หนา้ แรก
เกยี่ วกบั กสอ.
งานบรกิ าร
ขอ้ มลู นา่ ร้
ู ขา่ ว กสอ
รบั เรอื่ งรอ้ งเรยี น
ถามตอบ
ผงั เวบ็ ไซต์
http://www.dip.go.th
แหลง่ รวบรวมขา่ วสาร ขอ้ มลู เกย่ี วกบั วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม และงานบรกิ ารตา่ งๆ
ของกรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม รวมถงึ ฐานขอ้ มลู ตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เชน่ บรรณานกุ รม
เครอ่ื งจกั ร, ฐานขอ้ มลู วตั ถดุ บิ , ฐานขอ้ มลู เทคโนโลยกี ารผลติ , ฐานขอ้ มลู การออกแบบ
ฐานขอ้ มลู ผเู้ ชยี่ วชาญ เปน็ ตน้ เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารสำหรบั SMEs และผสู้ นใจทวั่ ไป
http://elearning.dip.go.th
ระบบฝกึ อบรมผา่ นอินเทอรเ์ นต็
http://boc.dip.go.th
แหล่งรวบรวมความรู้ที่ผู้ประกอบการวิสาหกรรมขนาดกลาง ศูนยธ์ ุรกจิ อุตสาหกรรม
และขนาดย่อม รวมทั้ง ผู้สนใจทั่วไป สามารถเข้าไป
เรียนรู้เพื่อความเข้าใจในสาขาวิชาต่างๆ ที่จำเป็นต่อ
• Business Start Up เริ่มต้นธุรกิจ
การประกอบธุรกิจ เช่น เทคนิคการผลิต การตลาด
• Business Information ข้อมลู ทางธุรกิจ
การบริหารจัดการ บัญชี และการเงิน ตลอดจนเทปบันทึก • Business Advisory ให้คำปรึกษาทางธุรกิจ
รายการคลินิกอุตสาหกรรม ที่ผู้สนใจสามารถลงทะเบียน • Business Opportunity โอกาสใหม่ทางธุรกิจ
เรียนได้ตลอดเวลา โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
• Business Improvement พัฒนาศักยภาพของธุรกิจ
• Japan Desk การทำธุรกิจกับญี่ปุ่น
hยุทttธpศ:า/ส/sตtรr์แaลteะแgผyน.dงาipน.
g
o.th
• ข้อมลู อุตสาหกรรม
• ข้อมลู เศรษฐกิจมหภาค
• ข้อมูลระหว่างประเทศ
• โครงการ AEC
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ถนนพระรามที่ 6 (เยอื้ งโรงพยาบาลรามาธบิ ด)ี เขตราชเทวี กทม. 10400
Contents
วารสารของกรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม พิมพเ์ ป็นปที ี่ 57 ฉบับเดอื นมกราคม - กุมภาพนั ธ์ 2557
P.5
16 Marketing
ก้าวเข้าสู่ AEC
P.11
P.14
ต้องก้าวทันเทรนด์โลก
5 Cover Story
3อุตสาหกรรมสาร
18 SMEs Focus
ขุมทรัพย์ AEC
แกะรอยขุมทรัพย์
ประเด็นเร่งด่วนในการพัฒนา
เศรษฐกิจ การค้า การลงทุน
ASEAN SMEs
8 Special Report
20 SMEs For AEC
ผลวิเคราะห์อุตสาหกรรมไทย
โครงการส่งเสริม SMEs
มั่นใจศักยภาพแข่งขันรับ AEC
ที่สำคัญ ภายใต้ AEC
11 Show Case
24 Opportunity
โครงการสร้างเครือข่ายระหว่างประเทศ
แบล็คแคนยอน
ในอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ
ไต่อันดับผู้นำธุรกิจ
พุ่งเป้าเวียดนาม-กัมพูชา-ลาว
ร้านอาหารใน AEC
28 SMEs Guide
14 SMEs Talk
10 ขั้นตอนที่ผู้ประกอบการ SMEs
นีโอ สุกี้
ต้องรีบทำ ก่อนเข้าสู่ AEC
จับสุกี้นานาชาติ บุก AEC
31 SMEs Insight
เคล็ดวิชาการขาย..
สำหรับผู้ประกอบการมือใหม่
3
4 Asean BIZ
ผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม
ในอินโดนีเซีย
36 Product Design
10 Style 10 Country of AEC
39 Knowledge
โครงการเตรียมความพร้อมผู้ประกอบการ
และธุรกิจอุตสาหกรรม
40 Book Corner
เราคืออาเซียน
P.36
Editor’s Talk
จุดเด่นของประเทศไทย เจา้ ของ
แขง่ กนั ไมไ่ ดข้ ่มกนั ไม่ลง
กรมสง่ เสริมอุตสาหกรรม
ประเทศไทยเรามชี อ่ื เสยี งไปทว่ั โลกวา่ เปน็ เมอื งแหง่ รอยยม้ิ ถนนพระรามที่ค6ณเขตะทราปี่
ชรเทึกวษี การ
ุงเทพ ฯ 10400
“Land of smile” หรอื ทไ่ี ดย้ นิ กนั คนุ้ หวู า่ “สยามเมอื งยม้ิ ”
นอกจากนี้อุปนิสัยของคนไทยที่ยอมรับกันทั่วโลกอีกเช่นกันว่า นางอรรชกา สีบุญเรือง
เปน็ คนมนี ำ้ ใจและมคี วามเปน็ มติ รทด่ี ี
อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
หันมามองสภาพภูมิศาสตร์ ประเทศไทยตั้งอยู่ตรงกลาง นางศิริรัตน์ จิตต์เสรี
ของภูมิภาคอาเซียน มองกันในเชิงการค้าและการลงทุนแล้ว รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ถือว่าประเทศไทยได้เปรียบในเชิงยุทธศาสตร์ จนเป็นที่เพ่งเล็ง
และถกู หมายตาวา่ เมอ่ื มกี ารรวมชาติ Asean สู่ AEC ประเทศ นายกอบชัย สังสิทธิสวัสด์ิ
ไทยจะกลายเปน็ ประตเู ชอ่ื มภมู ภิ าค Asia เขา้ ดว้ ยกนั และดว้ ย รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ศักยภาพทางโครงสร้างพื้นฐานที่มีอยู่พร้อมของไทย จึงมีการ
คาดเดากันไปไกลถึงอนาคตว่า ประเทศไทยจะกลายเป็น นายกิตติพัฒน์ ปณิฐาภรณ์
ศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกจิ แหง่ ภมู ภิ าคเอเชยี
ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง
ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว พบวา่ ประเทศไทยเปน็ ประเทศทม่ี แี หลง่ บรรณาธกิ ารอำนวยการ
ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับไปทั่วโลกแม้จะมี
ปญั หาภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ ความขดั แยง้ ทางการเมอื ง รวมทง้ั นางอร ทีฆะพันธ์ุ
ปญั หาเศรษฐกจิ โลก แตป่ ระเทศไทยยงั คงไดร้ บั การโหวตใหเ้ ปน็ ผู้อำนวยการกลุ่มประชาสัมพันธ์
แหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมติดอันดับโลกติดต่อกันมายาวนาน
จากหลายสถาบนั การทอ่ งเทย่ี วทว่ั โลก
บรรณาธิการบริหาร
ส่วนศักยภาพทางธุรกิจไทยเป็นฐานการผลิตสินค้าและ นางสาวปาณทิพย์ เปลี่ยนโมฬี
บริการสู่ตลาดอาเซียนทั้ง 10 ประเทศยิ่งกว่านั้นไทยเป็นฐาน
เศรษฐกิจรายใหญ่ของโลกในการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม กองบรรณาธกิ าร
และสนิ คา้ เกษตรหลายรายการ ไดแ้ ก่ ผผู้ ลติ ยางธรรมชาตแิ ละ
ยางสงั เคราะหอ์ นั ดบั 1 ของโลก, ผผู้ ลติ ฮารด์ ดสิ กไ์ ดรฟอ์ นั ดบั นายชูศักด์ เอกชน, นางสมจิตต์ เตียวสุนทรวงศ์,
1 ของโลก, ผสู้ ง่ ออกขา้ วเปน็ อนั ดบั 6 ของโลก, ผสู้ ง่ ออกนำ้ ตาล นายวีระพล ผ่องสุภา, นายไพฑูรย์ มะเมียเมือง,
เปน็ อนั ดบั 6 ของโลก และผสู้ ง่ ออกรถยนตอ์ นั ดบั ท่ี 13 ของโลก นางสุรางค์ งามวงศ์, นายธวัชชัย มะกล่ำทอง,
เปน็ ตน้
นางสาวกนกรักษ์ นุกูลโรจน์, นางเกสรา ภู่แดง
เพยี งเทา่ น.้ี .. เพยี งพอทจ่ี ะทำใหเ้ รารสู้ กึ ภมู ใิ จในความเปน็ ฝา่ ยภาพ
ประเทศไทยแล้วหรือยัง วารสารอุตสาหกรรมสารขอนำข้อมูล
บางประเด็นมาเล่าขาน เพื่อให้ผู้ประกอบการไทยเกิดความ นางวิพาณี อวยพรรุ่งรัตน์, นางสมใจ รัตนโชติ,
มน่ั ใจในศกั ยภาพของประเทศไทยและพรอ้ มทจ่ี ะกา้ วสเู่ วที AEC นายธานินทร์ กลำพัก, นายสุทิน คณาเดิม,
อยา่ งไมห่ วาดหวน่ั ......
ฝา่ ยสมาชิก
บรรณาธกิ ารบรหิ าร
นางสาวกัลศิญา ชุมศรี, นายสุรินทร์ ม่วงน้อย,
นางสาวศิริธร ชัยรัตน์
“บทความ บทสัมภาษณ์ หรืองานเขียนที่ตีพิมพ์ในวารสารเล่มนี้
เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ทางวารสารไม่จำเป็น
จัดพิมพ์
ต้องเห็นด้วยเสมอไป หากประสงค์จะนำบทความใดๆ ในวารสาร
ไปตีพิมพ์เผยแพร่ ควรแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรต่อกองบรรณาธิการ”
บริษัท ซี แอด โปรโมชั่น (1997) จำกัด
77/14 หมู่บ้านชลลดา ซ.2 ถนนสายไหม
แขวงสายไหม เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220
โทร. 0 2991 3031-3 แฟกซ์ 0 2991 3066
สมัครสมาชกิ วารสาร
กรอจกาใกบนสั้นมสัค่งรใบซึ่งสอมยัคู่หรนได้า้ส3ุดททา้างยไขดอ้แงกเล่
่ม
1. ส่งทางไปรษณยี ์จ่าหนา้ ซองถึง
กลุ่มบปรรระณชาาธสิกัมาพรันวธาร์ กสรามรอสุต่งเสสารหิมกอรุตรสมาสหากร
รรม
ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กทม. 10400
2. สง่ ทางเครื่องโทรสารหมายเลข 02 354 3299
3. สง่ ทางอีเมล: journal
[email protected]
4 อุตสาหกรรมสาร
เรื่อง ปาณทิพย์ เปลี่ยนโมฬี
Cover Story
แเขศกุมระรษทอฐรยกัพขิจุมยทก์ ราAรัพคEย้าC
์ ก
ารลงทุน
กลุ่มประเทศอาเซียน 10 ชาติ (ไทย พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์
สิงคโปร์ และบรูไน)ได้มีปฏิญญาร่วมกันในการรวมตัวเป็น “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN
Economic Community: AEC)
ในปี พ.ศ. 2558 ทำให้ AEC ถูกจับมองจากทั่วโลก เชื่อมโยงทางรถไฟจากทวาย ย่างกุ้ง มัณฑะเลย์ มเู ซ เชื่อมต่อไป
เพราะการรวมกันนั้นทำให้อาเซียนมีจำนวนประชากรซึ่งรวมกัน ยังทางรถไฟจีนที่คุนหมิง ทำให้โครงการนี้ได้รับการเสนอให้เป็น
แล้วมีจำนวนมากถึง 600 ล้านคน คิดเป็น 10 % ของประชากร จุดศนู ย์กลางการขนส่งที่สำคัญของภูมิภาค
โลกและมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก
โดยมี GDP รวมกันสูงกว่า 2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ นอกจากนี้ ประโยชน์สำคัญของท่าเรือน้ำลึกและนิคมอุตสาหกรรม
ทำเลที่ตั้งของอาเซียนในกลุ่มAEC ยังอยู่ตรงกลางของ ทวายก็คือ ทำหน้าที่เป็นประตูสู่การค้าใหม่ให้เส้นทางทะเล
2 มหาสมุทรใหญ่คือมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ไม่ว่าจะเป็นทางเลือกให้กับอินเดีย จีน ตะวันออกกลาง ยุโรป
ความพยายามที่จะเชื่อมต่อดินแดนแถบนี้ด้วยการค้าและการ และแอฟริกา ซึ่งจะช่วยลดการจราจรที่คับคั่งในช่องแคบ
ลงทุน จะทำให้ AEC กลายเป็นขุมทรัพย์ทางเศรษฐกิจอัน มะละกา ลดเวลาการขนส่งและค่าใช้จ่ายในการขนส่ง และเป็น
ยิ่งใหญ่ซึ่งมีมลู ค่ามหาศาล
สถานที่ที่ได้เปรียบในการค้าเนื่องจากตรงเข้าถึงทะเลอันดามัน
และมหาสมุทรอินเดียในการขนส่งสินค้า นอกจากนี้ในนิคม
อุตสาหกรรมยังช่วยสร้างตลาดใหม่สำหรับการลงทุนของ
ต่างประเทศ จากความต้องการที่เพิ่มขึ้นและจากการคมนาคม
โครงการท่าเรือน้ำลึกและนิคมอุตสาหกรรมทวาย
เชื่อมต่อระหว่างภูมิภาค ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้า
และการพัฒนาระหว่างประเทศในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
รัฐบาลไทยและเมียนมาร์ได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจ
ในการพัฒนาโครงการนิคมอุตสาหกรรม ท่าเรือน้ำลึกทวายและ “โครงการท่าเรือน้ำลึกและนิคมอุตสาหกรรมทวาย” จะเป็น
ถนนเชื่อมต่อไปยังประเทศไทย ซึ่งมีบริษัท อิตาเลียนไทย ประตูเศรษฐกิจที่สำคัญแห่งใหม่ของโลกตะวันตกและตะวันออก
ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ได้รับสิทธิในการพัฒนา และจะเป็นศูนย์กลางของระบบโลจิสติกส์และการค้าขนาดใหญ่
โครงการจากรัฐบาลเมียนมาร์ โดยกำหนดกรอบความร่วมมือ ของภูมิภาค เชื่อมโยงการขนส่งและการค้าระหว่างประเทศใน
ระหว่างรัฐต่อรัฐอย่างเป็นทางการ
กลุ่มเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศในแถบทะเลจีนใต้
ผ่านทะเลอันดามันสู่มหาสมุทรอินเดีย ซึ่งเป็นเส้นทางที่ส่งสินค้า
ท่าเรือน้ำลึกและนิคมอุตสาหกรรมทวาย ตั้งอยู่ห่างจาก ทั้งไปและกลับทางน้ำ ผ่านไปสู่กลุ่มประเทศตะวันออกกลาง
จังหวัดทวายประมาณ 28 กม. มีการลงทุนสร้างท่าเรือน้ำลึก ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา ซึ่งจะช่วยประหยัดต้นทุนและ
นิคมอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี ถนนเชื่อมโยงจากทวายไปยัง
ประเทศไทย และด้วยการสนับสนุนของรัฐบาลพม่าในการ
5อุตสาหกรรมสาร
จีนทุ่มงบฯสร้างทางรถไฟความเร็วสูง
เช่ือมจีน-ลาว-ไทย-สิงคโปร
์
จีนเดินหน้าเร่งเครื่องสร้างเส้นทางรถไฟความเร็วสูงเชื่อม
อาเซียน โดยตกลงเห็นชอบในการเป็นผู้จัดหาเงินทุนสร้างรถไฟ
ลดเวลาในการขนส่งสินค้าได้อย่างมากมาย ช่วยพัฒนาการค้า ความเร็วสงู เส้นทางระหว่างจีนและลาว เชื่อมระหว่างคุนหมิง–
การลงทุน และเศรษฐกิจ ในภูมิภาคให้เจริญเติบโตในระยะยาว เวียงจันทน์ มูลค่า 7,000 ล้านดอลลาร์ (2.2 แสนล้านบาท)
ต่อไป
เมื่อเส้นทางรถไฟสายนี้เปิดใช้จะเป็นเส้นทางเชื่อมระหว่าง
ไทยถือว่าท่าเรือน้ำลึกทวายจะเป็นประตูเศรษฐกิจ เมืองคุนหมิง มณฑลยนู นาน และนครหลวงเวียงจันทน์ของลาว
บานใหม่ ที่เชื่อมระหว่างท่าเรือน้ำลึกทวายกับท่าเรือแหลมฉบัง ซึ่งนอกจากใช้ขนส่งวัตถุดิบ แร่ธาตุ อีกทั้งสินค้าต่างๆ ระหว่าง
ตามยุทธศาสตร์การค้าการลงทุน เชื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับชายแดนของจีนแล้ว ยังเป็นเส้นทาง
ดังนั้นสินค้าต่างๆ ที่ไม่ว่าจะมาจากยุโรป แอฟริกา สำคัญส่วนหนึ่งของโครงการทางรถไฟสายเอเชีย Pan – Asian
ตะวันออกกลาง และเอเชียใต้ ย่อมจะผ่านท่าเรือน้ำลึกทวาย Railway Network โดยจีนมีแผนขยายเส้นทางต่อไปยังประเทศ
ออกสู่ท่าเรือแหลมฉบัง โดยใช้ระยะเวลาเพียง 1 วันเท่านั้น สิงคโปร์ ซึ่งไทยจะได้รับประโยชน์ในการขนส่งสินค้าไปสู่จีน
และสามารถส่งผ่านไปยังประเทศจีน เกาหลี ญี่ปุ่น หรือ ผ่านมณฑลยนู นานได้อย่างรวดเร็ว
ประเทศในแถบแปซิฟิกได้อย่างรวดเร็วและคล่องตัวมากยิ่งขึ้น
การลงทุนของจีนในลาวที่เป็นโครงการขนาดใหญ่ ได้แก่
ท่าเรือน้ำลึกทวายคือโอกาสของการค้าการลงทุน และ การซื้อกิจการเหมืองทองคำและทองแดงที่เมืองวีละบูลี
การส่งออกของภูมิภาค เพราะในอดีตที่ผ่านมาการขนส่ง ในแขวงสะหวันนะเขต การสร้างเมืองใหม่สามเหลี่ยมทองคำใน
กระจายสินค้าจะต้องผ่านท่าเรือสิงคโปร์ อ้อมแหลมมะละกา เขตเมืองต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้ว การสร้างเมืองใหม่ China Town
ซึ่งใช้เวลา 16-18 วัน หากท่าเรือน้ำลึกทวายแล้วเสร็จจะช่วยร่น ในเขตนครเวียงจันทน์ รวมถึงการทำเหมืองแร่บ็อกไซต์และ
การขนส่งได้อย่างดีเยี่ยม
การก่อสร้างโรงงานผลิตโลหะอลูมิเนี่ยมในแขวงจำปาสัก
สิ่งที่สำคัญคือ ท่าเรือน้ำลึกทวายยังอยู่เส้นทางระเบียง และอัตตะปือในภาคใต้ของลาว ส่วนในเขตแขวงภาคเหนือนั้น
เศรษฐกิจในกรอบความร่วมมืออนุภมู ิภาคลุ่มน้ำโขง ตามกรอบ ก็มีโครงการปลูกยางพารา ข้าวโพด อ้อย มันสำปะหลัง และ
ความร่วมมือยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจ (Economic ชา คิดเป็นบริเวณกว้างกว่า 2 แสนเฮกตาร์ (กว่า 12.5 ล้านไร่)
Corridor)และยังมีจุดเชื่อมโยงต่างๆ อีกมากมายไม่ว่าจะเป็น ซึ่งทำให้มูลค่าการลงทุนของจีนในลาวมีมูลค่าทะลุหลักหมื่น
แนวตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor) ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ระหว่างเมืองดานัง เวียดนาม-เมืองเมาะละแหม่ง พม่า) และ
ทางตอนใต้ (Southern Economic Corridor) ระหว่างนคร เศรษฐกิจกลุ่ม CLMV โตเร็วกว่าโครงสร้างพื้นฐาน
โฮจิมินห์ เวียดนาม-เมืองทวาย พม่า) รวมทั้งยังสามารถ
เชื่อมโยงกับเส้นทางตอนเหนือ-ใต้ (North-South Economic ปัจจุบันอาเซียนเป็นเวทีเศรษฐกิจที่มีบทบาทโดดเด่น
Corridor) ระหว่างนครคุนหมิง จีนตอนใต้-กรุงเทพฯ) ด้วย
มากขึ้น รวมทั้งยังเป็นกลุ่มที่มีศักยภาพการเติบโตทาง
ส่วนเส้นทางต่างๆที่เกิดขึ้น จะยิ่งเป็นตัวผลักดันให้ไทยยิ่ง เศรษฐกิจสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศในกลุ่มคาบสมุทร
โดดเด่น โดยเฉพาะการเป็นฐานการผลิต และเป็นศูนย์กลาง อินโดจีน อันได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม หรือ
การเชื่อมโยงการกระจายสินค้าในภูมิภาค เพราะสินค้าจะเกิด ที่เรียกกันทั่วไปว่ากลุ่มประเทศ CLMV (Cambodia, Laos,
การเปลี่ยนถ่ายในไทย รวมทั้งการค้า การลงทุน และการผลิต Myanmar และ Vietnam)
ตามแนวตะเข็บชายแดนจะเป็นยุทธศาสตร์หลักที่จะเกิดขึ้น
หลัง AEC
ปัจจัยดึงดูดการลงทุนเข้ามายังประเทศ CLMV ที่สำคัญ
คือ ศักยภาพการเติบโตทางเศรษฐกิจของกลุ่ม CLMV ที่มี
ระดับการเติบโตสูงเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 6.5 ในช่วง 2-3 ปี
6 อุตสาหกรรมสาร
๐ ศูนยก์ ลางอตุ สาหกรรมท่องเท่ยี ว
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวถือเป็น 1 ใน 12 ภาคบริการ
ที่มีความสำคัญอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจ โดยประเทศไทย
เป็นประเทศที่มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยวมากด้วย
สภาพแวดล้อม สถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงามและหลากหลาย
มีทั้งแบบเชิงธรรมชาติอย่างทะเล ภูเขา น้ำตก เชิงศิลป์
วัฒนธรรมที่มีทั้งวัดวาอาราม พระราชวัง โบราณสถานต่างๆ
รวมไปถึงแหล่งท่องเที่ยวที่ตอบสนองวิถีชีวิตคนเมือง อย่าง
บรรดาแหล่งช็อปปิ้ง สถานบันเทิง สปา เป็นต้น ประกอบกับ
การบริการที่เป็นมิตร เอกลักษณ์ของคนไทยที่มีความอ่อนโยน
ทำให้ชาวต่างชาติประทับใจ โรงแรม รีสอร์ทไทยหลายๆแห่ง
ก็มีชื่อเสียงระดับโลก ทั้งค่าครองชีพที่หากเทียบกับประเทศอื่น
แล้วถือว่าไม่สูงมากนัก และยังมีระบบการสื่อสารและ
ที่ผ่านมา (พ.ศ.2554-2556) นอกจากนี้ สภาพภมู ิศาสตร์ สังคม สาธารณูปโภคที่ค่อนข้างมีความพร้อมหากเทียบกับประเทศ
และวัฒนธรรม ที่มีความคล้ายคลึงกัน ความอุดมสมบูรณ์ของ ใกล้เคียงจึงทำให้ปัจจุบันประเทศไทยมีรายได้จากอุตสาหกรรม
ทรัพยากรในประเทศ จำนวนประชากรส่วนใหญ่ที่อยู่ในวัย การท่องเที่ยวกว่า 1 ล้านล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 8 ของ
หนุ่มสาวก็ล้วนส่งผลให้มีแรงงานที่เพียงพอ และการบริโภค GDP ของประเทศเลยทีเดียว องค์การการท่องเที่ยวโลก (World
สินค้าและบริการต่างๆเพิ่มสูงขึ้น ขณะเดียวกันการที่ประเทศ Tourism Organization : UNWTO) ได้คาดการณ์ว่า ในอีก 8 ปี
กลุ่มนี้เปิดโอกาสให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนมากขึ้น และเป็นแหล่ง ข้างหน้า ค.ศ.2020 จะมีนักท่องเที่ยวทั่วโลกกว่า 1,600 ล้านคน
แรงงานที่มีค่าจ้างไม่สูงมากนัก ทำให้เศรษฐกิจในประเทศ โดยเป็นนักท่องเที่ยวแถบเอเชียแปซิฟิกถึง 400 ล้านคน
CLMV มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการจ้างงานแรงงาน ในจำนวนนั้นส่วนหนึ่งเป็นนักท่องเที่ยวในอาเซียนประมาณ
ท้องถิ่นและกำลังซื้อของประชากรเพิ่มขึ้น ด้วยเหตุนี้กลุ่ม 160-200 ล้านคน
ประเทศ CLMV จึงได้รับความสนใจจากนักลงทุนทั่วโลก
อยู่ในขณะนี้
O ศนู ยก์ ลางดา้ นโลจสิ ติกส
์
ประเทศไทย อยู่ในที่ตั้งภูมิศาสตร์ที่ดีเหมาะแก่การเป็น
ศูนย์กลาง (ฮับ) ของอาเซียน ทั้งฮับทางด้านการค้าการลงทุน
บทบาทของไทยในภูมิภาคอาเซียน
๐ศนู ย์กลางดา้ นอุตสาหกรรมยานยนต
์ การท่องเที่ยว การคมนาคม-ขนส่ง การศึกษา ฯลฯ เรียกได้ว่า
อุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยมีความแข็งแรงและ ประเทศไทยเป็นฮับในทุกๆด้านก็ว่าได้ หากไม่มีระบบโครงข่าย
สร้างรายได้เป็นลำดับต้นๆให้กับประเทศมาโดยตลอด การคมนาคมขนส่งที่มีประสิทธิภาพสำหรับเชื่อมโยงประเทศ
โดยประเทศไทยเป็น Automotive Hub ชั้นนำในภูมิภาคอาเซียน สมาชิกอาเซียนเข้าด้วยกัน ก็อาจสูญเสียฮับให้ประเทศอื่นได้
ไม่ว่าจะในด้านการผลิต การขาย และการส่งออกไปยังตลาด
ต่างประเทศ จะเห็นได้จากแบรนด์รถยนต์ชั้นนำทั่วโลกต่าง เมื่อมีการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนโดยสมบูรณ์
ไว้วางใจและเลือกประเทศไทยเป็นหนึ่งในฐานการผลิตที่สำคัญ ในปี พ.ศ.2558 ยุทธศาสตร์ด้านหนึ่งที่ประเทศไทยจะต้องให้
ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตรถกระบะที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค ความสำคัญ คือ ยุทธศาสตร์ทางด้านการจัดการโลจิสติกส์โดย
อาเซียน และยังมียอดจำหน่ายรถยนต์ภายในประเทศสูงที่สุด อาศัยภูมิศาสตร์ของประเทศไทยซึ่งมีพรมแดนติดต่อกับ
อีกด้วย
ประเทศอาเซียน 4 ประเทศ ได้แก่ ประเทศลาว พม่า กัมพชู า
และมาเลเซีย ประกอบกับโครงสร้างพื้นฐานในการขนส่งทั้ง
อุตสาหกรรมยานยนต์ของไทยมีจุดแข็งหลายด้าน ประการ ทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ ที่เอื้ออำนวยทำให้สามารถ
แรกคือ บริษัทรถยนต์ชั้นนำของโลกใช้ประเทศไทยเป็น เชื่อมต่อไปยังประเทศอื่นได้ไม่ยากนัก เช่น เวียดนาม จีน
ศูนย์กลางในการผลิต และประเทศไทยมีกำลังการผลิตสูงกว่า สิงคโปร์ เป็นต้น ประเทศไทยจึงสามารถอาศัยยุทธศาสตร์ใน
ปริมาณความต้องการภายในประเทศ จึงสามารถเพิ่มปริมาณ เชิงพื้นที่ดังกล่าว ในการพัฒนาประเทศให้เป็นศูนย์กลางทาง
การผลิตให้เพียงพอกับการส่งออกได้ นอกจากนี้ยังมี supply ด้านโลจิสติกส์อาเซียนในการกระจายสินค้าไปยังกลุ่มประเทศ
chain และอุตสาหกรรมเชื่อมโยงที่มีความเข้มแข็ง เช่น สมาชิกและไปยังตลาดโลกในอนาคตได้
อุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนต่างๆ
ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของขุมทรัพย์ทาง
อุตสาหกรรมยานยนต์มีอนาคตสดใสรออยู่ ตลาดการ เศรษฐกิจที่กำลังเกิดขึ้น เป็นการขานรับการก้าวสู่ AEC ในปี
ส่งออกรถยนต์ของประเทศขยายตัวอย่างต่อเนื่องทั้งใน เอเชีย 2558 ทุกชาติในกลุ่มอาเซียนทั้ง 10 ประเทศกำลังเปลี่ยนแปลง
ตะวันออกกลาง โอเชียเนีย อเมริกาใต้ ยุโรป และแอฟริกา ประเทศโดยได้รับสิทธิประโยชน์ร่วมกันอย่างทั่วถึง..
