั่ ยนื เปน็ ประเทศทพี่ ฒั นาแลว้
ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” คือ วิสัยทัศน์
ของกรอบยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ทจี่ ะนำ� ไปสู่
การพฒั นาใหค้ นไทยมคี วามสขุ และตอบสนองตอบตอ่ ความตอ้ งการ
บรรลุซึง่ ผลประโยชน์แหง่ ชาติ โดยมี 6 ยุทธศาสตร์สำ� คัญ ดังน้ี

• ความมนั่ คง
• การสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน
• การพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน

อุตสาหกรรมสาร 5

• การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมกัน 10 อตุ สาหกรรมเปา้ หมายสู่ไทยแลนด์ 4.0
ทางสงั คม
อุตสาหกรรม 4.0 เป็นนโยบายของรัฐท่ีจะมุ่งสู่อุตสาหกรรมที่
• การสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ขบั เคลอ่ื นดว้ ยปญั ญาและเชอ่ื มโยงกบั เศรษฐกจิ โลก โดยมแี นวทาง
• การปรบั สมดลุ และการพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั การพัฒนาอุสาหกรรมไทยสู่อุตสาหกรรมไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0
จากยุทธศาสตร์ดังกล่าว ส�ำนักงานคณะกรรมการการพัฒนา ตามร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทยระยะ 20 ปี โดย
เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ จึงไดจ้ ดั ท�ำ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และ มงุ่ เนน้ การพฒั นาอตุ สาหกรรมในเรอื่ งของเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT)
สงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ทจี่ ะนำ� เอายทุ ธศาสตร์ ใช้ระบบการจัดการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพสินค้า
ระยะยาวถ่ายทอดลงสู่การปฏิบัติจริงในช่วงเวลา 5 ปี โดยมุ่งเน้น ขณะเดยี วกันกต็ อ้ งมีการพฒั นาฝีมอื แรงงาน (Skill) มากขน้ึ รวมท้ัง
ท่ีการสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกิจและแข่งขนั ไดอ้ ย่างยั่งยืน ใช้ระบบอัตโนมตั ิเขา้ มาชว่ ยในกระบวนการผลิต

ส่ิงท่ี SMEs ไทยควรด�ำเนินการ S-Curve ในด้านอุตสาหกรรมอธบิ ายถงึ การพัฒนาธุรกิจ โดย
ตวั อกั ษร S หมายถงึ การพัฒนาหรือเจรญิ ขนึ้ ท่ีไมใ่ ชแ่ นวตรง แต่จะ
1. การพฒั นาสนิ คา้ และบรกิ ารทม่ี นี วตั กรรมมกี ารใชเ้ ทคโนโลยี คอ่ ยๆ เจริญเติบโตข้นึ แบบค่อยๆ เปน็ ค่อยๆ ไป หรือคอ่ ยๆ พฒั นา
และความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) ในการด�ำเนินธุรกิจนั้นจะ โดยค�ำว่า Curve แปลว่าส่วนโค้งเว้าเม่ือรวม 2 ค�ำเข้าด้วยกัน
สามารถผลิตสินค้าและบริการที่ตอบสนองความต้องการของกลุ่ม คือ “S-Curve” จึงหมายถงึ เสน้ โคง้ ท่เี จรญิ เตมิ โตในรปู ตวั S น่ันเอง
ลูกค้าเป้าหมายและลูกค้าเฉพาะกลุ่ม (Niche Market) ได้อย่าง
รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ด้วยต้นทุนท่ีต�่ำกว่า และมีความคล่องตัว ค�ำว่า New S-curve เน่ืองจากในปัจจุบันความเปลี่ยนแปลง
กวา่ กิจการขนาดใหญ่ ทางดา้ นเทคโนโลยมี กี ารเปลย่ี นแปลงชนดิ ทเี่ รยี กวา่ แบบกา้ วกระโดด
เลยก็ว่าได้ ดังนั้นในสงครามทางการค้าไม่ว่าจะเป็นผู้ผลิต
2. การนำ� เอาภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ทมี่ เี อกลกั ษณม์ าสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ หรอื ผบู้ รกิ ารจะตอ้ งปรบั ตวั ใหท้ นั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงดว้ ยเทคโนโลยี
(Value Added) และสรา้ งสรรคค์ วามโดดเดน่ ใหแ้ กส่ นิ คา้ และบรกิ าร และนวัตกรรมแบบสมัยใหม่ แต่ก็ต้องยอมรับว่าในหลาย
รวมถึงการน�ำความคิดสร้างสรรค์มาใช้ในการออกแบบและพัฒนา ภาคส่วนของอุตสาหกรรมการผลิตยังไม่สามารถปรับให้รวดเร็วได้
ผลิตภัณฑแ์ ละการด�ำเนินธรุ กิจ ก็ด้วยเง่ือนไขของตัวผู้ผลิตเองและผู้บริโภค ในผลิตภัณฑ์หลายตัว
ก็อาจไม่จ�ำเป็นต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยี
3. การยกระดับผลิตภาพ (Productivity) โดยการปรับปรุง ดว้ ยเพราะสนิ คา้ เหลา่ นน้ั มคี ณุ คา่ ในตวั ของมนั เอง อาทิ สนิ คา้ ทเ่ี ปน็
ประสทิ ธภิ าพในกระบวนการผลิตต่างๆ การปรับตวั เปน็ SMEs ท่ีมี เอกลกั ษณ์จากภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ เป็นต้น
ความยืดหยุ่นในการด�ำเนินธุรกิจมีความสามารถในการปรับตัวสูง
ภายใต้ภาวะทางธุรกิจที่เปลยี่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว รัฐบาลเข้าใจถึงปัจจัยต่างๆ ของความเปลี่ยนแปลงดี แต่
ขณะเดียวกันในการวางยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะ
4. การรวมกลุ่มของ SMEs เป็นสมาคมหรือพันธมิตรในการ ภาคอุตสาหกรรมจะต้องค�ำนึงถึงศักยภาพความพร้อมท่ีจะต้อง
ดำ� เนนิ ธรุ กจิ เปน็ คลสั เตอร์ (Cluster) รวมทงั้ การเชอ่ื มโยงกนั ระหวา่ ง มีความสมดุลระหว่างใหม่และเก่าให้ดี ให้สามารถเดินคู่กันไปได้
กลมุ่ ธุรกิจใหญ่กบั SMEs เพ่อื เสรมิ การดำ� เนินธุรกจิ ร่วมกัน เพราะตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาธุรกิจท่ีมีอยู่แล้วน้ี สามารถสร้าง
รายได้ของประชากรกว่า 70% ของรายได้ท้ังหมด ดังนั้นใน
5. การพฒั นาทกั ษะองคค์ วามรสู้ มยั ใหมท่ จี่ ำ� เปน็ ในการดำ� เนนิ การวางกลยุทธ์การพัฒนา จึงก�ำหนดประเภทอุตสาหกรรม
ธุรกิจ เช่น ความรู้เร่ืองการบริหารการจัดการเรื่องการเงิน ความรู้ เป้าหมายของประเทศ ออกเปน็ 10 อุตสาหกรรม แบ่งเป็น 2 ส่วน
ทางทรัพยส์ ินทางปญั ญา ความร้เู ร่ืองดิจทิ ลั เปน็ ต้น คอื 1) อตุ สาหกรรมเดมิ ทมี่ ศี กั ยภาพ (First S-curve) 5 อตุ สาหกรรม
2) อตุ สาหกรรมแหง่ อนาคต (New S-curve) 5 อุตสาหกรรม
6. การแสวงหาโอกาสและการใช้ประโยชน์จากข้อได้เปรียบ
ทางภูมิประเทศ ซึ่งเอ้ือต่อการด�ำเนินธุรกิจการค้าชายแดน และใช้
ประโยชนจ์ ากเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษตา่ งๆ ได้ โดยเฉพาะ SMEs
ที่อยู่ในพ้ืนที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน รวมถึงการก้าวเข้าสู่ห่วงโซ่
คณุ ค่าโลก (Global Value Chain) ซงึ่ ถือวา่ มีความส�ำคญั มาก จาก
การศกึ ษาของธนาคารพฒั นาเอเชยี (ADB) และธนาคารโลก (World
Bank) ระบุความท้าทายของ SMEs ท่ัวโลก คอื โอกาสในการเขา้ ไป
สู่ Global Value Chain และการยกระดับธุรกจิ ให้สงู ขนึ้

7. การเปล่ียนแปลง Market Place เป็น Market Space โดย
SMEs ไม่ได้ท�ำงานบน Physical Platform อีกต่อไป แต่ SMEs
จะตอ้ งท�ำงานท้งั Physical Platform และ Digital Platform ในเวลา
เดียวกัน เพราะหลายส่ิงหลายอย่างน้ันจะท�ำให้ SMEs สามารถ
ท�ำงานไดเ้ ร็วขึน้ ในตน้ ทุนทถ่ี ูกลง ด้วยกระบวนการทำ� งานท่งี า่ ยขน้ึ
และไดผ้ ลตอบรบั ท่มี ากขนึ้

6 อตุ สาหกรรมสาร

FหiมrsาtยSถงึ-Cอuตุ rสvาeห5กรอรุตมสเดาหิมกทร่ีมรศี มกั ยภาพ ไดแ้ ก่ การปรบั ตัวของ SMEs

• อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (Next Generation SMEs ไทยจ�ำเป็นจะต้องปรับตัวเพื่อความอยู่รอด ต้องมอง
Automotive) การณไ์ กลไปถงึ อนาคต เพราะยคุ สมยั เปลย่ี นทเ่ี ปลยี่ นไป พฤตกิ รรม
และความตอ้ งการของผบู้ ริโภคจงึ เปลี่ยนไปดว้ ย ดังนน้ั หัวใจสำ� คัญ
• อุตสาหกรรมอเิ ล็กทรอนกิ ส์อัจฉรยิ ะ (Smart Electronics) ของการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื คอื การปรบั ตวั และเตรยี มความพรอ้ มสำ� หรบั
• อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวกลุ่มรายได้ดี และการท่องเท่ียว การเปล่ียนแปลงและการแข่งขันที่รวดเร็วและรุนแรง โดยเฉพาะ
เชงิ สขุ ภาพ (Affluent, Medical and Wellness Tourism) กระแสของการเปล่ียนแปลงด้านเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีจะส่งผลให้
• อตุ สาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ (Agriculture ธรุ กจิ SMEs มขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขนั เพมิ่ หรอื ลดลง อกี ทง้ั
and Biotechnology) ตอ้ งขนึ้ อยู่กับตัว SMEs ทต่ี อ้ งปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ ถึง Digital Technology
• อตุ สาหกรรมการแปรรปู อาหาร (Food for the Future) เพื่อให้ SMEs ก้าวสู่ยุค Industry 4.0 สามารถด�ำเนินธุรกิจให้เกิด
ความแข็งแกรง่ และเดนิ หน้าได้อยา่ งย่งั ยนื
หNมeาwยFถiึงrอstตุ Sส-าCหuกrรvรeม5แหอ่งตุอสนาาหคกตรไรดมแ้ ก่
“มนั่ คง มั่งคั่ง ยง่ั ยนื ”
• อุตสาหกรรมหนุ่ ยนต์ (Robotics)
• อตุ สาหกรรมการบนิ และโลจสิ ตกิ ส์ (Aviation and Logistics) แผนพฒั นาฯ ฉบบั 12 : เพอ่ื คนไทยทกุ คน กลา่ วคอื การพฒั นา
• อตุ สาหกรรมเชอื้ เพลงิ ชีวภาพและเคมีชีวภาพ (Biofuels and ประเทศตามแนวทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
Biochemicals) ที่ผ่านมา สง่ ผลให้ประเทศไทยมรี ะดับการพฒั นาทส่ี งู ขึ้นตามล�ำดับ
• อตุ สาหกรรมดิจิทลั (Digital) ได้แก่ เศรษฐกิจไทยมขี นาดใหญ่ข้นึ มีฐานการผลิตและการบรกิ าร
• อตุ สาหกรรมการแพทยค์ รบวงจร (Medical Hub) ท่ีมีความเข้มแข็งและโดดเด่นในหลายสาขา ความร่วมมือกับมิตร
ประเทศท้ังในอนุภูมิภาคและอาเซียนมีความเข้มข้นและชัดเจนข้ึน
การขบั เคลื่อนประเทศไทย ขยายโอกาสด้านการค้าและการลงทุนของไทยเพ่ิมข้ึน ในขณะที่
โครงสร้างพื้นฐานมีการพัฒนาครอบคลุมมากขึ้น และการบริการ
การขับเคลื่อนประเทศไทยในอนาคตจะต้องท�ำให้ระบบ ทางสังคมทุกด้านที่มีความครอบคลุมท่ัวถึง ท�ำให้รายได้ประชาชน
เศรษฐกิจของประเทศมีการเปล่ียนแปลงในเชิงโครงสร้างท่ีเน้นใน สูงขึ้นปญั หาความยากจนลดลง และคุณภาพชวี ิตประชาชนดขี ้ึน
เรอ่ื งเทคโนโลยี (Technology Based) ทอี่ ิงกบั งานวิจัยและพัฒนา
(R&D) มากขึ้น ต้องปรับเปล่ียนโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ “Value- โดยมยี ุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ดังนี้
Based Economy” หรอื “เศรษฐกจิ ทขี่ บั เคลอ่ื นดว้ ยนวตั กรรม” กลา่ ว ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศกั ยภาพทนุ มนษุ ย์
คอื ในปจั จบุ นั เรายงั ตดิ อยใู่ นโมเดลเศรษฐกจิ แบบ “ทำ� มากไดน้ อ้ ย” ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความ
เราต้องปรับเปล่ียนเป็น “ท�ำน้อยได้มาก” โดยการขับเคลื่อนให้เกิด เหลือ่ มล�้ำในสงั คม
การเปลี่ยนแปลงอยา่ งนอ้ ยใน 3 มติ ิ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและ
แขง่ ขันไดอ้ ยา่ งยั่งยืน
• เปลยี่ นจากการผลติ สนิ คา้ โภคภณั ฑไ์ ปสสู่ นิ คา้ เชงิ นวตั กรรม ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพ่ือ
• เปลยี่ นจากการขบั เคลอื่ นประเทศดว้ ยการรบั จา้ งผลติ (OEM) การพฒั นาท่ยี ่งั ยนื
ไปสู่การขับเคลือ่ นดว้ ยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีนวตั กรรม ความคิด ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 การเสริมสร้างความม่ันคงแห่งชาติเพ่ือ
เชิงสรา้ งสรรค์ และความรู้ พฒั นาประเทศส่คู วามม่ันคงและยง่ั ยนื
• เปลี่ยนจากการแข่งขันแบบ Local ไปสู่การแข่งขันแบบ ยทุ ธศาสตรท์ ่ ี 6 การบริหารจัดการในภาครัฐการป้องกัน
Global การทจุ รติ ประพฤตมิ ชิ อบและธรรมาภบิ าลในสงั คมไทย
• SMEs คอื พลังขบั เคลื่อนเศรษฐกิจยคุ ใหม่ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 7 การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบ
กระแสความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดกับ SMEs ในขณะนี้แทบทุก โลจสิ ตกิ ส์
ประเทศในโลกก�ำลังหันมาให้ความสนใจกับการส่งเสริม สนับสนุน ยุทธศาสตรท์ ี่ 8 การพฒั นาวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี วจิ ยั และ
และพฒั นา SMEs เนอ่ื งจากธรุ กจิ SMEs กำ� ลงั ทวบี ทบาทและความ นวัตกรรม
ส�ำคัญมากยิ่งขึ้นในอนาคตสามารถเป็นพลังงานในการขับเคล่ือน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 9 การพัฒนาภาคเมือง และพืน้ ที่เศรษฐกจิ
เศรษฐกิจยุคใหม่ และเป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ยทุ ธศาสตร์ที่ 10 ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศเพอ่ื การพฒั นา
ของประเทศใหเ้ ตบิ โตได้อย่างสมดุล
อตุ สาหกรรมสาร 7

Interview

• เร่ือง : นชุ เนตร จกั รกลม

กอบชยั สังสทิ ธิสวสั ดิ์

เผยความส�ำเร็จหนุน SMEs 4.0

จากยุทธศาสตร์ปฏิรูปประเทศด้วยโมเดลการ
พัฒนาประเทศไทย 4.0 ที่ใชเ้ ปน็ Roadmap ในการปรับ
เปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่เศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือน
ด้วยองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีขั้นสูง
(Value–Based Economy) โดยมีเป้าหมายคือ
การยกระดับเศรษฐกิจจากในอดีตท่ีเป็นแบบ “ท�ำมาก
ได้น้อย” มาเป็น “ท�ำน้อย ได้มาก” ซึ่งจะส่งผลให้
ประเทศไทยหลุดพ้นจากกับดักรายได้ และท�ำให้การ
พัฒนาประเทศด้วยการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เกิดการ
เปล่ียนแปลงท้ังจากการผลิตสินค้าโภคภัณฑ์ไปสู่สินค้า
เชิงนวัตกรรม การเปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศ
ด้วยการรับจ้างผลิต (OEM) ไปสู่การขับเคล่ือนด้วย
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวตั กรรม ความคดิ สรา้ งสรรค์
และความรู้ การเปล่ียนจากการแขง่ ขนั แบบ Local ไปสู่
การแขง่ ขนั แบบ Global เปน็ ตน้ นโยบายประเทศไทย 4.0
จึงเป็นโมเดลการขับเคลื่อนเศรษฐกิจท่ีทุกภาคส่วนต้อง
มีส่วนร่วมกันช่วยเหลือผลักดันเพื่อปรับเปลี่ยนประเทศ
ไปสู่ประเทศทมี่ ีความมั่นคง มงั่ คั่ง และยงั่ ยืนในอนาคต

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เป็น
หน่ึงในหน่วยงานภาครัฐ ซ่ึงเป็นก�ำลังหลักในการสนับสนุน
ส่งเสริมผู้ประกอบการ SMEs ทุกระดับให้สามารถเดินหน้า
ตามเป้าหมายการปฏิรูปอุตสาหกรรม 4.0 ของรัฐบาลได้
อยา่ งมที ศิ ทาง โดยมี 9 มาตรการพเิ ศษเพอื่ ขบั เคลอ่ื น SMEs
สู่ยุค 4.0 เป็นแม่แบบในการต่อยอดขยายผลสู่แนวทาง
การด�ำเนินโครงการกิจกรรม และบริการต่างๆ ของ
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมท่ีสามารถสนับสนุนและส่งเสริม
ศกั ยภาพของผปู้ ระกอบการSMEsใหเ้ กดิ การ ‘เปลย่ี นเพอ่ื ปรบั ’
ได้อย่างตอบโจทย์และครอบคลุมทุกมิติ ตลอดจนการ
พฒั นาการสรา้ งเครือข่ายระดับนานาชาติ

8 อุตสาหกรรมสาร

นายกอบชัย สังสิทธิสวัสด์ิ อธิบดีกรมส่งเสริม ไม่ว่าจะเป็น e-Commerce, e-Marketing หรือเครือ
อุตสาหกรรม กล่าวว่า “ผมเป็นห่วงผู้ประกอบการ SMEs ไทย ข่ายท่ีมี 5) ต้องมีสินเชื่อเพ่ือสนับสนุนแก่ผู้ประกอบการ
ทย่ี งั ไมเ่ รมิ่ ตน้ เตรยี มความพรอ้ มรับมือและปรบั ตวั ตงั้ แตว่ นั นี้ ที่ต้องการ 6) ต้องมีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ตัวอย่าง
เพอื่ รองรบั ความเปลย่ี นแปลงในอนาคต ผปู้ ระกอบการ SMEs ผู้ประกอบการที่ประสบความส�ำเร็จ 7) ต้องมีการขยายผล
ไทยไมไ่ ดเ้ ดนิ โดยลำ� พงั แตท่ า่ นมเี พอ่ื นรว่ มทาง ทงั้ ภาครฐั และ ซึ่งทาง กสอ. ได้จัดท�ำระบบ e-Learning เพื่อน�ำเสนอ
เอกชนท่ีพร้อมให้การสนับสนุนช่วยเหลือและเดินร่วมทางกัน ตัวอย่างความส�ำเร็จและกระบวนคิดของผู้ประกอบการ
ไปตลอดซัพพลายเชนเพ่ือน�ำพาผู้ประกอบการ SMEs ไปสู่ ทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ ประมาณ 2-3 หมืน่ รายที่ถูกคดั กรองมา
จุดทีป่ ระสบความส�ำเรจ็ ไดอ้ ย่างยั่งยนื ” อยา่ งเขม้ งวดใหข้ ยายผลไปสผู่ ปู้ ระกอบการ SMEs ทว่ั ประเทศ

เม่อื ปลายปีงบประมาณ 2561 กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ยังเปิดเผยว่า “ในอดีต
เป็นเจ้าภาพจัดงาน Thailand Industry Expo 2018 ข้ึน ที่ผ่านมา เราต้ังเป้าหมายการพัฒนาเฉพาะ SMEs ในภาค
ทเ่ี มอื งทองธานี เพอ่ื นำ� เสนอรปู ธรรมจากแนวคดิ “Change to การผลิต ซึ่งมีประมาณ 4 แสนกว่าราย ขณะที่ภาพรวมของ
Shift” หมายถงึ การเปลย่ี นเพอ่ื ปรบั เพอื่ ยกระดบั อตุ สาหกรรม ผูป้ ระกอบการ SMEs อย่ทู ไ่ี ทย 3 ล้านราย อกี 2 ล้านกว่าราย
ไทยให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs ได้เห็นภาพสรุปส�ำคัญของ ทเี่ หลอื อยใู่ นภาคการคา้ และบรกิ ารทง้ั ในภาคการเกษตรการคา้
อนาคตอตุ สาหกรรมไทย ซง่ึ เปน็ จดุ เปลย่ี นการขบั เคลอ่ื นภาค การขาย และภาคการบริการ ดังน้ันการจัดงาน Thailand
ธรุ กจิ SMEs ภายใตโ้ มเดล Thailand 4.0 ทใ่ี กลเ้ คยี งความจรงิ Industry Expo 2018 จึงมีการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ท่ีเป็น
ทสี่ ดุ จากผปู้ ระกอบการตน้ แบบทเ่ี ขา้ มารว่ มแสดงผลลพั ธแ์ หง่ ประโยชน์ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ
ความสำ� เรจ็ เปน็ ตวั อยา่ งใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการ SMEs รายอนื่ ได้ ในทุกกลุ่มอุตสาหกรรมส�ำคัญทั้งการผลิตและบริการ
ศึกษาอีกด้วย อีกท้ังการจัดงานดังกล่าวยังเป็นส่วนหน่ึงของ รวมถึงการจัดแสดงต้นแบบของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
กุญแจสู่ความส�ำเร็จ 7 ข้ันตอน ในการดำ� เนนิ โครงการสง่ เสรมิ จากผู้ประกอบการช้ันน�ำทั้งในและต่างประเทศ ตลอดจน
SMEs และวสิ าหกจิ ชมุ ชนของกรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม ได้แก่ 1) ก า ร เ ป ิ ด พ้ื น ท่ี แ ล ก เ ป ลี่ ย น ค ว า ม รู ้ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์
ตอ้ งเปน็ ความตอ้ งการทมี่ าจากความตอ้ งการของผปู้ ระกอบการ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมร่วมกัน โดยเฉพาะ 10
จรงิ ๆ 2) ตอ้ งมีกลุ่มเปา้ หมายแทจ้ รงิ 3) งบประมาณที่ลงไป อุตสาหกรรมเป้าหมายที่รัฐบาลต้องการผลักดันให้
ต้องมีการพยากรณ์ว่าคุ้มค่าในแง่ผลิตภาพและการตลาด มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (S-Curve) อาทิ กลุ่ม
ยอดขายท่ีเพ่ิมขึ้น 4) ในการท�ำตลาดผ่านระบบท่ีทันสมัย อุตสาหกรรมอาหาร กลุ่มอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป

อตุ สาหกรรมสาร 9

กลุ่มอุตสาหกรรมฐานชีวภาพกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ กลุ่ม e-Commerceสญั ชาตไิ ทยหลายแพลตฟอรม์ เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ ม
หนุ่ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ กลมุ่ ดจิ ทิ ลั และโรงงานอตุ สาหกรรม4.0 ในการให้การอบรม SMEs ไทยมาให้สามารถยกระดับผลิตภัณฑ์
กลมุ่ อตุ สาหกรรมทางการแพทย์งานบรกิ ารดา้ นการแพทย์เครอื่ งมอื และบริการด้วยแพลตฟอร์ม รวมถึงในระดับต่างประเทศ
ช่วยดูแลผู้สงู อายุ และงานดา้ นนวัตกรรมบรกิ ารตา่ งๆ เป็นต้น” ทมี่ กี ารลงนาม MOU กบั HKTDC ฮ่องกง อาลีบาบา ฯลฯ โดยต้งั
เป้าการพฒั นา SMEs ไทยเขา้ ระบบ e-Commerce ใหไ้ ด้จ�ำนวน
ด้านบริษัทที่ได้เข้าร่วมแสดงผลงานนวัตกรรมในงานนี้ 500,000 ราย ภายใน 5 ปี และในขั้นต่อไปจะมีการสนับสนุน
ต่างได้รับผลตอบรับที่น่าพึงพอใจ อาทิ บริษัท พีเอ็มเอ็ม รูปแบบการท�ำธุรกิจเป็นแบบแพลตฟอร์มมากข้ึน ซ่ึงที่ผ่านมา
แมสซโิ ม่ เทค จ�ำกัด ท่ีประกอบกิจการผลิตและจ�ำหน่ายลิเธียม ส�ำหรับ Business Matching แบบ Business to
แบตเตอร่ี แพคเซลล์ลิเธียมแบตเตอร่ี และหม้อสะสมไฟฟ้า Business (B2B) กสอ.ซ่ึงได้ร่วมมือกับกระทรวงเศรษฐกิจ
ท่ีมีก�ำลังการผลิตแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนขนาด 3.7 v. การค้าและอุตสาหกรรมประเทศญี่ปุ่น ผู้พัฒนาแพลตฟอร์ม
(โวลท์ในหน่ึงเซลล์) ได้วันละ 2,000 หน่วย โดยได้รับความ ช่ือ J-GoodTech ที่ช่วยผู้ประกอบการ SMEs ญปี่ นุ่ ในการสรา้ ง
สนใจจากดร. ศิริ จิระพงษ์พันธ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง เครือข่าย โดยมีสมาชิกประมาณ 20,000 ราย ซึ่งผปู้ ระกอบการ
พลังงาน ในการเย่ียมชมบูธแสดงผลงานของบริษัทฯ และ ไทยได้สมัครสมาชิกอยู่แล้ว ประมาณ 1,300 ราย และ
ทางกระทรวงพลงั งานมคี วามสนใจทจี่ ะส่ัง Pre-order ผลติ ภัณฑ์ ไทยได้รับความร่วมมือจากทางญ่ีปุ่นในการพัฒนาแพลตฟอร์ม
ลเิ ธียมแบตเตอร่ีของบริษัทในขนาด 5 Kv, 7.5 Kv และ 10 Kv T-GoodTech ส�ำหรับ SMEs ไทยท่ีมีศักยภาพตามคุณสมบัติ
จำ� นวนขนาดละ 1,000 ชดุ (1 Kv เทา่ กับ 1,000 v) อีกด้วย ที่ก�ำหนด ซึ่งตอนน้ีมีทั้งด้านการค้นหาข้อมูลบริษัทฯ การสั่งซื้อ
การเจรจา การลงทุนร่วมทุน โดยปัจจุบันมีการด�ำเนินการจัดท�ำ
สว่ นอกี หนงึ่ ไฮไลทภ์ ายในงานอยา่ งกลมุ่ คลสั เตอรอ์ ตุ สาหกรรม MOU กับเทศบาลท้องถิ่นของญี่ปุ่นไปแล้ว 17 เมือง/จังหวัด
Food Truck ทน่ี ำ� มาจดั แสดง กเ็ ปน็ การตอกยำ้� ความแข็งแกรง่ รบั ได้แก่ ไซตามะ, ยามานาช,ิ อาคติ ะ, ต็อตโตริ, ชมิ าเนะ, ไอจ,ิ
Thailand 4.0 ที่ได้รับความสนใจอย่างคึกคักเช่นกัน เนื่องจาก คาวาซาก,ิ ฟกุ ยุ้ , โตเกยี ว, โทยามะ, มนิ ามโิ บโซ, ฟกุ โุ อกะ, ชบิ ะ,
เปน็ การแสดงการใชง้ านซอฟตแ์ วรท์ เี่ ชอื่ มตอ่ กบั การบรหิ ารจดั การ มิเอะ, เกยี วโต, เอฮเิ มะ และฟุกชุ มิ ะ
ธุรกิจ Food Truck แบบครบวงจร ซ่ึงผู้ประกอบการที่สนใจ
เข้าชมนั้นได้พบปะกับผู้พัฒนาซอฟต์แวร์หลายรายท่ีจัดท�ำ
แอปพลิเคชันส�ำเร็จรูปให้เลือกใช้ตามความต้องการ
ของผู้ประกอบการ โดยองค์กรเครือข่ายธุรกิจฟู้ดทรัคต้ังเป้า
ขยายธรุ กจิ ฯ ใหเ้ ตบิ โตถงึ 5,000 คนั ภายใน 5 ปี เพอื่ กระจายรายได้
และสร้างอาชีพให้คนในท้องถ่ินสามารถเป็นเจ้าของธุรกิจได้โดย
ท่ีต้นทุนไม่สูง ทั้งยังเป็นการกระจายรายได้ให้แก่ผู้ประกอบการ
ในธรุ กจิ ทเี่ กยี่ วขอ้ งเพอ่ื ตอ่ ยอดฐานเศรษฐกจิ ใหข้ ยายตวั ตลอดจน
กระตนุ้ การสง่ ออกแบรนด์ Food Truck ไทยไปท่ัวโลก โดยจะเรมิ่
ตน้ น�ำร่องการเปิดตวั ทปี่ ระเทศลาวเปน็ โครงการแรก

นอกจากนี้อธิบดีฯ ยังกล่าวถึงความคืบหน้าของยุทธศาสตร์
ส�ำคัญในการสรา้ งความแขง็ แกรง่ SMEs ไทย นน่ั กค็ อื การสรา้ ง
เครอื ขา่ ย ซงึ่ กสอ. ไดท้ ำ� MOU กบั ภาคธรุ กจิ ดา้ น e-Commerce
ในประเทศไทยเชน่ ธนาคารกรงุ ไทย ธนาคารกสกิ รไทยรว่ มดว้ ย

10 อตุ สาหกรรมสาร

Market & Trend

• เรื่อง : พงษน์ ภา กิจโมกข์

หนนุ กาแฟไทยอยรู่ อดอยา่ งยงั่ ยนื

นำ� รอ่ ง 3 หมบู่ า้ นในเชยี งราย นา่ น เพชรบรู ณ์
เปน็ แบบอยา่ งหมบู่ า้ นกาแฟทแี่ ขง็ แกรง่
ภายใตม้ าตการพเิ ศษ Big Brother ดา้ นเกษตรแปรรปู

อุตสาหกรรมกาแฟของไทยนับเป็นอีกอุตสาหกรรมที่มีความก้าวหน้า
และเติบโตอย่างรวดเร็ว ท้ังในเร่ืองของศักยภาพกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต
คุณภาพผลผลิต การขยายตัวของผู้ประกอบการร้านกาแฟแบรนด์ไทย
และต่างชาติ รวมถึงพฤติกรรมผู้บริโภคท่ีให้ความส�ำคัญกับคุณภาพและ
ประสบการณ์การด่ืมกาแฟมากขึ้น ส่งผลให้ภาพรวมของอุตสาหกรรมกาแฟ
ไทยในปัจจบุ ันได้รับการยกระดบั และมีแนวโนม้ ท่ีสดใสในอนาคต

ขณะท่ีกระแสการเติบโตของอุตสาหกรรมกาแฟก�ำลัง
รุดหนา้ นัน้ กองโลจสิ ติกส์ กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม พบวา่ ใน
ปี 2559 เกษตรกรผู้ปลูกกาแฟในประเทศไทยสามารถผลิต
เมลด็ กาแฟไดเ้ พยี ง 5-6 หมื่นตนั หรือประมาณ 0.55 % ของ
ผลผลติ ทงั้ โลก ซง่ึ ผลิตไดก้ วา่ 10 ลา้ นตนั ทำ� ให้เมลด็ กาแฟท่ี
ผลติ ในประเทศไทยมไี มเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของตลาดใน
ประเทศและตลาดสง่ ออก รวมทง้ั ยงั พบวา่ ปจั จยั ทเี่ ปน็ อปุ สรรค
ของเกษตรกรต้นน�้ำอยู่ที่กระบวนการบริหารจัดการเพื่อให้เกิด
คุณค่าและมูลค่านั้นยังไม่เป็นที่น่าเชื่อถือของลูกค้า ซึ่งอาจ
ส่งผลกระทบและท�ำให้ห่วงโซ่ต่างๆ ในอุตสาหกรรมกาแฟ
เสียโอกาสไปดว้ ย

อุตสาหกรรมสาร 11

เหตนุ เี้ อง กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม ทจี่ ะช่วยขยายโอกาสให้กับเกษตรกร โดยในเบื้องต้น A Cup
จงึ รว่ มมอื กบั A Cup of Joe รา้ นกาแฟสญั ชาตไิ ทยทจ่ี บั มอื กบั of Joe ไดร้ บั เลอื กให้เขา้ ร่วมโครงการเชือ่ มโยงโซอ่ ปุ ทานของ
เกษตรกรไทยเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพกาแฟไทยรว่ มกนั อยา่ งยงั่ ยนื กลุ่มอุตสาหกรรม SMEs ซึ่งเป็นโครงการที่กองโลจิสติกส์
และส่งมอบความสุขสู่ลูกค้าผ่านการค่ัว ชง และความเข้าใจ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม รับผิดชอบดูแล โดยกองโลจิสติกส์
ในศิลปะกาแฟ ภายใต้สโลแกน กาแฟ คือ ความหวัง โดย ไดส้ ง่ ผเู้ ชยี่ วชาญมาใหค้ ำ� แนะนำ� ในการพฒั นาความเชอ่ื มโยง
นายศกั ดชิ์ ัย นนุ่ หมน่ิ หวั เรอื ใหญแ่ ห่ง A Cup of Joe ผเู้ ปน็ กบั ซพั พลายเออรใ์ นระบบซพั พลายเชนของ A Cup of Joe เพือ่
ก�ำลังส�ำคัญในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับเกษตรกร เพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานและยกระดับมาตรฐานตลอดโซ่
ผู้ปลูกเมล็ดกาแฟ เปิดเผยว่า เริ่มต้นธุรกิจร้านกาแฟโดยรับ อปุ ทาน โดยมงุ่ เนน้ การพฒั นาคณุ ภาพผลผลติ กาแฟเปน็ หลัก
ซื้อเมล็ดกาแฟจากเกษตรกรภาคเหนือมาค่ัวบดเพื่อใช้ใน รวมถงึ การวเิ คราะหก์ ารเชอ่ื มโยงการปรบั ปรงุ การทำ� งานรวมถงึ
ร้านกาแฟของตนเองและส่งให้กับร้านกาแฟอื่นๆ ร่วมกับการ อุปสรรคที่ท�ำให้ระบบการท�ำงานของห่วงโซ่ฯ ถูกขัดขวาง
เปิดสถาบันสอนชงกาแฟและให้ค�ำปรึกษาด้านธุรกิจกาแฟที่ อาทิ การพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการค�ำส่ังซ้ือท่ีสมบูรณ์,
ครบวงจรแหง่ หนงึ่ ในประเทศ จากความรแู้ ละประสบการณก์ วา่ การสง่ มอบครบถว้ น, การสง่ มอบตรงเวลา, การกำ� หนดระบบ
15ปที คี่ รำ่� หวอดในอตุ สาหกรรมกาแฟทำ� ใหเ้ ลง็ เหน็ จดุ ออ่ นของ และเวลาการจดั เกบ็ ใหเ้ หมาะสม ฯลฯ ซงึ่ ในการทำ� งานรว่ มกบั
ธรุ กจิ กาแฟท่ไี ม่สามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้บรโิ ภค
ในปจั จบุ นั ไดอ้ ยา่ งตรงประเดน็ และมโี อกาสพบปะทงั้ เกษตรกร
ผปู้ ลกู ทำ� ใหเ้ ขา้ ใจวา่ เกษตรกรตอ้ งการอะไร อาทิ ตอ้ งการความ
รู้กระบวนการผลิตท่ีมีคุณภาพ ตั้งแต่การปลูก การเก็บเก่ียว
การแปรรูปเมลด็ กาแฟเพือ่ ใหไ้ ด้ผลผลิตท่ีดี เปน็ ตน้ ตลอดจน
ได้ส่ือสารกับผู้บริโภคปลายน�้ำ ในฐานะท่ีเป็นโซ่ข้อกลาง
จึงต้ังใจท่ีจะเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาระบบการผลิตกาแฟ
ตง้ั แตต่ น้ นำ้� ไดแ้ ก่ เกษตรกรผปู้ ลกู ผรู้ บั ซอ้ื ผคู้ ว่ั บด ตลอดจน
บาริสต้า เพ่ือให้ธุรกิจกาแฟเป็นไปด้วยความถูกต้องและ
มีคณุ ภาพดอี นั จะสง่ ผลให้อยรู่ อดอยา่ งย่ังยนื

“ปจั จบุ นั ธรุ กจิ กาแฟมคี วามหลากหลายมากขน้ึ ซงึ่ เติบโต
คู่ขนานกับความต้องการของลูกค้าหลากหลายมากข้ึน
เช่นเดียวกัน เรื่องคุณภาพของกาแฟจึงเป็นปัจจัยส�ำคัญ

12 อตุ สาหกรรมสาร

กองโลจิสติกส์นั้นเหมือนได้พันธมิตรท่ีมีความเช่ียวชาญใน เทคนิคต่างๆ ในการปลูกกาแฟพร้อมทั้งกรรมวิธีการแปรรูป
การพัฒนาและการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เพอ่ื เพมิ่ มลู คา่ ใหก้ บั กาแฟจนสามารถทำ� ราคาไดส้ งู ขนึ้ จากเดมิ
มาผนึกก�ำลังถ่ายทอดองค์ความรู้ที่สามารถต่อยอดความ กิโลกรัมละ 60 บาท เปน็ 300 บาท และยังรบั ซ้ือผลผลิตจาก
แข็งแกร่งและพัฒนาภาพรวมของอุตสาหกรรมกาแฟไทยให้ เกษตรกรในพ้นื ที่ด้วย
มีประสิทธิภาพเพม่ิ ข้นึ ”
ทงั้ นี้ A Cup of Joe ยงั ทำ� Contact Farming กบั 3 หมบู่ า้ น
น�ำมาสู่โครงการพ่ีช่วยน้อง “Big Brother Guarantee ผู้ผลติ กาแฟน�ำรอ่ ง ได้แก่
Success Solution” โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวง
อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นโครงการภายใต้ปีงบประมาณ 2561 1. หมบู่ า้ นรม่ เยน็ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งราย 2. หมบู่ า้ น
ที่อาศัยความร่วมมือจากองค์กรเอกชนชั้นน�ำท้ังในและ ดอยสกาด อ�ำเภอปัว จังหวัดน่าน 3. กลุ่มน้�ำหนาว จังหวัด
ต่างประเทศ ในการเป็นจิตอาสาท่ีช่วยเป็นพี่เลี้ยงคอยให้ เพชรบูรณ์ โดยเน้นการพัฒนาองค์ความรู้ร่วมกันอย่างยั่งยืน
ค�ำปรึกษาทางธุรกิจและเช่ือมโยงกระบวนการแลกเปล่ียน เพื่อเติมเต็มในส่วนท่ีตัวเกษตรกรมีอุปสรรคน่ันก็คือ คุณภาพ
เรยี นรใู้ หแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการ SMEs ทง้ั 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นศนู ยป์ ฏริ ปู ผลผลติ และตลาด อนั เปน็ สองปจั จยั ทส่ี อดรบั สนบั สนนุ กนั หาก
สู่อุตสาหกรรม 4.0 (ITC), ด้านการตลาด, ด้านการพัฒนา เกษตรกรมีความม่ันคงในเร่ืองของคุณภาพการผลิต ผลลัพธ์
หมบู่ ้านอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์ (CIV) และด้านเกษตรแปรรูป ของผลติ ภณั ฑอ์ อกมาดมี มี าตรฐาน กจ็ ะทำ� ใหร้ า้ นกาแฟวงิ่ หา
เพื่อต้ังเป้ายกระดับ SMEs และเชื่อมโยงการค้าไปสู่ตลาด สนิ คา้ จากทางเกษตรกรเอง และสามารถทำ� ราคาได้ โดยไมต่ อ้ ง
ตา่ งประเทศซง่ึ ACupofJoeไดเ้ ขา้ รว่ มเปน็ หนง่ึ ในBigBrother ผา่ นคนกลาง ซงึ่ ผลผลติ กาแฟของทงั้ 3 หมบู่ า้ นดงั กลา่ วอยใู่ น
ดา้ นเกษตรแปรรปู ทใี่ หค้ วามชว่ ยเหลอื แกผ่ ปู้ ระกอบการ SMEs ข้ันท่ีได้รับการยอมรับว่าเป็นกาแฟพิเศษเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ในอุตสาหกรรมกาแฟ โดยเน้นผลผลิตทางด้านกาแฟ ซ่ึงจะ และพรอ้ มจะพฒั นาไปสรู่ ะดบั ทดี่ ยี ง่ิ ขน้ึ ไปอกี ในอนาคตอนั ใกล้
ไปพัฒนากรรมวิธีการปลูกกาแฟให้ได้คุณภาพเพื่อขายให้ได้
ราคาท่ีเหมาะสม ผ่านการประกวดเมล็ดกาแฟจากเวทีต่างๆ “สำ� หรบั เปา้ หมายจากการเปน็ Big Brother กค็ อื การสรา้ ง
โดยจะร่วมกับสมาคมกาแฟพิเศษในการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ เกษตรกรผู้ปลูกกาแฟทั้ง 3 กลุ่มน�ำร่องให้เป็นแบบอย่าง
ทแี่ ขง็ แกรง่ และมศี กั ยภาพ พรอ้ มสง่ ตอ่ องคค์ วามรแู้ ละเทคนคิ
ต่างๆ ให้กับเกษตรกรรายอ่ืนๆ ท่ีก�ำลังมองหาความรู้น�ำไป
พัฒนาธุรกิจของตนเอง โดยหลังจากน้ีจะร่วมเผยแพร่ความรู้
และสนบั สนนุ ให้ชาวกาแฟหันมาปลูกกาแฟท่ีมคี วามประณีต
มีการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีคุณภาพ สอดคล้องกับตลาดโลก
ท่ีสนใจกาแฟพิเศษ ร่วมกับการคัดเลือกและให้คะแนนจัด
เกรดเมล็ดกาแฟไทย และสนับสนุนให้เกิดการแข่งขันกัน
ในหมู่คนท�ำกาแฟ ที่กระตุ้นความรู้และเทคนิคใหม่ๆ ให้แก่
ผู้ประกอบการวงการกาแฟ รวมถึงการเปรียบเทียบมาตรฐาน
ของเมลด็ กาแฟจากผเู้ ชย่ี วชาญจากตา่ งประเทศ อนั จะสง่ ผลให้
เกดิ การผลกั ดนั กาแฟพเิ ศษไทยใหย้ กระดบั สตู่ ลาดระดบั สากล
ในอนาคต” นายศักดช์ิ ัย กลา่ วปิดท้าย

สถานกี าแฟ A Cup of Joe
สัมมากร 2 ซอย 19 แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง
กรงุ เทพมหานคร 10240
โทร. 08 9116 9923

อุตสาหกรรมสาร 13

Innovation

• เรอื่ ง : พงษน์ ภา กจิ โมกข์

หนุ่ ยนตช์ งกาแฟ : DENSO Robotic Café

บารสิ ตา้ แหง่ โลกอนาคต ภายใตม้ าตรการพเิ ศษ Big Brother
เพอื่ บม่ เพาะแนวคดิ ธรุ กจิ และเทคโนโลยี ผลกั ดนั SMEs สเู่ วทโี ลก

นวัตกรรมและเทคโนโลยตี า่ งๆ ทม่ี คี วามทนั สมยั และมีศักยภาพ เร่ิมเขา้ มามีบทบาทมากขึ้น
ในอตุ สาหกรรมไทย ซง่ึ นอกจากความสะดวก รวดเรว็ และประสทิ ธภิ าพการทำ� งานทมี่ มี าตรฐาน
รวมท้ังได้ผลลัพธ์เทียบเท่าความสามารถของมนุษย์แล้ว นวัตกรรมก็เป็นปัจจัยหน่ึงที่จะท�ำให้
ภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทยก้าวหน้า และเตบิ โตพรอ้ มท่ีจะแข่งขันในระดับนานาประเทศได้

ภาครฐั และเอกชนในประเทศจงึ เปน็ หวั หอกสำ� คญั ในการทจี่ ะชว่ ยกนั พฒั นาภาคอตุ สาหกรรมของไทย
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ผปู้ ระกอบการ SMEs ขนาดเลก็ ทย่ี งั ขาดความรู้ ทกั ษะ และความสามารถในการทจี่ ะมา
เตมิ เต็มการพัฒนาศักยภาพของธุรกจิ โครงการ Big Brother Guarantee Success Solution หรือโครงการ
พช่ี ว่ ยนอ้ ง คอื โครงการภายใน 9 มาตรการพเิ ศษของโครงการสานพลงั ประชารฐั ทเ่ี นน้ การผลกั ดนั ขบั เคลอื่ น

14 อตุ สาหกรรมสาร

บริษัท เด็นโซ่ จ�ำกัด ผู้น�ำด้านนวัตกรรมเทคโนโลยี
รวมถึงหุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม เป็น 1 ในบริษัทท่ีเข้าร่วม
โครงการ Big Brother Guarantee Success Solution โดย
ใหค้ ำ� ปรกึ ษา พรอ้ มถา่ ยทอดเทคนคิ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั เทคโนโลยี
ต่างๆ ให้กับผู้ประกอบการ SMEs ได้รับข้อมูลที่ใช้น�ำไป
ต่อยอด และพัฒนากระบวนความคิดของตนเอง เพ่ือเสริม
ความแข็งแรงใหก้ บั ธรุ กจิ

ลา่ สดุ ผู้นำ� ด้านนวตั กรรมเทคโนโลยอี ยา่ งเด็นโซ่ ได้เปิด
ตัวหุ่นยนต์ชงกาแฟ โดยพัฒนามาจากหุ่นยนต์แขนกลที่ใช้
ในโรงงานทั่วๆ ไปของเด็นโซ่ มาเป็นหุ่นยนต์บาริสต้าด้วย
ฟังก์ชันการท�ำงานเช่นเดียวกับบาริสต้าจริงๆ จากการใส่
โปรแกรมทท่ี ำ� ใหส้ ามารถขยบั และชงกาแฟ ซง่ึ หนุ่ ยนต์ 3 ตวั น้ี
ประจำ� การอยู่ท่ี DENSO Robotic Café โดยการท�ำงานของ
ทัง้ 3 จะท�ำงานรว่ มกนั แบบระบบทีม เร่มิ ตงั้ แต่การบดเมล็ด
กาแฟ ใสก่ าแฟลงในเครอ่ื งชง กดนำ้� รอ้ นลงในกาแฟ ปดิ ทา้ ย
ด้วยการบรรจงรินกาแฟใสถ่ ้วยเพอื่ เตรยี มจัดเสริ ์ฟ

สำ� หรับรสชาติของกาแฟท่ีเจ้าหุ่นยนต์ท้ัง 3 ตวั น้ที ี่เสิร์ฟ
ให้กับลูกค้าน้ัน รสชาติไม่แตกต่างจากการชงด้วยฝีมือ
บาริสต้าท่ีเป็นมนุษย์ ด้วยการคัดเมล็ดกาแฟท่ีดีก่อนน�ำมาใช้
การคำ� นวณนำ้� หนกั การบด การรนิ นำ�้ และปรมิ าณความรอ้ น
ท่ีเหมาะสม ส�ำหรับใครที่ต้องการเปิดประสบการณ์การดื่ม
กาแฟแบบไม่เหมือนใครกับคาเฟ่ท่ีมีบาริสต้าเป็นหุ่นยนต์
สามารถล้ิมลองรสชาติและดูกรรมวิธีการชงได้ท่ี DENSO
Robotic Café คาเฟท่ เ่ี ตมิ ลกู เลน่ ใหมใ่ หก้ บั วงการกาแฟไทย
และดว้ ยความรู้ ความสามารถดา้ นนวตั กรรม และเทคโนโลยี
ของเดน็ โซ่ ซงึ่ ในอนาคตทางเดน็ โซ่ ยงั วางแผนการพฒั นาให้
หุ่นยนต์สามารถบดเมลด็ กาแฟไดอ้ กี ดว้ ย

ผู้ประกอบการ SMEs รายเล็กให้สามารถก้าวไปสู่ยุค 4.0 ขอขอบคุณข้อมลู และรูปภาพจาก
โดยมีกรมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม เปน็ www.kidjapak.com
หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบร่วมกับองค์กรเอกชนรายใหญ่ www.instagram.com/densoroboticsthailand​
หลายแห่งที่ให้ความร่วมมือในการเป็นพี่เลี้ยงเพื่อถ่ายทอด www.denso.com/th
แลกเปล่ียนองค์ความรู้ ไม่ว่าจะเป็นด้านการขาย การเงิน
การตลาด กฎหมาย รวมถึงด้านเทคโนโลยีต่างๆ เพ่ือให้
ผู้ประกอบการ SMEs น�ำมาต่อยอดและสร้างมูลค่าเพิ่มให้
กบั ธรุ กิจของตนเอง

อุตสาหกรรมสาร 15

SMEs Focus

• เร่อื ง : ชฎาพร นาวัลย์

ทายาทนติ ยสารขวญั เรอื น
เปดิ ตวั ธรุ กจิ ใหม่ BEGIN Baby Food
อาหารเสน้ สำ� หรบั ลกู นอ้ ย

ภายใตห้ ลกั สตู รเศรษฐใี หม่ กองสง่ เสรมิ ผปู้ ระกอบการและธรุ กจิ ใหม่

มักกะโรนีเพ่อื ลูกทำ� จากข้าว100 %

จดุ เร่มิ ต้นธุรกจิ บกี ิน เบบ้ี ฟูด้ (BEGIN Baby Food)
เม่ือ 2 ปีก่อน (พ.ศ. 2559) เร่ิมจากความต้องการของ
แพท สาธิดา คล่องเวสสะ บรรณาธิการบริหารนิตยสาร
ขวัญเรือน คุณแม่น้องปลาวาฬวัย 3 ขวบครึ่ง เธอเป็น
คุณแม่คนเมืองรักสุขภาพท่ีปรารถนาจะแก้ปัญหา “ลูกชาย
กินยาก” เม่ือเขาอยู่ในวัยที่จะปฏิเสธอาหารตรงหน้าได้แล้ว
จนกระท่ังพบว่าอาหารประเภทเส้นน่าจะช่วยจูงใจให้ลูกชาย
ของเธออยากรับประทานมากขึ้นและเป็นเคล็ดลับปราบเด็ก
กินยากใหก้ ับพ่อแม่คนอ่ืนๆ ได้

อาหารตระกูลเส้น นอกจากจะผลิตจากแป้งสาลีที่มี
สารกลเู ตน สารสำ� คญั อนั เปน็ ตน้ เหตกุ ารเกดิ ภมู แิ พใ้ นเดก็ และ
อาจมสี ารปนเปอ้ื นจากการฟอกสหี รอื สารกนั บดู แลว้ ยงั สามารถ
ผลิตขนึ้ จากขา้ วไดอ้ ีกดว้ ย ซึ่งวัตถุดบิ จากขา้ วนน้ั มีคุณสมบตั ิ
ยอดเยี่ยมหลายอย่าง ท้ังมีลักษณะนุ่มกว่าและท่ีส�ำคัญ
ไร้สารกลเู ตน (Gluten Free) ปราศจากสารเคมสี าร สังเคราะห์
สารฟอกขาว สารกันบูด จึงเป็นท่ีมาของความคิดผลิตเส้น
มกั กะโรนี พาสตา้ และกว๋ ยเต๋ยี ว จากข้าวกลอ้ งออรแ์ กนกิ และ
ข้าวไรซเ์ บอรร์ ีจ่ ากแหล่งปลกู ทัว่ ประเทศทมี่ คี ณุ ภาพ

“แพทรจู้ กั ญาติซึง่ เปดิ โรงงานผลิตเสน้ จากข้าว โดยไม่ใส่
สารกนั บดู และปราศจากสารเคมที กุ ชนดิ อยแู่ ลว้ กเ็ ขา้ ไปพดู คยุ
เจรจารว่ มผลติ กบั คณุ ลงุ พรอ้ มกบั คน้ หาขอ้ มลู และสตู รตา่ งๆ เพม่ิ
เตมิ เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลติ ภณั ฑต์ ระกลู เสน้ ทไ่ี มม่ สี ว่ นผสมของแปง้ สาลี
เลย เราใชร้ ะบบหมอ้ แหง้ ทำ� ใหไ้ ดข้ า้ วโมเ่ ปน็ ผงกอ่ นจะอดั เปน็
เส้น จึงสามารถคงคุณค่าของสารอาหารครบถ้วนหน่ึงเดียว
ในไทย นอกจากน้ันผลผลิตจากข้าวยังมีความโดดเด่น

16 อตุ สาหกรรมสาร

ทคี่ วามนมุ่ ของเสน้ แตย่ งั คงความอรอ่ ย สามารถปรงุ อาหารได้ สาธิดา กล่าวต่อว่า เธอสนุกกับประดิษฐ์คิดค้น ดีไซน์
ทกุ ชนดิ และดว้ ยความอยากใสผ่ กั ลงไปดว้ ยตอ้ งการจะเพม่ิ สสี นั ลงมือสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ต้นทางและทุกขั้นตอน
ให้ชวนกินมากข้ึน จึงคิดแต่งสีด้วยวัตถุดิบธรรมชาติท่ีได้จาก การผลิตจนเสร็จส้ินถึงมือผู้บริโภคตั้งแต่การคิดสูตรแป้ง
ขา้ วโพด บีทรทู มันเทศ มนั ม่วง ฟกั ทอง งาดำ� ฟักขา้ ว และ ทม่ี ีส่วนผสมของขา้ ว 60% และสว่ นผสมจากธรรมชาตใิ ห้เกิด
ดอกอัญชัน เปน็ ตน้ ” สีอีก 40% พร้อมค้นหากลุ่มผู้ผลิตข้าวออร์แกนิกคุณภาพจาก
ทว่ั ประเทศและสรรหาวตั ถดุ บิ ตา่ งๆ ทผ่ี า่ นกระบวนการปลกู แบบ
เกษตรอินทรีย์ทีจ่ ะท�ำให้เกิดสีจากธรรมชาตเิ พิม่ ข้ึน และท�ำให้
เกิดประโยชน์ตอ่ ร่างกายผู้บรโิ ภคไดด้ ว้ ย

ตลอดจนน�ำเสนอรูปลกั ษณไ์ ซส์เลก็ ท้ังแบบฟูซิลี (เกลียว)
มนิ เิ พนเน่ (หลอดเลก็ ) พาสตา้ (เสน้ แบน) มกั กะโรนี (หลอดโคง้ )
ก้นหอย และเส้นหมี่ท่ีออกแบบมาเพ่ือให้ลูกน้อยหยิบจับ
ถนัดมือ ช่วยฝึกให้ลูกรับประทานอาหาร เป็นการส่งเสริม
การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก สนุกกับการเรียนรู้การกินด้วยตนเอง
ช่วยกระตุ้นพัฒนาการเด็กไปในตัว จึงเหมาะส�ำหรับเด็กอายุ
8 เดือนข้ึนไป ท�ำให้คุณพ่อคุณแม่ไม่ต้องเหน่ือยกับการ
บังคับให้ลูกน้อยกิน และสามารถน�ำไปสร้างสรรค์เมนูใหม่ๆ
ได้ตามใจชอบ อีกท้ังผู้ใหญ่ก็ยังมีโอกาสรับประทานเส้นท่ีมี
ประโยชนต์ ่อร่างกายไดอ้ กี ดว้ ย

ทั้งนี้ ด้วยข้อดีของผลิตภัณฑ์แบบโฮมเมด จึงท�ำให้มี
ความคล่องตัวในการคิดค้นโปรดักส์รสใหม่ตามเทศกาลหรือ
ฤดกู าลไดง้ า่ ย ในทางตรงกนั ขา้ มความเปน็ สนิ คา้ โฮมเมดทำ� ให้
สูตรการผลิตนั้นไม่สามารถท�ำได้คงท่ีได้เหมือนการผลิตแบบ

อุตสาหกรรมสาร 17

อตุ สาหกรรม แตน่ น่ั กเ็ ปน็ เสนห่ ข์ องสนิ คา้ โฮมเมดทลี่ กู คา้ กลมุ่ หวานๆ ชวนให้กินหมดจนเกล้ียงชาม และ 4. ซอสถั่วลันเตา
ผรู้ กั สขุ ภาพเขา้ ใจและยอมรบั ได้ และดว้ ยความเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ กับแฮม (Pea & Ham) ทม่ี ีรสชาตหิ อมหวานจากถว่ั ลันเตาบด
ปราศจากสารกันบูด 100% จึงท�ำให้อายุเก็บรักษาสินค้าไม่ ละเอียด อร่อย หวานมัน ผสมกับ Paris Ham แฮมคุณภาพ
ยาวนานนกั ซ่ึงผลิตภณั ฑเ์ ส้นแบรนด์บกี นิ เบบ้ี ฟดู้ สามารถ ชั้นดี ลงตัวในซอสสีเขียวอ่อน ซ่ึงเป็นสูตรเฉพาะของ BEGIN
เก็บได้นานเพียง 1 ปี และต้องเก็บรักษาอย่างดีเพื่อป้องกัน และยงั พฒั นาสตู รใหมอ่ อกมาอยเู่ รอ่ื ยๆ อาทิ ผกั ขมบด เปน็ ตน้
มอดเช่นเดยี วกับการเกบ็ ข้าวสารนัน่ เอง
ตอบโจทย์ชอ่ งว่างระหวา่ งตลาด
ซอสพาสตา้ พรเี มยี มขยายไลน์ตอ่ เนอ่ื ง
แนวคิดของสาธิดากับการสร้างแบรนด์นั้นมีรายละเอียด
สาธิดา กล่าวเพ่มิ เตมิ วา่ ปจั จบุ นั บีกนิ เบบี้ ฟู้ด เพมิ่ ไลน์ ทุกๆ ขั้นตอน เริ่มจากชื่อแบรนด์ BEGIN หากอ่านให้มี
สินค้าใหม่ท่ียึดคอนเซ็ปต์เดิมในการเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ ลกู เลน่ ของคำ� ไทย กเ็ ปรยี บไดว้ า่ KIN คอื การเรมิ่ ตน้ การ “กนิ ”
ส�ำหรับเด็ก รวมทั้งช่วยเสริมผลิตภัณฑ์หลักในตระกูลเส้น ท่ีมีคุณภาพ นอกจากน้ันด้วยพื้นฐานธุรกิจครอบครัวอยู่
ดว้ ยการนำ� เสนอซอสพาสตา้ สตู รพรเี มยี มสไตลฝ์ รง่ั เศสผลติ จาก ในแวดวงสิ่งพิมพ์ ท�ำให้สาธิดาเพลิดเพลินกับการดีไซน์
วตั ถดุ บิ นำ� เขา้ จากยโุ รป เปย่ี มดว้ ยคณุ คา่ สารอาหาร ปราศจาก บรรจภุ ณั ฑ์สรา้ งสรรคโ์ ลโกด้ ว้ ยตนเองซง่ึ มที มี่ าจากคาแรคเตอร์
สารปรุงแต่ง สารเคมี และวัตถุกันเสียหรือสารกันบูด 100% ของลกู ชายคดั เลอื กสสี นั หลากหลายโทนพาสเทลและลกั ษณะ
มีอายุเก็บรักษาเพียง 3-4 เดือน จึงสด ใหม่ สะอาด มีความ ตวั อกั ษรนา่ รกั ๆ รวมทงั้ ออกแบบสอ่ื สง่ิ พมิ พด์ ว้ ยตนเอง เพอ่ื ให้
อร่อย เข้มขน้ เนอื้ เนยี น เหมือนคณุ แม่ท�ำใหก้ นิ ที่บา้ น จงึ ถกู ใจ ไดส้ นิ คา้ ทตี่ อบสนองคอนเซป็ ตส์ นิ คา้ เพอื่ เดก็ อยา่ งชดั เจน และ
ลกู นอ้ ยสุดทีร่ ัก มมี าตรฐานคณุ ภาพส่งออก

สินคา้ กลมุ่ ซอส ประกอบดว้ ย 1. ซอสมะเขือเทศ (Tomato เสน่ห์ในการบริหารแบรนด์บีกิน เบบ้ี ฟู้ด ยังอยู่ที่เกณฑ์
Sauce) ผสมความหวานของแอปเปล้ิ สแี ดง หอมใหญ่ แครอท การตั้งราคา สาธิดาใช้หลักการ “ราคาเดียว” คือ 99 บาท
เปี่ยมคุณค่าด้วยสารอาหาร อร่อย เข้มข้น หวานเปร้ียวก�ำลังดี ต่อช้ิน และราคาโปรโมช่ัน 3 ช้ิน 280 บาทส�ำหรับสินค้า
ดว้ ยเนอ้ื ผกั ลว้ นๆ ใชจ้ ม้ิ แทนซอสมะเขอื เทศไดเ้ ลย หรอื คลกุ กบั กลุ่มเส้นมักกะโรนี พาสต้า และก๋วยเต๋ียว รวมท้ังซอสด้วย
เส้นพาสต้า เป็นสินค้าไฮไลท์เหมาะกับเด็กเร่ิมหัดกิน ตามด้วย เธอใหเ้ หตผุ ลวา่ การตง้ั ราคาเดยี วกบั โปรดกั สท์ กุ ตวั ทอ่ี อกมานนั้
2. ซอสคาโบนารา (Cabonara) เปย่ี มดว้ ยรสชาตนิ ม ชสี หอม นอกจากจะท�ำให้ลูกค้าตัดสินใจเลือกซื้อได้งา่ ยแล้ว ยังท�ำให้
ละมนุ นมุ่ ลนิ้ ดว้ ยครมี และชสี นำ� เขา้ จากฝรง่ั เศส ผสมกบั เบคอน ทีมขายคิดราคาจ�ำหน่ายและจัดสินค้าส่งให้ลูกค้าโดยไม่ต้อง
ท่ีคัดแต่เน้ือหมูสันใน นุ่ม อร่อย เหมาะกับลูกน้อยท่ีอยากเพ่ิม พบกับความยุ่งยากสับสนอีกต่อไป แต่หากมองถึงทฤษฎี
นำ้� หนกั 3. ซอสแซลมอน (Salmon Pink Sauce) ซอสมะเขอื เทศ การตลาด เจา้ ของแบรนดอ์ าหารสขุ ภาพสำ� หรบั เดก็ อธบิ ายวา่
ผสมกบั ครมี และปลาแซลมอนนอรเ์ วย์ไดร้ สชาตมิ ะเขอื เทศแทๆ้ ส่วนต่างของการขายหรือก�ำไรที่จะได้น้ันเป็นหน้าที่ของผู้ผลิต
กบั เนอื้ ปลาแซลมอนสดๆ หอมเนยี น รสกลมกล่อม สชี มพูสม้ ท่ีจะต้องค�ำนวณต้นทุนที่แตกต่างกัน และบริหารจัดการผลิต
ให้เหมาะสม

18 อตุ สาหกรรมสาร

นอกจากนนั้ สนิ คา้ ของบกี นิ เบบ้ี ฟดู้ ยงั ตอบโจทยช์ อ่ งวา่ ง “เรามีลูกค้าอยู่ในกรุงเทพและต่างจังหวัดในสัดส่วน
ระหวา่ งตลาดอาหารเดก็ และสนิ คา้ สขุ ภาพไดเ้ ปน็ อยา่ งดีปจั จบุ นั ที่เท่าๆ กัน ซง่ึ ลูกคา้ ของบกี นิ เบบ้ี ฟดู้ นา่ รกั มาก เหมอื นเปน็
แบรนด์เริ่มติดตลาด ลูกค้ารู้จักมากขึ้น ด้วยความท่ีสาธิดา กลุ่มคุณแม่ที่เป็นเพื่อนให้ค�ำแนะน�ำและค�ำปรึกษาระหว่าง
เป็นคนชอบคิด ชอบท�ำ อยู่นิ่งไม่ได้ เป็นคนท่ีคิดแล้วท�ำเลย กนั เราตอ้ งการสรา้ งความสมั พนั ธท์ ด่ี กี บั ลกู คา้ ใหค้ วามสำ� คญั
จงึ มสี ว่ นชว่ ยใหแ้ บรนดต์ ดิ ตลาดเรว็ ขน้ึ โดยเธอเรม่ิ ตน้ ทำ� ความ กับบริการหลังการขายท่ียอดเยี่ยม รับประกันความพึงพอใจ
รจู้ กั กบั ลกู คา้ ผา่ นการออกอเี วน้ ตง์ านทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั เดก็ โดยใช้ สูงสดุ เพราะความไวว้ างใจมีส่วนส�ำคัญทที่ �ำใหล้ ูกค้ากลบั มา
ตัวเองเป็นทุกอย่าง เชิญชวนลูกค้าด้วยการแจกโบร์ชัวร์ และ ซื้อซ�ำ้ น่ันเอง”
แจกสนิ คา้ ตวั อยา่ งทดลอง อธบิ ายลกั ษณะสนิ คา้ และปดิ การขาย
ซึ่งช่องทางน้ีท�ำให้ผู้บริหารสาวได้เจอลูกค้าโดยตรง ต่อมา ทำ� ลายขอ้ จ�ำกัดการตลาด
จึงหันมาท�ำการตลาดออนไลน์มากขึ้นผ่านช่องทางโซเชียล
มเี ดยี อย่าง เพจเฟซบกุ๊ ซ่ึงถือเป็นชอ่ งทางหลักในการซอื้ ขาย สาธิดา เปิดเผยว่า ในอนาคตมุ่งคิดค้นผลิตภัณฑ์ท่ีจะ
และพูดคยุ กับลกู ค้า มสี ัดสว่ นอยทู่ ี่ 40% และยงั เป็นสอื่ สำ� คัญ ท�ำให้พฤติกรรมการกินของเด็กเปลี่ยนไปสู่คุณภาพชีวิตที่
ท้ังการโปรโมทโปรโมช่ันและกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งเป็นพื้นที่ ปลอดภยั มากขนึ้ โดยดดั แปลงจากสง่ิ เดมิ ทมี่ อี ยแู่ ลว้ และเดก็ ๆ
แนะแนวไอเดยี สรา้ งสรรคเ์ มนอู าหารใหมๆ่ ใหก้ บั ลกู คา้ ไดอ้ กี ดว้ ย ชอบด้วย เพ่อื มาสร้างสรรคใ์ หม่ เช่น ไสก้ รอก เปน็ ตน้ พร้อม
นอกจากนั้นยังมีกลุ่มคุณแม่ตัวแทนจ�ำหน่ายหรือร้านค้า ต้ังเป้าจะเป็นผู้น�ำด้านอาหารเด็ก โดยต้องค�ำนึงถึงการเป็น
สุขภาพอยทู่ ี่ 30% และอีก 30% ทเ่ี หลือไดแ้ ก่ชอ่ งทางค้าปลกี ผู้ผลิตอาหารสุขภาพเพ่ือเด็ก ยึดแนวคิด “ดีที่สุดท่ีจะเป็นไปได้”
ในงานอีเวน้ ตแ์ ละอ่ืนๆ ด้วยการคัดสรรส่ิงที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการกินท่ี
ปลอดภยั กบั ลกู นอ้ ย และเชอื่ วา่ เดนิ มาถกู ทาง เนอ่ื งจากตลาด
อาหารเพอ่ื สขุ ภาพเตบิ โตขน้ึ อยา่ งมากและบกี นิ เบบ้ีฟดู้ กส็ ามารถ
ตอบโจทย์ในทิศทางที่ใช่ ด้วยการวางต�ำแหน่งสินค้าท่ีชัดเจน
และแตกตา่ งจากสนิ ค้าอ่นื ท่ีมอี ย่ใู นตลาด

พลกิ ธุรกิจจากหลกั สตู รเศรษฐีใหม่

ผู้บริหารสาวกล่าวเพิ่มเติมว่า อีกหน่ึงหนทางที่จะท�ำให้
ผ้ปู ระกอบการพฒั นาตัวเองไดเ้ รว็ ขน้ึ คือ การเข้ารว่ มโครงการ
ฝึกอบรมผู้ประกอบการใหม่ “หลักสูตรเศรษฐีใหม่” ของ
กองส่งเสริมผู้ประกอบการและธุรกิจใหม่ กรมส่งเสริม
อุตสาหกรรมซึ่งสาธิดา ยอมรับว่าเธอน�ำความรู้ที่ได้จากการ
อบรมมาปรบั ใชก้ ับธรุ กิจอยา่ งไดผ้ ลจริง

“การเข้ามาอบรมท�ำให้เรามองธุรกิจได้ไกลขึ้น การได้เรียนรู้
Business Model Canvas ท�ำให้เห็นภาพกว้างข้ึน เพราะ
เปน็ หลักสตู รทีป่ รับใชไ้ ด้ทง้ั องค์กร โดยเฉพาะเรื่องภาษี บญั ชี
การตลาด และการบรหิ ารองคก์ รเตม็ รปู แบบ และทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ
คอื การไดเ้ จอพนั ธมติ ร เพอื่ นนกั ธรุ กจิ ทำ� ใหเ้ ราไดแ้ ลกเปลยี่ น
ความรู้ และเป็นแหล่งสะสมพลังของเราได้ อยากไปเรียน
ทกุ วนั เลย ซงึ่ แพทกก็ ำ� ลงั มองหาหลกั สตู รใหมๆ่ เพอื่ เพม่ิ ความรู้
ให้กับตัวเองอยเู่ รอ่ื ยๆ เพราะเชอ่ื เสมอวา่ เราตอ้ งไมห่ ยดุ พฒั นา
และการเรยี นรไู้ ม่มีทีส่ ิ้นสดุ จรงิ ๆ”

ขอขอบคุณขอ้ มูลและรปู ภาพจาก
wBเ4โขท8ewต3รg.w/ด1inิน.8b0-แe19Bดg9a0iงnb9bซ2yaกอ7bรFยy2งุofส2เooททุ9od9พธd.พิมcอoรหเี mมา2ลนถคbนรeนg1iปn0bร4ะa0bช0yาfสooงdเค@รgาmะaหil์ .com