ความต้องการยานยนต์ทั้งจากในและต่างประเทศยังเติบโต
ต่อเนื่อง เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภคที่อยู่ในเกณฑ์ดี ในขณะ
เดียวกันตลาดส่งออกก็มีความหลากหลาย และมีแนวโน้มขยาย แหลง่ ขอ้ มลู
ตัวเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะในภูมิภาคอาเซียน ประเทศไทยจึง หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับวันที่ 10 - 13 พฤศจิกายน
ตั้งเป้าว่าจะผลิตรถยนต์ได้ปีละ 3 ล้านคันภายในปีพ.ศ.2560 ซึ่ง พ.ศ.2556, หนังสือพิมพ์สยามธุรกิจ เว็บไซต์ www.thai-aec.com,
จะทำให้อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยก้าวขึ้นเป็นผู้ผลิตรถยนต์ www.thaifranchisecenter.com, www.sme.go.th,
อันดับที่ 10 ของโลก
http://aec.kapook.com, http://news.voicetv.co.th
7
อุตสาหกรรมสาร
เรยี บเรยี งโดย จติ ผลญิ
Special Report
ผลวเิ คราะหอ์ ตุ สาหกรรมไทย
มน่ั ใจศักยภาพแขง่ ขนั รบั AEC
ที่ผ่านมามีการวิเคราะห์เรื่องผลกระทบ • มีที่ตั้งเหมาะสมในด้านการเป็นศูนย์กลางภูมิภาคทำให้มี
กรณีการเคลื่อนเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ ขอ้ ไดเ้ ปรยี บหลายดา้ น โดยเฉพาะการขนสง่
อาเซียน(AEC)ของไทย ในหลายแง่มุมทั้งจาก
ภาครัฐ เอกชน และนักวิชาการ
• การคมนาคมขนส่งทั้งทางบกและทางอากาศครอบคลุมและ
รองรบั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “อนาคต
ประเทศไทย ภายใตป้ ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น” วา่ การเกดิ ขน้ึ ของ สว่ นจดุ ออ่ นทส่ี ำคญั มี 5 ขอ้ ไดแ้ ก่
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โดยภาพรวม ประเทศไทยจะ • ภาคการผลิตของไทยยังมีประสิทธิภาพต่ำ เห็นได้จาก
ได้ประโยชน์จากระดับภาษีที่ลดลง ขณะที่สินค้าไทยที่ได้รับการ ขอ้ มลู การสำรวจปจั จยั ในการแขง่ ขนั ทง้ั 4 ดา้ นทส่ี ถาบนั IMD หรอื
ยอมรบั จากประเทศในอาเซยี นอยแู่ ลว้ และประเทศไทยยงั ไดเ้ ปรยี บ สถาบันพัฒนานักบริหาร (Institute of Management Development)
จากการมีผู้ประกอบการที่เข้มแข็งและมีจำนวนมากที่สุดในอาเซียน ไดด้ ำเนนิ การสำรวจไว้
ที่ได้ขยายฐานการผลิตออกไปในอาเซียนแล้ว ขณะที่สิงคโปร์มี • การขาดแคลนแรงงานจากค่านิยมเกี่ยวกับการทำงานและ
ผู้ประกอบการรายใหม่น้อยกว่าไทยมาก และประเทศไทยยัง การเรียนที่ผิดๆ โดยให้ความสำคัญกับภาพลักษณ์มากกว่าการ
ได้เปรียบจากภูมิศาสตร์ที่ตั้งของประเทศที่อยู่ตรงกลางของภูมิภาค นำไปใชจ้ รงิ
อาเซยี น
• การกระจุกตัวของพื้นที่อุตสาหกรรมทำให้เกิดปัญหาความ
เหลื่อมล้ำทางรายได้ และการอพยพแรงงานเข้ามาหางานทำ
หากรัฐบาลเดินหน้านโยบายถูกต้องประเทศไทยจะกลายเป็น ในกรงุ เทพฯ และปรมิ ณฑล รวมทง้ั ในพน้ื ทภ่ี าคตะวนั ออก
ศูนย์กลางการค้าของอาเซียนได้ อย่างไรก็ตาม ไทยเสียเปรียบ • อุตสาหกรรมหลักของประเทศยังต้องพึ่งพาเงินทุนจาก
ประเทศนอกอาเซยี น โดยเฉพาะจากยโุ รปและสหรฐั แตท่ ส่ี ดุ เชอ่ื วา่ ตา่ งประเทศ
จะแข่งขันได้ เช่น ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ที่ขณะนี้ธนาคารไทย • สินค้าอุตสาหกรรมยังมีการเชื่อมโยงวัตถุดิบจากภาค
มีสัดส่วนตลาดถึง 90% ธุรกิจโรงแรมไทยก็ออกไปรุกต่างประเทศ การเกษตรไม่มากนัก แม้ว่าภาคการเกษตรจะมีความสำคัญกับ
มากกวา่ ”
ประเทศมาอยา่ งชา้ นาน
ล่าสุดนี้ นายสมชาย หาญหิรัญ ผู้อำนวยการสำนักงาน การศกึ ษาอตุ สาหกรรมหลกั 12 กลมุ่ ของไทย ไดแ้ ก่
เศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) ก็ได้เปิดเผยถึง ผลกระทบจากการ • อตุ สาหกรรมยานยนต์ ประเทศไทยเปน็ ฐานการผลติ รถยนต์
เขา้ สปู่ ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC) ในภาคอตุ สาหกรรม ซง่ึ เปน็ อนั ดบั 1 ของอาเซยี น มศี กั ยภาพในการผลติ รถยนตท์ ม่ี คี วามเฉพาะ
บทวิเคราะห์ที่น่าสนใจสำหรับชาวอุตสาหกรรมมาก โดยจากการ ใน 3 ผลติ ภณั ฑ์ ไดแ้ ก่ รถปกิ อพั 1 ตนั รถยนตป์ ระหยดั พลงั งาน หรอื
วเิ คราะหถ์ งึ ศกั ยภาพของประเทศไทย พบวา่
อีโคคาร์ และรถยนต์ขนาดเล็กคุณภาพสูง ซึ่งในส่วนของ
รถจกั รยานยนตไ์ ทยมกี ารผลติ เปน็ อนั ดบั 3 รองจากอนิ โดนเี ซยี และ
เวยี ดนาม ดงั นน้ั หากเปดิ AEC ไทยควรจะรกั ษาฐานการผลติ รถยนต์
อตุ สาหกรรมไทยมจี ดุ แขง็ ทสี่ ำคญั ไดแ้ ก่
ขนาดเล็กที่มีคุณภาพสูง ฐานการผลิตรถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่
• ประเทศไทยมแี รงงานทม่ี ที กั ษะฝมี อื เมอ่ื เทยี บกบั ประเทศอน่ื ๆ
และส่งเสริมให้ผู้ประกอบการไทยออกไปตั้งฐานการผลิตยานยนต์
• มวี ตั ถดุ บิ ทางการเกษตรทม่ี ศี กั ยภาพ ทง้ั ในดา้ นปรมิ าณและ และชน้ิ สว่ นในอาเซยี น
คณุ ภาพ และมผี ลผลติ ทห่ี ลากหลาย เชน่ ขา้ ว ยางพารา ออ้ ย ผกั
และผลไมส้ ด เปน็ ตน้
8 อตุ สาหกรรมสาร
• อตุ สาหกรรมเครอื่ งนงุ่ หม่ ไทยมคี วามไดเ้ ปรยี บและความ
พร้อมในเรื่องคุณภาพการผลิตที่ปราณีต แต่มีจุดอ่อนเรื่องต้นทุน
แรงงาน ดังนั้น การเปิด AEC จะเป็นโอกาสในการออกไปตั้งฐาน
การผลิตในสินค้าปลายน้ำในประเทศเพื่อนบ้านที่มีต้นทุนแรงงานต่ำ
และยงั สามารถใชส้ ทิ ธปิ ระโยชนท์ างภาษี (GSP) ของประเทศเพอ่ื นบา้ น
ในการสง่ ออกไปยงั ยโุ รป และสหรฐั ฯแตผ่ ปู้ ระกอบการจะตอ้ งพฒั นา
• อุตสาหกรรมเคร่ืองใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ไทยยัง แบรนด์ และเพม่ิ การออกแบบเพอ่ื ใหแ้ ขง่ ขนั ในตลาดสากลได้
มีศักยภาพในการแข่งขัน เนื่องจากเป็นฐานการผลิตอันดับ • อุตสาหกรรมเม็ดพลาสติก ไทยมีจุดแข็งเมื่อเทียบกับ
1 ของอาเซียน อย่างไรก็ตาม หลังการเปิด AEC ไทยอาจได้รับ ประเทศในอาเซียน เพราะมีกำลังการผลิตมากที่สุดในภูมิภาค การ
ผลกระทบจากการยา้ ยฐานการผลติ ไปประเทศเพอ่ื นบา้ น เชน่ กรณี เปดิ AEC ลดภาษเี ปน็ 0% ไทยจะสง่ เมด็ พลาสตกิ เขา้ ไปขายไดม้ ากขน้ึ
ทีวีแอลซีดีของโซนี่ ที่ได้ย้ายฐานไปมาเลเซีย เนื่องจากมีต้นทุนใน โดยเฉพาะประเทศทม่ี อี ตุ สาหกรรมตน้ นำ้ ไมเ่ พยี งพอ เชน่ อนิ โดนเี ซยี
การขนส่งไปอินเดียที่เป็นตลาดหลักต่ำกว่า แต่ทั้งนี้ไทยยังคงเป็น แต่อินโดนีเซียก็มีมาตรการกีดกันทางการค้าในเม็ดพลาสติก PET
ฐานการผลิตทีวีแอลซีดีของซัมซุง พานาโซนิก และแอลจี รวมทั้ง จากไทย ดงั นน้ั หากขจดั อปุ สรรคนไ้ี ดก้ จ็ ะทำใหม้ กี ารสง่ ออกมากขน้ึ
ยงั รบั จา้ งผลติ ใหก้ บั อกี หลายแบรนด์ ขณะทเ่ี ครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ อน่ื ๆ เชน่ • อตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑพ์ ลาสตกิ มสี ว่ นแบง่ การตลาดใน
เครอ่ื งปรบั อากาศ ตเู้ ยน็ เครอ่ื งซกั ผา้ ฯลฯ ยงั มแี นวโนม้ ทด่ี ี
อาเซียนเป็นอันดับ 3 รองจากสิงคโปร์ และมาเลเซีย โดยมาเลเซีย
• อตุ สาหกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ไทยยงั มจี ดุ แขง็ ในเรอ่ื งแรงงาน เปน็ คแู่ ขง่ ทน่ี า่ กลวั เนอ่ื งจากมตี น้ ทนุ วตั ถดุ บิ พลงั งาน โลจสิ ตกิ ส์ และ
มฝี มี อื เปน็ ทย่ี อมรบั และมรี ะบบสาธารณปู โภคทพ่ี รอ้ มแตย่ งั มปี ญั หา แรงงานตำ่ กวา่ ไทย รวมทง้ั ยงั มกี ารเชอ่ื มโยงคลสั เตอรพ์ ลาสตกิ ทด่ี กี วา่
การขาดแคลนแรงงาน ซง่ึ การเปดิ AEC คาดวา่ เรอ่ื งภาษจี ะสง่ ผลตอ่ ซง่ึ เมอ่ื เปดิ AEC อตุ สาหกรรมนจ้ี ะขยายตวั ตามเศรษฐกจิ ผปู้ ระกอบการ
อตุ สาหกรรมนไ้ี มม่ าก เพราะไดท้ ะยอยลดภาษเี ปน็ 0 เกอื บหมดแลว้ ไทยสามารถส่งไปยังประเทศเพื่อนบ้านได้มากขึ้น ยกเว้นเวียดนาม
อย่างไรก็ตาม ถ้ามองในแง่ของมาตรการส่งเสริมการลงทุน ไทยยัง ทเ่ี ปน็ ตลาดของมาเลเซยี
เสียเปรียบมาเลเซีย และสิงคโปร์ ที่ให้สิทธิประโยชน์ยืดหยุ่นกว่า • อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง ประเทศไทยมีจุดเด่นในเรื่อง
โดยแนวโนม้ การอยรู่ อดของอตุ สาหกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ สจ์ ะตอ้ งสง่ เสรมิ การสง่ ออกวตั ถดุ บิ ยางธรรมชาตเิ ปน็ จำนวนมาก ทำใหอ้ ตุ สาหกรรมน้ี
ใหเ้ กดิ การลงทนุ ในผลติ ภณั ฑท์ ม่ี มี ลู คา่ เพม่ิ สงู และใชเ้ ทคโนโลยชี น้ั สงู
ของไทยมีศักยภาพ และความสามารถในการแข่งขันโดยเฉพาะ
• อุตสาหกรรมเหล็ก ไทยมีศักยภาพในอันดับต้นๆ ของ ยางลอ้ ทเ่ี ตบิ โตอยา่ งมาก แตข่ ณะเดยี วกนั ประเทศลาวและเวยี ดนาม
อาเซียน เนื่องจากเป็นตลาดที่ใหญ่ และยังมีโอกาสขยายตลาดใน ได้ขยายการส่งออกยางมากขึ้นทำให้อัตราการเติบโตของไทยลดลง
อาเซียนได้อีกมาก แต่มีจุดอ่อนในเรื่องการพึ่งพาวัตถุดิบนำเข้าจาก และไทยยังประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ดังนั้น จึงต้องเร่ง
ตา่ งประเทศ ไมม่ โี รงถลงุ เหลก็ ตน้ นำ้ ซง่ึ หลงั จากเปดิ AECแลว้ ความ ผลติ บคุ ลากรทกุ ระดบั รวมทง้ั เพม่ิ การวจิ ยั และพฒั นาเพม่ิ สง่ เสรมิ ให้
นา่ สนใจในการลงทนุ อตุ สาหกรรมนอ้ี าจดอ้ ยกวา่ ประเทศเพอ่ื นบา้ นทม่ี ี เกิดการใช้เทคโนโลยีในการผลิต และการวิจัยสร้างนวัตกรรมใน
การลงทนุ เหลก็ ตน้ นำ้
อตุ สาหกรรมยาง
• อตุ สาหกรรมอญั มณแี ละเครอ่ื งประดบั ไทยมจี ดุ แขง็ เรอ่ื ง • อุตสาหกรรมเคร่ืองสำอางและเคร่ืองประทินผิว ไทยมี
ฝมี อื แรงงาน โดยมคี วามเชย่ี วชาญในเรอ่ื งการปรบั ปรงุ คณุ ภาพพลอย จุดเด่นในเรื่องคุณภาพสินค้าที่ดีกว่าจีน และยังเป็นทำเลที่เหมาะ
มีจุดอ่อนในเรื่องแรงงานมีฝีมือมีแนวโน้ม ลดลง เพราะคนรุ่นใหม่ ตอ่ การเปน็ ศนู ยก์ ลางกระจายสนิ คา้ ในอาเซยี น และยงั มคี วามหลาก
หนั ไปทำงานดา้ นอน่ื และขาดแคลนวตั ถดุ บิ ภายในประเทศตอ้ งนำเขา้ หลายของสมุนไพรที่ใช้เป็นวัตถุดิบ แต่การเปิด AECจะทำให้
ถงึ 90% แตท่ ง้ั น้ี เมอ่ื เปรยี บเทยี บในอาเซยี นไทยยงั คงมศี กั ยภาพการ ผปู้ ระกอบการSMEsตอ้ งปรบั ตวั เพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั
แขง่ ขนั สงู กวา่ ซง่ึ เมอ่ื เปดิ AECจะทำใหไ้ ทยมแี หลง่ วตั ถดุ บิ เพม่ิ ขน้ึ จาก เพราะจะมคี แู่ ขง่ มากขน้ึ
ประเทศเพอ่ื นบา้ น
• อตุ สาหกรรมอาหาร เปน็ อตุ สาหกรรมทไ่ี ทยมคี วามเขม้ แขง็
• อตุ สาหกรรมสง่ิ ทอ ไทยมจี ดุ เดน่ ในเรอ่ื งขดี ความสามารถใน มาก สิ่งที่ต้องระวังคือ ปัญหาการขาดแคลนแรงงานเนื่องจากเป็น
การผลติ ครบวงจร เปน็ ฐานการผลติ ใหญใ่ นอาเซยี นรวมทง้ั ประเทศ อตุ สาหกรรมทใ่ี ชแ้ รงงานสงู และมสี ภาพแวดลอ้ มการทำงานทไ่ี มจ่ งู ใจ
กัมพูชา พม่า และเวียดนาม ต่างก็ยังพึ่งพาสินค้ากลางน้ำจำพวก ดังนั้น รัฐบาลควรมีนโยบายชัดเจนในเรื่องการเอื้อประโยชน์ต่อ
ผ้าผืนจากไทย ดังนั้นเมื่อเปิด AEC จะเป็นผลดีเนื่องจากประเทศ นักลงทุน เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพ การลดต้นทุนการผลิต
เพื่อนบ้านและเวียดนาม มีอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มที่เติบโตอย่าง การสนบั สนนุ การวจิ ยั และพฒั นา เพอ่ื ลดการพง่ึ พาแรงงาน
รวดเร็ว แต่ยังขาดแคลนอุตสาหกรรมต้นน้ำและกลางน้ำ จึงต้อง
นำเขา้ วตั ถดุ บิ ทำใหเ้ ปน็ โอกาสของไทยในการขยายตลาดในอาเซยี น
ทม่ี า : กรงุ เทพธรุ กจิ ออนไลน์ โดย วชั ระ ปษุ ยะนาวนิ
9อุตสาหกรรมสาร
เรยี บเรยี งโดย ณรงค์ รจู้ ำ
Show Case
แบล็คแคนยอน
ไตอ่ นั ดบั ผนู้ ำธรุ กจิ
รา้ นอาหารใน AEC
เวลากว่า 20 ปี กับการฟูมฟักธุรกิจที่เคยเป็น
แค่งานอดิเรก มาถึงวันนี้ ‘แบล็คแคนยอน’
กลายเป็นแบรนด์อินเตอร์สร้างปรากฏการณ์
ในวงการธุรกิจร้านอาหารเมืองไทย ในฐานะ
แบรนด์ร้านกาแฟคนไทยที่ทาบรัศมี
แบรนด์นอกอย่างสตาร์บัคส์ได้อย่างสมศักดิ์ศรี
กระทั่งยกระดับเป็นผู้นำเทรนด์ร้านกาแฟสด
ที่เสิร์ฟอาหารอร่อย ขยายตลาดได้อย่างต่อเนื่อง
จนเข้าตานักลงทุนต่างประเทศจ่อขอซื้อสิทธิ์
แฟรนไชส์นับร้อยราย และวันนี้แบล็คแคนยอน
คือบทเรียนอันมีค่าที่นักธุรกิจไทยควรศึกษา
หากต้องการลุยตลาด AEC
สายเลือดใหม่ หนุนแบรนด์โตอย่างมั่นคง
ในวนั ทก่ี ารแขง่ ขนั ไมไ่ ดห้ ยดุ อยแู่ คต่ ลาดในบา้ น ทง้ั จำนวนสาขา
มลู คา่ ธรุ กจิ จำนวนพนกั งานกไ็ มใ่ ชน่ อ้ ยๆแลว้ ประจวบกบั ทายาทท่ี
เติบใหญ่จบการศึกษามีไฟพร้อมที่จะมาหนุนธุรกิจให้เติบโตอย่าง
มน่ั คง วนั นเ้ี ราจงึ เหน็ บทบาทของคนรนุ่ ใหมใ่ นนามสกลุ ‘จติ นราพงศ’์
มากขึ้นในตำแหน่งสำคัญที่กุมหัวใจของธุรกิจ นอกเหนือไปจาก
คุณประวิทย์ จิตนราพงศ์ ผู้เป็นทั้งพ่อและเจ้านายหนึ่งในนั้นคือ
คุณวิฐรา จิตนราพงศ์ ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ
บรษิ ทั แบลค็ แคนยอน (ประเทศไทย) จำกดั ผบู้ รหิ ารรนุ่ ใหมม่ านง่ั คยุ
กบั ‘อตุ สาหกรรมสาร’
“ด้วยจุดแข็งของแบรนด์ แบล็คแคนยอน ซึ่งเป็นร้านกาแฟ
ควบคู่อาหารไทยสไตล์ฟิวชั่น ที่ดำเนินงานอย่างจริงจังทั้งสองส่วน
อยา่ งผลติ ภณั ฑก์ าแฟ เราคดั สรรกาแฟคณุ ภาพสงู จากโครงการหลวง
มาคั่วบดด้วยกระบวนการเฉพาะภายใต้โรงงานของเราเองรวมกับ
การใช้เครื่องชงกาแฟและบาริสต้าเทรนด์มาอย่างดีทำให้กาแฟและ
เมนูเครื่องดื่มของแบล็คแคนยอน โดดเด่นด้วยคุณภาพและรสชาติ
อรอ่ ยเขม้ ขน้ เปน็ เอกลกั ษณใ์ นทกุ สาขา
10 อุตสาหกรรมสาร
ส่วนอาหารนั้นถูกครีเอทขึ้นในสไตล์ฟิวชั่น ฟู้ดส์ เสริมเมนู
อินเตอร์ฯ เพื่อเพิ่มวาไรตี้ให้ลูกค้า แต่ยังคงนำทัพด้วยเมนูไทย
รว่ มสมยั ทค่ี รองความนยิ มตลอดกาลจากลกู คา้ ทง้ั ไทยและตา่ งชาติ เร่ิมต้นท่ีสาหัส จากมือใหม่สู่มืออาชีพ
ไม่ว่าจะเป็น ต้มยำกุ้ง ผัดไทย แกงเขียวหวานไก่ ยำต่างๆ ฯลฯ แต่กว่าจะมีสาขานับร้อย ครองตำแหน่งผู้นำตลาด หากย้อน
รวมกับการพัฒนาทางธุรกิจ เพื่อขยายตลาดเมืองไทยและต่างชาติ กลับไปวันเริ่มต้นของ คุณประวิทย์ จิตนราพงศ์ กรรมการผู้จัดการ
อยา่ งตอ่ เนื่อง ซ่ึงตลาดในประเทศนั้น เราเปดิ บริการเตม็ รปู แบบใน ใหญ่และเจ้าของแบรนด์แบล็คแคนยอน ซึ่งเคยเล่าถึงที่มาของธุรกจิ
ทุกโมเดลแล้ว นำโดย แบล็คแคนยอน ที่เติบโตกว่า 250 สาขา แบลค็ แคนยอน ใหฟ้ งั ในหลายเวที กจ็ ะพบอปุ สรรคมากมายแตเ่ ขาก็
ร่วมด้วยแบรนด์อื่นๆในเครืออย่าง คาเฟเนโร่ เจลาโตนี่ มายเบรด ผา่ นมาไดแ้ ละไดก้ ลายเปน็ แรงบนั ดาลใจใหก้ บั ผปู้ ระกอบการ SMEs
และ คาเฟ่ อินทีเรีย เน้นการเปิดสาขาครอบคลุมทุกโลเกชั่นและ อยา่ งเขา้ ถงึ แกน่ ทค่ี นทำธรุ กจิ ดว้ ยกนั เขา้ ใจงา่ ยๆ
กระจายตวั ทว่ั ประเทศ อาทิ ศนู ยก์ ารคา้ ขนาดใหญ-่ กลาง คอมมวิ นติ ้ี
มอลล์ ท่าอากาศยาน และปั้มน้ำมันขนาดใหญ่” ผู้บริหารรุ่นใหม่ “ชว่ ง 3 ปแี รก เปน็ ชว่ งทส่ี าหสั สากรรจม์ าก สำหรบั การทำธรุ กจิ
เลา่ ภาพรวมของธรุ กจิ ซง่ึ ขยายทง้ั ในแนวระนาบและแนวตง้ั
ที่เราไม่มีความรู้และไม่มีความเชี่ยวชาญเลย แต่หลังจาก 3 ปี
พอตั้งหลักได้ เลยใช้วิธีโละคนเดิมออกให้หมด เอาคนของเราที่เป็น
นกั คอมพวิ เตอรเ์ ขา้ มาทำ สง่ ไปอติ าลี ญป่ี นุ่ ไปเรยี นรวู้ ธิ กี ารชงกาแฟ
เปดิ อนิ เตอรเ์ นต็ และหาคนทม่ี คี วามเชย่ี วชาญมาเปน็ ทป่ี รกึ ษา
พอทำไปไดส้ กั พกั รสู้ กึ วา่ ธรุ กจิ ทเ่ี ราทำเลก็ ๆ กะวา่ จะทำเปน็ งาน
อดเิ รก ไมซ่ เี รยี สกบั มนั เรม่ิ โตขน้ึ อาจเปน็ เพราะเมอ่ื 20 ปกี อ่ น ธรุ กจิ
ร้านอาหารที่เป็นเชนของคนไทยยังไม่มี ส่วนใหญ่เป็นเชนของฝรั่ง