อตุ สาหกรรมสาร 19

Biz Trends

• เรือ่ ง : อรุษา กิตติวฒั น์

ประเทศไทยเรามีต้นทุนเร่ืองความหลากหลาย
ทางชีวภาพและความโดดเด่นด้านสมุนไพรท่ีเป็น
ข้อได้เปรียบในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ตอบโจทย์
ตลาดสินค้าออร์แกนิกและการเป็นผู้ผลิตอาหาร
ปลอดสารพิษเพ่ือก้าวสู่การเป็นครัวโลกอย่างเต็มตัว
ทว่าก็ยังมีอุปสรรคในเร่ืองของการใช้สารเคมีทางการ
เกษตรอย่างเข้มข้น เราติดอันดับประเทศที่ใช้สารเคมี
กำ� จดั ศัตรพู ืชมากเปน็ อันดับตน้ ๆ ของโลก มกี ารนำ� เขา้
สารเคมีทางการเกษตรมูลค่ามหาศาล แม้ว่าเกษตรกร
ส่วนหน่ึงเร่ิมตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพและ
สิ่งแวดล้อม ทว่าค�ำถามส�ำคัญอยู่ท่ีว่าหากไม่ใช้ปุ๋ย
เคมีและสารก�ำจัดศัตรูพืชจะมีอะไรมาทดแทนได้ ดังน้ัน
เมื่อ Simply Natural เปิดตัวผลิตภัณฑ์นวัตกรรม
การเกษตรในกลุ่มสารอาหารพืชและสารก�ำจัดแมลง
ท่ีผลิตด้วยสารชีวภาพ ปราศจากสารเคมี 100
เปอร์เซ็นต์ ส�ำหรับเกษตรกรผู้ห่วงใยส่ิงแวดล้อม
และต้องการเพ่ิมผลผลิตอย่างยั่งยืน จึงเหมือน
ตอบโจทย์นไี้ ดล้ งตวั

Simply Natural

สารบำ� รงุ พชื ตอบโจทยอ์ อรแ์ กนกิ

ภายใตโ้ ครงการ T-GoodTech ชอ่ งทางจบั คธู่ รุ กจิ B2B

ทรงวฒุ ิมณอี นิ ทร์ผกู้ อ่ ตงั้ บรษิ ทั ซมิ พลีเนเจอรลั (ไทยแลนด)์ มาบา้ ง ถา้ ใชส้ ารเคมี ปยุ๋ เคมี แทนทผ่ี กั นน้ั จะเปน็ ยา กก็ ลายเปน็
จ�ำกัด เล่าถึงจุดเร่ิมต้นในการสร้างแบรนด์ Simply Natural ยาพษิ วติ ามนิ ทก่ี นิ เขา้ ไป ถงึ จะใชไ้ ดแ้ ตก่ ส็ รา้ งพษิ ตอ่ เราดว้ ย เรา
จากวิศวกรประจ�ำแท่นขุดเจาะน�้ำมันที่ตกงานเพราะผลกระทบ ตอ้ งทำ� ผกั ทเ่ี ปน็ ยาจรงิ ๆ แตก่ ย็ งั ไมม่ โี มเดลวา่ จะเปน็ ผลติ ภณั ฑอ์ ะไร”
จากวกิ ฤตการณก์ ารเมอื งไทยเมอื่ 4ปกี อ่ นจงึ ไปชว่ ยงานของพสี่ าว
ดร.รสสคุ นธ์ พมุ่ พนั ธว์ุ งศ์ ผกู้ อ่ ตง้ั และประธานมลู นธิ ภิ มู ปิ ญั ญา งานวจิ ยั ของดร.รสสคุ นธ์ อธบิ ายถงึ การทำ� งานของเอนไซม์
สากลและบ้านสุขภาพจังหวัดระยอง ซ่ึงเสนอโปรเจคให้น�ำ ในทางวทิ ยาศาสตร์เกดิ ธาตอุ าหารหลกั NPKไดอ้ ยา่ งไรจากทฤษฎี
ต้นทุนที่มีอยู่คือหัวเช้ือน�้ำหมักไปต่อยอดภายใต้คอนเซ็ปต์ หวั เชอื้ น้ี ทรงวฒุ ติ โี จทยว์ า่ เมอ่ื ไปใชแ้ ลว้ เกดิ อะไรขนึ้ ผลคอื ตน้ ไม้
“เกษตรตน้ นำ�้ สรา้ งอาหารเปน็ ยา” ออกลกู ออกดอกดกมาก ลำ� ตน้ และรากแขง็ แรง ดนิ อดุ มสมบรู ณด์ ี

ดร.รสสคุ นธ์มคี วามหว่ งใยเรอื่ งสง่ิ แวดลอ้ มเหน็ ความเจบ็ ปว่ ย “ผมอยู่ในสายวิศวกรรม เรียนรู้ทางด้านช่าง ในการท�ำงาน
ทเ่ี กดิ จากอาหารการกนิ การบรโิ ภคพชื ผกั ทม่ี สี ารเคมี ทา่ นไดว้ จิ ยั มีระบบมาให้เราเรียบร้อยแล้ว แต่ในการท�ำงานท่ีเราต้องมาคิด
เร่ืองเอนไซม์อยู่ ทางประเทศจีนได้น�ำไปทดลองกับพืชผักและ เอง ท�ำอย่างไรให้เป็นผลิตภัณฑ์ ผมมีโอกาสได้เข้าร่วมอบรม
ด้านส่ิงแวดล้อม ท�ำให้มีผลการวิเคราะห์ที่สามารถน�ำไปอ้างอิง ในโครงการของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมหลายคอร์สมากผมได้
ไดผ้ มไดร้ บั โจทยใ์ หเ้ อาตน้ ทนุ คอื หวั เชอื้ นมี้ าตอ่ ยอด ผมตคี วามวา่ แนวคดิ มาจากการอบรมพอเรามาจบั กบั กลมุ่ วสิ าหกจิ กลายเปน็
แหลง่ ตน้ นำ�้ กค็ อื พชื ผกั ทเี่ รากนิ เราไมร่ เู้ ลยวา่ ผกั ทเี่ รากนิ ผา่ นอะไร การตอ่ ยอดทล่ี งตวั ขอ้ ดคี อื เรามคี นทำ� งาน เรามวี ตั ถดุ บิ จากทอ้ งถนิ่
และได้ผู้เช่ียวชาญมาวิเคราะห์ว่าสิ่งที่เราใช้คืออะไร ท�ำให้ตอบ
20 อุตสาหกรรมสาร

ทางด้านวิทยาศาสตร์ได้ด้วย และที่ผมมาเติมเต็มคือ How to “ผมเขา้ มาปรบั เปลยี่ นหมด การหมกั รวมกนั เราจะรไู้ ดอ้ ยา่ งไร
ทำ� อยา่ งไรใหเ้ ปน็ ผลติ ภณั ฑ์ ผมเหน็ วา่ ทางชมุ ชนขาดองคค์ วามรู้ วา่ สารตวั หนง่ึ จะออกมา 100 เปอรเ์ ซน็ ต์ อยา่ งหมกั มงั คดุ อยาก
และมาตรฐาน การที่สารชีวภาพมาเป็นผลิตภัณฑ์ไม่ได้ เพราะ ได้สารแทนนิน จะรู้ได้อย่างไรว่าจะได้แทนนิน 100 เปอร์เซ็นต์
ท�ำแล้วไม่เหมือนเดิม รอบนี้ท�ำมาแล้วใช้ได้ดี แต่รอบต่อไป แลว้ ควบคมุ ไดอ้ ยา่ งไร ครง้ั ตอ่ ไปใสเ่ ทา่ นจี้ ะไดส้ ารเทา่ เดมิ หรอื ไม่
อาจใชไ้ มด่ ี ผมเขา้ ไปจบั ตรงนน้ั สรา้ งมาตรฐานใหไ้ ด้ จนกระทงั่ เมอื่ ตโี จทยพ์ วกนที้ ลี ะขอ้ ๆ พบวา่ สตู รหมกั รวมไมใ่ ชค่ ำ� ตอบ ตอ่ มา
ผมท�ำโมเดลในการผลิตส�ำเร็จ เร่ิมจากผลิตภัณฑ์แรกคือ เลยแยกหมักมังคุด สะเดา กลอย เป็นโนฮาวท่ีจะท�ำให้ผลิตได้
สารอาหารพชื Growth Green” เหมอื นเดมิ ดว้ ยเมอ่ื เอามาตรฐานเขา้ มาจบั แลว้ ความคลาดเคลอ่ื น
กจ็ ะนอ้ ยลง สดุ ทา้ ยเราทำ� ใหเ้ หมอื นเดมิ ได”้
สองปแี รกทรงวฒุ ทิ ดลองอยทู่ บี่ า้ นสขุ ภาพ ตอ่ มาเมอ่ื ไดพ้ บ
กบั ดร.วฒั นา บรรเทงิ สขุ ซง่ึ เปน็ หวั หนา้ ชมุ ชนชากบก และกำ� ลงั เมอื่ มกี ารควบคมุ กระทงั่ หวั เชอ้ื วา่ ใชเ้ ทา่ ไหร่ ควบคมุ ขนาดถงั
ทำ� โครงการ 9101 ตามรอยเทา้ พอ่ ภายใตร้ ม่ พระบารมี ไดค้ ยุ กนั ควบคมุ ปจั จยั ใหเ้ หมอื นกนั หมด แลว้ จะรไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ ดหี รอื ไมด่ ี
พบวา่ มอี ดุ มการณท์ ตี่ รงกนั กม็ กี ารนำ� เอาองคค์ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตรเ์ ขา้ ไปวดั ผลอตุ สาหกรรม
ภาค 9 อบรมใหเ้ ราเรอื่ งมาตรฐาน ตรงนก้ี ม็ าตอบโจทย์ เหน็ ความ
“ดร.วัฒนาเริ่มท�ำเรื่องศัตรูพืช ผมท�ำสารอาหารพืชที่เป็น คืบหน้าของผลิตภัณฑ์เรา จนกระทั่งผมมาอบรมในเรื่องการท�ำ
ออรแ์ กนกิ ไดแ้ ลว้ แตถ่ า้ ไมม่ ตี วั ไลแ่ มลง เกษตรกรกต็ อ้ งไปใชเ้ คมี ผลิตภัณฑ์ ผมเข้าคลัสเตอร์ภาคตะวันออกเป็นรุ่นแรกๆ เรื่อง
พอรวมตวั กนั แลว้ ตอบโจทยไ์ ด้เราเรม่ิ จบั มอื กนั มคี วามเปน็ ไปไดท้ ่ี เครอ่ื งสำ� อาง เรามผี ลติ ภณั ฑใ์ หมไ่ ปนำ� เสนอดว้ ยแมว้ า่ จะไมเ่ กย่ี วกบั
จะทำ� ออรแ์ กนกิ เพราะมคี รบแลว้ ” เครอ่ื งสำ� อาง ผอ.วนั ชยั บอกวา่ แตถ่ า้ เปน็ ผลติ ภณั ฑแ์ ลว้ พฒั นาได้
กน็ า่ จะลองดู ทำ� ใหไ้ ดร้ บั โอกาสนำ� ผลติ ภณั ฑม์ า Matching ในงาน
ทรงวุฒิมองว่าโครงการ 9101 มีผลิตภัณฑ์ไล่แมลง แต่ แสดงสนิ คา้ ทอ่ี มิ แพค เมอื งทองธานี ในปี 2559
ท�ำอย่างไรให้มีคุณภาพท่ีเป็นมาตรฐานเดียวกัน สุดท้ายจึงคิด
โมเดลออกมา หนงึ่ ตอ้ งควบคมุ ปจั จยั ในการผลติ ใหเ้ หมอื นเดมิ “เราไดล้ กู คา้ ทเี่ ปน็ ตวั จรงิ 24 ราย และเปน็ ลกู คา้ ทตี่ อ่ ยอดได้
สองมกี ารชง่ั ตวงวดั อยา่ งชดั เจนกอ่ นหนา้ นเ้ี มอ่ื กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน เปน็ อยา่ งดี อยา่ งลกู คา้ จากจนี เปน็ ตวั แทนของโรงงานผลติ โดรน
ผลติ นำ้� หมกั กลอย สะเดา ไครห้ อม มงั คดุ ฯลฯ ซงึ่ บางครงั้ กห็ มกั ทางการเกษตรรายใหญ่ลูกค้าเวียดนามเอาผลิตภัณฑ์เราไป
รวมกนั หมด โดยไมไ่ ดส้ นใจขนาดของถงั หมกั ไมม่ กี ารจดบนั ทกึ ทดลองแลว้ กลบั มาหาเราเขาไปทดลองกบั ชาวนาจรงิ ๆใสก่ ระถาง
ไมม่ กี ารควบคมุ ออกดอกเต็มต้นเหมือนช่อดอกไม้ เทียบกับ 18 แบรนด์ทั่วโลก
เราเปน็ วสิ าหกจิ ชมุ ชนทไี่ มม่ ใี ครรจู้ กั ในกลมุ่ ธรุ กจิ ภาคตะวนั ออก
เราชนะแบรนดใ์ หญๆ่ ทางการเกษตรทง้ั นน้ั แบรนดข์ องเยอรมนั
ของออสเตรเลยี สดุ ทา้ ยเราไดร้ บั เลอื ก แมว้ า่ ไมม่ ใี ครรจู้ กั เราเลย
Growth Green

พบอปุ สรรคเม่ือขอมาตรฐาน

ซมิ พลี เนเชอรลั แปลความหมายวา่ สมถะ คอื อะไรกไ็ ดง้ า่ ยๆ
ใกลๆ้ ตวั แลว้ ทำ� เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ เราเอาของชมุ ชน ใกลๆ้ ตวั หวั ใจ
ของเราคอื Simply Natural แปลวา่ ธรรมชาตงิ า่ ยๆ

“โอกาสท่ีเราได้รับจากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเริ่มต้นจาก
การไดอ้ อกงานแสดงสนิ คา้ กอ่ นจะตอ่ ยอดสคู่ วามสำ� เรจ็ ผลติ ภณั ฑ์
เราครอบคลมุ ในกลมุ่ เกษตรตอนนเี้ รามอี อเดอรจ์ าก 4 ประเทศท่ี
เราไปมา แต่ในด้านของช่องทางการจ�ำหน่าย เม่ือยังติดปัญหา
ในเรื่องการขอมาตรฐานในประเทศไทยเราเอง เราขอมาตรฐาน
ในเวยี ดนามในกมั พชู าได้ พอเขาเอาของเราไปเขา้ Lab เกย่ี วกบั
มาตรฐาน ขึ้นทะเบียน พบว่าเราสร้างมาตรฐานแบบปุ๋ยเคมี
ต้องมี NPK แต่ผลิตภัณฑ์เราเป็นออร์แกนิกแต่พอไปยื่น
ขอมาตรฐานในบา้ นเราตอ้ งเปลย่ี นสตู รถา้ เปลยี่ นสตู รหมายความ
วา่ ตลาดทเี่ ราทำ� มากจ็ ะหายไป เพราะผลติ ภณั ฑเ์ ราไมเ่ หมอื นเดมิ
จึงต้องท�ำการตลาดโดยติดต่อกับเกษตรกรท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมาย
โดยตรงเราเนน้ กลมุ่ ของผรู้ กั สขุ ภาพเปน็ หลกั ”

เรามลี กู คา้ ทำ� สวนลำ� ไยทจี่ นั ทบรุ ี ทที่ ดลองใชจ้ นครบรอบผล
ออกมาลกู สวย ชมิ แลว้ อรอ่ ย เมอ่ื เขา้ Lab ผลปรากฏวา่ ไมม่ สี ารเคมี

อุตสาหกรรมสาร 21

ท�ำให้ได้ราคาดีกว่าสวนอ่ืนมะนาวแป้นเราท�ำได้คือ 10 ลูกโล ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นได้ ออกแบบมุ้งที่คลุมป้องกัน
ไม่มีแคงเกอร์ ลบค�ำสบประมาท ที่บอกว่าไม่ใช้เคมี ไม่ได้ผล ฝนตกหนกั ๆ ดนิ เราผลติ เอง มกี ารพน่ สารอาหารดว้ ย โดยรว่ มกบั
สวนสม้ สายนำ้� ผงึ้ ทป่ี า่ แป๋เชยี งใหม่กจ็ ะเปน็ สวนสม้ ออรแ์ กนกิ หรอื วถิ ชี มุ ชนพทั ยาทมี่ โี รงปยุ๋ พทั ยาทไ่ี มป่ ระสบความสำ� เรจ็ เราสนบั สนนุ
สวนทเุ รยี นกา้ นยาวทเี่ กบ็ ผลไดม้ ากกวา่ เดมิ ให้เขาท�ำดิน เราท�ำการตลาดโดยใช้แบรนด์ Simply Natural
เราเชื่อมโยงชุมชน ชุมชนตอบโจทย์เรา จนกระท่ังได้ผลิตภัณฑ์
จับคูธ่ รุ กจิ ผา่ น T-GoodTech Smart Simply Plant เราสามารถท�ำแหล่งต้นน้�ำ สร้างอาหาร
เปน็ ยาได้รอ้ ยเปอรเ์ ซน็ ตเ์ พราะเราควบคมุ สภาพแวดลอ้ มดนิ นำ้� ได้
โครงการ T-GoodTech ภายใต้มาตรการพิเศษ Digital ทง้ั หมด แตล่ ะแปลงคำ� นวณผลผลติ ได้ ของเราเปน็ นวตั กรรมดว้ ย
Value Chain ของกรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม คือ เราเอาเอนไซม์มาสกัด จุดเด่นเราคือ ตัวหัวเช้ือ ใช้แล้วเห็น
เป็นโครงการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีผ่านเว็บไซต์และระบบ ผลส�ำเร็จในระยะเวลาท่ีสั้นมาก และมีประสิทธิภาพในการ
ฐานข้อมูลเป็นช่องทางการจับคู่แบบธุรกิจกับธุรกิจ (Business สกดั สารอาหารสงู ”
to Business : B2B) ระหว่างผู้ประกอบการไทยด้วยกันเอง
และการเช่ือมโยงระบบฐานข้อมูล T-GoodTech ของไทยกับ สว่ นผลติ ภณั ฑใ์ นกลมุ่ ของเฮลทแ์ คร์ นอกจากสบแู่ ฮนดเ์ มด
ระบบฐานข้อมูล J-GoodTech ของญี่ปุ่น เป้าหมาย คือ เกิด ผสมสารสกดั เอนไซมล์ ปิ บาลม์ กลว้ ยหอม ยงั มผี ลติ ภณั ฑ์ Simply
การจับคู่ธุรกิจระหว่างผู้ประกอบการไทยกับผู้ประกอบการ Secret Perfect Amino Essence ทอี่ ยใู่ นกลมุ่ คอสเมตกิ ซงึ่ มดี ารา
ทว่ั โลกได้ นกั แสดงจากเวยี ดนามสนใจทจี่ ะเปน็ ตวั แทนจำ� หนา่ ย ไปทำ� ตลาด
ในประเทศเวยี ดนาม
“ในงาน T-GoodTech เราไดค้ คู่ า้ มา 24 ราย ทง้ั ในประเทศ
และตา่ งประเทศ ผมเรมิ่ จากการทป่ี ระยกุ ตเ์ อาเอนไซมม์ าสกดั สาร “เรามฐี านอยทู่ น่ี ำ้� หมกั เอนไซม์จะไปทางไหนกต็ ามทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ตง้ั ตน้ เพอื่ ทำ� สบู่ ตอนนนั้ การพฒั นารปู แบบผลติ ภณั ฑย์ งั ไมส่ วย กบั สขุ ภาพ เราตอบโจทยค์ นทจ่ี ะทำ� เกษตรอนิ ทรยี ไ์ ดค้ รบรวมถงึ
เท่าไหร่ ได้กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเข้ามาช่วยสนับสนุนเรื่อง กลมุ่ สงิ่ แวดลอ้ มดว้ ยเราใชก้ องทนุ เลก็ ๆจากทเ่ี ราขายมาลงทนุ เรา
การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ พอไดบ้ รรจภุ ณั ฑใ์ หม่ เหมอื นภาคบงั คบั สามารถผลติ สำ� รองไวไ้ ด้ 40-50 ตนั มลู คา่ ตอนนี้ 20 ลา้ นบาทเมอ่ื
ให้ต้องออกแบบใหม่ ท�ำให้เราต้องค้นหาข้อมูลมาเพื่อจะมาลง การตลาดเราสำ� เรจ็ กจ็ ะมที นุ ใหข้ ยายธรุ กจิ ไปทลี ะขน้ั ได้ เราจะไม่
เพ่ือให้มีข้อมูลให้ลูกค้ามากขึ้น แต่ส่ิงที่ส�ำเร็จคือ เมื่อเขาเอาไป กา้ วกระโดดใหเ้ ปน็ หนส้ี นิ แตเ่ ดนิ ไปดว้ ยคณุ ธรรมขณะทที่ ำ� ธรุ กจิ
ทดลองใชแ้ ลว้ ตอบโจทยข์ องแบรนดด์ ว้ ย Growth Green เรม่ิ ตดิ ไปดว้ ยการทำ� ธรุ กจิ ตอ้ งเชอื่ มโยงชมุ ชนชมุ ชนตอ้ งไดป้ ระโยชนจ์ รงิ
ตลาดในประเทศเวยี ดนามแลว้ เขาเรม่ิ เหน็ แบรนดน์ ้ี ผลติ ภณั ฑต์ อ้ งผลติ ออกมาใหม้ คี ณุ ภาพจรงิ การตลาดคอื คณุ ภาพ
ของตัวผลิตภัณฑ์เอง หัวใจของเราคือ ท�ำผลิตภัณฑ์ให้ดีท่ีสุด
เรานำ� สง่ิ ทเี่ ราเรยี นรจู้ ากการอบรมของกรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม เปา้ หมายของผมคอื ผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ปน็ สารอาหารพชื ใหด้ ที สี่ ดุ ของ
มาใช้ อาจารย์บอกว่าต้องสร้างแบรนด์ เมื่อท�ำผลิตภัณฑ์หน่ึง โลกใหไ้ ด”้
ตดิ ตลาด คนเชอ่ื มนั่ แลว้ ถา้ ไมส่ รา้ งแบรนด์ กจ็ ะหายไป จะตอ่ ยอด
ไม่ได้ แต่ถ้าสร้างแบรนด์ ผลิตอะไรมา ก็จะต่อยอดไปอีก ตอนนี้ ขอขอบคณุ ขอ้ มลู และรูปภาพจาก
เรามีผลิตภัณฑ์ท่ีจะตามออกมาหลายผลิตภัณฑ์มาก แต่เรา Simply Natural
ค่อยเป็นค่อยไปอย่างพอเพียง ดูว่าผลิตภัณฑ์อะไรที่พร้อม 193/4 หมู่ 10 ต�ำบลบางเสร่ อ�ำเภอสตั หบี จังหวัดชลบรุ ี
มคี ณุ ภาพ และยนื ยนั วา่ ใชไ้ ดจ้ รงิ เราเปน็ วสิ าหกจิ ชมุ ชน แตเ่ ปน็ โทร. 08 9201 9865, 08 1832 1157
โรงงานท่ีใหญ่มาก เพราะเรากระจายให้วิสาหกิจชุมชนผลิต ID Line : simplynatural
ให้ เริ่มจาก 16 คน จากกลุ่มวิสาหกิจมารวมกลุ่มกัน มีเงื่อนไข
ว่าทุกคนต้องเป็นเกษตรกร มีวัตถุดิบเป็นของตัวเอง บ้านน้ี
มีสวนมังคุด ก็ท�ำมังคุดให้เรา บ้านน้ีมีสะเดา ก็ท�ำแต่สะเดา
เรารับซ้ือกลับมา เป็นการสร้างรายได้ให้กับชุมชน ชาวบ้าน
หันกลับมาร่วมมือกับเราเป็นพันคน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนของเรา
เยอะมาก ครอบคลมุ พนื้ ทต่ี ำ� บลชากบก อำ� เภอบา้ นคา่ ย โรงงาน
คอื พนื้ ทที่ ง้ั ตำ� บล พนกั งานคอื คนทงั้ ตำ� บล เราไมต่ อ้ งจา่ ยคา่ แรง
เขาไดส้ ขุ ภาพ ไดเ้ งนิ ไดค้ วามภมู ใิ จ