ทง้ั นน้ั เลย ของผมเวลาทเ่ี ราเรม่ิ ตน้ จากความไมม่ รี ะบบ จงึ เปน็ อะไรท่ี
เหนอ่ื ยทง้ั ใจ เหนอ่ื ยทง้ั กาย
ปัญหาอีกอย่างคือ ทุนก็ไม่มี เวลาจะกู้เงินแบงก์ก็ถามว่ามี
ทรพั ยส์ นิ อะไรบา้ ง ชว่ งตน้ กเ็ หมอื นหลายๆ ทา่ นทท่ี ำธรุ กจิ อาศยั ญาติ
พน่ี อ้ งกหู้ นย้ี มื สนิ แตด่ ตี รงทเ่ี ราเปน็ นกั คอมพวิ เตอรม์ ากอ่ น เคยผา่ น
การทำงานที่เป็นระบบมาก่อน ถือเป็นข้อได้เปรียบมากเวลาทำงาน
ธรุ กจิ เอสเอม็ อขี องเรามกั จะขาดความเปน็ ระบบ ขาดคมู่ อื ”
11อตุ สาหกรรมสาร
ระบบ กุญแจสำคัญทำธุรกิจรอด แบรนด์ย่ังยืน
ทายาทแบล็คแคนยอนยังกล่าวต่อถึงการบริหารจัดการและ
ควบคุมมาตรฐานแฟรนไชส์ด้วยว่า “ทางบริษัทฯแม่ จะเป็นผู้ดูแล
การวางระบบ การเทรนนิ่ง รวมทั้งการซัพพลายวัตถุดิบทั้งหมด
เพื่อควบคุมมาตรฐานสินค้าในเบื้องต้น และส่วนอาหารนั้นเรายังส่ง
เชฟไทยไปประจำอยู่ทุกสาขาในทุกประเทศ สาขาละ 1-2 คน และ
ยังมีหัวหน้าเชฟเดินทางไปตรวจคุณภาพของรสชาติอาหารทุกสาขา
ใหไ้ ดม้ าตรฐานเดยี วกนั
“อย่างไรก็ตาม การให้คนท้องถิ่นรู้สึกมีส่วนร่วมกับแบรนด์ก็
เปน็ สง่ิ ทผ่ี บู้ รหิ ารไมไ่ ดม้ องขา้ ม โดยไดเ้ สรมิ วฒั นธรรมเฉพาะของแตล่ ะ
ท้องถิน่ ลงในเมนพู เิ ศษทีม่ ีเฉพาะสาขาเพ่ือเพมิ่ ความใกลช้ ดิ และสรา้ ง
ความสขุ ใจใหก้ บั ลกู คา้ ซง่ึ ทำมาตลอดกวา่ 10 ปี ซง่ึ ไดร้ บั การตอบรบั
ที่ดีมาโดยตลอด และเป็นกลยุทธ์สำคัญที่ทำให้บริษัทสามารถขยาย
P-Partner กลไกสำคัญในการไปต่างประเทศ
สาขาในต่างประเทศได้แล้วกว่า 50 แห่ง โดย อินโดนีเซีย มีสาขา
เนอ่ื งจากเปน็ ธรุ กจิ ใหมท่ ไ่ี มเ่ คยทำ คณุ ประวทิ ย์ จงึ ตอ้ งอาศยั สงู สดุ ถงึ 30 สาขา สว่ นในมาเลเซยี มี 14 สาขา ซง่ึ ถอื วา่ เราโชคดที ไ่ี ด้
ตำรา ซ่งึ เป็นการใชอ้ งค์ความรเู้ ดมิ ในด้านการตลาดทเี่ รยี นมา คอื มาสเตอร์แฟรนไชส์ที่มีศักยภาพสูงในการเลือกโลเกชั่นและวางแผน
4P เรอ่ื งของ Product, Price, Promotion, Place แตแ่ คน่ น้ั ยงั ไมพ่ อ การตลาดทต่ี อบโจทยล์ กู คา้ ”
เนอ่ื งจากเปน็ ธรุ กจิ แฟรนไชสแ์ ละไปตา่ งประเทศ 4P อาจจะเหมาะ
ในยคุ ใดยคุ หนง่ึ แตท่ กุ วนั นเ้ี ขาวา่ จะตอ้ งเพม่ิ อกี 3P ทส่ี ำคญั สดุ เลย
คือ P ตัวแรก คือ Partner ต้องหาพันธมิตรทางธุรกิจ เวลาไป
ต่างประเทศ แม้จะมีเงินลงทุน 4 ล้านบาท หรือ 10 ล้านบาท ฟันธง AEC มีอนาคต หากมีความพร้อม
ไปเปดิ ตอ่ 1 สาขา แตถ่ า้ ไมม่ คี อนเนก็ ชน่ั กล็ ำบาก เพราะฉะนน้ั การ ผบู้ รหิ ารสาวรนุ่ ใหมย่ งั ฝากถงึ ผปู้ ระกอบการ SMEs ทส่ี นใจขยาย
ไปเสาะแสวงหาพารต์ เนอรห์ าหนุ้ สว่ นทางธรุ กจิ คอื ขายแฟรนไชสไ์ ป
ตลาดไปยัง AEC ว่า “สำหรับทิศทางการขยายตลาดในประเทศ
กลมุ่ อาเซยี น แบลค็ แคนยอน มองวา่ เปน็ โอกาสทด่ี สี ำหรบั การลงทนุ
ประวิทย์ ยังแนะนำด้วยว่า วิธีที่จะเรียนรู้แต่ละประเทศให้ เพราะกลมุ่ ประเทศเหลา่ นม้ี พี น้ื ฐานประชากรและพฤตกิ รรมการบรโิ ภค
ดที ส่ี ดุ คอื การเขา้ ไปดดู ว้ ยตวั เอง เราตอ้ งตน่ื แตเ่ ชา้ ไปดตู ลาดเชา้ คอ่ นขา้ งคลา้ ยกนั สว่ นตน้ ทนุ การบรหิ ารจดั การของประเทศในกลมุ่ น้ี
เขาทานมอ้ื เชา้ อยา่ งไร วตั ถดุ บิ เขาหาซอ้ื ยงั ไง เพราะประเทศทก่ี ำลงั ก็ค่อนข้างสะดวกกว่า ไม่ว่าจะเป็นการซัพพลายวัตถุดิบ วางระบบ
เจรญิ จะไมม่ ี โลตสั บก๊ิ ซี เหมอื นบา้ นเรา ตลาดยงั ลา้ สมยั เปน็ เรอ่ื ง ตา่ งๆ ฯลฯ โดยเลง็ เหน็ วา่ แนวโนม้ การเตบิ โตของตลาดทน่ี า่ จบั ตามอง
ของชาวบา้ นถบี จกั รยานมาตอนเชา้ นง่ั ทานขา้ ว อยา่ งลาว ตอนเชา้ นบั จากนจ้ี ะอยใู่ นกลมุ่ ประเทศทก่ี ำลงั พฒั นา เพราะคแู่ ขง่ ในประเทศ
อาจจะนง่ั ทานเฝออยู่ บางประเทศ ประมาณ 4-5 โมง เขากก็ ลบั ยังน้อย ยิ่งแบรนด์ไหนเตรียมตัวพร้อมก่อน เข้าไปเปิดตลาดสร้าง
บา้ นแลว้ เขาไมเ่ ทย่ี วเตรท่ ไ่ี หนเลย ความเปน็ วฒั นธรรมครอบครวั แบรนด์ได้ก่อน ก็ยิ่งชิงความได้เปรียบในการดำเนินธุรกิจได้สูงกว่า
ยงั หนาแนน่ อย่
ู และสำหรับธุรกิจอาหารของไทยนั้น ความได้เปรียบในการลงทุนก็
ยง่ิ มมี าก เพราะอาหารไทยเปน็ ทร่ี จู้ กั และไดร้ บั การยอมรบั จากทว่ั โลก
สง่ิ ทเ่ี ราใชป้ ระโยชนอ์ กี อยา่ ง คอื เราตอ้ งเขา้ ไปพบทตู พาณชิ ย์ อยแู่ ลว้ ดงั นน้ั การควบคมุ คณุ ภาพและรกั ษามาตรฐานใหค้ งเสน้ คงวา
ของแต่ละประเทศ เพราะหน้าที่ของทตู พาณิชย์คือ ให้ความรู้ทาง ถอื เปน็ เรอ่ื งสำคญั ทผ่ี ปู้ ระกอบการไทยตอ้ งใสใ่ จ”
ด้านเศรษฐกิจ ข้อมูลต่างๆ ของผู้ประกอบการของประเทศของ
ตวั เอง และเราเองยงั สามารถใชข้ อ้ มลู คอื Google เพอ่ื เสริ ช์ ขอ้ มลู
ในประเทศนน้ั ๆ ผา่ นกระทรวงพาณชิ ยก์ ไ็ ด้ หรอื หอการคา้ กม็ ี
www.blackcanyoncoffee.com
มาสเตอร์แฟรนไชส์ คนสำคัญต้องหาให้เจอ
ปจั จบุ นั แบลค็ แคนยอน ถอื เปน็ แบรนดส์ ญั ชาตไิ ทยทม่ี คี วาม
พร้อมสูงมากในการบุกไปเปิดตลาด ทั้ง สิงคโปร์ มาเลเซีย
อนิ โดนเี ซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ สหภาพพมา่ สหรฐั อาหรบั เอมเิ รตส์ กมั พชู า
มาเลเซีย และ สปป.ลาว โดยเฉพาะกับกลุ่มประเทศอาเซียนที่มี
สาขาครอบคลมุ เกอื บทกุ ประเทศเรยี บรอ้ ย เหลอื เพยี ง บรไู น และ
เวยี ดนามเทา่ นน้ั ซง่ึ กม็ กี ารปรกึ ษาและประเมนิ ชอ่ งทางเจาะตลาด
กนั อยู่ โดยระบบทแ่ี บลค็ แคนยอนใชข้ บั เคลอ่ื นธรุ กจิ ในตา่ งชาตกิ ค็ อื
การใชม้ าสเตอร์ แฟรนไชส์ คณุ วฐิ รา เผยวา่
“เราหวงั จะกา้ วสผู่ นู้ ำในธรุ กจิ รา้ นกาแฟและอาหารในภมู ภิ าค
เอเชีย และมองว่าแบรนด์อาหารไทยในลักษณะของไทยคาเฟ่ใน
ตา่ งประเทศยงั คงมชี อ่ งวา่ งในตลาดอยมู่ าก ดงั นน้ั การสรา้ งแบรนด์
พฒั นาและรกั ษาคณุ คา่ แกล่ กู คา้ คคู่ า้ เพอ่ื นรว่ มงาน สงั คมและ
องค์กร เป็นสิ่งสำคัญที่เรายึดถือเพื่อนำไปสู่จุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้
ซง่ึ การรว่ มมอื กนั ขยายธรุ กจิ ภายใตร้ ปู แบบของมาสเตอร์ แฟรนไชส์
นจ้ี ะเปน็ การรว่ มดแู ลกบั นกั ธรุ กจิ ทอ้ งถน่ิ ซง่ึ มคี วามคลอ่ งตวั ในการ
ทำธรุ กจิ มากกวา่ ”
12 อุตสาหกรรมสาร
เรยี บเรยี งโดย นชุ เนตร จกั รกลม
SMEs Talk
กางแผนขยายธุรกิจ รุกโตตลาด นีโอ สุก้ี
อาเซียนเป็นเวลา 14 ปี นับตั้งแต่
พ.ศ. 2542 ที่ชื่อของ นีโอ สุกี้ จบั สกุ น้ี านาชาติ บกุ AEC
ภัตตาคารสุกี้นานาชาติ เริ่มก่อตั้ง
และก้าวมาร่วมแชร์ตลาดร้าน
อาหารเมืองไทย ภายใต้การ
บริหารงานของ บริษัท นีโอสุก้ี
ไทยเรสเทอรองส์ จำกัด ด้วย
การวางแนวทางที่ชัดเจนที่นำ
เสนอความแตกต่างอย่างมี
คุณภาพให้กับลูกค้า ด้วยสโลแกน
“นีโอสุกี้ สุกี้นานาชาติ อร่อย
ถกู ใจกบั นำ้ จม้ิ หลากหลาย” ทำให้
ร้านอาหารแบรนด์นี้ยังครองความ
นิยมจากกลุ่มลูกค้าได้เรื่อยมา
ถือเป็นอีกหนึ่งธุรกิจเอสเอมอี
ที่ค่อยๆ เติบโตด้วยรากฐาน
แข็งแรงแม้กระแสจะไม่หวือหวา
แต่ก็ดำเนินไปอย่างยั่งยืน
เกิดมาตาม มาตรฐานต้องไม่ต่ำกว่าผู้นำ
คุณสกนธ์ กัปปิยจรรยา กรรมการผู้จัดการ บริษัท
นีโอ สุกี้ ไทย เรสเทอรองต์ จำกัด เผยว่าการทำธุรกิจในแบบ
นีโอสุกี้ จะใช้หลักตามมาตรฐาน PSI 100 % P = Product
ผลิตภัณฑ์ มีความหลากหลาย คุณภาพ รสชาติดี ถูก
สุขอนามัย และสดสะอาด S = Service บริการลูกค้าด้วย
ความประทับใจ และ I = Image สร้างภาพลักษณ์โดดเด่น
เพื่อดึงดูดลูกค้า เรามีการคัดสรรวัตถุดิบคุณภาพสูงและ
หลากหลายจากแหล่งผลิตที่ได้มาตรฐานผ่านระบบครัวกลาง
ซึ่งได้มาตรฐาน HACCP และ GMP
13อตุ สาหกรรมสาร
เป็นหลัก ส่วนที่ต่างประเทศนั้น จับเลือกสร้างโอกาสเติบโตในแถบ
ประเทศกลุ่มอาเซียน ในรูปแบบการขายมาสเตอร์แฟรนไชส์ให้กับ
นักลงทุนท้องถิ่น เพราะการลงทุนรูปแบบนี้จะช่วยลดทอนความ
เสี่ยงของการลงทุนในแต่ละประเทศ ที่มักเจอกับปัญหาและ
ข้อจำกัดต่างๆมากมาย โดยตอนนี้ได้ขยายสาขานำร่องไปเรียบร้อย
แล้วทั้งใน เวียดนาม อินโดนีเซีย กัมพชู า และลาว
“สำหรับตลาดต่างประเทศ เรามุ่งเน้นตลาดอาเซียนด้วยกัน
เพราะมีวัฒนธรรมการกินที่ค่อนข้างจะคล้ายคลึงกันอยู่ เล็งเห็นว่า
เช่นเดียวกัน รวมทั้งการคิดค้น พัฒนา เซตเมนูสุกี้และน้ำจิ้ม สุกี้ น่าจะเข้าถึงผู้บริโภคในแถบนี้ได้ไม่ยาก โดยทางบริษัทเอง
สูตรต้นตำรับออกมาถึง 7 สไตล์ อาทิ ชุดสุกี้กวางตุ้ง ทานคู่กับ มองวา่ นโยบายการลงทนุ ในตา่ งประเทศควรเปน็ ไปในระบบแฟรนไชส์
น้ำจิ้มสุกี้กวางตุ้ง ชุดสุกี้ไหหลำ ทานคู่กับน้ำจิ้มเต้าหู้ยี้สูตรไหหลำ, เนื่องจากเราขาดความชำนาญทั้ง พื้นที่ ภาษา วัฒนธรรม กฎ
ชุดสุกี้ไต้หวัน ทานคู่กับน้ำจิ้มสูตรไต้หวัน ที่ทำมาจากพริกเผาและ ระเบียบและข้อกฎหมายต่างๆ ที่แต่ละประเทศก็จะต่างกันไปใน
ซอสถั่วเหลืองหมักพิเศษ, ชุดสุกี้ชาบู ที่ตัวน้ำจิ้มชาบูได้ถูกปรุงรส รายละเอียด แต่อย่างไรก็ตามสิ่งสำคัญก็คือเราต้องศึกษากฎ
พิเศษจากเชฟญี่ปุ่นทำให้คงรสชาติต้นตำรับแท้ 100% ฯลฯ ระเบียบข้อกฎหมาย วัฒนธรรม และพฤติกรรมของผู้บริโภคในประเทศ
เพื่อเพิ่มความวาไรตี้ของทางเลือก ตอบโจทย์ผู้บริโภคปัจจุบันที่ นั้นๆ ให้เข้าใจก่อนการลงทุน และระวังเรื่องการจดลิขสิทธิ์แบรนด์
หันมาใส่ใจเรื่องของสุขภาพ รสชาติ และคุณภาพอาหารที่ถูก เพื่อป้องกันปัญหาการลอกเลียนแบบ”
สุขอนามัย ภายใต้ราคาคุ้มค่าไปพร้อมกัน ลูกค้าที่เข้ามาก็จะรู้สึก
อบอุ่นและวางใจเหมือนรับประทานอาหารอยู่ที่บ้าน”
“ปัญหาของเอสเอ็มอีคือการเผชิญกับรายใหญ่และคู่แข่ง AEC โอกาสใหม่ท่ีงดงาม แต่ทางไม่ได้สวยตลอด
ที่มีจำนวนมากขึ้น ผู้บริโภคมีโอกาสเลือกจากผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ โดยแนวโน้มการรุกตลาดอาเซียนของ นีโอ สุกี้ ถือว่าเป็นไป
การที่รายเล็กๆ แบรนด์รองจะอยู่ได้ต้องรักษาคุณภาพและยืนยัน ในทิศทางที่ดี อย่างเช่นที่ เวียดนาม ถือว่าได้รับการตอบรับที่ดี
เอกลักษณ์เฉพาะตัว เช่น ถ้าเป็นสุกี้ก็จะต้องเน้นความเป็นสุกี้ ทั้งสาขา Big-C เมืองด่องใน และหน้านิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร
ให้ชัด ซึ่งของนีโอสุกี้มีน้ำจิ้มให้เลือก 7 รสชาติ ถือเป็นจุดเด่น เมืองด่องใน เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจและอัตราการจับจ่ายของ
ของร้าน”
ชาวเวียดนามค่อนข้างเป็นไปในทิศทางที่ดี ประกอบกับพฤติกรรม
การรับประทานที่คล้ายคลึงคนไทย และรัฐบาลเองก็ส่งเสริม
นักลงทุนต่างชาติ จึงเห็นว่าตลาดเวียดนามยังมีลู่ทางการเติบโตและ
สุก้ีแบรนด์รอง ลุยทุกทางเพื่อการเติบโต
น่าจะขยายสาขาได้อีก ส่วนข้อควรระวังสำหรับการลงทุนกับ
ประเทศนี้คือ การจดลิขสิทธิ์แบรนด์ อีกทั้งเรื่องข้อตกลงเกี่ยวกับ
ตั้งแต่การเปิดตัวร้านสาขาแรกที่ ห้างพันธุ์ทิพย์พลาซ่า สัญญาเช่าพื้นที่ จำเป็นต้องศึกษาให้ลึกซึ้ง ส่วนการลงทุนที่ ลาว
งามวงศ์วาน จนในปัจจุบัน นีโอ สุกี้ ได้ขยายสาขาไปแล้วกว่า 17 กัมพชู า และอินโดนีเซีย ก็เติบโตในทิศทางที่ดี มีโอกาสในการขยาย
แห่งทั้งในและต่างประเทศ กับรูปลักษณ์การตกแต่งทันสมัยและ สาขาสงู ส่วนที่ พม่า ถือเป็นตลาดต่างประเทศที่ล่าสุด ในการลงทุน
เป็นสากล โดยมีการขยายสาขาในรูปแบบบริษัทเป็นเจ้าของเอง ซึ่งกำลังอยู่ในระหว่างการเจรจากับมาสเตอร์แฟรนไชส์ที่นั่นเพื่อ
ควบคู่ไปกับการขยายแฟรนไชส์ ซึ่งสาขาในเมืองไทยจะมุ่งเน้น ลุยเปิดสาขาแรกในอีกไม่นาน
การลงทุนในคอมมิวนิตี้ มอลล์ และย่านชุมชนตามแนวรถไฟฟ้า
14 อตุ สาหกรรมสาร
“ในส่วนของการขยายออกต่างประเทศ โดยเฉพาะตลาดเออีซี คุณสกนธ์กล่าวว่า ตอนนี้มีการเจรจากับนักพัฒนาพื้นที่คือ
ตอนนี้มองที่ประเทศพม่า ซึ่งทำเลที่สนใจคือ ย่างกุ้ง ซึ่งอยู่ใน บริษัท คอนทัวร์ จำกัด ซึ่งจะมีการนำเอาร้านนีโอสุกี้ไปเปิดในจุด
ระหว่างการเจรจากับบริษัท ยูเอ็มอี เมียนมาร์ ซึ่งทำธุรกิจก่อสร้าง ที่มีการพัฒนาพื้นที่เป็นคอมมิวนิตี้มอลล์ ส่วนรายอื่นๆ ที่มีการ
และกำลังมองหาธุรกิจในกลุ่มอื่นๆอยู่ และเขามองว่ากลุ่มอาหาร ติดต่อเข้ามา อาทิ คอมมิวนิตี้มอลล์ย่านลาดกระบัง และถนน
โดยเฉพาะสุกี้มีอนาคต สำหรับย่างกุ้ง เป็นมาสเตอร์แฟรนไชส์ วัชรพลอยู่ในระหว่างการพิจารณา
ซึ่งจะต้องมีการขยาย 3 สาขา ภายใน 3 ปี โดยสาขาแรกที่เจรจา “การเจาะคอมมิวนิตี้มอลล์เป็นทางออกของแบรนด์รอง
ในตอนนี้มีพื้นที่ราว 400 ตารางเมตร ใช้เงินลงทุนไม่ต่ำกว่า 10 ที่ไม่สามารถเข้าไปเปิดในห้างได้ ขณะที่แบรนด์ใหญ่ๆก็ไม่มาเปิด
ล้านบาท ขณะที่ สปป.ลาว เวียงจันทน์ และเวียดนาม มีการขาย ตามคอมมิวนิตี้มอลล์ เพราะแบรนด์ใหญ่ที่ต้องการพื้นที่มากๆ
แฟรนไชส์ไปแล้ว”
ก็ต้องการจำนวนลูกค้ามากด้วย จึงเป็นโอกาสของผู้ประกอบการ
เอสเอ็มอี”
ตลาดในบ้านยังทรง คู่แข่งเยอะกำลังซ้ือหด สำหรับรายได้ในปีนี้ เจ้าของนีโอสุกี้ เผยว่าจากการประเมิน
ผุดสาขาตามคอนโด
สถานการณ์บ้านเมือง และด้านเศรษฐกิจ ผลกระทบจากโครงการ
รถคันแรก ซึ่งหลายคนมีภาระหนี้สินใช้จ่ายมากขึ้น ทำให้กำลังซื้อ
สำหรับแผนการขยายตลาดในประเทศไทย หลายปีที่ผ่านมา ก็ลดสภาพคล่องไปด้วย ดังนั้น ผลประกอบการในปีนี้คงขอประคอง
นีโอสุกี้เองก็ลุยตลาดไปเกือบทุกโลเกชั่นที่เอื้ออำนวย โดยปัจจุบัน ตัวไปก่อน
ในเมืองไทยมีสาขาทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด อาทิ ภูเก็ต
อุดรธานี เชียงใหม่ ซึ่งเป็นพื้นฐานทำให้การขยายตลาดไปสู่ AEC จับซอสใส่ขวด สินค้าอีกขาท่ีเพ่ิมความแข็งแกร่ง
ทำได้รวดเร็วขึ้น
ให้แบรนด
์
นอกจากธุรกิจร้านอาหารที่เติบโตไปในทิศทางที่ดีทั้งในและ
โดยในปีนี้ โลเกชั่นที่เหมาะแก่การเปิดสาขาใหม่นั้น คุณสกนธ์
มองว่า คอมมิวนิตี้มอลล ์และคอนโดฯ ติดแนวรถไฟฟ้าเกิดขึ้นมาก
แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของกรุงเทพฯที่ยังมีการขยายตัวของ ต่างประเทศแล้ว ธุรกิจน้ำจิ้มสุกี้ ซอสบาร์บีคิว ซีฟู้ด บรรจุขวด
คนรุ่นใหม่สงู ซึ่งคนกลุ่มนี้นิยมทานอาหารนอกบ้านอยู่แล้ว และสุกี้ ภายใต้แบรนด์นีโอสุกี้ รวมทั้งการรับจ้างผลิตแบบ (OEM) ที่มีให้
ก็เป็นอาหารที่คนไทยทุกกลุ่มรู้จักและนิยมทาน ซึ่งตนมองว่านี่จะ เลือกหลากหลายสูตร ได้การรับรองจากมาตรฐานองค์การอาหาร
เป็นโอกาสของนีโอสุกี้ที่จะรุกไปเปิดแฟรนไชส์ด้วย ในขณะที่ทำเล และยา, GMP/HACCP และการรับรองความอร่อยจากเชลล์ชวนชิม
อย่างคอมมิวนิตี้มอลล์ ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์หลักของนีโอสุกี้ก็จะยังคง เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้บริโภคที่ต้องการซื้อกลับบ้าน
ให้ความสำคัญอยู่
ซึ่งวางขายในซุปเปอร์มาร์เก็ตชั้นนำ อาทิ Lotus, Lotus Express,
“ตอนนี้มีนักพัฒนาพื้นที่คอมมิวนิตี้มอลล์ติดต่อให้เราไป Big-C, Carrefour, Tops Supermarket, The Mall, Jusco, Siam
เปิดแล้ว 15 แห่ง ซึ่งคาดว่าจะขยายสาขาติดแนวรถไฟฟ้าไม่ต่ำกว่า Paragon มาตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2546 ก็เป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่
20 สาขา ใน 3 ปี โดยแต่ละสาขาจะมีพื้นที่ไม่ต่ำกว่า 120-150 ประสบความสำเร็จยอดเยี่ยม กลายเป็นอีกเซกเมนต์หนึ่งของบริษัท
ตารางเมตร ใช้เงินลงทุนไม่ต่ำกว่า 5 ล้านบาทต่อสาขา ซึ่งคาดว่า ที่ผนึกกำลังกันเพื่อต่อยอดความแข็งแกร่งให้กับแบรนด์อย่าง
ไตรมาส 3 ในปี 2557 จะสามารถเปิดได้ครบ 15 สาขา”
ต่อเนื่อง.