เรามกี ารตอ่ ยอดผลติ ภณั ฑไ์ ปสภู่ าคอตุ สาหกรรมดว้ ย เรานำ�
คลู ลงิ่ แพด (Coolingpad) ทหี่ มดอายใุ ชง้ านแลว้ ตอ้ งนำ� ไปทำ� ลาย
กลบั มารยี สู (Reuse)ใชใ้ นทางการเกษตรออกแบบเปน็ ผลติ ภณั ฑ์
Simply Smartpadส�ำหรับท�ำแปลงเกษตร และมีทีมงานที่เป็น
วศิ วกร ออกแบบระบบควบคมุ อตั โนมตั ดิ ว้ ย ปลกู ผกั เสรจ็ กท็ งิ้ ไว้
รอเกบ็ ไดเ้ ลยเรามรี ะบบรดนำ�้ ควบคมุ อณุ หภมู ิระบบใหป้ ยุ๋ ทางนำ�้
สรา้ งตวั ควบคมุ ระบบนำ�้ อตั โนมตั ิ คลมุ มงุ้ เสรจ็ รอโต รอเกบ็ ไดเ้ ลย
ไมต่ อ้ งมคี นมารดนำ�้ แลว้ ปยุ๋ ของเราเปน็ ระบบนำ้� อยแู่ ลว้ สามารถ
กำ� หนดอายขุ องผกั ได้ เราตง้ั เวลารดนำ�้ ได้ 8 ชว่ งเวลา เราสามารถ

22 อตุ สาหกรรมสาร

Local SMEs

• เรือ่ ง : อุเทน โชตชิ ัย

เบสท์-แพค คอนกรีต จ.หนองบัวล�ำภู

ผู้ผลิตคอนกรีตอัดแรง คอนกรีตผสมเสร็จ
ดาวเด่น SMEs ไทย : DIP Stars

ภายใต้การบริหารงานของศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 4

นายวิทวัส วทานิโยบล ประธานกรรมการผจู้ ดั การ กลา่ วถงึ การเริม่ ตน้ ของกิจการว่า เริม่ ตน้ จาก บริษัท อึ้งชนุ ฮะ (1994)
จ�ำกัด ซ่ึงด�ำเนินกิจการจ�ำหน่ายวัสดุและเคร่ืองมือก่อสร้างในเขตหนองบัวล�ำภู ได้เปิดด�ำเนินการมากว่า 30 ปี โดยเร่ิมประมูล
งานก่อสร้างจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนต่างๆ ท�ำให้เกิดความคิดท่ีจะก่อต้ังโรงงานคอนกรีตอัดแรง เพ่ือรองรับการก่อตั้ง
หนองบัวล�ำภูขึ้นเป็นจังหวัดใหม่และการก่อสร้างท่ีเกิดขึ้นในจังหวัดใกล้เคียง ท้ังยังเป็นการส่งเสริมสร้างงานในท้องถิ่นให้คนใน
พ้ืนที่ไดม้ ีงานท�ำ

ตดั สินใจเข้าร่วมโครงการ DIP Stars โดยเมอื่ ปีพ.ศ2560 ตดั สนิ ใจเขา้ รว่ มโครงการยกระดบั
ดาวเด่น SMEs ไทย (DIP Stars) ซึ่งเป็นโครงการท่ี
เดิมทีบริษัทฯ ได้เปิดรับการพัฒนาองค์กรในทุกรูปแบบ ภายใต้ คัดเลือก SMEs ที่มีศักยภาพจากทั่วประเทศ จากนั่นจะ
วิสัยทัศน์คือ “สร้างสังคมและสิ่งแวดล้อมท่ีสมบูรณ์ สร้างและพัฒนา ทำ� การวนิ จิ ฉยั สถานประกอบการเชงิ ลกึ วเิ คราะหถ์ งึ โอกาส
ความสามารถของบคุ ลากรในทอ้ งถนิ่ สรา้ งสนิ คา้ และบรกิ ารใหม้ คี ณุ ภาพ และแนวทางการพัฒนาศักยภาพ และท�ำการส่งเสริม
และคุณค่าที่เหนือกว่า” และได้รับการสนับสนุน และพัฒนาอย่างต่อ พัฒนาครบวงจรทุกมิติในการด�ำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
เนอ่ื งจากศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 4 (จงั หวดั อดุ รธาน)ี กรมสง่ เสรมิ โดยวสิ าหกจิ ทเี่ ขา้ รว่ มโครงการจะเปน็ ตน้ แบบความสำ� เรจ็
อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม ใหก้ ับ SMEs ในอตุ สาหกรรมอื่นๆ ต่อไป

เหตุผลที่เข้าร่วมโครงการเนื่องจาก ปัญหาต่างของ
บริษัทฯ ได้แก่ ประสบปัญหายอดขายลดลง, ขาดแผน
กลยุทธ์การตลาดท่ีชัดเจน, การผลิตต�่ำกว่าเป้าหมาย,
ขาดระบบการบรหิ ารงานทรพั ยากรบคุ คล จงึ สมคั รเขา้ รว่ ม
โครงการยกระดับดาวเด่น SMEs ไทย (DIP Stars)
ในปงี บประมาณปี 2560 โดยเลอื กผลลพั ธท์ คี่ าดหวงั 3 ปี
อย่างต่อเน่ือง (2560-2562) คือ เพ่ือการเติบโตทางธุรกิจ
มลู คา่ การคา้ /การลงทนุ ในประเทศเพิ่มขึ้นอยา่ งน้อย 10%
ซึ่งมีแผนปฏิบัติการ 3 ปี แผนเพิ่มยอดขาย และเพิ่ม
ประสทิ ธิภาพท�ำงาน

อุตสาหกรรมสาร 23

เรม่ิ ต้นแผนการพฒั นาปีแรก 2560 • จัดทำ� Job Description ทกุ ต�ำแหน่งงาน
จดั ทำ� แผนกลยุทธก์ ารตลาด • ก�ำหนดกลยุทธ์ HR ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์องค์กรและ
ระดับธรุ กิจ ไดแ้ ก่
โดยเริ่มกิจกรรมจากที่ปรึกษาของโครงการคือ บริษัท • การพฒั นาระบบการประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน
เอก็ เซลเลนท์ บสิ เนส แมเนจเมน้ ท์ จ�ำกดั ซงึ่ ไดร้ ับมอบหมายให้ • พฒั นาระบบ Competency
เป็นท่ีปรกึ ษาโครงการ ซึง่ มขี น้ั ตอนและวธิ ีการท�ำงานตา่ งๆ คือ • พัฒนาระบบการฝึกอบรม
• อบรมพนกั งานระดับหวั หน้างานหลักสูตร “ทกั ษะการเปน็
1. ก�ำหนดวสิ ัยทัศน์ พันธกจิ คา่ นิยม กำ� หนดวตั ถุประสงค์ หวั หนา้ งาน”
ขององคก์ ร กลยทุ ธข์ ององค์กร พรอ้ มจัดทำ� TOWS Matrix และ • จดั ทำ� ระบบ Competency
มกี ารก�ำหนดกลยุทธท์ ่สี �ำคัญ 12 กลยุทธ์ • จัดทำ� ระบบ Training Road Map
• จัดท�ำระบบ Skill Matrix
2. ทบทวนวเิ คราะหค์ แู่ ขง่ ขนั ทงั้ หนว่ ยธรุ กจิ คอนกรตี อดั แรง ผลลัพธ์ทีไ่ ด้ในปแี รกของโครงการ คอื :
จ�ำนวน 5 ราย และหน่วยธุรกิจคอนกรตี ผสมเสรจ็ จำ� นวน 4 ราย 1. มีระบบการบริหารงานทรพั ยากรมนษุ ย์ ไดแ้ ก่
เพือ่ ไดท้ ราบถงึ จุดอ่อนของคู่แข่ง 1.1 Job Description
1.2 การมอบหมายงาน
3. ทบทวนวิเคราะห์ ลูกค้าจ�ำนวน 4 กลุ่ม ทั้งหน่วยธุรกิจ 1.3 การวางแผนก�ำลังคน
คอนกรีตอัดแรงและคอนกรีตผสมเสร็จ เพ่ือทราบถึงข้อดีและ 1.4 การประเมินผลการปฏิบัตงิ าน
ขอ้ เสีย ไดแ้ ก่ 1) ผรู้ บั เหมางานรฐั 2) ผู้รบั เหมาเอกชน 3) ซ้อื มา 1.5 การจดั ท�ำตวั ช้วี ัด
ใชเ้ อง 4) รา้ นวสั ดกุ อ่ สร้าง 2. มรี ะบบการพัฒนาบคุ ลากร ได้แก่
2.1 ระบบพฒั นาและประเมนิ ผลสมรรถนะ (Competency)
4. จดั ทำ� กลยทุ ธร์ ะดบั ธุรกจิ แผนการตลาด ธุรกิจคอนกรีต 2.2 ระบบการจัดทำ� Skill Matrix
อดั แรง และคอนกรตี ผสมเสรจ็ ประกอบไปดว้ ย Product, Price, 2.3 ระบบการฝกึ อบรม
Place, Promotion 2.4 ระบบการพัฒนาบคุ ลากรรายบคุ คล
2.4.1 พนกั งานมที ักษะการจดั การเพม่ิ ขน้ึ 30.82%
5. ก�ำหนดกลยุทธฝ์ า่ ยทรัพยากรบคุ คล (โดยแบง่ เปน็ MD 2.4.2 การจดั ทำ� และปรบั ปรงุ กระบวนการ
ผู้อำ� นวยการ ผู้จัดการฝา่ ย(สำ� นกั งาน/ตลาด ขาย / ปฏบิ ัติการ) 2.4.3 เทคนิคการน�ำเสนอกระบวนการ
ผจู้ ดั การแผนก หวั หนา้ แผนก และพนกั งาน พรอ้ มกำ� หนดฟงั กช์ นั
งานทสี่ ำ� คญั ของฝา่ ยทรัพยากรบุคคล แผนการพัฒนาบริษทั ฯปถี ดั ไป 2562
จัดทำ� ระบบการเพมิ่ ประสิทธภิ าพการผลิต
6. การเขยี นแผนกลยทุ ธข์ ยายฐานลกู คา้ กลยทุ ธ์ One Stop
Service กลยุทธ์พัฒนาบุคคล จัดโครงสร้างฝ่ายการตลาด พร้อม นายมนสั ชัย สกดั กลาง ผอู้ ำ� นวยการฝา่ ยปฏบิ ตั กิ าร บรษิ ทั
จัดท�ำ Workflow ขอบเขตการท�ำงาน และการประสานงาน เบสท-์ แพค คอนกรตี จำ� กดั ไดส้ รปุ ผลการเขา้ รว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ
และจัดท�ำกระบวนการท�ำงานพร้อมก�ำหนดตัวช้ีวัดภายใน ดังนี้
ทงั้ 3แผนก ไดแ้ ก่ แผนกการตลาด แผนกขาย และ แผนกบรกิ าร
1. ประโยชน์ที่ไดจ้ ากการเขา้ รว่ มกิจกรรมที่ผ่านมา
7. จัดทำ� Job Description จากการเข้าร่วมโครงการเราได้องค์ความรู้ในเรื่องของ
ผลลัพธ์ท่ีได้ในปีแรกของโครงการ คือ ได้แผนกลยุทธ์ การบริหารจัดการ ซ่ึงท�ำให้เราได้รับการพัฒนาและปรับปรุง
ระยะ 3 ปี มีการก�ำหนดกลยุทธร์ ะดับองค์กร ระดับธรุ กิจ และ กระบวนการต่างๆ เกิดการขยายธุรกิจ องค์กรมีการเจริญโตขึ้น
ระดบั หนา้ ท่ี ซ่ึงท�ำให้เราได้รับโอกาสในการเพิ่มช่องทางด้านการตลาดและ
จัดท�ำโครงสร้างองค์กรใหม่ให้เหมาะสมกับการบริหารงาน สง่ การขายทำ� ใหไ้ ดร้ บั ผลกำ� ไรทเี่ พม่ิ ขน้ึ โดยเราไดม้ กี ารประยกุ ต์
ตามกลยทุ ธ์ จดั ทำ� โครงสรา้ งฝา่ ยการตลาด ไดแ้ บง่ เปน็ 3 แผนก ใชไ้ อทใี นธรุ กจิ ทมี่ สี ว่ นสำ� คญั ในการทำ� ธรุ กจิ เพมิ่ ความรวดเรว็ ใน
คอื แผนกการตลาด แผนกขาย และแผนกบริการ จดั ท�ำกลยุทธ์ การสอ่ื สาร
การตลาด ได้แก่ กลยุทธ์ขยายฐานลูกค้า และกลยุทธ์ One
Stop Service จัดท�ำกลยุทธ์พัฒนาบุคลากร มีการจัดท�ำ Job
Description ในบางต�ำแหนง่ ที่มีความจำ� เป็น
และผลลัพธ์ท่ีสามารถวัดเป็นตัวเลขได้คือ เพ่ิมยอดขาย
20.74% เปน็ จำ� นวนเงนิ 18,289,712 บาท (เมื่อเทยี บกบั เดือน
มนี าคม – พฤษภาคม ปี 2559)

แผนการพฒั นาบรษิ ทั ฯปีท่สี อง 2561
จัดท�ำระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล

โดยที่ปรึกษาของโครงการฯ ซ่ึงได้รับมอบหมายให้เป็น
ทปี่ รึกษาโครงการ ไดข้ ัน้ ตอนและวธิ ีการท�ำงานตา่ งๆ คือ

• จัดท�ำโครงสร้างองค์กรใหม่ซ่ึงสอดคล้องกับกลยุทธ์
ปัจจุบนั

• มกี ารวางแผนอตั รากำ� ลงั คนใหส้ อดคลอ้ งกบั กลยทุ ธ์ และ
โครงสร้างตน้ ทนุ

24 อุตสาหกรรมสาร

ผลิตภัณฑ์

คานสะพาน คานสะพาน Box Girder คานสะพาน I Girder คานสะพาน Plank Dirder
เสาเข็ม
แผ่นพืน้ เสาเขม็ รูปสี่เหลย่ี มจัตุรสั ตัน เสาเขม็ รูปตัวไอ เสาเข็มรปู สเ่ี หลย่ี มกรวง เสาเข็มเขอื่ น

แผ่นพ้ืน Hollor Core แผ่นพื้นคอนกรตี อดั แรงทอ้ งเรียบ

ระบบระบายน้�ำ

รางระบายนำ้� รปู ตัวยู ทอ่ คอนกรตี อัดแรง บ่อพักคอนกรตี เสริมเหล็ก

อน่ื ๆ อิฐบล็อก คอนกรตี บล็อคปูถนน
เสาไฟฟ้าคอนกรตี อัดแรง

2. สิง่ ท่ีอยากใหส้ นับสนนุ ต่อในอนาคต เพื่อท�ำให้ธุรกิจของตนเองมีขีดความสามารถเพิ่มสูงขึ้น อันจะ
2.1 การสนับสนนุ ดา้ น Logistic ซง่ึ ในปจั จุบนั และในทาง ส่งผลต่อการแข่งขันได้ในปัจจุบันและอนาคต รวมถึงการได้
ธรุ กจิ บรษิ ทั ของเรายงั ประสบปญั หาในดา้ นการจดั การ Logistic รับองค์ความรู้ของการพัฒนาในด้านต่างๆ เพื่อในไปต่อยอด
ท้ังท่ีเป็นในเร่ืองของทักษะความรู้ของบุคลากรผู้ปฏิบัติงานและ ขยายช่องทางการท�ำธุรกิจอื่นๆ ต่อไป ซึ่ง SMEs ท่านใด
ในส่วนของเงินทนุ ที่ทางบริษัทต้องบรหิ ารจัดการ ที่สนใจสามารถติดต่อได้กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวง
2.2 การสนบั สนนุ ดา้ นเทคโนโลยี เพอื่ รองรบั การพฒั นาและ อตุ สาหกรรม
การใชเ้ ทคโนโลยใี นการรองรบั ธรุ กิจในอนาคต การใช้ Robot ใน
การผลิตแทนอัตรากำ� ลงั คนเพอื่ ลดต้นทนุ ค่าใชจ้ า่ ย ขอขอบคณุ ข้อมลู และรปู ภาพจาก
3. ข้อเสนอแนะอื่นๆ กลุ่มการพัฒนาการบรกิ ารธุรกจิ อตุ สาหกรรม
ความต่อเน่ืองของโครงการไม่ว่าจะเป็นในด้านของการ ศนู ย์ส่งเสรมิ อุตสาหกรรมภาคท่ี 4 จังหวดั อดุ รธานี
พัฒนาหรือเพิ่มทักษะความรู้ให้กับบุคลากรภายในองค์กร โดย บรษิ ทั เบสท์-แพค คอนกรตี จ�ำกดั
อยากให้บุคลากรได้มีการพัฒนาและต่อยอดองค์ความรู้เพ่ิม 194 หมู่ 1 ถนนหนองบวั ล�ำภู-เลย ต�ำบลหนองภยั ศูนย์
ทกั ษะในดา้ นต่างๆ อย่างต่อเนอ่ื ง อำ� เภอเมอื ง จังหวดั หนองบวั ล�ำภู 39000
SuccessCaseกรณีบรษิ ทั เบสท-์ แพคคอนกรตี จำ� กดั นบั วา่
เปน็ ตวั อยา่ งที่ SMEs ทวั่ ไปควรนำ� เปน็ แบบอยา่ งของการพฒั นา อุตสาหกรรมสาร 25

Opportunity ภายใต้การบริหารงานของศูนย์ส่งเสริม
อุตสาหกรรมภาคที่ 4
• เรอ่ื ง : พงษ์นภา กิจโมกข์

กสอ. จับมือ AIS ร่วมพัฒนาแอปพลิเคชัน

e-Commerce ชุมชน : Thai DIP CIV

ภายใต้มาตรการพิเศษยกระดับอุตสาหกรรมชุมชน
เช่ือมโยงการตลาด - การท่องเที่ยว

การพฒั นาหมบู่ า้ นอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์ Creative Industry Village : CIV เกดิ ขน้ึ จากการนอ้ มนำ� แนวทาง
เศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ต์ใช้ในการดำ� เนนิ การโครงการฯ เพอ่ื ยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานรากดว้ ยการสรา้ งหมบู่ า้ น
อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์ให้เปน็ ฐานการผลติ ระดับชุมชน เชือ่ มโยงดา้ นการตลาด การทอ่ งเที่ยว กอ่ ให้เกิดรายได้
ในชุมชน สร้างความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนในอนาคต โดยเน้นเรื่องรากฐานชุมชนให้มีความแข็งแกร่งจาก
“ขา้ งใน” เพอ่ื รองรบั อตุ สาหกรรมทอ่ งเทยี่ วและอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์ ตามยทุ ธศ์ าสตรป์ ระเทศไทย 4.0 ซงึ่ การ
พฒั นาเพอื่ สรา้ งโอกาสใหก้ บั ชมุ ชนนนั้ จะเปน็ ฟนั เฟอื งสำ� คญั ทจ่ี ะขบั เคลอื่ นอตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ วใหส้ อดรบั
กับความต้องการของนักท่องเท่ียวทั้งไทยและต่างชาติท่ีมีความหลากหลายและต้องการสัมผัสประสบการณ์
ทีแ่ ปลกใหมม่ ากขึ้น ซึ่งส่งผลให้เกิดการสรา้ งรายได้และการกระตุ้นเศรษฐกจิ ภาพรวมระดบั ประเทศ

26 อุตสาหกรรมสาร

โดยการด�ำเนินงานพัฒนาหมู่บ้านอุตสาหกรรม (มหาชน) หรือ AIS องค์กรเอกชนช้ันน�ำระดับประเทศ
สร้างสรรค์ (CIV) น้ันมีวัตถุประสงค์เพ่ือ ยกระดับ ในการพัฒนาแอปพลิเคชันที่มีชื่อว่า e-Commerce ชุมชน
เศรษฐกิจฐานรากจากการสร้างความเข้มแข็งให้กับ : Thai DIP CIV ขึ้น ซึ่งเป็นการเพิ่มช่องทางการเผยแพร่
ผู้ประกอบการชุมชน พัฒนาเศรษฐกิจฐานชุมชน และกระจายผลิตภัณฑ์ของชุมชนต่างๆ ภายใต้หมู่บ้าน
สามารถเติบโตได้ด้วยตนเองอย่างย่ังยืน ผ่านกลไก อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (CIV) โดยการน�ำเทคโนโลยีและ
การมสี ว่ นร่วมระหวา่ งชุมชน ภาครฐั และภาคเอกชน เครอ่ื งมอื ทสี่ ามารถยกระดบั มลู คา่ ใหก้ บั ผลติ ภณั ฑ์ เผยแพร่
โดยมีหลักในการพัฒนา 3 หลัก และมีเป้าประสงค์ ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นจุดเด่นและเอกลักษณ์ของ
เพ่ือส่งเสริมให้ชุมชนมีรายได้เพ่ิมขึ้น จากการสร้าง จงั หวดั หรอื ชมุ ชนนน้ั ๆ สรา้ งฐานตลาดใหมๆ่ สง่ ตอ่ ใหร้ ายได้
มูลค่าเพ่ิมให้แก่สินค้าและบริการตามความถนัด ให้กับชุมชน โดยใชส้ อ่ื อเิ ล็กทรอนิกสเ์ ปน็ เครอ่ื งมือ
อัตลักษณ์ชุมชน และจุดเด่นของตนเอง และมี
ศกั ยภาพในการบริหารจดั การ โดยในปี 2559-2560 สำ� หรับแอปพลิเคชัน e-Commerce ชมุ ชน : Thai DIP
มีการด�ำเนินการพัฒนาน�ำร่องในพ้ืนที่ 9 ชุมชน CIV จะเปน็ ตวั ชว่ ยพฒั นาและยกระดบั OTOP ของชมุ ชน ให้
ได้แก่ 1. ชุมชนบ้านนำ�้ เกยี๋ น จ.น่าน 2. ชุมชนออนใต้ สามารถใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ ตวั สอื่ การและสรา้ งชอ่ งทางการตลาด
จ.เชยี งใหม่ 3. ชมุ ชนเกาะยอ จ.สงขลา 4. ชมุ ชนบา้ น อย่างการจัดท�ำเร่ืองราวและสื่อประชาสัมพันธ์ท่ีมีความ
ศาลาดนิ จ.นครปฐม 5. ชมุ ชนบา้ นนาตน้ จน่ั จ.สโุ ขทยั น่าสนใจให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย อีกทั้งยังเป็นการสร้าง
6. ชุมชนบ้านเชยี ง จ.อดุ รธานี 7. ชุมชนเกาะเกร็ด จ.นนทบรุ ี ความแตกต่างให้กับตลาด ซึ่งการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวจะ
8. ชุมชนบ้านนาตนี จ.กระบี่ และ 9. ชมุ ชนปากนำ้� ประแส ชว่ ยใหผ้ ู้ประกอบการ OTOP ที่อยู่ตามชุมชน ให้สามารถเข้า
จ.ระยอง ร่วมด้วยการด�ำเนินการเตรียมความพร้อมให้กับ ถึงช่องทางการตลาดได้อย่างสะดวก และรวดเร็วมากย่ิงข้ึน
ชุมชนเปา้ หมายใน 76 จังหวดั ทวั่ ประเทศ ตอ่ เนือ่ งสูป่ ี 2561 และยังเป็นการเก็บข้อมูลธุรกิจผ่านระบบ e-Commerce
ที่กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) เดินหน้าพัฒนาหมู่บ้าน ซึ่งนอกจากจะช่วยให้ผู้ประกอบการเข้าถึงตลาดแล้ว
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (CIV) เพิ่มเติม 20 ชุมชน ต้ังเป้า ผู้บริโภคก็สามารถเข้าถึงแหล่งผลิตได้อย่างสะดวกและ
พฒั นาครอบคลมุ 76 จงั หวดั 158 ชมุ ชน ภายใตง้ บประมาณ รวดเร็วเช่นกัน ซ่งึ คาดว่าจะพัฒนาแล้วเสรจ็ พร้อมใหบ้ ริการ
22.61 ลา้ นบาท หลงั ประสบผลส�ำเร็จจากการดงึ อตั ลักษณ์ ภายในปี 2561
และทนุ ทางวัฒนธรรมของชุมชนเปน็ จดุ ขาย
อุตสาหกรรมสาร 27
โดยผลการดำ� เนนิ งานโครงการฯ ในระยะเวลา 2 ปี พบวา่
ชุมชนน�ำร่องมีรายได้เพ่ิมข้ึนจากอุตสาหกรรมท่องเท่ียว
เฉล่ียโดยประมาณ 50% ในบางชุมชนที่เดิมยังไม่ค่อยเป็น
ที่รู้จักของนักท่องเที่ยว มีนักท่องเที่ยวและรายได้ท่ีเข้ามา
ในชุมชนเพิ่มขึ้นมากกว่าเท่าตัว ด้านผู้ประกอบการหลายๆ
ชุมชนก็มีศักยภาพในการต่อยอดกิจการของตนเอง ตลอดจน
ใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาเศรษฐกจิ ฐากชมุ ชนอยา่ งยงั่ ยนื
ซ่ึงเน้นการพ่ึงพาตนเองเป็นหลัก และสามารถพัฒนาใน
เชงิ รกุ เชน่ การจดั ทำ� FacebookFanpageเพอื่ ประชาสมั พนั ธ์
ขอ้ มลู ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วสบื คน้ ไดอ้ ยา่ งเปดิ กวา้ งการจดั ระบบการ
บรกิ ารจดั การหว่ งโซค่ ณุ คา่ ดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว การจดั เกบ็ เงนิ
กองกลางจากการทอ่ งเทย่ี วเพอื่ ปนั ผลใหก้ บั ชมุ ชน การเขยี น
โครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
นอกจากนยี้ งั มหี นว่ ยงานอกี หลาย ๆ หนว่ ยงานเขา้ มาพฒั นา
ชมุ ชนและสนับสนุนในดา้ นต่างๆ อยา่ งตอ่ เน่ือง