ภาพและขอ้ มลู www.neosuki.com / www.gotomanager.com
15อุตสาหกรรมสาร
เรียบเรียงโดย จารุณี ทองไพบลู ย์กิจ
Marketing
ก
้าวเขา้ สู่ AEC
ตอ้ งกา้ วทนั เทรนด์โลก
การมีวิสัยทัศน์ก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของ นอกจากนี้ การสื่อสารทางการตลาดในยุค 1.0 และ 2.0
โลกจะช่วยให้ผู้ประกอบการเข้าใจชีวิตและความ ยังเป็นแบบ “one-to-many” คือ เจ้าของสินค้าสื่อสารกับผู้บริโภค
ตอ้ งการของคนในอนาคต โลกในยคุ 3.0 จะมหี นา้ ตา แต่ในยุค 3.0 เป็นแบบ “many-to-many” คือ ผู้บริโภคสื่อสาร
เปลย่ี นแปลงไปจากโลกปจั จบุ นั อยา่ งไรบา้ ง
กันเองผ่านโซเชียล เน็ตเวิร์ค ทำให้เกิดการสื่อสารแบบ “ตัวต่อตัว”
(one-on-one) ดังนั้น สื่อออนไลน์จึงมีบทบาทมากกว่าสื่อดั้งเดิม
อย่างวิทยุ โทรทัศน์ ทั้งนี้ จะพบว่า ผู้ประกอบการยุค 3.0 ต่าง
ก่อนอ่ืนมาทำความรู้จักกับตัวเลข 1.0, 2.0, 3.0 หันมาให้ความสำคัญกับสื่อออนไลน์อย่างมาก เพราะสามารถ
กันสกั นิด…
ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคได้แบบรายบุคคล
ตัวเลข 1.0, 2.0, 3.0 เป็นแนวคิดทางการตลาดในแต่ละ อีกทั้งข้อมูลบน “แฟนเพจ” ยังเป็นประโยชน์ต่อการวิจัยและ
ยุคสมัย ในยุค 1.0 การผลิตสินค้ามีศนู ย์กลางที่ “ผลิตภัณฑ์” พัฒนาผลิตภัณฑ์มากกว่าสื่อแบบเดิมเนื่องจากบรรดาแฟนๆ
(product-centric) มุ่งวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เป็นหลัก เน้นการ ในแฟนเพจทำหน้าที่เป็น “นักการตลาด” แทนนักการตลาด
ผลิตจำนวนมากเพื่อลดต้นทุนการผลิต ต่อมาในยุค 2.0 การ แบบเดิม ทำให้การวิจัยตลาดด้วยวิธี “focus group” กลายเป็น
พัฒนาผลิตภัณฑ์ได้ย้ายศูนย์กลางมาอยู่ที่ “ผู้บริโภค” เรื่องล้าสมัยและให้ผลแม่นยำน้อยกว่า
(consumer-centric) โดยเน้นความต้องการที่แตกต่างของ
ผู้บริโภคแต่ละกลุ่ม (market segmentation) สำหรับการตลาดใน การเข้าสู่ AEC ของไทย ก็ไม่ต่างจากการเปิดรับเพื่อน
ยุค 3.0 นี้มีศูนย์กลางอยู่ที่ “มนุษย์” (human-centric) ซึ่งมิได้ มนุษย์เพิ่มขึ้นอีกร่วม 600 ล้านคน ซึ่งหมายความถึงความ
เน้นเพียงคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์อย่างเดียว แต่ยังมุ่งสร้าง ต้องการสินค้าอุปโภคบริโภคที่หลากหลายไปด้วย ทว่าส่วนใหญ่
คุณค่าทางจิตใจ (spiritual value) บรรดาธุรกิจขนาดใหญ่จึงจัด ยังเกาะไปตามกระแสพฤติกรรมการบริโภคของชาวโลกด้วยกัน
“กิจกรรมแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม” (Customer Social และนี่คือเทรนด์ของโลกในยุค 3.0 ที่บางส่วนเกิดขึ้นแล้วและจะ
Responsibility—CSR) เพื่อสร้างคุณค่าของผลิตภัณฑ์และ ยิ่งชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ
ตราสินค้า (value creation)
16 อุตสาหกรรมสาร
ต่างประเทศของคนไทย) แต่ปัจจุบันการเดินทางต่างประเทศ
กลายเป็นเรื่องเป็นไปได้สำหรับแทบทุกคน ด้วยการขยายตัวของ
เมืองและเศรษฐกิจ รวมทั้งการพัฒนาแอพพลิเคชั่นต่างๆ เกี่ยว
กับการเดินทาง การจองตั๋วเครื่องบินออนไลน์ ฯลฯ ทำให้คนใน
อนาคตเดินทางกันมากขึ้น ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการเดินทางจึง
เติบโตสูง
1.6 สูส่ งั คมแห่งการสื่อสาร (Connectivity) การพัฒนา
ด้านเทคโนโลยีทางการสื่อสารทำให้การสื่อสารสะดวกรวดเร็วขึ้น
พาณิชย์อิเล็คทรอนิคส์ (E-Commerce) และการทำธุรกรรม
ออนไลน์จะเติบโตขึ้นอย่างมากเนื่องจากข้อได้เปรียบเรื่องการ
ประหยัดต้นทุนและสามารถซื้อขายได้เรียลไทม์ ตัวอย่างเช่น
การ sourcing สินค้าซึ่งเดิมทีต้องเดินทางไปถึงแหล่งผลิตหรือ
พึ่งงานแฟร์เป็นหลัก แต่ปัจจุบันผู้ประกอบการหันมาใช้เว็บไซท์
E-marketplace ซึ่งประหยัดกว่ามากทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย
เทรนด์โลก (Global Mega Trend)
2. ส่งิ แวดลอ้ ม
1. คน ความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นกับ “คน” ในโลกยุค 2.1 สู่สภาวะภูมิอากาศเปล่ียน (Climate change)
3.0 คือ
และโลกไร้ทรัพยากร (Scarcity and deteriorating quality of
1.1 สู่สังคมผูส้ งู อายุ (Aging Society) ความก้าวหน้า resources) ปัญหาสิ่งแวดล้อมและวิกฤตทรัพยากรจะทวีความ
ทางการแพทย์ โภชนาการที่ดีและการเข้าถึงความรู้ด้านสุขภาพ รุนแรงมากขึ้น การออกแบบและผลิตสินค้าและบริการต่างๆ
ทำให้คนมีอายุยืนขึ้น “การออกแบบเพื่อมวลชน” (Universal จึงต้องคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมอยู่ด้วยเสมอ ทำให้ประเด็นเรื่อง
Design) จึงเป็นแนวคิดที่มีบทบาทสำคัญในสังคมอนาคต “สิ่งแวดล้อม” กลายเป็น “วาระจำเป็น” ที่ต้องบรรจุอยู่ใน
นอกจากนี้ ผู้สูงอายุยังเป็นกลุ่มที่มีกำลังซื้อจากเงินออมและ ทุกแผนการสื่อสารทางการตลาด
การลงทุน สินค้า และบริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของ 3. ธรุ กิจ
คนกลุ่มนี้จึงเป็นธุรกิจที่มีแนวโน้มจะเติบโตได้ดี
3.1 สคู่ วามม่ังค่งั ของเอเชีย (Shift to Asia) การขยาย
1.2 สู่อำนาจแห่งอิสตรี (Power of Woman) การที่ ตัวทางเศรษฐกิจและจำนวนประชากรที่มากถึง 60% ของโลก
ผู้หญิงได้รับการศึกษาสูงขึ้น ทำให้มีโอกาสก้าวหน้าในอาชีพ ทำให้เอเชียกลายเป็นภูมิภาคที่มีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ
การงานดีขึ้น (ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีจำนวนผู้บริหารเป็น World Wealth Report 2012 รายงานว่าในจำนวนผู้มีความมั่งคั่ง
ผู้หญิงสูงสุด) จึงมีความเป็นตัวของตัวเองสูงและมองว่าการ สูง (High Net Worth Individual) ซึ่งวัดจากความมั่งคั่งใน
แต่งงานเป็นเพียงทางเลือกหนึ่งของชีวิต สินค้าและบริการ สินทรัพย์ (ไม่รวมที่อยู่อาศัยและของสะสม) เกิน 1 ล้านเหรียญ
ที่ตอบสนองไลฟ์สไตล์ของสตรีวัยทำงาน โดยเฉพาะกลุ่มผู้มี สหรัฐ ทั้งโลกมีจำนวน 11 ล้านคนโดยอยู่ในเอเชียแปซิฟิก 3.37
กำลังซื้ออย่างผู้บริหารจึงยังคงเป็นที่ต้องการ
ล้านคน นับว่าสูงที่สุดในโลก ดังนั้น “ตลาดเอเชีย” โดยเฉพาะ
1.3 สู่สังคมเมือง (Urbanisation) การกระจายตัวของ อย่างยิ่ง “เอเชียตะวันออกเฉียงใต้” จึงเป็นตลาดที่มีแนวโน้มว่า
ประชากรในอนาคตจะอยู่ในเมืองมากกว่า50% ภายในปี ค.ศ. จะเติบโตสูง
2015 จะมีประชากรโลกอาศัยอยู่ในเมืองมากถึง 4,000 ล้านคน 3.2 สู่ธรรมาภิบาล (Good Governance) วิกฤต
โดยเอเชียจะยังคงเป็นภูมิภาคที่มีจำนวนประชากรเมืองเพิ่มขึ้น เศรษฐกิจ “ต้มยำกุ้ง” เมื่อปีพ.ศ. 2540 เป็นบทเรียนบทสำคัญที่
สูงสุด ทั้งนี้ นอกจากการย้ายถิ่นฐาน การพัฒนาเมืองเล็กเป็น ไม่เพียงพลิกโฉมหน้าการเงินการธนาคารไทย แต่ยังทำให้องค์กร
เมืองใหญ่ ยังเป็นอีกปัจจัยหนึ่ง ดังนั้นสินค้าและบริการต่างๆ ต่างๆ ทั่วภมู ิภาคหันมาให้ความสำคัญกับระบบ “ธรรมาภิบาล”
จึงต้องตอบสนองวิถีชีวิตแบบคนเมือง
(Good governance) มากขึ้น ธุรกิจที่จะเติบโตได้ดีในอนาคตต้อง
1.4 สู่สังคมสุขภาพ (Health and Safety Concern) มีความโปร่งใส (transparency) สามารถตรวจสอบได้
วิถีชีวิตและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปทำให้คนหันมาสนใจ (accountability) รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อสังคม อันเป็น
สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี (Wellness) มากขึ้น ธุรกิจเพื่อ คุณสมบัติขั้นพื้นฐานที่สามารถตอบสนองคุณค่าทางจิตใจ
สุขภาพจึงเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่มีอนาคตสดใส
(spiritual value) ของผู้บริโภคได้
1.5 สสู่ งั คมแหง่ การเดนิ ทาง (International Mobility) ท่ีมา www.tcdc.or.th ส่วนหนึ่งของบทความ “สร้างแบรนด์
ย้อนไปเพียงราว 30 ปีที่แล้ว การเดินทางต่างประเทศยังเป็น ยุค 3.0 อย่างไร ให้เติบโตได้อย่างยั่งยืนในตลาด AEC” โดย
กิจกรรมเฉพาะคนบางกลุ่มในสังคม (ดังจะเห็นได้จาก ชัชรพล เพ็ญโฉม
วัฒนธรรมการใส่สูทและคล้องพวงมาลัยเมื่อเดินทางไป
17อตุ สาหกรรมสาร
เรียบเรียงโดย นุชเนตร จักรกลม
SMEs Focus
AปSรEะเAดNน็ เรSง่ MดEว่ sน
ในการพัฒนา
วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม (Small and Medium Enterprises: SMEs) เป็นกลุ่มธุรกิจ
ที่สำคัญของระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน เนื่องจากเป็นกลไกหลักที่
สนับสนุนการขับเคลื่อนกิจกรรมและการเติบโตทางเศรษฐกิจ รวมถึงเป็นแหล่งจ้างงานและการ
สง่ ออกทส่ี ำคญั ของระบบเศรษฐกจิ เหลา่ น้ี ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากตวั เลขเฉลย่ี ทางสถติ ิ พบวา่ วสิ าหกจิ
เหลา่ นค้ี ดิ เปน็ รอ้ ยละ 96 ของจำนวนวสิ าหกจิ ทง้ั หมดของระบบเศรษฐกจิ ในภมู ภิ าคอาเซยี น และ
มีส่วนสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจประมาณร้อยละ 42 ของมูลค่ารวมทางเศรษฐกิจของภูมิภาค
ส่งออกร้อยละ 25 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด และจ้างงานถึงร้อยละ 73 ของการจ้างงาน
ทั้งหมดในระบบเศรษฐกิจ เมื่อพิจารณาสถิติสัดส่วนของจำนวนวิสาหกิจต่อจำนวนประชากร
1,000 คน ในบริบทของแต่ละประเทศสมาชิก จะเห็นได้ว่าประเทศอินโดนีเซียมีตัวเลขสูงสุดที่
196.9 ตามดว้ ยไทย (43.94) สงิ คโปร์ (35.15) บรไู น (23.99) และมาเลเซยี (22.89)
18 อุตสาหกรรมสาร
หากพิจารณาจากแนวโน้มอุปสงค์ในตลาดโลก ก็จะทราบ • ทกั ษะแรงงาน (Labor Skills) เป็นอีกประเด็นปัญหา
ถึงวิวัฒนาการของการดำเนินธุรกิจของ ASEAN SMEs
หนึ่ง เนื่องจากวิสาหกิจเหล่านี้ยังคงขาดแคลนแรงงาน ทักษะ
ขั้นสูงทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ผลิตภาพแรงงานโดยเฉลี่ย
กล่าวคือ วิสาหกิจส่วนใหญ่จะยังคงดำเนินธุรกรรม (Average Labor Productivity) ยังอยู่ในระดับต่ำโดยเฉพาะทักษะ
ทางการค้าระหว่างประเทศ ที่มุ่งเน้น การบุกตลาดของประเทศ ด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี การใช้ภาษา ต่างประเทศ และ
พัฒนาแล้ว ในระยะสั้นถึงระยะกลาง เนื่องจากตลาดดังกล่าว ทักษะทางวิชาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของวิสาหกิจ
ยังมีรายได้ในระดับสูง และมีความต้องการสินค้าอย่างต่อเนื่อง อย่างแท้จริง
แต่ในระยะยาว จะเริ่มหันมาบุกตลาดอุบัติใหม่ (Emerging
Markets) ในกลุ่มประเทศอาเซียนด้วยกันเอง และประเทศกำลัง • ประการสุดท้าย คือ การเข้าสู่ตลาดระหว่างประเทศ
พัฒนามากขึ้น
(Internationalization) วิสาหกิจจำนวนมากยังต้องเผชิญกับ
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและนโยบายที่ไม่เอื้ออำนวย ทำให้
ผลงานวิจัยของนักวิชาการและสถาบันวิจัยส่วนหนึ่ง ระบุ ไม่สามารถเข้าสู่ตลาดเป้าหมายได้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้
ว่า ASEAN SMEs มีแนวโน้มที่จะให้น้ำหนักความสำคัญ กับ ผู้ประกอบการยังขาดจิตวิญญาณของการเป็นเจ้าของกิจการ
ตลาดในกลุ่มประเทศอาเซียนด้วยกันเองมากขึ้นในอนาคต และ (Entrepreneurial Spirit) และทักษะด้านการบริหารจัดการ ยังไม่
มากกว่าวิสาหกิจขนาดใหญ่ เมื่อเทียบกับประเทศนอกกลุ่มแม้ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างครบถ้วน การแสวงหาหุ้นส่วนทาง
จะอยู่ในภมู ิภาคเอเชียเหมือนกัน เช่น จีน
ธุรกิจ (Business Partners) และการเข้าร่วมในเครือข่ายการผลิต
ของภูมิภาค (Regional Production Networks) ยังคงดำเนินการ
อย่างไรก็ตาม ASEAN SMEs ในภาพรวมยังคงเผชิญกับ ได้อย่างจำกัด รวมถึงยังมีปัญหาด้านการดำเนินงานให้ได้
ประเด็นปัญหาที่ยังรอการแก้ไขและพัฒนาโดยเร่งด่วน เพื่อ มาตรฐาน และการขอใบรับรองคุณภาพที่เกี่ยวข้องตามกฎ
เตรียมความพร้อมสำหรับการรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจ ระเบียบหรือข้อกำหนดระหว่างประเทศ
อาเซียนอย่างสมบูรณ์ในปี 2015 ที่กำลังจะมาถึง อันจะส่งผล
ให้ตลาดของกลุ่มประเทศอาเซียนรวมกันเป็นตลาดเดียว (Single ประเด็นปัญหาข้างต้นถือเป็นปัญหาสำคัญของ ASEAN
Market) ซึ่งจะทำให้บริบทการดำเนินธุรกิจของ ASEAN SMEs SMEs ที่มีความสำคัญลำดับต้นๆ และจำเป็นต้องได้รับการ
เปลี่ยนแปลงไป ทั้งนี้ ประเด็นปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่ แก้ไขปรับปรุงและพัฒนาโดยเร่งด่วน แม้ว่าจะยังมีประเด็น
ASEAN SMEs ต้องผลักดันดำเนินการ มีทั้งหมด 4 มิติ ได้แก่
ปัญหาในมิติอื่นๆด้วย เช่น การเข้าถึงปัจจัยการผลิต การบริหาร
จัดการ ต้นทุน การแข่งขันที่เป็นธรรมในตลาด กฎหมายธุรกิจ
• การเข้าถึงแหล่งทนุ (Access to Finance) ยังคงเป็น ระหว่างประเทศ เป็นต้น ประเทศสมาชิกในประชาคมอาเซียนจึง
ปัญหาสำคัญที่สุด ในทุกประเทศสมาชิกของ ASEAN SMEs มา ต้องตระหนักถึงประเด็นปัญหาเหล่านี้ และร่วมมือกันอย่าง
ช้านาน เนื่องจากวิสาหกิจส่วนใหญ่มีทรัพยากรและเงิน จริงจังในการผลักดันแนวนโยบายและมาตรการต่างๆ เพื่อ
ทุนหมุนเวียนจำกัด ไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกันที่เพียงพอ มี ยกระดับประสิทธิภาพของ ASEAN SMEs อย่างเป็นรปู ธรรมและ
พัฒนาการที่เชื่องช้า และมักถูกสถาบันการเงินที่ปล่อยสินเชื่อม ยั่งยืนต่อไป
องว่ามีความเสี่ยงสูง โดยเฉพาะวิสาหกิจที่เพิ่งเริ่มต้น 8 กิจการ
(Start-up) หรือต้องการขยายกิจการ ดังนั้น ฝ่ายที่เกี่ยวข้องใน
ด้านการกำหนดนโยบายเพื่อสนับสนุนสินเชื่อให้แก่วิสาหกิจ ทม่ี า : www.thai-aec.com โดย สดุดี วงศ์เกียรติขจร
เหล่านี้ จะต้องคำนึงถึงการจัดสรรสินเชื่อ (Credit Rationing) สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา
อย่างเป็นธรรมและทั่วถึง รวมถึงการยกระดับศักยภาพของ
วิสาหกิจให้สามารถวางแผนและบริหารจัดการทรัพยากรภายใน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เกิดความน่าเชื่อถือ
และลดอุปสรรคของวิสาหกิจ ในการเข้าถึงแหล่งทุนต่างๆ ได้
• ความสามารถทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม
(Technology and Innovative Capability) ASEAN SMEs
ในกลุ่มประเทศอาเซียนเกือบทั้งหมด (ยกเว้นสิงคโปร์) ยังด้อย
สมรรถนะในด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม ดังจะเห็นได้จาก
ความสามารถในการบริหารจัดการและใช้ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีในเชิงพาณิชย์ และศักยภาพด้านการวิจัยและพัฒนา
ล้วนยังอยู่ในระดับต่ำ ส่วนหนึ่งของปัญหาเชื่อมโยงมาจากการ
ขาดแคลนเงินทุนดังที่กล่าวมาแล้ว
19อตุ สาหกรรมสาร
เรียบเรียงโดย ผศ.ดร.สิรางค์ กลั่นคำสอน
SMEs For AEC
ภโคารยงใกตา้AรEสC่ง
เสริม SMEs ท่สี ำคญั
ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการผลิตที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (Small and
Medium Enterprises หรอื SMEs) ถอื วา่ เปน็ ผทู้ ม่ี บี ทบาทสำคญั ในการขบั เคลอ่ื นระบบเศรษฐกจิ ใน
ภมู ภิ าคอาเซยี นกลมุ่ ผปู้ ระกอบการ SMEs มมี ลู คา่ สง่ ออกรอ้ ยละ 25 ของมลู คา่ สง่ ออกทง้ั หมด ซง่ึ
สง่ ผลใหส้ ามารถสรา้ งมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ประมาณรอ้ ยละ 42 ของมลู คา่ รวมทางเศรษฐกจิ ของ
ภมู ภิ าค โดยหนว่ ยงานภาครฐั หลายหนว่ ยงานไมว่ า่ จะเปน็ สำนกั งานสง่ เสรมิ วสิ าหกจิ ขนาดกลาง
และขนาดยอ่ ม(สสว.) กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม และสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทยไดม้ กี าร
ส่งเสรมิ จัดทำโครงการศึกษาผลกระทบ และกำหนดนโยบายหรอื ยุทธศาสตร์หลายประการเพือ่
ชว่ ยสง่ เสรมิ การทำธรุ กจิ ของกลมุ่ อตุ สาหกรรม SMEs จากการเขา้ รว่ มประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น
(AEC) โครงการต่างๆ ทส่ี ำคญั ในการสง่ เสรมิ ศักยภาพในการแขง่ ขันของผปู้ ระกอบการสามารถ
สรปุ สาระสำคญั ไดด้ งั น้
ี
• โครงการ ASEAN SME Partnership Roadmap จากกิจกรรรมด้านการพัฒนาการออกแบบการตลาดข้อมูลการ
หรือการเสริมสร้างต้นแบบธุรกิจ SMEs และเช่ือมโยง ตลาดการบริหารจัดการโซ่อุปทานการทดสอบคุณภาพสินค้า
สู่ภมู ภิ าคอาเซยี น
และโลจิสติกส์
โครงการนี้จัดทำเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs ใน วัตถปุ ระสงคห์ ลกั ของโครงการประกอบด้วย
สาขาหัตถกรรมที่สามารถใช้ฐานการผลิตจากประเทศเพื่อน 1) เพื่อพัฒนาต้นแบบธุรกิจในการพัฒนาคลัสเตอร์ของไทย
บ้าน เช่น ลาว เขมร เวียดนาม พม่า และอินโดนีเซีย ได้โดย ในการเป็น Sourcing Hub (สาขาหัตถกรรม)
มีจุดมุ่งหมายให้ไทยเป็นศูนย์กลางของอาเซียนในกลุ่มสินค้า 2) เพื่อพัฒนาต้นแบบพันธมิตรธุรกิจหัตถกรรมร่วมกับ
Designs & Crafts ซึ่งจะต้องมีการสร้างมลู ค่าเพิ่มในโซ่อุปทาน สาธารณรัฐประชาชนจีนและลาว
20 อตุ สาหกรรมสาร
3) เพื่อเป็นต้นแบบในกระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ลดต้นทุนให้กับกลุ่มหัตถกรรมและเฟอร์นิเจอร์ เช่น กระดาษสา
องค์ความรู้ สินค้า และสร้างยอดขายให้กับสินค้าที่สามารถ หัตถกรรมเฟอร์นิเจอร์ โดยการสร้างความร่วมมือระหว่างไทย
แข่งขันในอุตสาหกรรมอื่นๆ
ลาว และเวียดนาม ผ่าน Thai – Laos - Vietnam Joint Raw
Material Development นอกเหนือจากนี้แล้วยังเป็นการยกระดับ
4) เพื่อพัฒนา Application และ Function สินค้าหัตถกรรม ในการผลิตของกลุ่มธุรกิจอื่นๆ ดังนี้
ของไทยให้มีความหลากหลายตามคุณสมบัติของวัสดุโดย
ใช้แนวคิด “Design & Crafts in Metro lifestyle”
ธุรกิจพิมพ์ผ้า
5) เพื่อพัฒนาคนในชุมชนของไทยด้วยองค์ความรู้ ความ ธุรกิจบัตรพลาสติก
เข้าใจจากข้อมลู จริงทางธุรกิจและผู้บริโภค
ธุรกิจพิมพ์ลวดลายเซรามิก แก้ว และหม้อเคลือบ
ธุรกิจผลิตแผ่นซีดี
6) เพื่อเป็นรากฐานในการเป็นศูนย์กลางของอาเซียนเพื่อ ธุรกิจสิ่งพิมพ์และสื่อโฆษณา
เป้าหมายสู่ “Asean Design & Crafts Sourcing Hub”
ธุรกิจผลิตอุปกรณ์กีฬา
ธุรกิจผลิตป้ายชื่อ
ธุรกิจผลิตอุปกรณ์ยานยนต์
ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์นั้นได้มีการแบ่งออกเป็นเฟส ธุรกิจผลิตป้ายสัญญาณจราจร
ต่าง ๆ ดังน
ี้ ธุรกิจผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้า
เฟส 1 : การออกแบบ และ การจัดการโซ่อุปทานใน ธุรกิจผลิตฉลากและตราสินค้า
ประเทศไทย
ธุรกิจผลิตแผงวงจรไฟฟ้า
เฟส 2 : การส่งเสริมให้มี ASEAN Design and Craft Expo ธุรกิจบรรจุภัณฑ์
ในประเทศไทยรวมถึงการเป็นศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์และ ธุรกิจผลิตเมมเบรนสวิทช์
ศูนย์การทดสอบคุณภาพสินค้าในอาเซียน
ธุรกิจของเด็กเล่น
เฟส 3 : การพัฒนาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ในประเทศ ธุรกิจผลิตเครื่องเขียนและเครื่องใช้สำนักงาน
เพื่อนบ้าน
ธุรกิจผลิตของขวัญของชำร่วย
ในโครงการนี้ยังได้มีการจัดอบรมให้แก่ชุมชนที่ได้รับ ธุรกิจผลิตวัสดุอุปกรณ์การพิมพ์
คัดเลือกจำนวน 79 กลุ่มในหัวข้อเรื่อง “Products Development
& Operation Coaching Workshop” รวมไปถึงมีผู้ผลิตชุมชน • โครงการ SMEs Capacity Building : Win for
ต้นแบบ (Role Model) ที่ประสบความสำเร็จไปให้คำแนะนำแก่ ASEAN Market หรือเงินทุนสนับสนุน SMEs สู่ตลาด
SMEs ที่สนใจ
อาเซียน
โครงการนี้เป็นการส่งเสริมการขยายธุรกิจไปยังต่างประเทศ
•โครงการ SMEs Flying Geese หรือการส่งเสริม (หรือ Internationalization Fund)ในส่วนของ ASEAN+6 ที่
SMEs รายสาขาและห่วงโซ่อปุ ทาน
นอกเหนือจากประเทศไทยแล้วจะประกอบด้วย ประเทศบรูไน
โครงการนี้มุ่งเน้นไปที่สาขาสิ่งพิมพ์ไทยและการท่องเที่ยว กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์
แนวคิดของโครงการนี้คือให้บริษัทขนาดใหญ่ร่วมมือกับบริษัท เวียดนาม จีน อินเดีย เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และ
ขนาดเล็กเพื่อขยายตลาดสู่ภมู ิภาคอาเซียน
นิวซีแลนด์ นอกจากนี้แล้วกลุ่มเป้าหมายของการส่งออกอื่นก็คือ
วัตถุประสงค์ของโครงการในการพลิกวิกฤตและเสริม กลุ่มประเทศ CLMV กิจกรรมที่เกิดขึ้นในโครงการนี้มีหลาย
สรา้ งโอกาสใหก้ บั SMEs ประกอบดว้ ย
ประการดังเช่น การพัฒนาแผนที่การตลาด (Market Mapping)
1) ส่งเสริม SMEs กลุ่มที่มีศักยภาพในเสถียรสภาพ ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ในห่วงโซ่อุปทานของสินค้าแต่ละชนิด
(Stability) ด้านการตลาดต่างประเทศและในประเทศด้วยการ ไปจนถึงกลุ่มผู้บริโภคคนสุดท้ายตามส่วนแบ่งการตลาด (Final
สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสาขาสิ่งพิมพ์ไทยเพื่อเป็นอุตสาหกรรม Market Segmentation) โดยจะกระตุ้นให้เกิดพันธมิตรธุรกิจด้าน
ต้นแบบ (Flying Geese)
การค้าและการลงทุน ในการสนับสนุนผู้ประกอบการจะมีหลาย
2) ส่งเสริมการพัฒนา SMEs สาขาท่องเที่ยวและสาขา กิจกรรม อาทิเช่น การสนับสนุนเงินทุนเพื่อการจัดงานแสดง
เกี่ยวเนื่อง เช่น โรงแรม ภัตตาคาร และสปา บริการให้เช่า สินค้าในต่างประเทศการจัดกิจกรรมจับคู่ธุรกิจ (Business
สินทรัพย์ บริการการท่องเที่ยว ของชำร่วย สำหรับเส้นทาง R3 Matching) จากการ ROAD SHOW รวมไปถึงการแสดงสินค้าโดย
(ไทย พม่าลาว และจีน) และ R9 (ไทย พม่า ลาว และ สนับสนุนเงินอุดหนุนร้อยละ 60 ของค่าใช้จ่ายไม่ว่าจะเป็นค่า
เวียดนาม)
ที่พักค่าเดินทางและค่าระวางสินค้าสำหรับหน่วยงานที่สนับสนุน
นอกจากนี้แล้วยังมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาภายใน โครงการนี้ประกอบด้วย สถาบันไทย-จีนภิวัฒน์ สถาบันอาหาร
ของ SMEs ในการรองรับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจซึ่ง สมาคมนักธุรกิจยุคใหม่ไทย-จีน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ประกอบด้วย 1) การสร้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์ให้กับสาขาพิมพ์
สกรีนเพื่อให้เป็นผู้นำมาตรฐานของอาเซียน 2) สร้างความ
สามารถและศักยภาพในการแข่งขันด้านการผลิตโดยการ
21อุตสาหกรรมสาร
สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ 2) เพื่อวิเคราะห์และเสริมสร้างขีดความสามารถให้แก่
และเทคโนโลยีสมาคมผู้ประกอบการชิ้นส่วนยานยนต์ ผู้ประกอบการ SMEs ภาคการผลิตกับประเทศสมาชิกใน AEC
สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สมาคมส่งเสริม ตามรายสาขา
คุณภาพแห่งประเทศไทย สมาคมรองเท้าไทย และมหาวิทยาลัย
หอการค้าไทย
3) เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนให้แก่ภาครัฐในการวางแผน
กลยุทธ์ของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในการเก็บ
ข้อมลู จะจัดให้มีการประชุมกลุ่มย่อย (Focus group discussion)
• โครงการเสริมสร้างเครือข่าย SMEs Consortium ของกลุ่มอุตสาหกรรมจำนวน 30 กลุ่ม คือ กลุ่มพลังงาน
ส่ตู ลาดอาเซียน
ทดแทน อาหาร เครื่องจักรกลการเกษตร ยางและผลิตภัณฑ์
(กลุม่ อุตสาหกรรมก่อสรา้ งและธรุ กิจตอ่ เนอ่ื ง)
ยาง แกรนิตและหินอ่อน เซรามิก แก้วและกระจก ผู้ผลิตไฟฟ้า
โครงการนี้มุ่งเน้นเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมก่อสร้างและ หลังคาและอุปกรณ์ ไม้อัด ไม้บางและวัสดุแผ่น โรงเลื่อยและ
ธุรกิจต่อเนื่องที่มีอุตสาหกรรมต้นน้ำเริ่มตั้งแต่การออกแบบ โรงอบไม้ เคมี ซอฟแวร์ ก๊าซ เครื่องจักรกลและโลหะการ
ก่อสร้าง สถาปนิก การพัฒนาและเตรียมสถานที่ผู้ผลิต ผู้ค้า ชิ้นส่วนและอะไหล่รถยนต์ เครื่องนุ่งห่ม การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
วัสดุก่อสร้างรวมไปถึงผู้ให้เช่าอุปกรณ์เครื่องจักร ส่วน พลาสติก สิ่งทอ รองเท้า ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยี
อุตสาหกรรมกลางน้ำประกอบด้วยงานวิศวกรรม งานติดตั้ง ชีวภาพ สมุนไพร หัตถอุตสาหกรรม หนังและผลิตภัณฑ์หนัง
อุปกรณ์เครื่องจักรอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้าสาธารณูปโภค อัญมณีและเครื่องประดับ ยา เครื่องปรับอากาศและเครื่อง
สุขภัณฑ์ งานตกแต่ง ทาสี งานไม้งานพื้น และงานซ่อมแซม ทำความเย็น สำหรับผู้เข้าร่วมโครงการมีแหล่งที่ตั้งอยู่ใน 10
โดยมีกลุ่มเฟอร์นิเจอร์และกลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นส่วนสนับสนุน จังหวัดคือ พระนครศรีอยุธยา กาญจนบุรี ตาก เชียงใหม่
ในส่วนของปลายน้ำจะประกอบด้วยกลุ่มพัฒนาธุรกิจ อุดรธานี สกลนคร สระแก้ว ตราด ระนอง และสงขลา
อสังหาริมทรัพย์ บริษัทผู้รับเหมาก่อสร้าง และตกแต่งโครงการ
ก่อสร้างของภาครัฐ รวมไปถึงร้านค้าวัสดุก่อสร้าง
วัตถุประสงค์ที่สำคัญของโครงการนี้ประกอบด้วย 1) เพื่อ ผลจากการศึกษาถงึ โอกาสและผลกระทบของ AEC ท่ี
จัดทำฐานข้อมูลกลุ่มอุตสาหกรรมก่อสร้างและธุรกิจต่อเนื่องทั้ง มีตอ่ อุตสาหกรรมไทยสรปุ ได้ ดังน้ี
ต้นน้ำกลางน้ำและปลายน้ำในการเป็นศูนย์กลางข้อมูลข่าวสาร ผลกระทบทางด้านบวก ประกอบด้วย การได้รับสิทธิ
การเชื่อมโยงข้อมูลการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการค้าระหว่าง ประโยชน์ทางด้านภาษีส่งผลให้วัตถุดิบนำเข้ามีต้นทุนต่ำลง
ผู้ประกอบการในเครือข่ายและใช้เป็นฐานในการวางแผนงาน การยกเลิกมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี มีการ
และนโยบายของภาครัฐ 2) เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและ ขยายตลาดของลูกค้าและการได้รับความรู้เทคโนโลยีการผลิต
บุคลากรในกลุ่มอุตสาหกรรมก่อสร้างและธุรกิจต่อเนื่องใน สมัยใหม่และได้รับประโยชน์จากเงินลงทุน
ด้านการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย การบริหารจัดการงานก่อสร้าง ผลกระทบทางด้านลบ ประกอบด้วยมีแนวโน้มการ
สมัยใหม่ การเชื่อมโยงข้อมูลตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์ ขาดแคลนแรงงานวิชาชีพจากการย้ายไปทำงานที่ประเทศอื่น
ในสายโซ่อุปทานในลักษณะของพันธมิตรระยะยาวและ 3) เพื่อ หรือการแข่งขันทางการตลาดที่สูงขึ้นเพราะลูกค้าจะเลือก
เสริมสร้างให้เกิดเครือข่ายหุ้นส่วนผู้ประกอบการ SMEs กลุ่ม ซื้อสินค้าจากผู้ผลิตที่มีคุณภาพในอาเซียน
อุตสาหกรรมก่อสร้างและธุรกิจต่อเนื่อง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องใน
โครงการประกอบด้วยการจัดฝึกอบรมทั่วประเทศให้แก่
ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมก่อสร้างและธุรกิจต่อเนื่อง
การพัฒนาเครือข่ายอุตสาหกรรมก่อสร้างและธุรกิจต่อเนื่อง
ซึ่งมีผู้ประกอบการในเครือข่ายอย่างน้อย 150 คน นอกจากนี้
ยังมีกิจกรรมการพัฒนานายช่างหรือช่างก่อสร้างให้ได้เรียนรู้
ทางด้านวิชาการและเทคโนโลยีในการปฏิบัติงานด้านการ
ก่อสร้าง
•โครงการกิจกรรม “เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้
SMEs ภาคการผลิตเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซยี น”
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจและความตระหนัก
(Awareness and recognition) ในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียนให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs ภาคการผลิต
22 อตุ สาหกรรมสาร
สำหรับอุตสาหกรรมนำร่อง (High impact sectors) หมายถึง
กลุ่มอุตสาหกรรมสำคัญที่ได้รับผลกระทบเชิงบวกจากการรวม
กลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนโดยจะพิจารณามูลค่าการ
ทีม่ าของขอ้ มูล
นำเข้า มูลค่าการค้า มลู ค่าดุลการค้า ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม
[1] โครงการกิจกรรม “เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ SMEs ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ อัตราการใช้กำลังการผลิต
ภาคการผลิตเพื่อรองรับเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”, จำนวนแรงงาน และจำนวนผู้ประกอบการ SMEs ซึ่งในโครงการ
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
นี้มีอุตสาหกรรมนำร่อง 6 ประเภท ได้แก่
[2] โครงการศึกษาผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียนต่อผู้ประกอบการ SMEs ในสาขาที่มีความสำคัญต่อ
ระบบเศรษฐกิจไทย (High Impact sectors)
-กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล
[3] โครงการ ASEAN SME Regional Gateway Phase I, -กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
-กลุ่มอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง
[4] โครงการส่งเสริม SMEs เพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ -กลุ่มอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์และผลิตภัณฑ์พลาสติก
อาเซียน, สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
-กลุ่มอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม
[5] โครงการ ASEAN SME Gateway to China, สำนักงาน -กลุ่มอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ
ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
[6] ASEAN SME Investment, สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ผลกระทบที่มีต่อกลุ่มอุตสาหกรรมทั้งทางด้านบวกและ
ขนาดกลางและขนาดย่อม
ด้านลบสรุปได้ดังต่อไปนี้
[7] โครงการศึกษา Feasibility Study on the establishment ผลกระทบทางด้านบวก : ตลาดมีการขยายตัวทำให้
of an integrated national SMEs service center,
อุปสงค์เพิ่มมากขึ้น แหล่งวัตถุดิบมากขึ้น มีการย้ายฐานการ
สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทยและสำนักงาน ผลิตเพิ่มขึ้น มีการส่งออกเครื่องจักรกลการเกษตรไปยังกลุ่ม
ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ประเทศ CLMV เพิ่มขึ้น นอกจากนี้แล้วยังสามารถจัดหาแรงงาน
ที่ถูกลง เข้าถึงวัตถุดิบได้ง่ายขึ้น
ผลกระทบทางด้านลบ : เกิดการแข่งขันที่สูงขึ้นในภูมิภาค
ซึ่งอาจส่งผลให้เสียส่วนแบ่งตลาดให้ประเทศคู่แข่ง หรือมีสินค้า
ราคาถูกแต่คุณภาพต่ำเข้ามาในตลาดนอกจากนี้แล้วแรงงานที่มี
• โครงการศึกษาผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจ ทักษะหรือฝีมือแรงงานของไทยอาจมีการย้ายไปทำงาน
อาเซียนต่อผู้ประกอบการSMEs ในสาขาท่ีมีความสำคัญ ที่ประเทศอื่น
ต่อระบบเศรษฐกิจไทย
• โครงการศึกษา Feasibility Study on the
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์
establishment of an integratednational SMEs service
1) เพื่อศึกษานโยบายและมาตรการตามข้อตกลงประชาคม center and related requirements among ASEAN
เศรษฐกิจอาเซียนที่มีต่อผู้ประกอบการ SMEs ในสาขาต่างๆ ที่มี member countries
ความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของไทย ปัจจัยที่พิจารณา มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำรูปแบบศูนย์ให้บริการ SMEs ใน
ประกอบด้วย อัตราการจ้างงาน สัดส่วนการส่งออก สัดส่วนการ ระดับภูมิภาคของประเทศอาเซียนรวมถึงแนวทางการเชื่อมโยง
ใช้วัตถุดิบในประเทศและสัดส่วนมูลค่าเพิ่มรวมถึงศักยภาพ ศูนย์ในระดับประเทศและระดับภูมิภาค นอกจากนี้แล้วยังมีการ
โอกาสในการเติบโตเป็นอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศ ศึกษาวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best practices) รูปแบบและระบบการ
ในอนาคต
ให้บริการ SMEs ของประเทศญี่ปุ่น ผลจากการศึกษาความ
2) เพื่อรวบรวมและสรุปผลการศึกษาในด้านผลกระทบของ ต้องการทางด้านการบริการของผู้ประกอบการมากที่สุดคือ
AEC ที่มีต่อผู้ประกอบการ SMEs ของไทย
ทางด้านการเงิน โดยพบว่าผู้ประกอบการมีปัญหากระแสเงิน
3) เพื่อระบุผลกระทบและกำหนดหุ้นส่วนทางกลยุทธ์ หมุนเวียนมากที่สุด รองลงมาคือด้านทรัพยากรบุคคลหรือ
(Strategic Partners) ที่สำคัญของกลุ่มอุตสาหกรรมนำร่องที่ได้รับ แรงงาน ด้านการแข่งขัน ด้านการตลาดและการขาย การวิจัย
การคัดเลือกเพื่อช่วยให้ผู้ประกอบการ SMEs สามารถบรรลุ และพัฒนา ด้านกฎหมาย ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
วัตถุประสงค์และเป้าหมายในการดำเนินงานตามแผน ด้านการผลิตและด้านบัญชีหรือภาษีตามลำดับ
กลยุทธ์ที่ได้จัดทำไว้ในการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
23อตุ สาหกรรมสาร
เรียบเรียงโดย บัวตะวัน มีเดีย
Opportunity
โครงรกะหารวส่ารง้าปงรเคะเทรศอื
ขา่ ย
ในอตุ สาหกรรมทีม่ ศี ักยภาพ
พุ่งเปา้ เวียดนาม-กมั พูชา-ลาว
การรวมกลมุ่ และเชอ่ื มโยงอตุ สาหกรรม หรอื ทเ่ี รยี กวา่ คลสั เตอร์ (Cluster) คอื กลมุ่ ของธรุ กจิ
และสถาบนั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งมารวมตวั ดำเนนิ กจิ การอยใู่ นพน้ื ทใ่ี กลเ้ คยี งกนั (Geographical Proximity) มี
ความรว่ มมอื เกอ้ื หนนุ เชอ่ื มโยงและเสรมิ กจิ การซง่ึ กนั และกนั อยา่ งครบวงจร (Commonality and
Complementary) ทง้ั ในแนวตง้ั และแนวนอน โดยความเชอ่ื มโยงในแนวตง้ั (Vertical Linkage) เปน็
ความเชื่อมโยงของผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมตั้งแต่ธุรกิจต้นน้ำจนถึงปลายน้ำและความ
เชอ่ื มโยงในแนวนอน (Horizontal Linkage) เปน็ ความเชอ่ื มโยงกบั อตุ สาหกรรมสนบั สนนุ ดา้ นตา่ งๆ
รวมทั้งธุรกิจให้บริการ สมาคมการค้า สถาบันการศึกษาและการฝึกอบรม สถาบันวิจัยพัฒนา
ตลอดจนหนว่ ยงานภาครฐั ตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื รว่ มดำเนนิ งานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายการเพม่ิ ขดี ความ
สามารถในการแข่งขันที่ยั่งยืนด้วยการเพิ่มผลิตภาพ (Productivity) และสร้างนวัตกรรมร่วมกัน
สง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ เพอ่ื SMEs
24 อุตสาหกรรมสาร
นโยบายที่สำคัญประการหนึ่งของรัฐบาลในการ 4. เพื่อเสริมสร้างให้มีการแลกเปลี่ยนและถ่ายทอด
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ คือการส่งเสริม ความรู้ประสบการณ์ในการดำเนินงานร่วมกันอันจะส่งผล
พัฒนาการรวมกลุ่มอุตสาหกรรม (Cluster Development) ต่อประสิทธิภาพโดยรวมของกลุ่มอุตสาหกรรม
เนื่องจากพิจารณาเห็นว่า “คลัสเตอร์” (Cluster) เป็น
เครื่องมืออันเป็นกลไกลอันสำคัญในการเพิ่มขีดความ ปัจจ
ัยนำไปสูค่ วามสำเร็จ
สามารถการแข่งขันและพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ของประเทศทั้งนี้มีวัตถุประสงค์
ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการดำเนินงาน Cluster
หัวใจของการพัฒนาคลัสเตอร์ คือการสร้างความร่วมมือ
1. เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง บนพื้นฐานของการแข่งขัน (Competition) โดยผู้ที่เกี่ยวข้อง
และขนาดย่อม (SMEs) เกิดความตระหนักและเห็นความ ในเครือข่ายวิสาหกิจหรือคลัสเตอร์นั้นๆ จะต้องมีการ
สำคัญของการรวมกลุ่มเป็นพันธมิตรและพัฒนา วางแผนกำหนดทิศทาง เป้าหมายและกลยุทธ์ในการ
เครือข่ายทางธุรกิจอุตสาหกรรมร่วมกัน
พัฒนาร่วมกันมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารความรู้
ตลอดจนทรัพยากรต่างๆ ระหว่างกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
2. เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มอุตสาหกรรมมีการดำเนิน และผลิตภาพโดยรวมของคลัสเตอร์นั้นๆ (Collective
งานร่วมกันโดยนำศักยภาพของกลุ่มออกมาใช้ให้ Efficiency / Productivity)
เป็นประโยชน์มากที่สุด โดยร่วมกันกำหนดวิสัยทัศน์
แผนแม่บท แผนปฏิบัติการ กลยุทธ์ โครงการและ
กิจกรรมในการดำเนินงานต่างๆ
ทั้งน้ีปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานคลัสเตอร์
ประสบผลสำเรจ็ ประกอบด้วย
3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดคลัสเตอร์อุตสาหกรรมหรือ - การรวมกลุ่มต้องเกิดมาจาก ความริเริ่มและความ
เครือข่ายวิสาหกิจในประเทศรวมทั้งหน่วยงาน BDS ต้องการของภาคธุรกิจเอกชนเป็นสำคัญโดยมีภาครัฐ
(Business Development Services) เช่น สถาบันการเงิน ให้การสนับสนุนและผลักดัน
สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัยและพัฒนาองค์กรภาครัฐ - ในคลัสเตอร์นั้นต้องมีกลุ่มธุรกิจหลัก (Core
และสมาคมเอกชนที่เกี่ยวข้องให้เป็นเครือข่าย (Network) Industry) ที่เป็นแกนนำสำคัญในการรวมกลุ่มอุตสาหกรรม
ที่แข็งแรงที่พร้อมจะสนับสนุนการขับเคลื่อนของ คลัสเตอร์ที่รวมตัวกันนั้นควรมีศักยภาพที่พร้อมในการ
คลัสเตอร์อุตสาหกรรมให้สามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน พัฒนาและสามารถพึ่งพาตนเองได้ในระดับหนึ่ง
และมั่นคงต่อไป
25อุตสาหกรรมสาร
- ทัศนคติ ความไว้วางใจ และความเชื่อมั่น ประโยชนก์ ารรวมกล่มุ อุตสาหกรรม
ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม
-ความเข้มแข็งของผู้ที่เข้ามามีบทบาทในการ
พัฒนาคลัสเตอร์ คือ ผู้นำกลุ่มคลัสเตอร์ ผู้ประสาน ข้ันตอนในการพัฒนาให้เกดิ การรวมกลุม่
งานคลัสเตอร์ (CDA : Cluster Development Agent )
และที่ปรึกษาคลัสเตอร์
1.กระตุน้ จิตสำนึกให้เกดิ การรวมกลุม่
-ความเข้มแข็งของหน่วยงานให้บริการเพื่อการ (Promotion and Mobilization)
พัฒนาธุรกิจ (Business Development Service BDS)
ในการให้บริการและการสร้างเครือข่ายความเชื่อมโยง • กระตุ้นให้สมาชิกเกิดความตระหนักและเห็น
ของหน่วยงานดังกล่าวในพื้นที่
ความสำคัญของการรวมกลุ่ม
- มีการประสานและแบ่งบันผลประโยชน์ที่
ยุติธรรมอันก่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ทุกฝ่าย (Win- • สร้างความเข้าใจในทิศทาง เป้าหมายและ
Win)
กระบวนการทำงานรวมกันของกลุ่ม
- นโยบายของคลัสเตอร์ควรมีความเชื่อมโยง
และสอดคล้องกับนโยบายของจังหวัดและ/หรือ • จัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (Team-building) เพื่อ
ภมู ิภาคนั้นๆ
สร้างสัมพันธภาพที่ดีในกลุ่มสมาชิก
• จัดวางโครงสร้างและการบริหารงานของกลุ่ม
อย่างเป็นระบบ
สอบถามขอ้ มลู เพ่มิ เติมได้ท่
ี
• สำนักพัฒนาการจัดการอุตสาหกรรม
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
2 วิเคราะห์สถานภาพของคลสั เตอร์
ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กทม. 10400
(Diagnosis)
โทร. 0 2202 4575, 0 2202 4591
• ศึกษาวิเคราะห์ สถานภาพของกลุ่มอุตสาหกรรม
• ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1-11
(SWOT Analysis)
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
• สำรวจ วิเคราะห์ วินิจฉัยขีดความสามารถในการ
แข่งขันของกลุ่มอุตสาหกรรมตามแผ่นภมู ิ Diamond
Model
โดยจัดทำเป็นแผนภาพคลัสเตอร์ (Cluster Map)
• การวิเคราะห์สถานภาพของคลัสเตอร์เพื่อการ
จัดทำแผนยุทธศาสตร์เน้นการมีส่วนร่วมของสมาชิก
คลัสเตอร์เป็นสำคัญ
3 จดั ทำยุทธศาสตร์(Collaborative Strategy)
• จัดทำแผนแม่บท (Master Plan) และแผนปฏิบัติการ
(Action Plan)
• จัดทำโครงการ (Project) ต่างๆ โดยมีการกำหนด
รายละเอียดที่ชัดเจนถึง วัตถุประสงค์กิจกรรม ผลลัพธ์ที่
ต้องการ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา และงบประมาณ
• ยุทธศาสตร์ของกลุ่มควรมีความสอดคล้องกัน
และเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ของจังหวัดของภมู ิภาคนั้นๆ
4 นำไปสู่การปฏิบัติ (Implementation)
• นำโครงการนำร่อง (Pilot Project) มาปฏิบัติจริง
ให้เห็นผล โดยเลือกจาก
-โครงการที่มีความสำคัญเร่งด่วน
-โครงการที่มีความเหมาะสมกับสถานการณ์
-โครงการที่สามารถตอบสนองความต้องการของ
สมาชิกในกลุ่มได้มากที่สุด
• ประเมินผลการดำเนินงานเพื่อนำมาเป็นบทเรียน
(Lesson Learn) ในการพัฒนากลุ่มต่อไป
www.dip.go.th
26 อตุ สาหกรรมสาร
โครงการสรา้ งเครือข่ายระหวา่ งประเทศในอตุ สาหกรรมทม่ี ีศกั ยภาพ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
สรุปผลการดาเนนิ การใน
ลำดับ
หน่วยงาน
เครอื ข่าย
ประเทศ
เมืองที
่ ช่วง
งานแสดงสินค้าหรืองาน
จำนวน
หนว่ ยงาน
ขัน้ ตอน
งบประมาณ
อตุ สาหกรรม
เป้าหมาย
จะเดินทาง
ระยะเวลา
กิจกรรมท่ีจะเข้าร่วมในช่วง อดีตของหนว่ ยงานท
่ี ผู้ประกอบ เครือข่าย
การดำเนินการ
ทตี่ อ้ งการ
เปา้ หมายระหว่าง
ไปสรา้ ง
เดนิ ทาง
ระยะเวลาเดนิ ทาง
เกี่ยวขอ้ งกับอตุ สาหกรรม
การ
ภายนอก
ขอรับการ
ประเทศที่ต้องการ
เครอื ขา่ ยฯ
และ/หรือประเทศเป้าหมาย
จดั สรร
สรา้ งเครือข่าย
1 สพจ.กสอ. เชื่อมโยงและเจรจา เวียดนาม โฮจิมินห์ สิงหาคม 57 - สำรวจตลาดพฤติกรรมผู้บริโภค - ออกบูทแสดงสินค้าในงาน 1 เครือข่าย/ - สถานทตู หรือ - ประสานงานกิจกรรมในประเทศ เป้าหมาย
การค้าในประเทศ (สาหรับปี57 ในตลาด Tradition Trade และ Thailand Trade Exhibition 15 กิจการ กงสุลไทย เป้าหมาย 15 วิสาหกิจ