ท้ังนี้เพื่อเป็นการเชื่อมโยงตลาดออนไลน์ด้วย Digital
Platform ซง่ึ จะดำ� เนนิ การทกุ จงั หวดั ทว่ั ประเทศ และมเี ปา้ หมาย
ทจ่ี ะยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานรากพฒั นาชมุ ชนใหม้ รี ายไดเ้ พม่ิ
ไมน่ อ้ ยกว่า 25% กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม จึงได้บรู ณาการ
ความร่วมมือกับบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด

Smart Biz

• เรอื่ ง : นุชเนตร จกั รกลม

โอ.อี.ไอ พาร์ท

ผู้ผลติ ช้นิ สว่ นโลหะจบั มือญ่ปี ุ่น
เพิม่ ประสิทธิภาพแรงงานด้วย Visualize Craftsmanship
ภายใต้โครงการจรวด 3 ข้ัน ‘3–Stage Rocket Approach’

บริษัท โอ.อี.ไอ พาร์ท จ�ำกัด เป็นหนึ่งในบริษัทน�ำร่องท่ีทางกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมคัดเลือกเข้าร่วม
โครงการ Connected Industries ผ่านกิจกรรม 3–Stage Rocket Approach หรือ ‘จรวด 3 ข้ัน
เพือ่ ผลกั ดัน SMEs สู่ 4.0’ โดยรว่ มมือกบั ประเทศญ่ีปนุ่ ในการสรา้ งเครื่องมอื เหมาะสมกับ SMEs ไทยทีม่ เี งิน
ทนุ ไม่มาก ให้สามารถพฒั นาองคค์ วามรู้ ประเมนิ ปญั หา หาวิธกี ารจัดการทไี่ ดป้ ระสิทธิภาพสงู สดุ และเลือก
ปรบั ปรงุ ใหเ้ กดิ ความคมุ้ คา่ อยา่ งชาญฉลาด ตลอดจนเพม่ิ ขดี ความความสามารถในการเขา้ ถงึ และประยกุ ต์ใช้
เทคโนโลยีดิจิทลั หุ่นยนต์ และระบบอัตโนมตั ไิ ด้อย่างรวดเรว็

28 อตุ สาหกรรมสาร

ซึง่ ในกรณีของ บรษิ ัท โอ.อี.ไอ พารท์ จ�ำกดั มอี ปุ สรรค ซึ่งอุปสรรคในขั้นตอนการด�ำเนินงานผลิตท่ีพบคือ
ในเร่ืองมาตรฐานในการท�ำงานของพนักงานท่ีส่งผลกระทบ พนกั งานแตล่ ะคนมมี าตรฐานการทำ� งานไมเ่ ทา่ กนั แมแ้ ต่
ตอ่ การวางแผนในขนั้ ตอนการผลติ ทง้ั นเี้ มอ่ื เขา้ รว่ มกจิ กรรม ในพนักงานคนเดียวกัน ต่างวัน ต่างเวลา ก็ยังท�ำงานได้
3–Stage Rocket Approach ทางทีมที่ปรึกษาโครงการฯ ไมเ่ ทา่ กนั และไมส่ ามารถควบคมุ การทำ� งานของพนกั งาน
ไดน้ ำ� จรวดข้นั ที่ 2 Visualize Craftsmanship หรือ การเกบ็ ให้สามารถท�ำงานตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Work
ข้อมูลการเคล่ือนไหวของแรงงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล Instruction: WI) ท่ีก�ำหนดไว้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
เพื่อวิเคราะห์การท�ำงานให้มีเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ หรือในบางงานที่ยังไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน (WI)
ซงึ่ เปน็ ความรว่ มมอื ระหวา่ ง กสอ. กบั บรษิ ทั Toyo Business ก�ำหนดไว้ชัดเจน ซ่ึงจากอุปสรรคดังกล่าว ส่งผลให้ไม่มี
Engineering Corporation เขา้ มาชว่ ยวเิ คราะหแ์ กไ้ ขปญั หา มาตรฐานเวลาในการท�ำงานที่แน่นอน มีเพียงเวลาเฉล่ีย
ของบริษทั ฯ และพฒั นากระบวนการผลิตให้มปี ระสทิ ธิภาพ ทชี่ ว่ งเวลาคอ่ นขา้ งกวา้ ง ทำ� ใหก้ ารวางแผนกำ� หนดตวั เลข
ย่ิงข้ึน ในการผลิตเป็นไปคอ่ นขา้ งยาก

นายรัฐเขต เนื่องหล้า ผู้จัดการฝ่ายผลิต บริษัท จึงมแี นวคิดทจ่ี ะน�ำระบบ Visualize Craftsmanship
โอ.อ.ี ไอ พารท์ จำ� กดั เปดิ เผยวา่ บรษิ ทั โอ.อ.ี ไอ พารท์ จำ� กดั มาเก็บข้อมูลแทน เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ซึ่งตรงกับ
เป็นบริษัทผลิตช้ินส่วนโลหะที่มีความเที่ยงตรงสูง ท่ีก่อตั้งข้ึน โครงการ Three-Stage Rocket Approach” หรือ
ในปี พ.ศ. 2536 โดย ดร.(กิตติมศักด์ิ) ประสาทศิลป์ จรวด 3 ขนั้ ในขน้ั ท่ี 2 โดย Visualize Craftsmanship คือ
อ่อนอรรถ ด้วยทุนจดทะเบียนคร้ังแรกท่ี1ล้านบาท การเก็บข้อมูลการเคล่ือนไหวของแรงงานด้วยเทคโนโลยี
มเี ครอื่ งจกั รใชง้ าน 4 เครอ่ื งเปน็ ประเภทเครอื่ งกลงึ CNC และ ดิจิทัล เพ่ือวิเคราะห์การท�ำงานให้มีเหมาะสมและ
มีพนักงาน10 คน ปจั จุบันกลุม่ บริษัท โอ.อ.ี ไอ เป็นบรษิ ทั คน มีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง กสอ. กับ
ไทยที่เติบโตมากว่า 2 ทศวรรษ เพื่อผลิตช้ินส่วนยานยนต์ บรษิ ทั Toyo Business Engineering corporation โดย
ความเท่ียงตรงสูงทดแทนการน�ำเข้าจากต่างประเทศ โดย ข้ันตอนการให้ค�ำปรึกษาและช่วยแก้ไขปัญหาเร่ิมจาก
มบี รษิ ทั ในกลมุ่ รวมทง้ั สนิ้ 6 บรษิ ทั 4 โรงงาน มเี ครอื่ งจกั รหลกั มีทีมที่ปรึกษาเข้ามาส�ำรวจสถานท่ีท�ำงานและคัดเลือก
ท่ีใช้งานในการผลิตมากกว่า 100 เคร่ือง รวมถึงมีพนักงาน สถานที ำ� งานนำ� รอ่ งรว่ มกบั บรษิ ทั ฯ ซง่ึ ไดใ้ ชส้ ถานี Q-Gate
ทงั้ กลมุ่ มากกว่า 400 คน Process และ Spot Welding Process ท้งั หมด 2 สถานี

อตุ สาหกรรมสาร 29

Find Abnormal Value

และท�ำการคัดเลือกพนักงานสถานีละ 2 คน พร้อมกับหา 3. ระบบ Visualize Craftsmanship ไม่รบกวนสมาธิ
ตำ� แหนง่ และตดิ ตง้ั แถบสอี ปุ กรณบ์ นั ทกึ ขอ้ มลู การเคลอื่ นไหว เวลาในการท�ำงานของพนักงานเมื่อต้องการท�ำ Work
และซอฟตแ์ วรบ์ นั ทกึ ขอ้ มลู ระยะทางและเวลาการทำ� งานจากนนั้ Instruction
จึงน�ำผลที่ได้มาสรุปผลในลักษณะกราฟ และเมื่อเปรียบ
เทียบประสิทธิผลระหว่างก่อนเข้าร่วมกิจกรรมและหลังได้ 4. ระบบ Visualize Craftsmanship ท�ำให้ทราบ
รบั คำ� ปรึกษาพบการเปล่ียนแปลง ดังนี้ พฤติกรรมในระหว่างการท�ำงานของพนกั งาน

1.จากระบบเดมิ บรษิ ทั ฯไมม่ เี วลามาตรฐานในการทำ� งาน 5. ระบบ Visualize Craftsmanship สามารถลดเวลา
ทำ� ใหย้ ากตอ่ การวเิ คราะหห์ าแนวทางลดเวลาในการทำ� งาน โดยรวมทส่ี ญู เสยี ในระหว่างการท�ำงานได้มากกว่า 10%
แต่เมื่อน�ำระบบ Visualize Craftsmanship มาใช้จะช่วย
ใหไ้ ดเ้ วลามาตรฐานในการทำ� งาน อย่างไรก็ตามนายรัฐเขต กล่าวสรุปว่า แม้การทดสอบ
ระบบจะมแี นวโนม้ ทดี่ ใี นเชงิ การพฒั นาประสทิ ธผิ ล แตท่ าง
2. รายละเอียดวิธีการท�ำงานในระบบเดิมนั้นสังเกต บรษิ ทั ฯ ยงั คงตอ้ งทำ� การวเิ คราะหค์ วามคมุ้ คา่ ของการลงทนุ
วัดระยะเวลาได้ยาก แต่ระบบ Visualize Craftsmanship ในการนำ� ระบบ Visualize Craftsmanship มาใชใ้ นระยะยาว
สามารถช่วยเก็บรายละเอียดส่วนน้ีได้หมดและมีความ ควบคู่ไปกับการสร้างความคุ้นชินให้พนักงานไม่รู้สึกอึดอัด
แม่นยำ� สูง เน่ืองจากการปรบั เปลี่ยนระบบการทำ� งาน

30 อุตสาหกรรมสาร ขอขอบคุณขอ้ มูลและรูปภาพจาก
9อโwบท2ำ�รw6รเษิ ภ.wทัหอ0.oมบโe2ู่อาi71p.ง05อaเ6rสี.tถไsาอ0น.ธ1cนoพ4งm6เาทจ-ร9พงั ์ทหาวรจดักัำ� สษกมัด์ ตทุ �ำรบปลราบกาางรเส1า0ธ5ง40

Product Design

• เรื่อง : นชุ เนตร จกั รกลม

5 ผลติ ภณั ฑส์ รา้ งสรรคใ์ สไ่ อเดยี ‘ไทยทำ� เอง’

Product Design ฉบับนี้ ขอน�ำเสนอ 6 ผลงานโดดเด่นด้วยนวัตกรรมผสานเอกลักษณ์แห่งวิถีไทย
จากฝมี อื ของนกั สรา้ งสรรคช์ าวไทย ทน่ี ำ� มาจดั แสดงผา่ นเทศกาลสง่ เสรมิ การลงมอื ทำ� หรอื Thai Creation
Faire ท่ีมชี ื่อวา่ ‘ไทยทำ� เอง’ ซ่ึงจัดขึ้นเมอื่ วันท่ี 17-19 สิงหาคม 2561 ณ ลาน ITC ซอยตรีมิตร กลว้ ยนำ้� ไท
โดยสถาบันพลาสติก ร่วมกับกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จัดข้ึนเพ่ือส่งเสริมการขับเคล่ือนโครงข่าย
Co-Working Space โดยเน้นการสร้างทักษะการเรียนรู้ด้านการฝีมือและองค์ความรู้ในการคิดค้น
การประดษิ ฐ์ ซงึ่ ถอื เปน็ อกี หนงึ่ ปจั จยั สำ� คญั ทจี่ ะชว่ ยจดุ ประกายใหผ้ ปู้ ระกอบการ SMEs ไทยพฒั นาผลติ ภณั ฑ์
โดยนวตั กรรมเข้าไปเพอื่ ต่อยอดสู่อตุ สาหกรรมเชงิ สรา้ งสรรค์

เรสลีไวโอลิน : แบรนด์ดงั ระดับโลก
ฝมี อื คนไทยโด่งดังในต่างประเทศ

‘Reslee Violin’ แบรนด์ไวโอลินสัญชาติไทยท่ีเป็นท่ี
ยอมรับในระดับโลก จากฝีมือของอาจารย์อนุสิทธิ์ เรสลี
ซ่ึงทุ่มเทชีวิตและเวลาในการคิดค้นทดลองสร้างไวโอลิน
มาตั้งแต่ปี 2529 ก่อนจะสร้างไวโอลินตัวแรกได้ส�ำเร็จใน
ปี 2546 ตอ่ เนอ่ื งมาจนถงึ ทกุ วนั นท้ี น่ี กั ดนตรจี ากทว่ั โลกตา่ ง
ยอมรบั และตอ้ งการเปน็ เจา้ ของ Reslee Violin ซ่งึ ศาสตร์
ในการสรา้ งไวโอลนิ แต่ละตวั ให้เกิดความโดดเดน่ แตกต่าง
ท้ัง Dimension รปู ลักษณ์ หนา้ ตา เรอ่ื งราวของวัสดจุ ากไม้
แตล่ ะชนดิ เรม่ิ ตน้ จากการศกึ ษาประวตั ศิ าสตรข์ องไวโอลนิ
และดึงเอาจุดเด่นของแบรนด์ดังระดับโลกแต่ละแบรนด์
มาสร้างไวโอลินสายพันธุ์ใหม่ที่โด่งดังไกลในต่างประเทศ
และกา้ วสวู่ งการออรเ์ คสตรา้ ระดบั โลกไดอ้ ยา่ งเตม็ ภาคภมู ิ

www.facebook.com/ResleeViolin

อุตสาหกรรมสาร 31

นำ้� อบปรงุ เจ้าคณุ ตำ� รบั ชาววัง
ในขวดแกว้ หลายเวอร์ชั่น

นำ้� อบปรงุ หรอื นำ�้ หอมไทยสมยั โบราณทม่ี ใี ชเ้ ฉพาะในวงั
โดยนำ�้ อบปรงุ เจ้าคณุ ‘ทิพยโอสถสถาน’ เกดิ ข้นึ จากคณุ ทวด
ที่ท�ำงานอยู่ในวัง เมื่อออกจากวังจึงน�ำสูตรมาพัฒนาสร้าง
แบรนดเ์ ปน็ ของตวั เองและสง่ ตอ่ ภมู ปิ ญั ญาจากรนุ่ สรู่ นุ่ มากวา่
90 ปี จนถึงรุ่นที่ 4 ด้วยส่วนผสมหลักอย่างพิมเสน น�้ำสกัด
จากดอกไม้ นำ�้ มนั หอมระเหยทสี่ กดั จากธรรมชาติ และนำ�้ อบ
เทียน นำ� มาผ่านกรรมวธิ ีทีเ่ ปน็ สตู รลับเฉพาะ จนไดก้ ลิ่นหอม
ละมุนอันเป็นเอกลักษณ์ท่ีมีความซับซ้อนและติดทนนาน
รวมถึงมีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ร่วมสมัยและมีรูปแบบ
ที่เหมาะสมกับการใช้งานในลักษณะต่างๆ เพิ่มขึ้น ไม่ว่า
จะเป็นการประพรมผา้ ใช้เปน็ น้�ำหอม และใช้สรงน้�ำพระ

www.facebook.com/Chaokhunperfume

ถ่ายทอดเคร่ืองรางบนผลติ ภัณฑ์
ตอบโจทย์คนแสวงหาโชคลาภ

Thosth แบรนด์ของใช้กระจุกกระจิกที่ใช้งานได้ง่าย
ในชีวิตประจ�ำวันและจิวเวลรี่ที่น�ำเสนอเร่ืองราวความเป็น
ไทยในอีกมิติหน่ึง โดยหยิบมุกตลกขบขันของคนไทยหรือ
วัฒนธรรมที่คุ้นเคยมาสร้างเสน่ห์ให้กับผลงาน ซึ่งสินค้า
คอลเลคชนั่ แรกถกู ออกแบบในคอนเซป็ ต์ Freaking Lucky
Me หรือการน�ำเคร่ืองรางแบบไทย ๆ ที่สื่อถึงความโชคดี
ในดา้ นตา่ ง ๆ มาออกแบบเปน็ ลวดลายกราฟฟกิ สมยั ใหมท่ ่ี
สอดคลอ้ งกบั ความเชอื่ ของคนไทยแตอ่ ยใู่ นรปู แบบสนิ คา้
ที่สะดวกต่อการพกพาและการใช้งาน ผ่านคาแรคเตอร์
ทงั้ หมด 3 ตวั ไดแ้ ก่ GAGGO/แกก๊ โก้ จงิ้ จกสองหาง ทจี่ ะนํา
โชคดเี กย่ี วกบั การเดนิ ทาง รวมถงึ การใชช้ วี ติ ทแี่ คลว้ คลาด
ปลอดภัยจากอันตราย BUDGEE/บ๊ัดจี้ คู่แฝดต่อเงิน
ตอ่ ทองทน่ี ําพาความรำ่� รวยและโชคลาภมาให้และDIKKY/
ดกิ๊ กี้ เทพเสนห่ าเพชรพญาธร ทช่ี ว่ ยสรา้ งความเอน็ ดใู หเ้ กดิ
กบั คนรอบขา้ ง

www.facebook.com/thosth.style

32 อุตสาหกรรมสาร

จับหนมุ าน-ทศกณั ฑ์
ดีไซนบ์ นแหวนไม้

Gleamwood แบรนดเ์ ครอ่ื งประดบั จากไมฝ้ มี อื
คนไทย ซ่ึงรังสรรค์จากความมหัศจรรย์ของเน้ือไม้
และสีสันสวยงามตามธรรมชาติของไม้แต่ละชนิดที่
มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวจากท่ัวโลก มาน�ำเสนอเป็น
เครื่องประดับ อาทิ ต่างหู แหวน ก�ำไลข้อมือ และ
จ้ีสร้อยคอ แบบต่างๆ ได้อย่างร่วมสมัยเป็นที่
ประทบั ใจของลกู คา้ ชาวไทยและตา่ งชาติซง่ึ คอลเลคชน่ั
ไฮไลทข์ อง Gleamwood นน้ั ไดแ้ รงบนั ดาลใจมาจาก
บทประพนั ธร์ ามเกยี รติ์ โดยนำ� ใบหนา้ ของ 4 ตวั ละคร
หลักอย่างทศกัณฐ์ หนุมาน สุครีพ และไมยราพ
มาปรากฏกายอยู่บนแหวนไม้ดีไซน์เก๋ท่ีเลือกใช้
เน้ือไม้ธรรมชาติท่ีมีสีตามลักษณะสีของตัวละคร
ผสมผสานกับเทคนิคการฝงั ไมแ้ บบโบราณ

www.facebook.com/gleamwood

Bon Artpetite
ผลงานศลิ ปะและเครอ่ื งประดบั ทเ่ี หน็ แลว้ หวิ

ผลงานศลิ ปะสำ� หรบั ประดบั ตกแตง่ หรอื แขวนผนงั รวมถงึ
เครื่องประดับสตรีท่ีผลิตจากดินญ่ีปุ่นและเสริมความคงทน
ด้วยการเคลือบอีพ็อกซี่เรซ่ิน ในคอลเลคชั่น Bon Artpetite
ท่ีเต็มไปด้วยลูกเล่นและสีสันของวิถีท้องถิ่นและอาหาร
ของชาวอสี าน ซง่ึ นายเสกสรร ทมุ มยั ศลิ ปนิ ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงาน
แบรนด์ Xekxun เปิดเผยถึงการต่อยอดในอนาคตว่าจะขยับ
ขยายสู่ของใช้บนโต๊ะอาหาร เช่น จาน แก้วน้�ำ หรือ ชุดชา
ในคอนเซ็ปต์เก่ียวกับอาหารประเภทอื่นๆ ที่เห็นแล้วต้อง
เพม่ิ ความหวิ ใหก้ บั ผใู้ ชอ้ ยา่ งแนน่ อน

www.instagram.com/xekxun

ขอขอบคุณข้อมลู และรปู ภาพจาก
เทศกาล ‘ไทยท�ำเอง’ วันที่ 17-19 สงิ หาคม 2561
ณ ลาน ITC ซอยตรีมติ ร กล้วยนำ้� ไท
โดยสถาบนั พลาสติก กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม
www.facebook.com/thaicreationfaire

อุตสาหกรรมสาร 33

Development

• เรอื่ ง : บัวตะวัน มเี ดยี

สร้างและเช่ือมโยงเครือข่าย
คลัสเตอร์อุตสาหกรรมแห่งอนาคต

กองพฒั นาขดี ความสามารถธรุ กจิ อตุ สาหกรรม กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม (กสอ.) ไดจ้ ดั ทำ� โครงการ
สร้างและเช่ือมโยงเครือข่ายคลัสเตอร์อุตสาหกรรมแห่งอนาคต ท่ีประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาการ
รวมกลุ่ม และมีการเติบโตทางธุรกิจ ตามโมเดลประเทศไทย 4.0 ซ่ึงก�ำหนดทิศทางการขับเคล่ือน
การลงทุน การผลติ และการบริการใหก้ ้าวสธู่ รุ กิจอตุ สาหกรรมแห่งอนาคต (New S-Curve)

ความเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ส่งผลให้ความส�ำเร็จของธุรกิจต้องพ่ึงพาองค์ประกอบหลายด้าน และ
จำ� เปน็ ตอ้ งปรบั เปลยี่ นโครงสรา้ งเศรษฐกจิ จากเดมิ ทข่ี บั เคลอ่ื นดว้ ยการพฒั นาประสทิ ธภิ าพการผลติ ภาคอตุ สาหกรรม ไปสเู่ ศรษฐกจิ
ทขี่ บั เคลอื่ นดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม (Innovation Drive Economy) เพอ่ื ใหก้ ารพฒั นาอตุ สาหกรรมเปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื งมงุ่ เนน้
พฒั นาตอ่ ยอดอตุ สาหกรรมเดมิ (Frist S-Curve) ทม่ี ศี กั ยภาพและเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใชป้ จั จยั ผลติ ในอตุ สาหกรรมแหง่ อนาคต
(New S-Curve) โดยอตุ สาหกรรมใหมห่ รอื อตุ สาหกรรมแหง่ อนาคตนถ้ี อื เปน็ กลไกสำ� คัญของการขบั เคล่อื นเศรษฐกจิ เพอ่ื อนาคต
(New Engine of Growth) ภายใต้การส่งเสริมและสนับสนุนการเพ่ิมขีดความสามารถทางการแข่งขันและการพัฒนาเศรษฐกิจ
อตุ สาหกรรมของประเทศทมี่ งุ่ พฒั นาการรวมกลมุ่ อตุ สาหกรรมควบคกู่ บั การพฒั นาปจั จยั แวดลอ้ มทเี่ ออ้ื ตอ่ การประกอบการ เพอื่ เปน็
รากฐานในการรองรบั การรวมกลมุ่ อตุ สาหกรรมในอนาคต

34 อตุ สาหกรรมสาร

หัวใจของการพัฒนาคลัสเตอร์ คือ การสร้างความ 1. อตุ สาหกรรมยานยนตแ์ หง่ อนาคตผลงานนวตั กรรม
ร่วมมือบนพ้ืนฐานของความไว้เนื้อเช่ือใจ โดยผู้ที่เกี่ยวข้อง คอื Manufacturing Execution System (MES) ระบบการ
ในเครอื ขา่ ยคลสั เตอรจ์ ะตอ้ งมคี วามไวว้ างใจ ความเชอื่ มนั่ คำ� นวณทใ่ี ชใ้ นการผลติ โดยทำ� งานในรปู แบบ Real Time
ระหวา่ งสมาชกิ ในกลมุ่ มกี ารประสานแบง่ ปนั ผลประโยชนท์ ่ี ท�ำให้สามารถควบคุมองค์ประกอบต่างๆ ในการผลิตได้ใน
ยุติธรรมอันก่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ทุกฝ่าย (Win-Win) เวลาเดยี วกนั
รว่ มกนั วางแผน กำ� หนดทศิ ทาง เปา้ หมาย และกลยทุ ธก์ าร
พัฒนากลุ่ม มีการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร องค์ความรู้ 2. อตุ สาหกรรมเครอ่ื งมอื แพทย์ ผลงานนวตั กรรม คอื
ตลอดจนทรพั ยากรตา่ งๆ ระหวา่ งกนั เพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ วสั ดทุ ดแทนกระดกู มนษุ ยใ์ นงานทนั ตกรรม
การผลิตโดยรวมของธุรกิจในสาขาอุตสาหกรรมนั้นๆ โดย
มหี นว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน สถาบนั การศกึ ษา สถาบนั 3. อตุ สาหกรรมดจิ ทิ ลั จ.เชยี งใหม่ผลงานนวตั กรรมคอื
การเงนิ ตลอดจนหนว่ ยงานวจิ ยั ตา่ งๆใหก้ ารสง่ เสรมิ สนบั สนนุ Application จดั การระบบภายใน Chiang Mai Digital Hub
ความเขม้ แขง็ และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ผา่ นองคค์ วามรู้
ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวตั กรรม และดจิ ทิ ลั เพอ่ื เพมิ่ ทง้ั นภ้ี ายใตโ้ ครงการสรา้ งและเชอื่ มโยงเครอื ขา่ ยคลสั เตอร์
ขดี ความสามารถทางการแขง่ ขนั ตลอดจนผลกั ดนั เศรษฐกจิ อุตสาหกรรมแห่งอนาคต ยังจัดให้มีการประกวดกลุ่ม
ของประเทศให้เติบโตก้าวไปสู่ประเทศที่มีศักยภาพและ ต้นแบบอุตสาหกรรมดีเด่น โดยพิจารณาคัดเลือกจาก
สามารถแขง่ ขนั ไดใ้ นระดบั สากล 8 กลมุ่ คลสั เตอรอ์ ตุ สาหกรรมแหง่ อนาคต ซงึ่ ใชห้ ลกั เกณฑ์
พจิ ารณา 2 เรอ่ื ง คอื ความเขม้ แขง็ ของการรวมกลมุ่ และ
นายเดชา จาตุธนานันท์ รองอธิบดีกรมส่งเสริม การพฒั นาเพอ่ื การเตบิ โตทางธรุ กจิ เพอ่ื ผลกั ดนั ความรว่ มมอื
อตุ สาหกรรม เปดิ เผยวา่ สำ� หรบั โครงการสรา้ งและเชอ่ื มโยง เปน็ การยกยอ่ ง แกก่ ลมุ่ อตุ สาหกรรมทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ ใน
เครือข่าย คลัสเตอร์อุตสาหกรรมแห่งอนาคต กสอ. การพฒั นาตามแนวทางคลสั เตอรท์ สี่ ามารถวดั ไดอ้ ยา่ งเปน็
มุ่งหวังสร้างความเข้มแข็งและเชื่อมโยงเครือข่ายคลัสเตอร์ รปู ธรรมและสามารถเปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ใี หแ้ กก่ ลมุ่ อตุ สาหกรรม
ในการพัฒนาศักยภาพหรือการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ อ่ืน รวมท้ังก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถ่ายทอดสู่กลุ่ม
ในกระบวนการผลิตหรือสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับผลิตภัณฑ์ อตุ สาหกรรมอน่ื ๆ และเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธผ์ ลการพฒั นา
ท�ำให้ผลิตภาพเพิ่มข้ึนสามารถแข่งขันได้ โดยในปี 2561 กลมุ่ อตุ สาหกรรม Show Case ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการดงั กลา่ ว
ไดด้ ำ� เนนิ การพฒั นาอตุ สาหกรรมทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยขี นั้ สงู และ ถือเป็นการสร้างแรงผลักดันให้ทุกกลุ่มมุ่งม่ันท่ีจะพัฒนา
เปน็ อตุ สาหกรรมทม่ี มี ลู คา่ เพมิ่ สงู จำ� นวน 8 กลมุ่ กอ่ ใหเ้ กดิ ขบั เคลอ่ื นกลมุ่ อตุ สาหกรรมใหด้ ยี ง่ิ ขนึ้ และเปน็ อกี หนง่ึ กำ� ลงั
มูลค่าทางเศรษฐกิจรวมกว่า 618 ล้านบาท ประกอบด้วย สำ� คญั ในการพฒั นาอตุ สาหกรรมของประเทศใหม้ ขี ดี ความ
ยอดขายเพมิ่ ขนึ้ 517 ลา้ นบาท สง่ ออกเพม่ิ ขน้ึ 70 ลา้ นบาท สามารถทางการแขง่ ขนั ตอ่ ไป
ลดต้นทุน 17 ล้านบาท รวมถึง ลดการสูญเสียและเกิด
นวัตกรรมต้นแบบด้านผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการ จ�ำนวน อตุ สาหกรรมสาร 35
12 เรอื่ ง จาก 8 กลมุ่ ไดแ้ ก่

Report

• เรือ่ ง : บวั ตะวัน มเี ดีย

ชมุ ชนตะเคยี นเตย้ี จ.ชลบรุ ี

เกาะสมยุ ของบางละมงุ ตน้ แบบหมบู่ า้ น CIV

ภายใตโ้ ครงการหมบู่ า้ นอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

(Creative Industry Village : CIV)

นายอตุ ตมสาวนายน รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงอตุ สาหกรรม
เปดิ เผยวา่ การลงพน้ื ทชี่ มุ ชนตะเคยี นเตย้ี อ.บางละมงุ จ.ชลบรุ ี
เพื่อตรวจเย่ียมชุมชนตะเคียนเต้ียและเตรียมความพร้อมเข้า
สู่การพัฒนาในโครงการหมูบ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
หรือหมู่บ้าน CIV ภายใต้โครงการสร้างสรรค์อุตสาหกรรม
ท่องเท่ียวเชิงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม อีกทั้งเพื่อเพิ่มศักยภาพ
ของผู้ประกอบการชุมชนด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดย
น�ำเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของท้องถ่ินมาสร้างสรรค์เป็น
ของฝากของที่ระลึกควบคู่กับการบริหารจัดการเพ่ือรองรับ
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวด้วยตัวเอง ซ่ึงถือเป็นหน่ึงในแนวทาง
การขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ไทยแลนด์ 4.0 ที่มุ่งยกระดับ
เศรษฐกจิ ฐานรากตามแนวประชาชน อกี ทง้ั ชมุ ชนตะเคยี นเตยี้
ถือเป็น 1 ใน 16 ชุมชน จาก 76 จังหวัดท่ัวประเทศท่ีได้รับ
การคัดเลือกใหเ้ ป็นหมบู่ า้ น CIV อกี ดว้ ย

36 อุตสาหกรรมสาร

ส�ำหรับแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาหมู่บ้าน CIV ใหม่ให้สอดคล้องกับยุคสมัย เพ่ือตอบโจทย์ความต้องการ
ในระยะต่อไปน้ัน จะมีการเข้าไปวางแผนร่วมกับชุมชน ของตลาดในปัจจุบนั ได้
ในพ้ืนที่ท่ีมีศักยภาพ ทั้งด้านอัตลักษณ์และวิถีท้องถิ่น
รวมถงึ ผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถน่ิ ทสี่ ามารถยกระดบั และตอ่ ยอดทาง พ้ืนท่ีรอบๆ ตัวบ้านร้อยเสากินเน้ือที่มากกว่า 6 ไร่
การตลาดได้ โดยจะเปน็ การพฒั นาเชงิ รกุ ทม่ี ผี เู้ ชยี วชาญเขา้ โดยทุกตารางเมตรถูกใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่เริ่มจากการ
มาช่วยด้านการออกแบบดีไซน์ผลิตภัณฑ์ เพ่ือตอบสนอง คัดแยกขยะภายในบ้านวิธีเปลี่ยนขยะให้เป็นของมีค่าท�ำ
ความต้องการของตลาดโดยรวมและตลาดเฉพาะเจาะจง ตู้เย็นธรรมชาติโดยปลูกพืชกินได้อยู่ท้ายครัวไม่ใช้สารพิษ
ตามคำ� สงั่ ซอื้ มากขนึ้ รวมทงั้ การทำ� การตลาดออนไลนต์ อ่ ไป ในการกำ� จดั แมลงเพอื่ ปอ้ งกนั สารตกคา้ ง วธิ กี ารดแู ลตน้ ไม้
แบบง่ายง่าย การปลูกสวนสมุนไพรเพื่อใช้สรรพคุณให้
ชุมชนตะเคียนเตี้ย ถือเป็นแหล่งปลูกมะพร้าวชั้นดี ครบถว้ นทกุ อยา่ งมคี ณุ คา่ เหมาะแกก่ ารเรยี นรทู้ งั้ สน้ิ ดา้ นหลงั
เรยี กไดว้ า่ เปน็ เกาะสมยุ แหง่ บางละมงุ และนบั วา่ เปน็ ชมุ ชน ของสวนเป็นแปลงไม้ไผ่ตงพันธุ์ไต้หวัน และไม้ไผ่หวาน
เข้มแข็งตัวอย่างท่ีมีการน�ำเรื่องราววิถีชีวิตความเป็นอยู่ ซึ่งออกหน่อตัดขายได้ตลอดท้งั ปี
ในพื้นท่ีมาสร้างเป็นจุดขาย ในการดึงดูดนักท่องเท่ียวเชิง
วถิ ชี วี ติ และวฒั นธรรมทพ่ี ายอ้ นเวลาไปสมั ผสั ความเปน็ อยู่ จากแรงบันดาลใจของคนในชุมชนท่ีอยากให้บ้าน
ของคนเมอื งชลในอดตี ดว้ ยการพฒั นาเสน้ ทางปน่ั จกั รยาน ร้อยเสาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและแหล่งเรียนรู้
ชมวิถมี ะพร้าว เย่ยี มชมสวนปา่ สาโรชกะแหวว เรยี นรูก้ าร ควบคู่ไปกับการศึกษาด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นดั้งเดิม ท่ียัง
ท�ำมะพร้าวสกัดเย็นจากมะพร้าวออร์แกนิก เย่ียมบ้าน พอมีหลงเหลืออยู่ จึงท�ำให้เกิดลานวัฒนธรรมตะเคียนเตี้ย
ปา้ ลมลู เพอื่ ชมพพิ ธิ ภณั ฑบ์ า้ นรอ้ ยเสาและเรยี นรเู้ รอื่ งการใช้ แหง่ นขี้ นึ้ ดว้ ยความทช่ี มุ ชนยงั มคี วามสมบรู ณท์ างธรรมชาติ
แตนเบยี น กำ� จดั ศตั รพู ชื ของมะพรา้ วแบบธรรมชาติ เปน็ ตน้ และอากาศก็ยังสะอาดบริสุทธิ์ ชุมชนตะเคียนเต้ียจึงเป็น
แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ได้อย่างดีโดยมีชาวชุมชนให้
ตำ� บลตะเคยี นเตย้ี ประกอบดว้ ย 5 หมบู่ า้ น ซงึ่ พนื้ ทก่ี วา่ ความรว่ มมอื กนั สรา้ งและผลกั ดนั ใหเ้ กดิ เปน็ รปู ธรรมมากขนึ้
คร่ึงคือ สวนมะพร้าว มีการน�ำผลิตภัณฑ์น�้ำมันมะพร้าว ซง่ึ วธิ ที ที่ ำ� ไดจ้ รงิ กค็ อื การใชข้ องทม่ี อี ยแู่ ลว้ นำ� มาจดั การใหม่
สกัดเย็นที่มีอยู่เดิมในท้องถ่ินมาพัฒนาและต่อยอดด้วย ใหเ้ ป็นระบบระเบยี บ
แนวทางสร้างสรรค์ จากการออกแบบปรับปรุงผลิตภัณฑ์

ขwwอwwขwwอ..tsบhearคiegณุeocvขh.gaอ้ io.มc.tohูลm/แneลwะsภ/cาoพntจeาnกts/details/14465

อุตสาหกรรมสาร 37

Packaging

• เรอ่ื ง : สิวลี ศิลปว์ รศาสตร์

นำ้� ตาลดอกมะพรา้ วเกรดพรเี มยี ม

บรรจภุ ณั ฑท์ เ่ี ปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม (Eco-Packaging)

ภายใตโ้ ครงการสรา้ งมลู คา่ เศรษฐกจิ เชงิ สรา้ งสรรคข์ องประเทศไทย

เสน้ ทางของน้�ำตาลมะพรา้ ว ภมู ปิ ัญญาไทยดั้งเดมิ
สนู่ วตั กรรมนำ�้ ตาลดอกมะพรา้ วออรแ์ กนกิ เกรดพรเี มยี ม
(Sandy Gold Coconut flower sugar 100%)

ถา้ หากจะมองยอ้ นไปดใู นสมยั โบราณ กจ็ ะชวนใหน้ กึ ถงึ
วิถีชีวิตท่ีเรียบง่าย เป็นชีวิตท่ีเราด�ำรงชีวิตอยู่กับธรรมชาติ
รวมไปถงึ อาหารทเี่ รารบั ประทานลว้ นแตไ่ ดม้ าจากธรรมชาติ
ท้ังส้ิน นำ�้ ตาลมะพร้าวเปน็ อีกหนึ่งในภูมปิ ญั ญาในการผลิต
อาหารของคนไทยมานับร้อยปี ซึ่งเป็นการแปรรูปวัตถุดิบที่
เกดิ จากธรรมชาติ ให้มาเป็นอาหารท่มี ีรสหวาน ซงึ่ ใชใ้ นการ
ประกอบอาหารคาว-หวานต่างๆ ท่ีมีรสหวาน ซึ่งเป็นเสน่ห์
ของอาหารไทยท่ีมีมาช้านาน ในปัจจุบัน “น�้ำตาลมะพร้าว”
หรือ “น�้ำตาลปี๊บ” ตามท้องตลาดท่ัวไปท่ีเรารับประทานกัน
ทกุ วนั ตอ้ งยอมรบั วา่ มสี ว่ นผสมอนื่ ๆ นำ� มาผสมเพอ่ื ลดตน้ ทนุ
ในการผลิต อาทิ เช่น น�้ำตาลทราย หรือ แบะแซ เป็นต้น
จึงทำ� ใหร้ สชาติและคุณคา่ ทางโภชนาการนัน้ เปล่ียนไป

จากความฝนั ท่ี “ชวี าด”ี อยากเหน็ คนไทยบรโิ ภคนำ�้ ตาล
แทๆ้ และอยากทจ่ี ะรกั ษาเสนห่ ข์ องอาหารไทยใหค้ งไว้ จงึ เกดิ
นวตั กรรมทีช่ ่ือว่า “น�ำ้ ตาลดอกมะพรา้ ว ชีวาดี” ผลิตภณั ฑ์
ออรแ์ กนิกเจ้าแรกในประเทศไทย ซึ่งตอบโจทยข์ องผ้บู รโิ ภค
ทีร่ ักสุขภาพ

บริษัท ชีวาดี โปรดักส์ จ�ำกัด ผู้ผลิตภัณฑ์น้�ำตาลจาก
ดอกมะพรา้ ว จ.สมทุ รปราการ ไดเ้ ขา้ รว่ มโครงการบรรจภุ ณั ฑ์
ท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco-Packaging) โดยได้รับ
ค�ำแนะน�ำปรึกษาด้านธรุ กิจ ดังนี้

1. ควรปรับลดจ�ำนวนชั้นของบรรจุภัณฑ์ โดยปรับ
รปู แบบของบรรจภุ ณั ฑท์ ใ่ี สน่ ำ�้ ตาลจากดอกมะพรา้ ว จากเดมิ
บรรจุใส่กระป๋องอลูมิเนียมช้ันนอก และชั้นในยังบรรจุ
น้�ำตาลจากดอกมะพร้าวอีกข้ันด้วยถุง PET Laminate LL

38 อุตสาหกรรมสาร

ขนาดบรรจุ 200 กรัม ท้ังน้ีสามารถลดจ�ำนวนช้ันของบรรจุ วัตถุประสงค์หลักของโครงการนี้ คือ เพื่อส่งเสริม
ภณั ฑจ์ ากเดมิ 2 ชน้ั เหลอื เพยี งชนั้ เดยี ว คอื ใชถ้ งุ Laminate และพัฒนาสถานประกอบการด้านการออกแบบและ
เพียงช้นั เดยี ว พัฒนาต้นแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม
(Eco-Packaging) เพ่ือเพ่ิมมูลค่าสินค้าให้เกิดศักยภาพ
2. สรา้ งทางเลอื กใหผ้ ปู้ ระกอบการดว้ ยการเลอื กใชห้ มกึ ทางการแข่งขนั ในตลาดสากล
พิมพ์ท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม อาทิ หมึก Soy Ink, Water
Base หรือ Eco Solvent Ink เป็นต้น กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดยอ่ ม (SMEs) อันประกอบด้วย
3. สามารถลดคา่ คารบ์ อนฟตุ พรน้ิ ท์ (CF) หลงั ปรบั เปล่ยี น
ใชบ้ รรจภุ ณั ฑเ์ พยี งชนั้ เดยี ว และสามารถลดการใชอ้ ลมู เิ นยี ม 1) ผปู้ ระกอบการในสาขาอตุ สาหกรรม S-Curve ไดแ้ ก่
ซ่งึ มคี าร์บอนฟตุ พร้ินท์ค่อนข้างสงู อุตสาหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ, อุตสาหกรรม
แปรรปู อาหาร เปน็ ตน้
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม โดยกองพัฒนาอุตสาหกรรม
สรา้ งสรรค์ เลง็ เหน็ ความสำ� คญั ของการพฒั นาศกั ยภาพของ 2) ผปู้ ระกอบการในอตุ สาหกรรมอนาคต New S-Curve
ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ได้แก่ อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub)
จงึ ไดจ้ ดั ทำ� กจิ กรรมการสง่ เสรมิ และพฒั นาบรรจภุ ณั ฑท์ เ่ี ปน็ อาทิ ผลิตภัณฑ์ส�ำหรับผู้สูงอายุผลิตภัณฑ์เพ่ือสุขภาพ
มิตรต่อส่งิ แวดล้อม (Eco-Packaging) โครงการสร้างมูลคา่ และเวชภัณฑ์ ยาสมุนไพร เปน็ ต้น   
เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ของประเทศไทยขึ้น เพื่อเป็นการ
สง่ เสรมิ และพฒั นาภาคอตุ สาหกรรม ใหม้ กี ารพฒั นาบรรจภุ ณั ฑ์ แม้จะมีการให้ความส�ำคัญกับกระบวนการผลิต
และกระบวนการผลิตบรรจุภัณฑ์ท่ีเป็นมิตรกับสังคมและ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการจัดการกากของเสียเป็น
ส่ิงแวดล้อม หลักแลว้ อีกสงิ่ หนึง่ ที่ไม่สามารถมองขา้ มได้ คอื บรรจุภณั ฑ์
ท่ีมีความส�ำคัญท้ังในแง่ของการค้า การขนส่ง และมิติ
โดยการใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะนำ� เชงิ ลกึ ตลอดจนการตอ่ ยอด ด้านส่งิ แวดลอ้ มของบรรจุภัณฑ์
งานวิจัย พัฒนา และประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
และนวัตกรรมด้านบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม
ใหม้ มี ลู คา่ เพมิ่ สงู ขน้ึ รวมทงั้ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจดั หา
วัตถุดิบและปัจจัยการผลิตภายในประเทศ เพื่อรองรับ
ความต้องการด้านบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ในอตุ สาหกรรมบรรจุภณั ฑแ์ ละการพมิ พอ์ ย่างต่อเนื่อง

5สซโบโกกทท6อลอนรรรษิยงุ่มหใ..พตัทสจม00ัฒร่งส8ู่ ีมชเ29อสนีว29ิตบรตา39ารมิ66อด�ำถ9กถตุบีา8โานสลม09ปรนา28บขรอ22หพดา้ออ5กงรกักมะเรสมแรูลร์บมอืาเจมพงบส�ำใทรอกม่ิห้า่ีตุดัเญง4ตสส่ามิ รอเหรขไ�ำคกดตเ์ภรท้ครอกล่ีมเรอมมงอื เสตง่งยเจสังกรหมิรวงุอัดเตุทสสพมาฯุทหร1กป0ร1รร1าม0การ 10270
อตุ สาหกรรมสาร 39