อาเซียน กรมส่งออกฯ สภาพการทำธุรกิจในเวียดนาม ณ เมืองโฮจิมินห์ จัดโดยกรมฯ ส่งออก - หอการค้า - คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย งบประมาณ
มีงาน ตค.57) - เจรจาธุรกิจกับผู้บริหารห้าง - สถาบันการเงิน สาขาที่มีศักยภาพตลาด 850,000 บาท
COOP (สหกรณ์) - เจรจาธุรกิจในงานแสดงสินค้า - สมาคม - สัมมนาสร้างเครือข่าย
- เข้าพบหน่วยจัดซื้อของห้าง และหาตัวแทนจำหน่าย การตลาดฯ และความรู้ประเทศเป้าหมายได้
สรรพสินค้าประเภท modern - เยี่ยมชมโรงงานศรีไทยฯ ในโฮจิมินห์ - หน่วยงานส่ง ประสบการณ์จาก success case
trade เช่น Diamond Paragon - เจรจาธุรกิจกับผู้บริหารห้าง (สหกรณ์) เสริมอุตสาหกรรม - พาไปออกตลาดหรือเจรจาธุรกิจ
- เยี่ยมชมโรงงานคนไทยที่ประสบ โดยมีการนำเสนอสินค้าต่อผู้บริหาร ในพื้นที่ของ สำรวจตลาด
ความสำเร็จในเวียดนาม COOP
กลุ่มเป้าหมาย - ติดตามผล ทำฐานข้อมูลเครือข่ายไทย
(สควิซตี้) นักธุรกิจเวียดนาม
27อตุ สาหกรรมสาร
2 สพจ.กสอ. ต่อยอดการค้าและ กัมพชู า พนมเปญ กค.57 - เข้าพบทูตจาก Thai Trade - พาผู้ประกอบการออกงานคาราวานสินค้า 1 เครือข่าย/ - สถานทตู หรือ - ประชาสัมพันธ์งาน เป้าหมาย
เชื่อมโยงธุรกิจใน เสียมราฐ และผู้บริหารหน่วยงานด้านการค้า ไทย-กัมพชู า ใน 3 เมืองใหญ่ คือพนมเปญ 15 กิจการ กงสุลไทย - ประสานผู้จัดงาน 15 วิสาหกิจ
ประเทศอาเซียน พระตะบอง ระหว่างประเทศของ กัมพูชา โพธิสัตว์ และพระตะบอง มียอดจำหน่าย - หอการค้า ในประเทศเป้าหมาย งบประมาณ
- งานแสดงสินค้า หรือการ ค่อนข้างดีและได้ตัวแทนจำหน่ายในกัมพชู า - สถาบันการเงิน - เข้าพบทตู พาณิชย์ 600,000 บาท
เจรจาธุรกิจเพื่อเชื่อมโยงการค้า - สำรวจและหาช่องทางการค้า เจรจาธุรกิจ - สมาคม - ออกงานแสดงสินค้า
และการลงทุน ร่วมกับมหาวิทยาลัยบูรพา เกิดการสร้าง การตลาดฯ - เจรจาธุรกิจ
- สำรวจตลาดเพื่อทราบพฤติกรรม เครือข่ายทาง social media(line) มีการแลก - หน่วยงาน - เชื่อมโยงธุรกิจและส่ง
ผู้บริโภค เปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารทางธุรกิจ เสริมการค้าชายตาม
- เชื่อมโยงธุรกิจและค้าขายตะเข็บชายแดน ส่งเสริมอุตสาหกรรม ตะเข็บชายแดน หรือเชื่อมโยงเพื่อ
ด่านบ้านแหลม และสำรวจด่านบ้านผักกาด สร้างเครือข่าย นักธุรกิจ 2 ประเทศ
อ.โป่งน้ำร้อน จ.จันทบุรี ในพื้นที่ของ - ติดตามผล ทำฐานข้อมูลเครือข่ายไทย
กลุ่มเป้าหมาย
และนักธุรกิจกัมพชู า
3. สพจ.กสอ. ต่อยอดการค้าและ สปป.ลาว เวียงจันทร์ มิ.ย.-57 - เข้าพบทตู จาก Thai Trade - เข้าพบทตู ไทยใน สปป.ลาว 1 เครือข่าย/ - สถานทตู หรือ - ประชาสัมพันธ์งาน เป้าหมาย
เชื่อมโยงธุรกิจใน หรือหลวง - ออกงานแสดงสินค้า - สัมมนาสร้างเครือข่ายโดยเชิญที่ปรึกษา 15 กิจการ กงสุลไทย - ประสานผู้จัดงานในประเทศเป้าหมาย 15 วิสาหกิจ
ประเทศอาเซียน พระบาง - เจรจาธุรกิจในงานแสดงสินค้า ฝ่ายพาณิชย์และเศรษฐกิจของ สปป.ลาว - หอการค้า - เข้าพบทูตพาณิชย์ งบประมาณ
- เชื่อมโยงธุรกิจกับนักธุรกิจชาว มาให้ความรู้การเตรียมตัวสู่ตลาดฯ - สถาบันการเงิน - ออกงานแสดงสินค้า 650,000 บาท
กัมพชู า - สารวจและหาช่องทางการค้า เจรจาธุรกิจ - สมาคม - เจรจาธุรกิจและเชื่อมโยงเครือข่าย
- เข้าพบผู้บริหารของหน่วยงานที่ ร่วมกับมหาวิทยาลัยบรู พา เกิดการสร้าง การตลาดฯ - เข้าพบผู้บริหารของหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและเชื่อม เครือข่ายทาง social media(line) มีการแลก - หน่วยงานส่ง เกี่ยวข้องกับ การค้าระหว่างประเทศ
โยงการค้าระหว่างประเทศ เปลี่ยนข้อมุล ข่าวสารทางธุรกิจ เสริมอุตสาหกรรม - ติดตามผล ทำฐาน ข้อมูลเครือข่ายไทย
-เจรจาการค้าจนเกิดการติดต่อสั่งซื้อและ ในพื้นที่ของ และนักธุรกิจกัมพูชา
มีตัวแทนจาหน่าย กลุ่มเป้าหมาย
- เข้าพบ รมต.ว่ากระทรวงอุตฯ และการค้า - ธนาคารเพื่อการ
ของสปป.ลาว ( ดร.นาม วิยะเกด) โดยได้ นาเข้าและส่งออกฯ
พบกับ ดร.โอฬาร ไชยประวัติ ที่ปรึกษา -สภาอุตสาหกรรม
นายกฯ เป็นประธานผู้แทนการค้าฝ่ายไทย แห่งประเทศไทย
- ผู้แทนธนาคาร
กรุงศรีอยุธยา
เรียบเรียงโดย บัวตะวัน มีเดีย
SMEs Guide
1กทSM่ีผ่อ0ู้ปนEsรเขขะตา้กน้ั ส้ออู่ตงบAรกEอีบCาทร
นำ
สิ่งที่ผู้ประกอบการ SMEs ไทยต้องทำ นอกจากการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต
การพฒั นาคณุ ภาพสนิ คา้ และการสรา้ งนวตั กรรมแลว้ แนวทางการเตรยี มตวั เพอ่ื ใหพ้ รอ้ ม
กับการที่ประเทศไทยจะเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
พดู งา่ ยๆ กค็ อื สง่ิ ท่ี SMEs ตอ้ งรบี ทำกอ่ นเขา้ สู่ AEC มี 10 ขน้ั ตอนตามลำดบั ดงั น
้ี
1. เลอื กประเทศที่จะทำตลาดดว้ ย
SMEs ไม่ได้มีทรัพยากรและบุคลากรมากเท่ากับบริษัทใหญ่ การทำตลาดในต่างประเทศพร้อมกันทีเดียว
หลายแห่ง จะทำให้ไม่สามารถทุ่มเทความสนใจไปกับตลาดใดตลาดหนึ่งได้เต็มที่ ประกอบกับ SMEs ส่วน
ใหญ่ไม่ได้มีประสบการณ์ด้านการค้าขายระหว่างประเทศด้วยตนเองมากนัก ในระยะเริ่มต้นจึงควรเลือก
ตลาดเป้าหมายที่สอดคล้องกับสินค้าหลักที่มีอยู่จะเหมาะสมกว่า
โดยหลักในการเลือกตลาดนั้น ให้เลือกประเทศที่ประชาชนมีความเคยชินกับสินค้าประเภทเดียวกับ
ที่มีอยู่ เพื่อลดความเสี่ยงเรื่องการขายของไม่ได้ อีกทั้งลดภาระในการแบกรับต้นทุนในการผลิตสินค้าสูง
เกินไป เพียงแต่ต้องแน่ใจว่าสินค้าของเรามีความแตกต่างจากสินค้าที่มีอยู่เดิมมากพอที่จะทำให้ลูกค้าใน
ประเทศนั้นสนใจ
28 อุตสาหกรรมสาร
2. ซอ้ื สนิ คา้ จากประเทศเปา้ หมายมาลองใช้
การได้ทดลองใช้สินค้าในประเทศเป้าหมาย ที่เป็น 5. สร้างและหาคนท่ีใช้ภาษาประเทศที่เป็น
ประเภทเดียวกันกับสินค้าที่เรานำไปขาย จะช่วยให้เรามี ตลาดเป้าหมายไว้
ความเข้าใจถึงจุดดีจุดด้อยของสินค้าเหล่านั้น สามารถนำ การจะติดต่อสื่อสารกับกลุ่มลูกค้าหรือตัวแทนของ
มาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงสินค้าของเราให้มีความ เราในตลาดเป้าหมาย แม้ว่าจะใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษา
แตกต่างจากสินค้าของคู่แข่งที่มีอยู่ในตลาด นอกจากนี้ หลัก แต่การที่เรามีบุคลากรที่สามารถสื่อสารด้วยภาษา
สินค้าเหล่านี้ยังเป็นแนวทางให้เราเข้าใจพฤติกรรมของ ของเข้าได้ดีในระดับหนึ่ง จะช่วยให้การเจรจาต่อรอง
ผู้บริโภคในประเทศนั้นด้วย
และการสร้างความสัมพันธ์ส่วนตัวยังมีผลต่อความ
นอกจากจะทดลองซื้อสินค้าประเภทเดียวกันกับของ สัมพันธ์ทางธุรกิจอยู่ในระดับค่อนข้างสูง การพูดภาษา
เราแล้ว ควรจะซื้อสินค้าที่สามารถใช้ร่วมกับสินค้าของเรา เดียวกันช่วยให้ความสัมพันธ์เกิดขึ้นได้ง่าย ส่งผลให้
มาใช้ด้วย เพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงในกระบวนการเลือกใช้ ความสัมพันธ์ทางธุรกิจราบรื่นขึ้นตามไปด้วย
สินค้าของลูกค้าในประเทศนั้น เช่น ถ้าเราจะส่งรองเท้า บุคลากรคนนี้สามารถจะพัฒนาให้กลายเป็น
ผ้าใบไปขาย เราควรจะซื้อทั้งรองเท้า ถุงเท้า และอุปกรณ์ ผู้เชี่ยวชาญ คอยให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับการ
ทำความสะอาดรองเท้าติดมือมาทดลองใช้ก่อน
ทำธุรกิจในประเทศนั้นได้ในอนาคต และเมื่อถึงวันหนึ่ง
ที่ธุรกิจของเราเติบโตพอ จนสามารถไปเปิดสาขาใน
3. ทำความเขา้ ใจกบั กฎระเบยี บของประเทศนนั้
ต่างประเทศ บุคลากรคนนี้ก็สามารถดูแลธุรกิจในประเทศ
แม้ว่าอาเซียนจะเป็นเขตการค้าเสรีของกลุ่มประเทศ นั้นแทนเราได้ ซึ่งจะมีความเสี่ยงน้อยกว่าการจ้างคน
สมาชิก แต่ก็ยังมีความแตกต่างในกฎ ระเบียบของแต่ละ ในประเทศนั้นมาบริหารจัดการแทน
ประเทศ หากเราไม่ทำความเข้าใจให้ดีก่อน จะทำให้
ขั้นตอนการทำตลาดมีค่าใช้จ่ายสูง ใช้เวลานานกว่าที่คาดไว้ 6. หัดดูโทรทัศน์/ภาพยนตร์ของประเทศที่เป็น
เวลาที่เนิ่นนานขึ้น หมายถึงโอกาสที่มากขึ้นของคู่แข่งด้วย ตลาดเปา้ หมาย
เช่นกัน
สื่อมีผลต่ออิทธิพลทางความคิดของคนในประเทศ
นอกจากนี้แล้ว การที่เราเข้าใจกฎ ระเบียบในประเทศ และข้อมลู ที่สะท้อนออกมาจากสื่อ ไม่ว่าเป็นแนวทางการ
เป้าหมาย ยังช่วยให้เราป้องกันตัวจากการถูกหลอกโดย โฆษณา ประเภทของรายการที่จัดลักษณะของละคร
คู่ค้า เจ้าหน้าที่ หรือแม้แต่ลูกค้าในประเทศนั้นได้ หากเรา หรือภาพยนตร์ที่ผลิตขึ้น ล้วนแล้วแต่เป็นแหล่งข้อมูล
สามารถลดปัญหาในส่วนนี้ เราก็มีเวลาและทรัพยากร พื้นฐานทางด้านการตลาด ผู้ประกอบการควรจะชม
เหลือพอจะเอาไปใช้ในการบุกตลาดมากขึ้น
โทรทัศน์หรือภาพยนตร์ของประเทศเป้าหมายเพื่อนำมา
ใช้ประโยชน์ในการวางกลยุทธ์ทางการตลาดในระยะ
4. หัดใช้ภาษาอังกฤษในองค์กร
เริ่มต้นได้ โดยไม่จำเป็นต้องจ้างบริษัทที่ปรึกษามาช่วย
เราพูดกันมากเรื่องความสำคัญของภาษาอังกฤษ แต่ และยังทำให้เราเข้าใจพฤติกรรมของผู้บริโภคในประเทศ
จนแล้วจนรอด คนไทยก็ยังพูดภาษาอังกฤษกันไม่ได้สักที นั้นๆ ได้ลึกซึ้งกว่าการนั่งอ่านผลวิจัยเพียงอย่างเดียว
กลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักธุรกิจ 3 ชาติในเอเชีย ซึ่งเป็นประเทศ
ที่ไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแรกเช่นเดียวกัน แต่พวก
เขาสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้ในระดับหนึ่ง
เพราะบริษัทเหล่านี้พยายามส่งเสริมให้มีการพูดภาษา
อังกฤษภายในบริษัทเป็นประจำ แม้จะผิดบ้างถูกบ้างก็จัด
ว่าเป็นการสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการพัฒนาทักษะด้าน
ภาษา เมื่อนำไปใช้คู่กับการหาอาจารย์มาสอนเสริมภาษา
อังกฤษที่จำเป็นต่อการทำงานให้กับบุคลากร ก็ทำให้ทักษะ
การใช้ภาษาอังกฤษของบุคลากรดีขึ้นมาได้พอสมควร
ผลพลอยได้อีกประการหนึ่งจากการนำเอาภาษา
อังกฤษมาใช้ในองค์กรก็คือ เป็นการสร้างบรรยากาศความ
เป็นมืออาชีพในองค์กร ช่วยให้ประสิทธิภาพในการทำงาน
สงู ขึ้นตามไปด้วย
29อุตสาหกรรมสาร
9.ใช้ Cyber Marketingเปน็ ช่องทางเข้าหาลูกคา้
7. เดนิ ทางไปประเทศท่ีเล็งไวท้ ำตลาดดว้ ย
สื่ออินเตอร์เน็ตช่วยให้เรามีช่องทางเข้าถึงลูกค้าได้
เมื่อมีข้อมูลพื้นฐานของประเทศเป้าหมายพร้อมแล้ว โดยตรง ผ่านสื่อสังคมออนไลน์แบบต่างๆ โดยธรรมชาติ
สิ่งที่ควรจะทำสักครั้งก่อนจะส่งสินค้าไปขาย คือ การเดินทาง ของสื่อลักษณะนี้ ขอให้มีกลุ่มลูกค้าเป้าหมายสักกลุ่มหนึ่ง
ไปยังประเทศที่หมายตาไว้ เพื่อสัมผัสบรรยากาศที่แท้จริง ที่มีความสัมพันธ์กับเรา เราก็มีช่องทางเพิ่มจำนวนลูกค้าได้
หาโอกาสพูดคุยกับคนที่คาดว่าจะเป็นพันธมิตรทางธุรกิจ อย่างไม่ยากนัก เช่น การนำสินค้าไปให้ทดลองใช้ แลกกับ
กับเรา พูดคุยกับผู้ที่คาดว่าจะเป็นกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย การเข้ามากด Like หรือยอมรับเราเป็นเพื่อนใน Facebook
ถ้าทำได้ควรนำสินค้าติดไม้ติดมือไปด้วย เพื่อทดลองแจก ของเขา เป็นต้น
ให้กลุ่มเป้าหมายใช้แล้วสอบถามความเห็นของพวกเขา ที่สำคัญ คือ เราต้องเข้าใจหลักการทำตลาดแบบ
เพื่อจะได้นำมาปรับปรุงสินค้าของเราให้เหมาะสมมากขึ้น
Cyber Marketing เพราะการเข้าไปโฆษณาบน Facebook
เจ้าของกิจการควรจะได้มีโอกาสเดินทางไปดูด้วย ของลูกค้าเป็นการสร้างความรำคาญ ลูกค้าเสียความรู้สึก
ตนเอง ไม่ควรส่งคนอื่นไปแทน เพราะสุดท้ายแล้วสำหรับ และอาจลบชื่อเราออกไปเลยก็ได้ เราเองต้องเรียนรู้หลัก
ธุรกิจ SMEs เจ้าของก็ยังเป็นคนที่มีอำนาจในการตัดสินใจ การในการทำ Cyber Marketing ให้ถูกต้อง เพื่อให้สามารถ
มากที่สุด หากไม่ได้ยิน ไม่ได้เห็น ไม่ได้สัมผัสด้วยตัวเอง ใช้ประโยชน์จากเครื่องมือการตลาดต้นทุนต่ำเหล่านี้ให้ได้
อาจส่งผลให้ตัดสินใจผิดพลาดได้ ซึ่งต้นทุนการเดินทางไป ประโยชน์สงู สุด
ประเทศในอาเซียนไม่ได้แพงมาก และใช้เวลาไม่นานหาก
รู้จักวางแผนให้ดี ผลที่ได้ก็คุ้มค่า ค่าใช้จ่ายในการเดินทางก็ 10.ศึกษาวัฒนธรรมในการทำธุรกิจของประเทศ
ถือว่าเป็นการลงทุนอย่างหนึ่ง
เปา้ หมาย
แต่ละประเทศมีวัฒนธรรมในการทำธุรกิจที่แตกต่าง
8. ทำความคุ้นเคยกบั สือ่ ในประเทศน้ัน
กัน จำเป็นต้องทำความเข้าใจให้ลึกซึ้งเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา
สื่อแต่ละประเภท สามารถเป็นแหล่งข้อมูลข่าวสาร ขึ้นมา ยกตัวอย่างเช่น นักธุรกิจมุสลิมในมาเลเซีย ไม่นิยม
เกี่ยวกับโอกาสทางการตลาดในประเทศนั้นให้เราได้ ข้อมูล ใช้นิ้วชี้ แต่จะใช้หัวแม่โป้งแทน การเผลอใช้นิ้วชี้ อาจทำให้
บางอย่างที่ไม่ได้จากโทรทัศน์/ภาพยนตร์ จะปรากฏอยู่ใน เขาโกรธ จนการเจรจาต่อรองทางการค้าเป็นไปได้ยากขึ้น
หนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรือแม้แต่รายการวิทยุ แม้จะไม่ การเข้าใจวัฒนธรรมของเขาเป็นอย่างดี ยังเป็นการส่ง
เข้าใจทั้งหมด แค่ได้เห็นภาพก็อาจจะช่วยให้เราได้แนวคิด สัญญาณว่า เราจริงจังและใส่ใจกับการทำธุรกิจในประเทศ
ใหม่ๆ ในการทำตลาดแล้ว
นั้น เป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้กับว่าที่พันธมิตรของเรา
การรู้จักสื่อ ช่วยเราในกรณีที่ต้องการลงโฆษณา เรา ช่วยให้การตกลงร่วมมือกันประสบความสำเร็จได้ง่ายขึ้น
จะได้รู้ว่าการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ควรใช้สื่ออะไรดี แม้เรา ด้วย
จะมีตัวแทนคอยช่วยประสานงานเรื่องการลงโฆษณาใน
ประเทศนั้น แต่การที่เรามีความรู้เป็นทุนเดิมเอาไว้จะช่วย ที่มา : คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคม
ให้ไม่ถูกหลอก รักษาเงินในกระเป๋าที่ไม่ควรจะจ่ายออกไป เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) สำหรับผู้ประกอบการ SMEs
เอาไว้ได้
โดยสำนักบริหารยุทธศาสตร์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม
30 อตุ สาหกรรมสาร
เรียบเรียงโดย อรุษา กิตติวัฒน์
SMEs Insight
เสคำลห็ดรวบั ิชผาู้ปกราะรกขอายบ
การมือใหม่
สำหรบั ผปู้ ระกอบการใหมท่ เ่ี พง่ิ กา้ วเขา้ สโู่ ลกธรุ กจิ มกั มปี ญั หาจะเรม่ิ ตน้
ขายอย่างไรดี ดร.วิทยา จารุพงศ์โสภณ ผู้อำนวยการศูนย์ให้คำปรึกษา
และพฒั นาผบู้ รหิ ารทางธรุ กจิ แหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ หรอื ทเ่ี รยี ก
สั้นๆ ว่า CONC ซึ่งมุ่งเพิ่มพูนความสามารถให้แนวคิดในด้านการขาย
สำหรบั การตลาดสมยั ใหมเ่ พอ่ื นำไปพฒั นาธรุ กจิ
การขายเป็นการจับคู่ระหว่าง ความต้องการของลูกค้า กับ สินค้า ถ้าเราไม่เข้าใจว่าเรามีอะไรที่จะขาย เราก็มี
แนวโน้มที่จะไม่รู้ว่ามีจุดขายอะไร เพราะฉะนั้นก็ต้องมีกระบวนการในการล่วงรู้ เหมือนการออกเรือไปจับปลา ต้องเตรียม
เหยื่อ เพื่อให้ปลามากินเหยื่อ ดังนั้นต้องรู้ว่าจะจับปลาอะไร รู้ใจปลานั้นว่าออกมาตอนไหน ชอบเหยื่อประเภทไหนแล้วจึง
ลงมือจับปลา จะใช้วิธีไหนจับปลา จะใช้อวนหรือใช้เบ็ด
นี่คือหลักการง่ายๆ 3 ขั้นตอนของการตลาดเปรียบเหมือน 3 ขั้นตอนการจับปลา ได้แก่
1.ออกเรือจับปลา 2. เตรียมเหยื่อ 3. ลงมือจับปลา
นี่เป็นวิธีการสอนแนวใหม่ที่ ดร.วิทยา จารุพงศ์โสภณ นำหลักการตลาดมาสร้างเป็นภาพเพื่อทำให้เข้าใจการ
ตลาดได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ดร.วิทยาได้อธิบายวิธีการประเมินสถานการณ์ทางการตลาดได้อย่างแยบยล โดยเอาหลักการ
จับปลาเป็นชนวน
คนส่วนใหญ่ที่มีปัญหาเวลาขายเปรียบกับเวลาออกเรือไปจับปลา ต้องมีการสร้างทางเลือก ประเมินทางเลือก
แล้วจึงค่อยเลือก สร้างทางเลือกคือ เรามีแนวโน้มจะขายใครได้บ้าง ประเมินทางเลือก ว่าใครควรขาย ใครไม่ควรขาย
จะได้จัดลำดับความสำคัญได้ ซึ่งข้อดีคือทำให้สามารถจัดกำลังคน จัดตารางเวลาใครควรเข้าก่อน ใครควรเข้าหลัง
ถ้าเราไม่รู้ว่าใครสำคัญมาก สำคัญน้อย ก็มีแนวโน้มว่าเราจะเสียเวลาไปกับลูกค้ารายเล็กๆ รายย่อยๆ แต่ละคนมีความ
สามารถในการสร้างยอดขายไม่เหมือนกัน กำไรแตกต่างกัน เมื่อเราจะจับปลาทุกตัวในมหาสมุทร ก็มีแนวโน้มจะจับได้
ปลาเล็ก ปลาซิว ปลาสร้อย ปลาแถวบ้าน ที่อยู่บนความคุ้นเคย สุดท้ายก็เสียเวลาเปล่า บังเอิญคนนี้แนะนำมา บังเอิญ
ว่าคนนี้อยู่ใกล้ชิดข้างบ้านเรา สุดท้ายก็ขายญาติพี่น้อง
31อุตสาหกรรมสาร
มือใหม่จะจับปลาอยู่เฉพาะแถวท่า ก็ได้เพียงปลาเล็กๆ สินค้าเรากับความต้องการเขาไม่เข้ากัน เราไปฝืน สุดท้ายลูกค้า
ไปจับปลาซิวปลาสร้อย ที่คุ้นเคยอยู่แถวนั้น เพราะเราไม่เคย ก็ชนะอยู่ดี เพราะลูกค้ามีสิทธิซื้อและไม่ซื้อ ไปบังคับลูกค้าก็
ออกเรือไปที่อื่น ขณะที่ปลาใหญ่อยู่ในมหาสมุทร ลูกค้าที่ ไม่ได้ เพราะลูกค้าเข้าแล้วเดินออก คราวหน้าไม่ซื้อเราอีก
ควรขายกลับไม่ขาย เมื่อขายผิดคน สิ่งที่เกิดขึ้นคือ การแข่งกัน เราต้องหาลูกค้าใหม่ไปเรื่อยๆ สุดท้ายต้นทุนจะแพง เสียเวลา
ด้วยราคา ลูกค้าไม่ซื้อ มือใหม่ก็จะเกิดอาการท้อ ขายไม่ได้ กว่าจะขับรถไปหาลูกค้า คุยเสร็จ ลูกค้าไม่เปิดใจ ไม่ตรงความ
ขายไม่เป็น เสียความมั่นใจ เพราะคุณไม่เคยเจอลูกค้าเลย ต้องการลูกค้า ขายแทบตายก็ขายไม่ได้ ดังนั้นการขายต้อง
ไม่มีข้อมลู เตรียมมาก่อนว่าจะเสนออะไร
ขายได้อย่างยั่งยืน วันนี้ขายได้ พรุ่งนี้ต้องขายได้
เพราะฉะนั้นการขายไม่ใช่อยู่ดีๆก็ออกไปขายเลย
ต้องประเมิน ทั้งลูกค้า ทั้งตัวสินค้าบริการเรา คอนเซ็ปต์ง่ายๆ การขายคล้ายๆภูเขานำ้ แขง็
ขั้นตอนแรก คือ เลือกปลา ก่อนจะเลือกได้ก็ต้องสร้างทางเลือก เคยสังเกตบ้างไหมว่าการขายมี 2 ช่วงเวลาคือ selling
ประเมินทางเลือก แล้วค่อยเลือก ปลาใหญ่อยู่ในมหาสมุทร time และ non selling time selling time คือช่วงเวลาในการขาย
เป็นปลาไหนบ้าง
จริง เคาะราคาสินค้า เครดิตเทอมจะจ่ายอย่างไร เกิดขึ้นแค่
สั้นๆ 10-15 นาทีส่งมอบอย่างไร เปรียบเทียบกับภูเขาน้ำแข็ง
ก็คือส่วนยอดที่มองเห็นเพียงนิดเดียว ขณะที่ยังมีส่วน
การขายตอ้ งเอาลกู ค้าเป็นตวั ตัง้ ... ไม่ใช่สนิ คา้
ภูเขาน้ำแข็งที่อยู่ใต้น้ำอีกมาก หมายถึงช่วง non selling time
หลังจากที่เราได้ลูกค้าแล้ว ต้องรู้ความต้องการเขา คือช่วงที่ไม่ได้ขายเปรียบกับการเตรียมตัวในการขายก่อนที่จะ
การขายไม่ใช่ Insight Out ต้อง Outsight In เพราะการขาย ขายจริง จะเข้าถึงลูกค้าได้อย่างไร ต้องมีภาระหน้าที่ ต้อง
เป็นการจับคู่เราจะไม่ฝืนตลาด หมายถึงการไปเปลี่ยนความ ทำการบ้าน ต้องไปสร้างคอนเนคชั่นต่างๆ
รู้สึก เปลี่ยนความต้องการลูกค้า แต่ยึดลูกค้าเป็นตัวตั้ง หลักการขายคือห้ามเน้นในส่วนที่เรียกว่า selling time โดย
แล้วปรับสินค้าและบริการของเราให้สอดคล้องกับลูกค้าขั้นตอน ทั่วไปสัดส่วนระหว่าง selling time ต่อ non selling time อยู่ที่
นี้เป็นขั้นตอนเตรียมเหยื่อ จะใช้เหยื่อแบบไหน ต้องรู้ใจปลาว่า 95:5 หรือ 90:10 หรือ 80:20 นักขายที่มียอดขายดีๆ เน้นที่ non-
ชอบแบบไหน แล้วถึงเตรียมเหยื่อ คือ สินค้าและบริการได้ถูก selling time ส่วนพวกที่ขายไม่ได้จะมีสัดส่วนของ selling time
เราจะออกเรือไปอย่างไร เวลาไหน ใช้น้ำมันเท่าไหร่ ลงทุนเท่า มากกว่าเจอหน้าลูกค้าก็คุยแต่เรื่องขาย
ไหร่ จะใช้คนกี่คน ใช้วิธีอะไรในการจับ ต้องปรับโปรดักส์อะไร “เวลาผมสอนเรื่องการขาย ผมมักใช้เทคนิคการขายเหมือน
บ้าง ในการขายต้องเอาลูกค้าเป็นตัวตั้งถ้าเมื่อไหร่เอาสินค้าเป็น ไม่ขาย นักขายที่ดี ต้องมีวิธีการเข้าถึง การนำเสนอลูกค้าต้อง
ตัวตั้ง จะมีข้อจำกัดทันที เพราะสินค้าของเราอาจจะขายได้แค่ ขายเหมือนไม่ขาย เพราะฉะนั้นเราต้องสนิทสนมเพื่อรู้ใจ
บางกลุ่มเท่านั้น ซึ่งอาจจะเป็นปลาซิวปลาสร้อย ปลาเล็ก เขาก่อน ความสนิทสนมนำมาซึ่งข้อมูล ว่าจะนำเสนออะไร
เพราะฉะนั้นสินค้าและบริการขึ้นกับลูกค้าเป็นตัวตั้ง จะเอา หลายคนเข้าใจผิดว่าการขายคือการทำให้ลูกค้าซื้อ หน้าที่
สินค้าไหนมาดิวกับเอเย่นต์เจ้าไหน เอาของใครมาขาย สินค้า นักขายคือทำอย่างไรให้เขารักเรา ก่อนที่จะเริ่มต้นการขาย
สีไหน โทนไหน เหมือนทำรีสอร์ตหรือโรงแรม จะตั้งราคา เมื่อเขารักเรา เชื่อถือเรา เปิดใจง่าย การขายก็ง่าย” ดร.วิทยา
เท่าไหร่ เป็นบทู ีคมั้ย หรือจะมีเซอร์วิสอะไรบ้าง นี่คือการเตรียม กล่าวเน้นย้ำหลักการขายสมัยใหม่
เหยื่อทั้งสิ้น คนที่พลาดคือเอาเหยื่อเป็นตัวตั้ง โดยไม่คิดว่า
ปลาชอบหรือไม่ชอบ
กตกิ ามารยาทของนักขาย...เจอกันครัง้ แรกห้ามขาย
หลังจากเตรียมเหยื่อ ขั้นตอนต่อไปคือจับปลา ในแง่ ถ้าเมื่อไหร่เจอหน้าแล้วขาย ลูกค้ามักมีกำแพงขึ้นมาทันที
เทคนิคการขายคือทำอย่างไรให้ลกู ค้ามั่นใจ เชื่อว่าเหยื่อของเรา เมื่อไม่เปิดใจ การเข้าถึง การนำเสนอก็ยาก เพราะฉะนั้นทักษะ
สอดคล้องกับความต้องการสามเรื่องหลักจะต้องมาตามลำดับ การขาย คือไม่ใช่ตั้งใจขาย ใช้วิธีทำความรู้จัก คนที่เป็นนักขาย
ถ้าข้ามลำดับจะมีปัญหา เตรียมเหยื่อก่อน ทั้งที่ยังไม่รู้ว่าจะไป จึงต้องใช้เวลากับคนจำนวนมาก สนุกกับการคุยกับผู้คน ในการ
จับปลาอะไร แล้วก็ขายไม่ได้ กลายเป็นว่าเราเอาไฟไปล่อ แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับคน ในการเรียนรู้จากคนอื่น เพราะ
ปลาทู ทั้งที่ปลาทูไม่ได้ชอบไฟเท่าไหร่ ปลาหมึกต่างหากที่ ฉะนั้นนักขายคือเป็นการให้ความสุขคน ทำให้เขามีความสุข
ชอบไฟ
ถา้ ไม่ใช่คู่แทก้ ็ต้องไปหาค่ใู หม่
เมื่อสินค้าหรือบริการตรงความต้องการลูกค้า การจับคู่ก็
จะเข้ากันได้เร็ว ทำให้ขายง่ายขึ้น บางคนคิดอยู่เสมอว่าการ
ขายคือเทคนิค เทคนิคในการทำให้ลูกค้ามั่นใจ ต้องห้อมล้อม
ลกู ค้า ชักแม่น้ำทั้งห้า บอกข้อมลู บางส่วน ไม่บอกข้อมลู บางส่วน
บางคนคิดว่าการขายคือ การหลอกลวง ตรงกันข้าม การขาย
เป็นความจริงใจที่เรามีกับลูกค้า เราขายก็ต่อเมื่อสามารถทำให้
คุณภาพชีวิตลูกค้าดีขึ้น ใช้สินค้าเราแล้วสุขภาพดีขึ้น ดังนั้น
หากนำเสนอสินค้าที่ตรงกับความต้องการไม่ได้ ก็ต้องปล่อย
32 อตุ สาหกรรมสาร
การขายเหมือนเป็นการสรา้ งสัมพนั ธ์
การขายเป็นการสร้างความสัมพันธ์ในระยะยาว ต้องเอาใจ
ใส่ลูกค้าโดยเป็นไปตามธรรมชาติ เป็นทักษะ ความชำนาญที่
ต้องฝึก กระบวนการในการเตรียมตัวนำเสนอ ลูกค้าจะพูดอะไร
กับเรา ถ้าลูกค้ามาแบบนี้จะตอบอย่างไร นี่คือการวางแผน
ล่วงหน้า จนเมื่อมีความเชี่ยวชาญแล้ว สามารถล่วงรู้ว่าลูกค้าจะ
ไปทางไหนได้ ง่ายๆคือ ปรารถนาดีกับลกู ค้าอย่างจริงใจ ก็ทำให้
เราก็รับรู้ได้
ย้อนกลับไปที่ ภูเขาน้ำแข็ง ช่วงเวลาขายมีเพียง ตกลงราคา
เซ็นเอกสาร แต่ที่เหลือใต้ภูเขาน้ำแข็งคือความสัมพันธ์
คนส่วนใหญ่ไม่ได้สนใจใต้ภูเขาน้ำแข็ง แต่ไปสนใจแค่ยอด
ให้เขารักเรา พอเขารักเรา ที่เหลือง่ายมาก ขายเหมือนไม่ขาย คนขายที่ไม่ประสบความสำเร็จ เพราะไม่จริงใจกับลูกค้า
สุดท้ายโทรศัพท์ทีเดียวจบ แล้วไม่ใช่ทุกคนที่มีทักษะในการขาย หลอกลวง โป้ปด มุ่งเอาแต่ยอดขาย ไม่คิดถึงผลพวงที่จะเกิดกับ
ไปดูนักขายเก่งๆ ลกู ค้าจะเป็นเซลล์ให้กับเราทั้งสิ้น แล้วเกิดการ ลกู ค้า
บอกต่ออีก การตลาดจะมีสองแบบ เชิงรุกกับเชิงรับ เชิงรับเรา
เรียก รีแอคทีฟ มาร์เก็ตติ้ง นี่คือจับปลาอยู่ที่ท่า คนส่วนใหญ่
เป็นแนวนี้ แต่การขายเป็นเรื่องเชิงรุกไม่ใช่เชิงรับ ต้องออกไปหา การขายในยคุ AEC ไร้พรมแดน
ลูกค้า การขายแบบเก่าคือ สักแต่ขาย เหมือนเอารถเข็นมาตั้ง ระหว่างที่ลูกค้าเลือกสินค้า คือจังหวะในการคุยเพื่อสร้าง
รอลูกค้าเดินผ่านไปผ่านมา นี่เตรียมเหยื่อก่อน ผิดขั้นตอนแล้ว ปฏิสัมพันธ์กับลูกค้า ซื้อไปทำไม ทำอะไร เพื่อจะเลือกสินค้าได้
การเรียกลูกค้าที่เดินผ่านไปผ่านมา คือจับปลาอยู่ที่ท่า หาก ถูกต้อง เช่น พอลูกค้าบอกว่าซื้อไปตะวันออกกลาง ก็ต้องมอง
ลูกค้าที่เดินผ่านไปผ่านมาไม่มีเงิน ทำของมาแล้วขายไม่ได้ ออกว่าลูกค้าสไตล์ตะวันออกกลาง ชอบอะไร โทนสีแบบไหน
สุดท้ายถ้าก็เจ๊ง
อาจนำเสนอสินค้าอีกล็อตที่เหมาะสมกว่า ให้การตลาดสมัยใหม่
เราเปลี่ยนแนวคิดจากศูนย์กลางที่โปรดักส์ มาเป็นยึดลูกค้าเป็น
จับปลาอยู่ที่ท่า ไม่เคยเรียกลูกค้าเลย ว่าจะขายใคร ตั้งใจ ศูนย์กลาง ใช้ปัญหาลูกค้าเป็นตัวตั้ง มุ่งตอบโจทย์ ยกระดับ
ขายเกินไป แปลว่าทั้งหมดที่เราใช้เวลากับลูกค้าเป็น selling คุณภาพชีวิตลูกค้าให้ดีขึ้น ไปดูคนที่ไม่ประสบความสำเร็จคือ
time ไม่ได้เน้นส่วนที่เป็น non selling time พดู ง่ายๆ มีสาระกับ ขายแต่ตัวสินค้า ซึ่งเลียนแบบกันได้ ทำให้ไม่ยั่งยืน เพราะฉะนั้น
ไร้สาระ ในแง่การขาย จงแสวงหาสาระจากความไร้สาระ แต่คน การตลาดสมัยใหม่จึงยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง แล้วทำการตลาด
มักจะเน้นสาระมากกว่าไร้สาระ นั่นทำให้ขายไม่ได้
ล้อมรอบลูกค้า การตลาดสมัยใหม่ยืนยันว่าต้องมีพันธมิตร
คนส่วนใหญ่โดยเฉพาะเอสเอ็มอี ไม่ชอบสร้างพวก เมื่อไม่มีพวก
ลูกค้ามีทางเลือก เราต้องรู้ให้ได้ว่าเขามีทางเลือกอะไรบ้าง แข่งคนเดียว ก็เกิดการห้ำหั่นกันเรื่องราคาการขายสมัยก่อนมุ่ง
แล้วสินค้าเราดีกว่าคนอื่นอย่างไร ดังนั้นต้องคิดอย่างที่ลูกค้าคิด เอาเปรียบ ฉวยโอกาสขึ้นราคาโดยที่ลูกค้าไม่รู้ แต่สมัยใหม่ตรง
มองหาข้อดีของสิ่งที่เราจะขาย ก็ต้องรู้จักสินค้าตัวเองให้ถ่องแท้ กันข้าม เมื่อลูกค้าอยู่กับเราระยะยาว เขาเติบโต เราก็มียอดขาย
เปรียบเทียบให้เห็นว่าการซื้อสินค้าจากเรา ความคุ้มค่าของเงินมี เพิ่มขึ้นตามไป
มากขึ้น คนส่วนใหญ่ รู้แต่เรื่องของเราไม่รู้เรื่องคู่แข่งขัน เลย “การขายยุคนี้ต้องเลือกได้ เป็นไปไม่ได้ที่จะขายทุกคน สรุป
เปรียบเทียบไม่ได้ จะตีจุดอ่อนอะไร สื่อสารอย่างไร
คือการเลือกลูกค้าที่ควรขาย เช่นเดียวกับการเลือกปลา เตรียม
เหยื่อที่ปลาชนิดนั้นต้องการ มั่นใจว่าสินค้าเราสอดคล้องกับ
“สมมติผมขายแอร์อินเวอร์เตอร์แต่ลูกค้าจะดูแอร์ธรรมดา ความต้องการลูกค้า เมื่อเตรียมเหยื่อพร้อม จะออกเรือไปอย่างไร
แอร์ผมแพงกว่าแอร์ธรรมดา 5 พันบาท ลูกค้าบอกว่าแพง วิธีการก็คือ ให้ความสำคัญกับใต้ภูเขาน้ำแข็ง หรือ non selling
เกินไป ฉะนั้นหน้าที่ผมคือทำให้มันจับต้องได้ ซื้อแอร์อินเวอร์- time ห้ามขายตั้งแต่จังหวะแรก ความสัมพันธ์เป็นตัวช่วยทำให้
เตอร์นี่คือตัวเลขเฉลี่ย ประหยัดค่าไฟเดือนละ 500 บาท แปลว่า การขายง่ายขึ้น ทำให้ลกู ค้ารักเราก่อนเริ่มต้นการขาย” ดร.วิทยา
ใช้สิบเดือนก็คุ้ม 5 พันบาทแล้ว แอร์ราคาสองหมื่นห้าใช้ 5 ปี สรุปเคล็ดการขายจากหลักวิชาจับปลา 3 ขั้นตอน
เหมือนได้แอร์ฟรี ดีกว่าไปซื้อแอร์ธรรมดาอีก”
ดร.วิทยา จารุพงศโ์ สภณ
หน้าที่ของนักขายคือการจับคู่ ทำให้ลูกค้าเชื่อตามเรา โดย Director of CONC : Thammasat Consulting Networking and
ใช้ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ไม่ได้หลอกลวงและเข้าใจว่าไม่ใช่สินค้า Coaching Center อาจารย์คณะพาณิชยศาสตร์
ทุกตัวจะขายได้ เพราะรสนิยมแต่ละคนไม่เหมือนกัน ดังนั้น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เบื้องต้นสินค้าต้องดีก่อน ถ้าไปโกหกลูกค้า ไม่ประหยัดไฟจริง โทร: 0 2613 2253 email: [email protected]
คราวหน้าลูกค้าไปพูดต่อ สุดท้ายเราก็อยู่ไม่ได้เพราะฉะนั้นการ
ขายที่ดี คือแปลงลูกค้าให้เป็นพันธมิตรเพื่อจะได้ให้ลูกค้าเป็น
เซลให้กับเรา แปลว่าต่อไปนี้เราก็ไม่ต้องขาย ลกู ค้าเป็นฝ่ายบอก
ต่อให้ ยิ่งขายบ่อยๆ ภาระของนักขายจะลดลง เพราะลูกค้า
เปลี่ยนบทบาทมาเป็นเซล ช่วยโฆษณาให้โดยไม่ต้องทำอะไรเลย
33อุตสาหกรรมสาร
เรียบเรียงโดย จารุวรรณ เจตเกษกิจ
Asean BIZ
อาหารและเครอ่ื งดม่ื เปน็ สนิ คา้ ทม่ี คี วาม
สำคญั ต่อผู้บริโภคในอนิ โดนีเซีย สะท้อนได้
จากรายจ่ายของผู้บริโภค ร้อยละ 47 ของ
รายจ่ายทั้งหมด เป็นไปเพื่อการใช้จ่ายด้าน
อาหารและเครอื่ งดม่ื
ทิศทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและ
เครอื่ งดม่ื ในอนิ โดนเี ซยี เปน็ ไปอยา่ งรวดเรว็
ทงั้ เพอ่ื ผบู้ รโิ ภคภายในประเทศ และเพอื่ การ
สง่ ออก
ผแอลินละเโติ คดภรนณั่ือเี ซงยีฑด
์อืม่ าในหาร
ผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
ตลาดอาหารสำเร็จรูป (Package Food) มีการเติบโต
อย่างต่อเนื่อง มูลค่าตลาดในปี 2556 สูงถึง 7 แสนล้าน เลือกบริโภคได้อย่างหลากหลายมากขึ้น อินโดนีเซียนับเป็น
บาท และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น 9 แสนล้านบาทภายใน ชาติที่บริโภคบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปมากเป็นอันดับ 2 ของโลก
ปี 2560 โดยผู้เล่นรายสำคัญ เป็นบริษัทท้องถิ่นชื่อว่า รองจากจีน/ฮ่องกง และนับเป็นอันดับ 1 หากเทียบเฉพาะ
Indofood Sukses Makmur ซึ่งเป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ ประเทศในกลุ่มอาเซียนด้วยกัน ตามมาด้วยเวียดนาม และ
อาหารในหลายประเภท โดยผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นเป็น ไทย
บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ภายใต้แบรนด์ “Indomie” ซึ่งได้รับ
การกล่าวขานกันว่าเป็นผลิตภัณฑ์บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปที่
อร่อยที่สุดในโลก เพราะปรุงด้วยวัตถุดิบที่ดีที่สุดและ
อุดมไปด้วยเครื่องเทศ ปัจจุบัน Innomie ได้มีการออก ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มปราศจากแอลกอฮอล์
ผลิตภัณฑ์ใหม่ล่าสุดเป็น “บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปรสชาติของ (Soft Drinks)
เอเชีย (Taste of Asia)” อาทิ รสต้มยำของไทย รสหวาน
และเปรี้ยวสไตล์เกาหลี และรสชาติก๋วยเตี๋ยวตามสไตล์ ตลาดเครื่องดื่มปราศจากแอลกอฮอล์ มีการเติบโตอย่าง
สิงคโปร์ เพื่อเป็นการเอาใจกลุ่มลูกค้าให้มีผลิตภัณฑ์ ต่อเนื่องเช่นเดียวกับตลาดอาหารสำเร็จรูป มูลค่าตลาดในปี
2556 สงู ถึง 2.31 แสนล้านบาท โดยแบ่งเป็นการจำหน่ายให้
ผู้บริโภคที่ซื้อกลับไปดื่มที่บ้าน (Off-trade) ผ่านร้านค้าปลีก
1.77 แสนล้านบาท และการจำหน่ายให้ผู้บริโภคที่นั่งดื่มใน
ร้าน (On-trade) ผ่านร้านอาหารและโรงแรม 0.54 แสนล้าน
บาท และคาดว่าในปี 2560 มูลค่าตลาดเครื่องดื่มปราศจาก
แอลกอฮอล์จะเพิ่มขึ้นเป็น 3 แสนล้านบาท โดยแบ่งเป็น Off
Trade ร้อยละ 77และ On Trade ร้อยละ 23 ของมูลค่า
ทั้งหมด
34 อตุ สาหกรรมสาร
ผลิตภัณฑ์ที่มียอดขายดีที่สุด คือ น้ำดื่มบรรจุขวด บทส่งท้าย
(Bottled Water) รองลงมาเป็นเครื่องดื่มสไตล์เอเชีย (Asian
Specialty Drink) และชาพร้อมดื่ม (Ready to Drink: Tea)
ในอินโดนีเซีย ผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม
สำเร็จรูป ผู้บริโภคภายในประเทศมีความต้องการ
ผู้เล่นรายสำคัญ เป็นบริษัทข้ามชาติ โคคา โคล่า (Coca เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญ
Cola) โดยมีจุดแข็ง คือ การสร้างเครือข่ายช่องทางการ ต่อการดำรงชีวิต และสามารถตอบสนองต่อวิถีชีวิต
จัดจำหน่ายที่แข็งแกร่งครอบคลุมทั่วอินโดนีเซีย ส่วนผู้เล่น ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะในด้านความเร่งรีบและ
ท้องถิ่นรายสำคัญ คือ Sinar Sosro PT ซึ่งเป็นผู้ผลิต การมีเวลาจำกัด จึงต้องการความสะดวกสบายและ
ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มในหลายประเภท โดยที่โดดเด่นคือ ประหยัดเวลาในการปรุงและการบริโภค ขณะ
ผลิตภัณฑ์ชาพร้อมดื่มในรูปแบบต่างๆ ภายใต้แบรนด์ เดียวกันก็ต้องการผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มที่ดึงดูดความ
“Sosro” ซึ่งได้รับการกล่าวขานกันว่า เป็นผู้ผลิตชาพร้อมดื่ม ต้องการในด้านอื่นๆได้ด้วย ขณะที่ผู้ผลิตก็มีจำนวน
ที่ใส่ขวดแก้วแห่งแรกของโลก จุดแข็งของ Sosro คือ การเป็น เพิ่มมากขึ้นด้วยเช่นกัน ทั้งจากผู้ประกอบการท้องถิ่น
แบรนด์ท้องถิ่นที่อยู่คู่ชาวอินโดนีเซียมาเป็นเวลานาน และ และบริษัทข้ามชาติ เพราะความน่าสนใจของตลาด
มีการพัฒนาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายตอบสนอง อินโดนีเซีย โดยเฉพาะจำนวนประชากรที่มากถึง 240
ความต้องการของผู้บริโภคอยู่ตลอดเวลา
ล้านคน ซึ่งมากเป็นอันดับ 4 ของโลก ทำให้การ
พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มในอินโดนีเซีย
ในปี 2556 ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มใหม่ที่เกิดขึ้น ได้แก่ ชา เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยอยู่บนพื้นฐานการคำนึงถึง
นมพร้อมดื่ม ชาเขียวพร้อมดื่ม และเครื่องดื่มอัดลมให้ จุดเด่นอันสำคัญของตลาดอินโดนีเซีย คือ ประชากร
พลังงาน
ส่วนใหญ่ของประเทศ หรือคิดเป็นร้อยละ 87 ของ
ประชากรทั้งหมด นับถือศาสนาอิสลาม ดังนั้นการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ต่างๆ จะเป็นไปตามข้อกำหนดแห่ง
การตั้งราคาขาย ช่องทางการจัดจำหน่าย และ ศาสนาอิสลาม ตลอดจนสอดรับกับกระแสความ
การส่งเสริมการขาย ผลิตภัณฑ์อาหารและ ต้องการของผู้บริโภคในอินโดนีเซีย ซึ่งปัจจุบันกำลัง
เครื่องด่ืมในอินโดนีเซีย
ให้ความสนใจต่อเรื่องสุขภาพที่ดีต่อร่างกาย ความ
สวยงามของร่างกาย สิ่งแวดล้อม และกระแสโลก
การตั้งราคาขาย ในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกันเพื่อให้ ไร้พรมแดนที่สามารถเปิดรับวัฒนธรรมจากชาติพันธุ์
สอดคล้องกับกลุ่มลูกค้า และเงื่อนไขการจำหน่ายของแต่ละ ต่างถิ่นมาเรียนรู้และทดลองเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ
พื้นที่
ที่ได้ผล เพราะผู้บริโภคอินโดนีเซียมีความอ่อนไหวต่อราคา
อันสืบเนื่องมาจากความไม่มั่นคงทางด้านเศรษฐกิจ ซึ่งทำให้
ช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าอาหารและเครื่องดื่มใน อำนาจการซื้อของผู้บริโภคลดลง นอกจากนี้กลยุทธ์สำคัญอีก
อินโดนีเซียมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะร้านค้าปลีกสมัย ประการหนึ่ง คือ การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ให้มีมูลค่าเพิ่ม
ใหม่ อาทิ ไฮเปอร์มาร์เก็ต และร้านสะดวกซื้อ ทำให้มูลค่า ที่สามารถดึงดูด ความต้องการของผู้บริโภคอินโดนีเซียได้ อาทิ
และปริมาณการขายสินค้าอาหารและเครื่องดื่มในอินโดนีเซีย การสร้างสรรค์อาหารแบบดั้งเดิมในรูปแบบให้พร้อมรับประทาน
ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
โดยทันที ทั้งนี้ “การโฆษณาผ่านโทรทัศน์” เป็นช่องทางการ
สื่อสารผลิตภัณฑ์ไปยังผู้บริโภคชาวอินโดนีเซียที่ได้ผลมากที่สุด
การส่งเสริมการขายในตลาดอาหารและเครื่องดื่มใน อย่างไรนั้นช่องทางการสื่อสารออนไลน์บนโลกอินเทอร์เน็ตเริ่ม
อินโดนีเซียเป็นไปในทิศทางเชิงรุก โดยกลยุทธ์สำคัญ คือ ได้รับความนิยมมากขึ้น
“การให้ส่วนลด (Discount)” ทั้งการให้ส่วนลดโดยตรง และ
การจัดโปรโมชั่นซื้อ 2 แถม 1 ซึ่งเป็นวิธีการส่งเสริมการขาย
แหล่งขอ้ มูล : Badan Pusat Statistik (2013) Statistics Indonesia.
http://www.bps.go.id/ Euromonitor (2013) Packaged Food in
Indonesia. Euromonitor (2013) Soft Drinks in Indonesia. World Instant
Noodle Association (2013) Global Demand for Instat Noodles.
www.indofood.com. www.gbgindonesia.com. www.mayatdg.com
www.sosro.com. www.thaibizindonesia.com
35อุตสาหกรรมสาร
เรียบเรียงโดย นุชเนตร จักรกรม
Product Design
10 style 10 country of AEC
จากวสั ดุ สไู่ อเดยี ของเทรนดด์ ไี ซนแ์ นวคดิ ใหมแ่ ละงานสรา้ งสรรคผ์ ลติ ภณั ฑท์ ผ่ี สมผสาน
เอกลกั ษณโ์ ดดเดน่ ประจำชาติ จากมนั สมองและสองมอื ของนกั ออกแบบ 10 ประเทศอาเซยี น
ประเทศไทย (Thailand)
Ngob Lamp โคมไฟดีไซน์โดน
จากเศษเหลก็ ไรค้ า่ ทถี่ กู มองขา้ ม
ผลงานเก๋ๆ ที่ดีไซน์ส่องสว่างไม่แพ้
แสงไฟชิ้นนี้เกิดขึ้นจากแนวคิดสร้างสรรค์
แถมยังรักษ์โลกของนักออกแบบสาวชาว
ไทย พรพรรณ เกียรติภาคภูมิ ผู้ก่อตั้ง
แบรนด์ “PrinkPreaw” กับสาระพันของใช้
ของแต่งบ้านสไตล์แฮนด์เมดที่ดัดแปลงจาก
เศษเหล็กเหลือใช้ เสริมแต่งไอเดียละรปู ทรง
แจ่มๆ ตอบโจทย์ประโยชน์ใช้สอย แถมยัง
เข้ากับไลฟ์สไตล์ปัจจุบันอีกด้วย ข้อมลู จาก
www.facebook.com/Pin.metal.life
ประเทศอินโดนีเซีย (Indonesia)
Magno Wooden Radio นา่ รกั ๆ กบั วทิ ยไุ มอ้ โี คดไี ซน์
Singgih S Kartono ดีไซน์เนอร์สัญชาติอินโดนีเซีย เจ้าของแนวคิดการออกแบบวิทยุไม้ทำมือนานถึง 16 ชั่วโมงต่อชิ้น
มากด้วยเอกลักษณ์และฟังก์ชั่นการใช้งานที่พร้อมสรรพ ที่สามารถกวาดรางวัลจากหลากเวทีระดับนานาชาติมาครองอย่าง
ไม่ต้องสงสัย ด้วยคอนเซ็ปต์ที่ผสานความใส่ใจต่อวัสดุท้องถิ่น ระบบนิเวศน์ และการสร้างงานร่วมกันในชุมชน เพื่อนำไปสู่
พื้นฐานการพัฒนาอาชีพและงานดีไซน์ในชุมชนชวาให้เกิดขึ้นอย่างยั่งยืน ข้อมลู จาก www.wooden-radio.com
36 อตุ สาหกรรมสาร
ประเทศฟิลิปปินส์ (Philippines)
“Boulder” Floor Planter กระถางตน้ ไมโ้ ชวค์ วามเรยี บงา่ ย
แตส่ ะดดุ ตา
Floor Planter ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากการผสมกันของรายละเอียดยุคใหม่
และสมัยเก่าผสานความเรียบง่ายจากงานออกซิเดชั่นตามธรรมชาติของโลหะ
ชิ้นนี้ถกู หล่อหลอมจากศิลปินมากฝีมือ Jinggoy Buensuceso หนึ่งในกลุ่มศิลปิน
คลื่นลกู ใหม่ที่ก้าวนำวงการการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ฟิลิปปินส์ให้ออกสู่ระดับโลก
ข ้ อ มู ล จ า ก w w w . d e s i g n b y h i v e . c o m / i t e m / e x a m p l e s / b o t t o m /
Boulder_carousel.html
ประเทศสิงคโปร์ (Singapore)
Spot โคมไฟ LED มลั ตฟิ งั กช์ นั่
Gloria Ngiam, Nigel Geh &
Guillaume Bloget กลุ่มนักออกแบบจาก
มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ใส่ดีไซน์
เรียบง่ายให้กับโคมไฟมัลติฟังก์ชั่น ที่พร้อม
ตอบสนองรูปแบบการใช้งานที่ปรับได้
หลากหลายตามต้องการ ข้อมูลจาก
www. facebook.com/ pages/Spot/
ประเทศเวียดนาม (Vietnam)
WWF ผุดโปรเจ็กต์ร่วมกับกลุ่มหัตถกรรมเวียดนามเพื่องาน
ดไี ซนห์ วายโดนใจตลาดตา่ งชาติ
เพื่อต่อยอดความยั่งยืนระยะยาวของงานออกแบบหัตถกรรมหวายของ
เวียดนามสู่ระดับสากล ทำให้นักออกแบบจาก WWF และ Vietnam
Handicraft Exporters’ Association จับมือกันเพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ใน
การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ดีไซน์จากหวาย ด้วยเทคนิคใหม่อีกทั้งยังช่วยลด
การสูญเสียของทรัพยากรให้กับกลุ่มนักศึกษาจาก Hanoi Art Academy
ผลงานที่ได้จึงจุดประกายแรงบันดาลใจยุคใหม่ที่พร้อมให้เกิดขึ้นและพร้อม
ก้าวสู่ตลาดโลก ข้อมูลจาก www.claralindsten.com/projects/wwf-rattan-
project.shtm
ประเทศลาว (Laos)
Silk and Cotton Scarf หตั ถกรรมอบอนุ่ ผสานอารยธรรมสดุ ลงตวั
ผ้าพันคอสายเลือดลาวที่โดดเด่นระดับอินเตอร์ จากการสร้างสรรค์ของ Bounkhong
Signavong ดีไซน์เนอร์และเจ้าของแบรนด์ Lao Design กับคอนเซ็ปต์การออกแบบที่
เข้มข้นด้วยประเพณีการทอผ้าของประเทศบ้านเกิดกับความงามร่วมสมัยได้กลิ่นอาย
ตะวันตกออกมาได้อย่างน่าชื่นชม ข้อมูลจาก http://www.laodesignonline.com/
37อุตสาหกรรมสาร
ประเทศกัมพูชา (Cambodia)
ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)
Cambodian Pelican Sculpture Batik coffee table จากความลำ้ ลกึ ทางวฒั นธรรมผสานความ
ประตมิ ากรรมเครอ่ื งเงนิ ฝมี อื ดี
งามตามธรรมชาตทิ สี่ มบรู ณแ์ บบ
ประติมากรรมเครื่องเงินฝีมือศิลปินชาว โต๊ะกาแฟหวายที่ผสานผ้าบาติกรูปทรงสามเหลี่ยมโค้งมนตัวนี้ ถูกคิดโดย
กัมพูชา ที่จำลองมาจากรูปร่างและลักษณ์ของ Eyeh Hooi นักออกแบบที่สนุกกับถ่ายทอดแรงบันดาลใจจากสัญลักษณ์ทางอ้อม
นกกระทุง ซึ่งมีความละเอียดลออในการผลิตที่ ของสามเผ่าพันธุ์หลักในประเทศมาเลเซียที่อยู่ด้วยกันอย่างสงบและสามัคคี
ด้วยฝีมือที่เป็นเอกลักษณ์ถ่ายทอดกันจาก ได้แก่ มาเลเซีย จีน และอินเดีย ภายใต้ความงามของความเป็นธรรมชาติจาก
รุ่นสู่รุ่นมายาวนาน ข้อมูลจาก www.forwood ผืนป่าฝนเขตร้อน ซึ่งผลิตภัณฑ์ชิ้นนี้ถือเป็นตัวแทนของการสะท้อนมรดกทาง
design.com
วัฒนธรรมของประเทศได้อย่างลงตัว ข้อมลู จาก www.homechunk.com
ประเทศพม่า (Myanmar)
ประเทศบรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)
Golf Bag ถุงกอล์ฟงานหวายดีไซน์ kain tenunan ประยุกต์ผลิตภัณฑ์หลากหลาย
โดน
สไตลผ์ า้ ทอมอื พนื้ เมอื ง
Greatmyanmarisland ผู้ผลิตงานดีไซน์ร่วม กระเป๋ารูปแบบหลากหลายที่ออกแบบมาเพื่อตอบโจทย์
สมัยจากวัตถุดิบธรรมชาติโดยเฉพาะหวาย ไลฟ์สไตล์ใหม่ๆ ในการดำเนินชีวิตของผู้บริโภคชาวบรูไน และ
ที่อุดมสมบูรณ์มากในพม่า ดังเช่น ผลิตภัณฑ์ นานาประเทศ แต่ในขณะเดียวกันก็ยังคงรักษามรดกแห่ง
ถ ุ ง ก อ ล ์ ฟ จ า ก ศ ิ ล ป ะ ห ว า ย ค ุ ณ ภ า พ ด ี ท ี ่ ถู ก วัฒนธรรมงานสิ่งทอสไตล์
ออกแบบให้มีรูปทรงสวยงาม ให้ความรู้สึก ดั้งเดิม ที่อวดโฉมผ่านฝีมือ
อบอุ่นตามแบบฉบับเอเชียและสื่อถึงวัฒนธรรม การทอลายแบบดั้งเดิมของ
งานจักรสานของพม่าได้อย่างแจ่มชัด แถมยัง ท้องถิ่นเอาไว้ได้อย่างมี
ครบครันด้วยฟังก์ชั่นการใช้งานอีกด้วย เสน่ห์ ข้อมูลจาก archive.