Good Governance

• เรื่อง : ปาณทพิ ย์ เปลีย่ นโมฬี

อานิสงส์การท�ำทาน

ผู้ให้อาหาร ชอ่ื ว่าให้ก�ำลัง www.kalyanamitra.org

อตั ภาพของคนเรานน้ั จะดำ� รงอยไู่ ด้ ตอ้ งอาศยั อาหาร ถา้ ผู้ใหท้ ี่พักอาศยั ช่ือว่าให้ทุกสิ่งทุกอย่าง
ขาดอาหารแล้วชีวิตไมอ่ าจด�ำรงอย่ไู ด้ แมบ้ ุคคลจะมรี ปู ร่าง
ใหญ่โตแข็งแรง มีก�ำลังมากปานใด หากไม่ได้รับประทาน ตามธรรมดาของคนเดินทางไกล ย่อมเหน็ดเหน่ือย
อาหารรา่ งกายกข็ าดกำ� ลงั สว่ นบคุ คลผมู้ กี ำ� ลงั นอ้ ย ถา้ ได้รบั เมอื่ ยลา้ เสยี กำ� ลงั ไป และยอ่ มปรารถนาทจี่ ะเขา้ สทู่ พี่ กั อาศยั
ประทาwนwอeาnหtreาr.รfrบริบูรณ์แล้ว ย่อมมีก�ำลังข้ึนมาได้ ดังนั้น เมื่อพักผ่อนสักครู่ก็จะได้ก�ำลังคืนมา ผู้ที่ออกสู่กลางแจ้ง
พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ จงึ ตรสั วา่ “ผใู้ หอ้ าหาร ชอ่ื วา่ ใหก้ ำ� ลงั ” ต้องตากแดดตากลมท�ำให้ผิวพรรณหมองคล�้ำได้ ต่อเมื่อ
ได้เข้ามาพักในที่ร่มเย็น ผิวพรรณจึงกลับงดงามดังเดิมได้
ผู้ใหผ้ า้ ชอ่ื ว่าใหว้ รรณะ  ผทู้ เ่ี ดนิ ทางผา่ นแดดรอ้ น ผา่ นอนั ตรายตา่ งๆ ในการเดนิ ทาง
เม่ือได้ที่พักอาศัยจะมีความสุขสบายปลอดภัยข้ึน หรือเดิน
บคุ คลแมจ้ ะมผี วิ พรรณดี มรี ปู งามเพยี งไร หากแตง่ กาย อยู่ในท่ามกลาง แสงแดดร้อนจ้านัยน์ตาย่อมพร่ามัวไม่
ด้วยเสื้อผา้ ทสี่ กปรก ขาดร่งุ รง่ิ หรือไมม่ เี สอื้ ผา้ เลย ย่อมไม่ แจ่มใส เม่ือได้พักสักครู่ดวงตาก็ใช้การได้ดีดุจเดิม ดังนั้น
นา่ ดู ทงั้ ยงั นา่ เกลียดและถกู เหยยี ดหยามได้ ส่วนผทู้ ี่นุ่งหม่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสว่า “ผู้ให้ท่ีอยู่อาศัย เป็นผู้ให้
ด้วยเสื้อผ้าที่สะอาด เรียบร้อย ย่อมดูงดงาม เป็นที่ช่ืนชม ทกุ ส่ิงทุกอย่าง”
แก่ผู้พบเห็น ดังนั้นพระผู้มีพระสัมมาสัมพุทะเจ้าจึงตรัสว่า
“ผ้ใู หผ้ า้ ช่ือวา่ ให้วรรณะ” ผู้ให้ธรรมทาน ช่อื วา่ ใหอ้ มฤตธรรม

ผู้ให้ยานพาหนะ ชื่อวา่ ให้ความสุข  ผู้ให้ธรรมะเป็นทาน ได้ช่ือว่าชนะการให้ท้ังปวง เหตุ
เพราะวา่ เมอ่ื บคุ คลไดฟ้ งั ธรรม ยอ่ มเกดิ ความศรทั ธาเลอื่ มใส
บุคคลท่ีเดินทางไกล บางครั้งอาจพบกับความยาก รู้จกั วา่ สิ่งใดเปน็ บาป ส่งิ ใดเปน็ บญุ บคุ คลจะละบาปได้ก็
ล�ำบากจากถนนหนทางท่ียาวไกล ถนนท่ีขรุขระเป็นหลุม เพราะไดฟ้ งั ธรรม จะทำ� บญุ ถวายทานไดก้ เ็ พราะไดฟ้ งั ธรรม
เป็นบ่อ หรือรกไปด้วยหญ้าหรือขวากหนามที่แหลมคม ถา้ ไมไ่ ดฟ้ งั ธรรมกจ็ ะไมม่ ศี รทั ธา เมอ่ื ไมม่ ศี รทั ธากก็ ลายเปน็
อาจได้รับอันตรายจากสัตว์มีพิษท่ีหลบซ่อนตัวอยู่ บางครั้ง มจิ ฉาทฏิ ฐิ แมส้ งิ่ ของสกั เลก็ นอ้ ยเพยี งขา้ วทพั พหี นง่ึ กม็ อิ าจ
ต้องเผชิญกับแสงแดดที่แผดกล้าหรือมีฝนลมแรง สิ่งต่างๆ จะให้ได้ จะรักษาศีล 5 ศีล 8 ศีล 10 ศลี 227 หรือจะเจริญ
เหล่านี้ย่อมท�ำให้เกิดความทุกข์ ความไม่สะดวกสบาย ภาวนา ไหว้พระ สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัย ล้วนท�ำไม่ได้
หากมีผู้ให้ยานพาหนะไว้ใช้สอย ให้อุปกรณ์ในการเดินทาง ทงั้ สนิ้ แต่ถ้าไดฟ้ ังธรรมจะรู้จักบญุ รจู้ กั บาป รู้ว่าท�ำอยา่ งน้ี
เช่น ร่ม รองเท้า หรือคอยถากถางหนทางให้เดินได้สะดวก จะได้มนุษย์สมบัติ ได้ทิพยสมบัติ ได้นิพพานสมบัติ ฉะน้ัน
ยิ่งข้ึน สร้างบันไดหรือสร้างสะพานไว้ให้เดิน ผู้นั้นย่อมได้ การให้ธรรมทานจึงชือ่ ว่า “ชนะการใหท้ งั้ ปวง”
ช่ือว่าให้สิ่งที่ช่วยอ�ำนวยความสะดวกสบาย คือให้ความสุข
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสว่า “ผู้ให้ยานพาหนะ ชื่อว่าให้  
ความสุข”

ผู้ใหป้ ระทปี โคมไฟ ชื่อวา่ ให้จกั ษุ

บุคคลท้ังหลาย แม้มีดวงตาก็ไม่สามารถมองเห็นในท่ี
มืดได้ ตอ่ เมือ่ มีประทปี โคมไฟใหแ้ สงสว่าง จงึ สามารถมอง
เหน็ ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งตามความปรารถนาได้ ดงั นนั้ พระสมั มา
สัมพุทธเจา้ จงึ ตรสั ว่า “ผ้ใู ห้ประทีป โคมไฟ ได้ช่ือวา่ ให้จักษุ”

40 อุตสาหกรรมสาร

Thailand 4.0 ตอบโจทยป์ ระเทศไทย Book Corner

ผเู้ ขยี น : ภักดี รตั นมุขย์ • เรือ่ ง : สพุ รรษา พุทธะสภุ ะ
ประเทศไทย 4.0 เป็นค�ำที่มักจะได้ยินกันบ่อยๆ
จนคุ้นหูจากสื่อต่างๆ แต่จะมีสักกี่คนท่ีทราบว่า การตลาดยคุ สรา้ งสรรค์ 4.0
แทจ้ รงิ แลว้ ประเทศไทยเราผา่ นยคุ ของ1.0,2.0และ
3.0 มาอย่างไร และจะก้าวข้ามผ่านไปได้หรือไม่ ผู้เขียน :  สมฤดี ศรีจรรยา
หนงั สอื เลม่ นไ้ี ดต้ อบโจทยท์ กุ คำ� ถามทคี่ นอยากรู้และ รหสั :  T 77 ก601
สามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั ชวี ติ ประจำ� วนั ของตนเอง หนว่ ยงาน องคก์ ร หนังสือ “การตลาดยุคสร้างสรรค์ 4.0” เป็นผู้บุกเบิก
หรือสถานประกอบการของตนได้ จึงเหมาะอย่างย่ิงส�ำหรับ ประชาชน เล่มแรก โดยเปลี่ยนมุมมองใหม่ มองการตลาดแบบ
ท่ัวไป ผู้ประกอบการ ผู้บริหารองค์กร เพื่อปรับตัวและรู้เท่าทันแผน Creative Man โดยการถอดรหัสหนังสือนักเขียน
ยุทธศาสตรช์ าติต่อการพฒั นาประเทศในอนาคต 20 ปีขา้ งหนา้ ท่ีผู้เขียนนิยม 6 ท่านมาถ่ายทอดและแบ่งเป็นยุค
Creative Era 1.0, 2.0, 3.0, และ 4.0, เปน็ ยคุ การตลาด
คมู่ อื ประเมนิ ความพรอ้ มการเปน็ อตุ สาหกรรม4.0  ในมุมมองแบบ Creative คือมองไปในอนาคตก็จะเห็น
Creative Marketing Trend ด้วย
ผเู้ ขียน : คำ� นาย อภปิ รัชญาสกลุ
รหสั : HAN 6 I60 การปฎวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมครง้ั ทส่ี ่ี
คู่มือประเมินความพร้อมการเป็นอุตสาหกรรม The Fourth Industrial Revolution
4.0 ผู้เขียนได้ศึกษากรอบการพัฒนาอุตสาหกรรม
ตามโมเดลประเทศไทย 4.0 พบว่ายังขาด ผเู้ ขยี น :  เคลาส์ ชวาบ
ความชัดเจน และแนวทางปฏิบัติ ที่เป็นไป ผแู้ ปล :  ศรรวริศา เมฆไพบูลย์
ตามมาตรฐานสากล ซ่ึงผู้เขียนจึงอยากจะให้ รหัส :  I 6 ก61
ประเทศไทยได้รับการพัฒนาสู่อุตสาหกรรม 4.0 แบบยั่งยืน โดย หนังสือ “การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งท่ีส่ี” เล่มนี้ได้สรุป
แบ่งเน้ือหาออกเป็น 8 บท ดังน้ี บทที่ 1 รู้จักอุตสาหกรรม 4.0 ความก้าวล้�ำใหญ่ๆ ทั้งหมด ที่ก�ำลังพลิกโฉมหน้าของ
บทท่ี 2 องค์ประกอบอุตสาหกรรม 4.0 บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกวงการ และช่วยหยั่งลึกท่ีสุดถึงนัยยะของมันท่ีกระทบ
ในอุตสาหกรรม 4.0 บทท่ี 4 เทคโนโลยีการผลิตในอุตสาหกรรม 4.0 ตอ่ เราทกุ คน ทง้ั ในฐานะบคุ คลและองคก์ รทกุ รปู แบบ อยา่ งเหน็ ภาพและเขา้ ใจ
บทที่ 5 ประเทศไทย 4.0 บทท่ี 6 เศรษฐกิจดิจิทัล บทท่ี 7 ประเมิน ง่าย งานทุกงานในโลกก�ำลังเปล่ียน หลายงานก�ำลังหายไป หลายงานก�ำลัง
ความพร้อมในการเป็นอุตสาหกรรม 4.0 บทท่ี 8 การพัฒนาประเทศ เขา้ มาแทนท่ี วถิ ชี วี ติ วธิ คี ดิ วธิ ที ำ� งาน วธิ บี รหิ ารจดั การ และธรุ กรรมตา่ งๆ ทว่ั โลก
สคู่ วามเปน็ ประเทศไทย 4.0 ได้ถูกผลักให้ถึงจุดเปล่ยี นคร้ังใหญ่ หนงั สอื เลม่ เดยี วเลม่ นี้ จะมอบความรู้และ
วิสัยทัศน์ที่ส�ำคัญต่อท้ังนักเรียนนักศึกษา คนท�ำงานในทุกสาขาอาชีพ และ
Branding 4.0 แน่นอน ผู้น�ำองค์กรทุกขนาดท้ังภาครัฐและเอกชนท่ีต้องการก้าวทันโลก
เพ่ือคว้าโอกาสมหาศาลท่ีความเปล่ียนแปลงส�ำคัญต่างๆ ท่ีก�ำลังเกิดข้ึน
ผูเ้ ขียน : ปิยะชาติ อิศรภกั ดี ไดห้ ยบิ ย่นื ใหอ้ ย่างตื่นตวั และชาญฉลาด
รหสั : IP 4 ป4
เน้อื หาภาพลักษณ์ ชื่อสินคา้ การโฆษณา รปู แบบ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั The Digital Economy
บรรจุภัณฑ์ โลโก้ และอีกมากมายท่ีคนส่วนใหญ่
จะกล่าวถึงเมื่อถูกถามถึงค�ำจ�ำกัดความของ ผู้เขยี น : Don Tapscott 
ค�ำว่า “แบรนด์” เช่นเดียวกันกับค�ำถามที่ว่า รหสั : Q 63 D59
แบรนด์มีหน้าที่อะไร ค�ำตอบที่ได้มักไม่แตกต่าง หนงั สอื “เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั “TheDigitalEconomyการนำ� เสนอ
ไปจากการโปรโมตสินค้า สร้างภาพจ�ำ และส่งเสริมการตลาด แนวความคิดเก่ียวกับเศรษฐกิจดิจิทัล และยังคาดการณ์
หนังสือ “BRANDiNG 4.0” เล่มน้ี จะท�ำให้ผู้อ่านเปล่ียนความเช่ือ รู ป แ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ที่ จ ะ เ กิ ด ข้ึ น ใ น อ น า ค ต
เดิมๆ เก่ียวกับค�ำว่าแบรนด์ไปอย่างสิ้นเชิง เพราะได้ย่อโลกแห่ง ซ่ึงต่อมาในปัจจุบันเมื่อผ่านไป 20 ปี ก็เป็นที่ประจักษ์แล้ว
การตลาดทซี่ บั ซอ้ นมากขน้ึ ทกุ วนั  และขยายผลสง่ิ ทม่ี คี วามสำ� คญั มาก ว่าค�ำท�ำนายในหนังสือเล่มนี้พิมพ์ออกจ�ำหน่ายมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1995 และ
ท่ีสุดในคริสต์ศตวรรษท่ี 21 นั่นก็คือการสร้างแบรนด์ลงมาอยู่ในมือ เขียนเพิ่มเติมเป็นฉบับ Anniversaryในปี ค.ศ.2015 ซึ่งเป็นฉบับที่มีโอกาสได้
คุณ โดยสามารถท�ำความเข้าใจได้ในเวลาอันส้ัน ข้ึนอยู่กับว่าคุณให้ อา่ นนี้ เมือ่ อา่ นจบผมร้สู ึกชน่ื ชมผู้แต่งทีม่ วี สิ ัยทัศน์ในการน�ำเสนอแนวความคดิ
ความส�ำคญั กับมนั มากแค่ไหน เพ่อื สรา้ งการเรยี นรู้ทส่ี มบรู ณ์ เกี่ยวกับเศรษฐกิจดิจิทัล และยังได้คาดการณ์รูปแบบเศรษฐกิจและสังคมที่จะ
เกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งต่อมาในปัจจุบันเมื่อเวลาผ่านไป 20 ปี ก็เป็นท่ีประจักษ์
Business 4.0 พลกิ ธรุ กจิ สเู่ ศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั   แล้วว่าค�ำท�ำนายในหนังสือเล่มน้ี ส่วนใหญ่ได้เกิดข้ึนจริงตามที่ผู้เขียนได้
คาดการณไ์ วท้ งั้ สิน้
ผเู้ ขยี น :  อนุพงศ์ อวริ ุทธา
รหสั :  E 3 B59 สถานทีส่ อบถามรายละเอียดและข้อมูลเพ่มิ เตมิ
การที่จะประสบความส�ำเร็จในการด�ำเนินธุรกิจ ห้องสมดุ กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม
จ�ำเป็นต้องอาศัยการปรับตัวให้ทันต่อโลกการ โทร. 0 2202 4425, 0 2202 4417 หรอื 0 2354 3237
เปล่ียนแปลง โดยเฉพาะการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เวบ็ ไซต์ http://library.dip.go.th
ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละเหมาะสมกบั ลกั ษณะของธรุ กจิ
ในปจั จบุ นั โดยหลกั แลว้ การปรบั ตวั การดำ� เนนิ ธรุ กจิ อตุ สาหกรรมสาร 41
ภายใต้ยุคเศรษฐกิจดิจิทัล มีองค์ประกอบหลัก คือ
เทคโนโลยี การจัดการและธุรกิจ ทตี่ ้องผสานกนั อย่างลงตัว

วใบาสรมสัคราสรมอาตุชกิ สาหกรรมสาร 2561

สมาชิกเก่า สมาชิกใหม่

วนั ท่ีสมัคร................................................
ช่ือ / นามสกลุ ........................................................................................................บริษทั /หนว่ ยงาน..........................................
ทอี่ ยู.่ ..................................................................................................................................................................................
จงั หวดั ........................................................ รหสั ไปรษณยี .์ ......................................... เวบ็ ไซต์บรษิ ทั .........................................
โทรศัพท.์ ............................................... โทรสาร..................................................ต�ำแหน่ง......................................................
อีเมล...................................................................

แบบสอบถาม

1. ผลิตภัณฑห์ ลักทท่ี ่านผลติ คือ………………………………………………………………………………………...............................…………….

2. ทา่ นรจู้ ักวารสารนจ้ี าก………………………………………………………………………………………………………………………………….......

3. ข้อมลู ท่ที า่ นตอ้ งการคอื ……………………………………………………………………………………………………………………………….....…

4. ประโยชนท์ ที่ ่านได้จากวารสารคอื ……………………………………………………………………………….………………………..............……...

5. ทา่ นคิดวา่ เนื้อหาสาระของวารสารอตุ สาหกรรมสารอยู่ในระดับใด เม่อื เทียบกบั วารสารราชการทั่วไป

ดีท่สี ดุ ดีมาก ด ี พอใช้ ต้องปรบั ปรุง

6. การออกแบบปกและรปู เลม่ อยู่ในระดับใด

ดีทส่ี ดุ ดีมาก ด ี พอใช้ ต้องปรับปรงุ

7. ขอ้ มูลทีท่ ่านต้องการใหม้ ีในวารสารน้มี ากท่สี ุดคือ (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามลำ� ดบั )

การตลาด การให้บรกิ ารของรฐั สัมภาษณผ์ ปู้ ระกอบการ ขอ้ มูลอุตสาหกรรม อื่นๆ ระบ.ุ ..................................

8. คอลัมนท์ ีท่ า่ นชอบมากทีส่ ุด (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามล�ำดบั ความชอบ)

Interview (สัมภาษณผ์ ูบ้ รหิ าร) Product Design (ออกแบบผลติ ภณั ฑ์) Good Governance (ธรรมาภิบาล)

SMEs Profile (ความสำ� เร็จของผู้ประกอบการ) Report (รายงาน / ข้อมลู ) Innovation (นวตั กรรมใหม)่

Market & Trend (การตลาด / แนวโน้ม) Book Corner (แนะนำ� หนงั สือ) อน่ื ๆ ระบ.ุ .....................................

9. ท่านไดร้ ับประโยชนจ์ ากวารสารอตุ สาหกรรมสารมากน้อยแคไ่ หน

ได้ประโยชนม์ าก ได้ประโยชนพ์ อสมควร ได้ประโยชนน์ ้อย ไมไ่ ดใ้ ช้ประโยชน์

10. เทยี บกบั วารสารราชการท่วั ไป ความพึงพอใจของท่านท่ีได้รบั จากวารสารเล่มน้ี เทยี บเป็นคะแนนได้เทา่ กบั

91-100 คะแนน 81-90 คะแนน 71-80 คะแนน 61-70 คะแนน ต่ำ� กวา่ 60 คะแนน

สมคั รสมาชิกวารสาร กรอกใบสมัครซึ่งอยู่หน้าสุดท้ายของเล่มจากนั้นส่งใบสมัครได้ 3 ทาง ได้แก่

1. สมคั รทางไปรษณยี ์ จา่ หนา้ ซองถึง บรรณาธิการวารสารอุตสาหกรรมสาร
กลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
2. สมัครทางเคร่อื งโทรสาร หมายเลข 0 2354 3299
3. สมคั รทางอีเมล : [email protected]
4. สมัครผ่าน google Form :

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 1 - 11

กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 1 4 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 4

(เชยี งใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำ�พนู ลำ�ปาง พะเยา แพร่ น่าน) (อดุ รธานี หนองบัวลำ�ภู หนองคาย เลย)
158 ถนนทุ่งโฮเต็ล ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000 399 ม.11 ถนนมิตรภาพ ต.โนนสูง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41330
โทรศัพท์ (053) 245 361-2, 243 494, 242 226 โทรศัพท์ (042) 207 232-6, 207-238 โทรสาร (042) 207 241
โทรสาร (053) 248 315 e-mail: [email protected]

1e-mail: [email protected] 5 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 5

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 2 (ขอนแกน่ กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด
มุกดาหาร สกลนคร นครพนม)
(พิษณุโลก สุโขทัย อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ตาก) 86 ถนนมิตรภาพ ต.สำ�ราญ อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000
292 ถนนเลี่ยงเมือง-นครสวรรค์ ต.บ้านกร่าง โทรศัพท์ (043) 379 296-9 โทรสาร (043) 379 302
อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 e-mail: [email protected]
โทรศัพท์ (055) 282 957-9
โทรสาร (055) 283 021 6 7 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 7
9 (อบุ ลราชธานี ยโสธร อำ�นาจเจริญ ศรีสะเกษ)
2e-mail: [email protected] 222 หมู่ที่ 24 ถนนคลังอาวุธ ต.ขามใหญ่ อ.เมือง
จ.อุบลราชธานี 34000
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 3 โทรศัพท์ (045) 313 772, (045) 313 945,
(045) 314 216, (045) 314 217
(พิจติ ร กำ�แพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี โทรสาร (045) 312 378, (045) 312 493
ชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี อ่างทอง) e-mail: [email protected]
200 ม.8 ถนนเลี่ยงเมือง ต.ท่าหลวง
อ.เมือง จ.พิจิตร 66000 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 6

3โทรศัพท์ (056) 613 161-5 (นครราชสมี า ชัยภมู ิ บุรีรัมย์ สุรินทร์)
333 ถนนมิตรภาพ ต.สงู เนิน อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา 30170
โทรสาร (056) 613 559 โทรศัพท์ (044) 419 622 โทรสาร (044) 419 089
e-mail: [email protected] e-mail: [email protected]

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 8 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 9

(สพุ รรณบรุ ี กาญจนบุรี พระนครศรีอยุธยา (ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี ตราด สมุทรปราการ
นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว)
8นครปฐม นนทบุรี ราชบุรี สมุทรสาคร สระบุรี 67 ม.1 ถนนสุขุมวิท ต.เสม็ด อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000
โทรศัพท์ (038) 261-203, 273-702, 784 654-5
ปทุมธานี สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์) โทรสาร (038) 273 701
117 หมู่ 1 ถนนมาลัยแมน ต.ดอนกำ�ยาน e-mail: [email protected]
อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี 72000 11 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 11
โทรศัพท์ (035) 441 027, 441 029, 441 031 (สงขลา สตลู ยะลา ปัตตานี นราธิวาส)
โทรสาร (035) 441 030 165 ถนนกาญจนวนิช ต.นํ้าน้อย อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
e-mail: [email protected] โทรศัพท์ (074) 211 905-8 โทรสาร (074) 211 904
e-mail: [email protected]
หนว่ ยงานสว่ นกลาง

(กรงุ เทพมหานคร)
ถนนพระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ 0 2202 4422-3
โทรสาร 0 2354 3152

10ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 10

(นครศรีธรรมราช สรุ าษฎรธ์ านี กระบี่ ภูเก็ต พังงา ระนอง ชุมพร ตรัง พัทลุง)
131 ม.2 ถนนเทพรัตนกวี ต.วัดประดู่ อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี 84000
โทรศัพท์ (077) 200 395-8 โทรสาร (077) 200 449
e-mail:[email protected]

การกำ�หนดเขตพื้นที่จังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบของศนู ย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค
เปลี่ยนแปลงรายชื่อจังหวัดตามประกาศกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2560

อตุ สาหกรรมสารออนไลน์

http://e-journal.dip.go.th
วารสารเพอื่ ผปู้ ระกอบการ SMEs และ OTOP

ฐานขอ้ มลู สง่ เสรมิ ความรดู้ า้ นอตุ สาหกรรม และแนวโนม้ ของอตุ สาหกรรม กระบวนการผลติ การตลาด การบรหิ ารการจดั การ
การพฒั นารปู แบบผลติ ภณั ฑ์ การใหบ้ รกิ ารตา่ งๆ ตลอดจนตวั อยา่ งผปู้ ระกอบการทป่ี ระสบความสำ� เรจ็
อยากรขู้ อ้ มลู คลกิ อา่ นไดเ้ ลย อยากโหลดข้อมลู ดาวน์โหลดได้ทันที

สมัครเปน็ สมาชิกไดท้ ี่ โทรสารท่ีหมายเลข 0 2354 3299 หรือ Google Form :


Click to View FlipBook Version