ข้อมลู จาก www.greatmyanmarisland.com
bt.com.bn/news-national/
2013/04/24/exhibition-
promote-kain-tenunan
ภาพจาก The Brunei Times
38 อตุ สาหกรรมสาร
Knowledge
โดย สำนักบริหารยุทธศาสตร์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
โครงการเตรียมความ
พรอ้ มผ้ปู ระกอบการและ
ธุรกจิ อุตสาหกรรม
เพ่อื เข้าสปู่ ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมได้เตรียมการเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซยี น หรอื AEC โดยในปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 ไดจ้ ดั ทำ “โครงการเตรยี มความ
พร้อมผู้ประกอบการและธุรกิจอุตสาหกรรมเพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”
มเี ปา้ หมายเพอ่ื เพม่ิ ขดี ความสามารถในการดำเนนิ ธรุ กจิ ใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการ ยกระดบั
ความรแู้ ละทกั ษะในการปฏบิ ตั งิ านใหก้ บั บคุ ลากรภาคอตุ สาหกรรมและเพอ่ื สรา้ งเครอื
ข่ายความร่วมมือทางธุรกิจในสาขาอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ เพื่อให้เกิดการขยาย
โอกาสทางการคา้ และการลงทนุ ใหแ้ กธ่ รุ กจิ อตุ สาหกรรม
การดำเนินงานโครงการฯ ประกอบด้วย 4 3. กิจกรรมพัฒนาสถานประกอบการ เน้นการส่งเสริม
กิจกรรม ดังนี้
วิสาหกิจขนาดกลางหรือวิสาหกิจขนาดเล็กที่มีศักยภาพเชิงรุก
1. กิจกรรมพัฒนาผู้ประกอบการเชิงลึก โดยดำเนินการวินิจฉัยสถานประกอบการและวิเคราะห์ธุรกิจ
เป็นการขยายผลกิจกรรม “SMEs Roadmap เปิดแนวรุก เบื้องต้น ให้คำปรึกษาแนะนำในการจัดทำแผนการเตรียมความ
บุก AEC” ที่ได้ดำเนินการต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2555ดำเนิน พร้อมธุรกิจ (Roadmap) ทั้งในเชิงรุกและเชิงรับ โดยดำเนิน
การโดยการจัดหลักสูตรพัฒนาผู้ประกอบการที่สอดรับ กิจกรรมเป็นกลุ่มหรือเครือข่ายของวิสาหกิจที่อยู่ในสาขา
การเข้าสู่ AEC อาทิ ข้อกำหนดการค้า การสร้าง Brand อุตสาหกรรมเดียวกัน หรือมีอัตลักษณ์เหมือนกัน พร้อมทั้งจัด
ไทยใน AEC กลยุทธ์การตลาด รุกและรับ AEC เป็นต้น ทำแผนปฏิบัติการ (Action Plan) เพื่อให้ธุรกิจอุตสาหกรรม
โดยในปี 2557 มีเป้าหมายพัฒนาผู้ประกอบการรวม สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง โดยในปี 2557 มีเป้าหมายพัฒนา
ทั้งสิ้น 7,000 คน
สถานประกอบการรวมทั้งสิ้น 600 กิจการ
2. กิจกรรมสร้างและพัฒนาบุคลากรภาค 4. กิจกรรมสร้างเครือข่ายระหว่างประเทศ ดำเนินการ
อุตสาหกรรม ดำเนินการโดยการศึกษาวิเคราะห์ความ โดยศึกษาศักยภาพประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน+3 โดย
จำเป็นและความต้องการสมรรถนะของบุคลากรใน เฉพาะประเทศ CLMV คัดเลือกธุรกิจอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ
สาขาอุตสาหกรรม ตัวชี้วัดด้านผลิตภาพมาตรฐาน และดำเนินการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้วยการแลกเปลี่ยน
ระบบจัดการที่จำเป็นของภาคอุตสาหกรรม วิเคราะห์ ข้อมูลข่าวสารระหว่างธุรกิจอุตสาหกรรมไทยกับธุรกิจ
โอกาสในการปรับปรุงในแต่ละสาขา เพื่อจัดทำ อุตสาหกรรมในกลุ่มประเทศอาเซียน โดยมีแผนการดำเนินงาน
หลักสูตรการฝึกอบรมที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายทั้ง เพื่อเชื่อมโยงและสร้างเครือข่ายทางธุรกิจกับกลุ่มประเทศ
ในระดับ Trainer และระดับปฏิบัติการ โดยในปี 2557 อาเซียน+3 โดยในปี 2557 จะสร้างเครือข่ายความร่วมมือ
มีเป้าหมายพัฒนาบุคลากรภาคอุตสาหกรรมรวมทั้งสิ้น ไม่น้อยกว่า 10 เครือข่าย และมีวิสาหกิจและ/หรือองค์กรธุรกิจ
5,000 คน
ของไทยเขา้ รว่ ม 150 กจิ การ (ประมาณ 15 กจิ การตอ่ 1 เครอื ขา่ ย)
39อุตสาหกรรมสาร
เรื่อง แว่นขยาย Book Coner
เราคอื อาเซยี น : กมั พชู า : เราคอื อาเซยี น : ไทย :
เราคอื อาเซยี น : บรไู นดารสุ เราคอื อาเซยี น : เมยี นมาร์ :
จบั มอื กนั กา้ วสปู่ ระชาคม จบั มอื กนั กา้ วสปู่ ระชาคม ซาลาม : จบั มอื กนั กา้ วสู่ จบั มอื กนั กา้ วสปู่ ระชาคม
อาเซยี น
อาเซยี น
ประชาคมอาเซยี น
อาเซยี น
ผเู้ ขยี น : อากิ อคริ าภ์
ผเู้ ขยี น : ปทั มาพร คำโท
ผเู้ ขยี น : ปณั ณภทั ร
ผเู้ ขยี น : อากิ อคริ าภ์
รหสั : E 330 ร55ก
รหสั : E 330 ร55ท
รหสั : E 330 ร55บ
รหสั : E 330 ร55พ
เนอ้ื หาเกย่ี วกบั ประเทศกมั พชู า เนอ้ื หาเกย่ี วกบั ราชอาณาจกั ร เนอ้ื หาเกย่ี วกบั ประเทศบรไู น เนอ้ื หาเกย่ี วกบั ประเทศเมยี นมาร์
คำขวญั ประเทศ และภาพ ไทย คำขวญั ประเทศ และภาพ คำขวญั ประเทศ และภาพ คำขวญั ประเทศ และภาพ
แผนทภ่ี มู ภิ าคอาเซยี น
แผนทภ่ี มู ภิ าคอาเซยี น ขอ้ มลู แผนทภ่ี มู ภิ าคอาเซยี น ขอ้ มลู แผนทภ่ี มู ภิ าคอาเซยี น ขอ้ มลู
ขอ้ มลู พน้ื ฐาน พน้ื ท่ี จำนวน พน้ื ฐาน พน้ื ท่ี จำนวนประชากร พน้ื ฐาน พน้ื ท่ี จำนวน พน้ื ฐาน พน้ื ท่ี จำนวนประชากร
ประชากร ธงชาติ ตราแผน่ ดนิ ธงชาติ ตราแผน่ ดนิ ดอกไม้ ประชากร ธงชาติ ตราแผน่ ดนิ ธงชาติ ตราแผน่ ดนิ ดอกไม้
ดอกไม้ และสตั วป์ ระจำชาติ และสตั วป์ ระจำชาติ ทำเลทต่ี ง้ั ดอกไม้ และสตั วป์ ระจำชาติ และสตั วป์ ระจำชาติ ทำเลทต่ี ง้ั
ทำเลทต่ี ง้ั ประวตั คิ วามเปน็ มา ประวตั คิ วามเปน็ มาและรปู ทำเลทต่ี ง้ั ประวตั คิ วามเปน็ มา ประวตั คิ วามเปน็ มาและรปู แบบ
และรปู แบบการปกครอง แบบการปกครอง เศรษฐกจิ และรปู แบบการปกครอง การปกครอง เศรษฐกจิ การคา้
เศรษฐกจิ การคา้ สนิ คา้ นำเขา้ - การคา้ สนิ คา้ นำเขา้ -สง่ ออก เศรษฐกจิ การคา้ สนิ คา้ นำเขา้ - สนิ คา้ นำเขา้ -สง่ ออก และระบบ
สง่ ออก และระบบเงนิ ตรา และระบบเงนิ ตรา วฒั นธรรม สง่ ออก และระบบเงนิ ตรา เงนิ ตรา วฒั นธรรมความเปน็ อยู่
วฒั นธรรมความเปน็ อยู่ ความเปน็ อยขู่ องผคู้ น ภาษา วฒั นธรรมความเปน็ อยขู่ อง ของผคู้ น ภาษา อาหาร การ
ของผคู้ น ภาษา อาหาร อาหาร การแตง่ กายและ ผคู้ น ภาษา อาหาร การแตง่ กาย แตง่ กายและเทศกาลประเพณี
การแตง่ กายและเทศกาล เทศกาลประเพณตี า่ งๆ สถานท่ี และเทศกาลประเพณตี า่ งๆ ตา่ งๆ สถานทส่ี ำคญั ทาง
ประเพณตี า่ งๆ สถานทส่ี ำคญั สำคญั ทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละ สถานทส่ี ำคญั ทาง
ประวตั ศิ าสตรแ์ ละสถานทโ่ี ดด
ทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละสถานท่
ี สถานทโ่ี ดดเดน่ ของประเทศ ประวตั ศิ าสตรแ์ ละสถานทโ่ี ดด เดน่ ของประเทศ บคุ คลสำคญั
โดดเดน่ ของประเทศ บคุ คล บคุ คลสำคญั ทท่ี รงอทิ ธพิ ลใน เดน่ ของประเทศ บคุ คลสำคญั ทท่ี รงอทิ ธพิ ลในอดตี ถงึ ปจั จบุ นั
สำคญั ทท่ี รงอทิ ธพิ ลในอดตี
อดตี ถงึ ปจั จบุ นั
ทท่ี รงอทิ ธพิ ลในอดตี ถงึ ปจั จบุ นั
ถงึ ปจั จบุ นั
เราคอื อาเซยี น : ฟลิ ปิ ปนิ ส์ : จบั มอื กนั กา้ วสปู่ ระชาคมอาเซยี น
ผเู้ ขยี น : ปทั มาพร คำโท
รหสั : E 330 ร55ฟ
เนอ้ื หาเกย่ี วกบั ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ คำขวญั ประเทศ และภาพแผนทภ่ี มู ภิ าคอาเซยี น ขอ้ มลู
พน้ื ฐาน พน้ื ท่ี จำนวนประชากร ธงชาติ ตราแผน่ ดนิ ดอกไม้ และสตั วป์ ระจำชาติ ทำเลทต่ี ง้ั
ประวตั คิ วามเปน็ มาและรปู แบบการปกครอง เศรษฐกจิ การคา้ สนิ คา้ นำเขา้ -สง่ ออก และระบบ
เงนิ ตรา วฒั นธรรมความเปน็ อยขู่ องผคู้ น ภาษา อาหาร การแตง่ กายและเทศกาลประเพณี
ตา่ งๆ สถานทส่ี ำคญั ทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละสถานทโ่ี ดดเดน่ ของประเทศ บคุ คลสำคญั
ทท่ี รงอทิ ธพิ ลในอดตี ถงึ ปจั จบุ นั
40 อุตสาหกรรมสาร
เราคอื อาเซยี น : มาเลเซยี : เราคอื อาเซยี น : ลาว :
เราคอื อาเซยี น : เวยี ดนาม : เราคอื อาเซยี น : สงิ คโปร์ :
จบั มอื กนั กา้ วสปู่ ระชาคม จบั มอื กนั กา้ วสปู่ ระชาคม จบั มอื กนั กา้ วสปู่ ระชาคม จบั มอื กนั กา้ วสปู่ ระชาคม
อาเซยี น
อาเซยี น
อาเซยี น
อาเซยี น
ผเู้ ขยี น : ปณั ณภทั ร
ผเู้ ขยี น : ปทั มาพร คำโท
ผเู้ ขยี น : พลอยแพรวา
ผเู้ ขยี น : ปณั ณภทั ร
รหสั : E 330 ร55ม
รหสั : E 330 ร55ล
รหสั : E 330 ร55ว
รหสั : E 330 ร55ส
เนอ้ื หาเกย่ี วกบั ประเทศ เนอ้ื หาเกย่ี วกบั ประเทศลาว เนอ้ื หาเกย่ี วกบั ประเทศ เนอ้ื หาเกย่ี วกบั ประเทศสงิ คโปร์
มาเลเซยี คำขวญั ประเทศ และ คำขวญั ประเทศ และภาพ เวยี ดนาม คำขวญั ประเทศ คำขวญั ประเทศ และภาพแผนท่ี
ภาพแผนทภ่ี มู ภิ าคอาเซยี น
แผนทภ่ี มู ภิ าคอาเซยี น ขอ้ มลู และภาพแผนทภ่ี มู ภิ าคอาเซยี น ภมู ภิ าคอาเซยี น ขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ขอ้ มลู พน้ื ฐาน พน้ื ท่ี จำนวน พน้ื ฐาน พน้ื ท่ี จำนวนประชากร ขอ้ มลู พน้ื ฐาน พน้ื ท่ี จำนวน พน้ื ท่ี จำนวนประชากร ธงชาติ
ประชากร ธงชาติ ตราแผน่ ดนิ ธงชาติ ตราแผน่ ดนิ ดอกไม้ ประชากร ธงชาติ ตราแผน่ ดนิ ตราแผน่ ดนิ ดอกไม้ และสตั ว์
ดอกไม้ และสตั วป์ ระจำชาติ และสตั วป์ ระจำชาติ ทำเลทต่ี ง้ั ดอกไม้ และสตั วป์ ระจำชาติ ประจำชาติ ทำเลทต่ี ง้ั ประวตั ิ
ทำเลทต่ี ง้ั ประวตั คิ วามเปน็ มา ประวตั คิ วามเปน็ มาและรปู ทำเลทต่ี ง้ั ประวตั คิ วามเปน็ มา ความเปน็ มาและรปู แบบการ
และรปู แบบการปกครอง แบบการปกครอง เศรษฐกจิ และรปู แบบการปกครอง ปกครอง เศรษฐกจิ การคา้
เศรษฐกจิ การคา้ สนิ คา้ นำเขา้ - การคา้ สนิ คา้ นำเขา้ -สง่ ออก เศรษฐกจิ การคา้ สนิ คา้ นำเขา้ - สนิ คา้ นำเขา้ -สง่ ออก และระบบ
สง่ ออก และระบบเงนิ ตรา และระบบเงนิ ตรา วฒั นธรรม สง่ ออก และระบบเงนิ ตรา เงนิ ตรา วฒั นธรรมความเปน็
วฒั นธรรมความเปน็ อยขู่ อง ความเปน็ อยขู่ องผคู้ น ภาษา วฒั นธรรมความเปน็ อยขู่ อง อยขู่ องผคู้ น ภาษา อาหาร
ผคู้ น ภาษา อาหาร การแตง่ กาย อาหาร การแตง่ กายและ ผคู้ น ภาษา อาหาร การแตง่ กาย การแตง่ กายและเทศกาล
และเทศกาลประเพณตี า่ งๆ เทศกาลประเพณตี า่ งๆ สถานท่ี และเทศกาลประเพณตี า่ งๆ ประเพณตี า่ งๆ สถานทส่ี ำคญั
สถานทส่ี ำคญั ทาง
สำคญั ทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละ สถานทส่ี ำคญั ทาง
ทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละสถานท่ี
ประวตั ศิ าสตรแ์ ละสถานท่ี สถานทโ่ี ดดเดน่ ของประเทศ ประวตั ศิ าสตรแ์ ละสถานท่ี โดดเดน่ ของประเทศ บคุ คล
โดดเดน่ ของประเทศ บคุ คล บคุ คลสำคญั ทท่ี รงอทิ ธพิ ลใน โดดเดน่ ของประเทศ บคุ คล สำคญั ทท่ี รงอทิ ธพิ ลในอดตี ถงึ
สำคญั ทท่ี รงอทิ ธพิ ลในอดตี อดตี ถงึ ปจั จบุ นั
สำคญั ทท่ี รงอทิ ธพิ ลในอดตี ปจั จบุ นั
ถงึ ปจั จบุ นั
ถงึ ปจั จบุ นั
เราคอื อาเซยี น : อนิ โดนเี ซยี : จบั
มอื กนั กา้ วสปู่ ระชาคมอาเซยี น
ผเู้ ขยี น : ปทั มาพร คำโท
รหสั : E 330 ร55อ
เนอ้ื หาเกย่ี วกบั ประเทศอนิ โดนเี ซยี คำขวญั ประเทศ และภาพแผนทภ่ี มู ภิ าคอาเซยี น ขอ้ มลู
พน้ื ฐาน พน้ื ท่ี จำนวนประชากร ธงชาติ ตราแผน่ ดนิ ดอกไม้ และสตั วป์ ระจำชาติ ทำเลทต่ี ง้ั
ประวตั คิ วามเปน็ มาและรปู แบบการปกครอง เศรษฐกจิ การคา้ สนิ คา้ นำเขา้ -สง่ ออก และระบบ
เงนิ ตรา วฒั นธรรมความเปน็ อยขู่ องผคู้ น ภาษา อาหาร การแตง่ กายและเทศกาลประเพณี
ตา่ งๆ สถานทส่ี ำคญั ทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละสถานทโ่ี ดดเดน่ ของประเทศ บคุ คลสำคญั
ทท่ี รงอทิ ธพิ ลในอดตี ถงึ ปจั จบุ นั
41อตุ สาหกรรมสาร
ใวบาสรมสคั ารสรมอาุตชสกิ าหกรรมสาร 2557
โปรดกรอกข้อมูลทั้งหมดเพื่อประโยชน์ในการจัดส่งข้อมูลที่ท่านต้องการ
วนั ทส่ี มคั ร........................................................เลขทบ่ี ตั รประจำตวั ประชาชน
ชอ่ื / นามสกลุ ...............................................................................................................................................................................
บรษิ ทั /หนว่ ยงาน...........................................................................................................................................................................
ทอ่ี ย.ู่ ..........................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
จงั หวดั ........................................................ รหสั ไปรษณยี .์ ......................................... เวบ็ ไซตบ์ รษิ ทั ..................................................
โทรศพั ท.์ ..................................................................................... โทรสาร....................................................................................
ตำแหนง่ ...................................................................................... อเี มล.......................................................................................
แบบสอบถาม
1. ผลติ ภณั ฑห์ ลกั ทท่ี า่ นผลติ คอื ………………………………………………………………………………………...............................……………………
2. ทา่ นรจู้ กั วารสารนจ้ี าก…………………………………………………………………………………………………………………………………...............
3. ขอ้ มลู ทท่ี า่ นตอ้ งการคอื ……………………………………………………………………………………………………………………………….....…………
4. ประโยชนท์ ท่ี า่ นไดจ้ ากวารสารคอื ……………………………………………………………………………….………………………..............………………
5. ทา่ นคดิ วา่ เนอ้ื หาสาระของวารสารอตุ สาหกรรมสารอยใู่ นระดบั ใด เมอ่ื เทยี บกบั วารสารราชการทว่ั ไป
ดที ส่ี ดุ ดมี าก ด ี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรงุ
6. การออกแบบปกและรปู เลม่ อยใู่ นระดบั ใด
ดที ส่ี ดุ ดมี าก ด ี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรงุ
7. ขอ้ มลู ทท่ี า่ นตอ้ งการใหม้ ใี นวารสารนม้ี ากทส่ี ดุ คอื (ใสห่ มายเลข 1...2...3... ตามลำดบั )
การตลาด การใหบ้ รกิ ารของรฐั สมั ภาษณผ์ ปู้ ระกอบการ ขอ้ มลู อตุ สาหกรรม อน่ื ๆ ระบ.ุ ...........................................
8. คอลมั นท์ ท่ี า่ นชอบมากทส่ี ดุ (ใสห่ มายเลข 1...2...3... ตามลำดบั ความชอบ)
Interview (สมั ภาษณผ์ บู้ รหิ าร) Product Design (ออกแบบผลติ ภณั ฑ)์ Good Governance (ธรรมาภบิ าล)
SMEs Profile (ความสำเรจ็ ของผปู้ ระกอบการ) Report (รายงาน / ขอ้ มลู ) Innovation (นวตั กรรมใหม)่
Market & Trend (การตลาด / แนวโนม้ ) Book Corner (แนะนำหนงั สอื ) อน่ื ๆ ระบ.ุ ..........................................
9. ทา่ นไดร้ บั ประโยชนจ์ ากวารสารอตุ สาหกรรมสารมากนอ้ ยแคไ่ หน
ไดป้ ระโยชนม์ าก ไดป้ ระโยชนพ์ อสมควร ไดป้ ระโยชนน์ อ้ ย ไมไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชน์
10. เทยี บกบั วารสารราชการทว่ั ไป ความพงึ พอใจของทา่ นท่ไี ดร้ บั จากวารสารเลม่ น้ี เทยี บเปน็ คะแนนไดเ้ ทา่ กบั
91-100 คะแนน 81-90 คะแนน 71-80 คะแนน 61-70 คะแนน ตำ่ กวา่ 60 คะแนน
www.aecmarket.net
กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เปดิ เว็บไซต์ใหบ้ ริการข้อมลู อตุ สหกรรมแก่ผ้ปู ระกอบการเอสเอม็ อี
เพ่ือรองรับการเปดิ ตลาดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
โดยมีขอ้ มลู การผลิตและการลงทนุ 20 สาขาอตุ สาหกรรม ไดแ้ ก
่
• กระดาษและสิ่งพิมพ์
••••••• เเเเยไบคฟคซฟา้ารรรอฟงนาืื่่ออรล้าทมงง์นะแใหี่ดิกิเพชลจน
ิน้ใละอังแนอารแลค์แสิเลละรลตะท็กัวะิกรเี่พทตรอ
รือักกงอนอเแทนา
ต้าิกศ่ง
สัย
์
• ยานยนต์และประดับยนต์
• พืชเกษตรและสัตว์
• โรงแรมและร้านอาหาร
• ของขวัญ
• เสื้อผ้าและสิ่งทอ
• ของสะสมและพระเครื่อง
• สุขภาพและความงาม
• คอมพิวเตอร์และไอที
•• ออุาปหการรณแ์เลคะรเื่อคงรเื่อขงียดนื่ม
• เคมีภัณฑ์ และยา
• เครื่องประดับและอัญมณี
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์โดย
สำนกั วิจัยวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื
NEW!!
อา่ นวารสารผา่ นมือถือ
วารสารอตุ สาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
เทป่ีเ็นผหยนแพ่วยรง่วาานรรสาาชรกในารรูปแหแบ่งบแรกM
obile Application
วารสารอุตสาหกรรมสาร เป็นวารสารในสังกัดกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ของราชการที่มีอายุยาวนานกว่า 50 ปี เป็นฐานข้อมูล
สำคัญในการส่งเสริมความรู้ด้านอุตสาหกรรม เนื้อหาภายในเล่ม
ประกอบด้วย แนวโน้มของอุตสาหกรรม กระบวนการผลิต การตลาด
การบริหารการจัดการ การพัฒนารปู แบบผลิตภัณฑ์ การให้บริการต่างๆ
ตลอดจนตัวอย่างผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในธุรกิจ
อุตสาหกรรม ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาการเผยแพร่ข้อมูลในรูปแบบ
วโปารรแสการรมดแิจลิตะอวาลรสสำาหรรฟับ รIpี!hoไ
nดe้ที่ และ Ipad โดยสามารถ Download
App Store
ข้ันตอนการ Download โปรแกรมและวารสารอตุ สาหกรรมสาร
Download โปรแกรมอุตสาหกรรมสารออนไลน์บน Iphone และ Ipad ได้ที่ App Store
ทำการ Search หาโปรแกรม ทำการ Download และติดตั้งโปรแกรม DIP หลังจากทำการ Download และติดตั้ง
อุตสาหกรรมสารออนไลน์ โดยใช้ Thailand ได้ ฟรี ซึ่งก็คือ “โปรแกรมวารสาร โปรแกรมแล้วท่านก็จะสามารถ
Keyword คำว่า dip
อุตสาหกรรมสาร” นั่นเอง
Download วารสารอุตสาหกรรมสารได้
เลยทันที
สนับสนุนโปรแกรมเผยแพร่วารสารอุตสาหกรรมสารผ่าน Mobile App
โดย บริษทั Apptividia จำกัด 2ร่ว2ม02กับ451ส5่วน-บ24ร0กิ4ารสwอตุาสราwหสกนรwรเมทส.าfศร
acกeรมbสoง่ oเสkร.ิมcอoตุ mสา/หdกiรpรมe
cit
สอบถามข้อมูลเพม่ิ เติมโทร. 0