วารสารของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พิมพ์เป็นปีท่ี 60 ฉบับเดือนมีนาคม - เมษายน 2561
Digital
เSปลMี่ยนEโลsก
Digital Value Chain
มาตรการพิเศษขับเคลือ่ น SMEs สู่ Global
จบั คูธ่ รุ กจิ ออนไลน์
ผ่าน Digital Platform
J–GoodTech สู่ T–GoodTech
เปดิ ช่องการค้าจากญ่ปี นุ่ เพ่ือ SMEs ไทย
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ปรบั โฉมหนว่ ยงานบรกิ าร SMEs ยคุ 4.0
กองพฒั นาขดี ความสามารถธรุ กจิ อตุ สาหกรรม กลุ่มตรวจสอบภายใน
โทร. 0 2202 4560
• กลมุ่ พัฒนาการจัดการธุรกจิ โทร. 0 2202 4407
• กลุ่มพฒั นาบรกิ ารธุรกจิ อุตสาหกรรม
• กลุ่มผ้ปู ระกอบการ ส�ำนักงานเลขานุการกรม
• กลุม่ พัฒนาการรวมกลมุ่ อุตสาหกรรม
• กลุ่มพัฒนาอุตสากรรมรายสาขา โทร. 0 2202 4559, 0 2202 4560
กองพัฒนาดิจิทัลอุตสาหกรรม
โทร. 0 2367 8001, 0 2367 8167 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน
• กลมุ่ เชอ่ื มโยงธรุ กิจดิจทิ ัลอตุ สาหกรรม
• กลุ่มพัฒนาผู้ประกอบการและบคุ ลากรดิจทิ ัลอตุ สาหกรรม โทร. 0 2202 4501
• กลมุ่ เพิม่ ขีดความสามารถวิสาหกจิ ด้วยดจิ ทิ ัล • กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงาน
กองพัฒนานวัตกรรม • กลุ่มพฒั นาระบบบริหาร
และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม • กลมุ่ แผนปฏิบตั ิงานและงบประมาณ
โทร. 0 2367 8001, 0 2367 8134 • กลมุ่ ติดตามและประเมินผล
• กลุ่มส่งเสริมมาตรฐานเทคโนโลยกี ารผลิตและผลิตภัณฑ์ • กลมุ่ ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ
• กลมุ่ สง่ เสรมิ นวัตกรรมอตุ สาหกรรม • กล่มุ ศกึ ษาและพัฒนาระบบสง่ เสริมอตุ สาหกรรม
• กลมุ่ พัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กองโลจิสติกส์
• กลุ ม่ พัฒนาระบบการผลติ อัตโนมตั ิ โทร. 0 2202 4540
กองพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชน • กลมุ่ นโยบายและประสานเครือขา่ ย
โทร. 0 2367 8335 • กลมุ่ พฒั นาระบบโลจสิ ตกิ ส์
• กล่มุ ส่งเสริมการตลาดผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน • กลมุ่ มาตรฐานและนวตั กรรมโลจิสติกส์
• กลมุ่ พฒั นาผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน • กลุ่มส่งเสรมิ โลจสิ ตกิ ส์องค์กร
• กลุ่มพฒั นาการผลิตอุตสาหกรรม กองส่งเสริมผู้ประกอบการ
• กลุ่มพัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมชมุ ชน และธุรกิจใหม่
กองพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ โทร. 0 2202 4489, 0 2202 4499
โทร. 0 2367 8022 • กลมุ่ สนับสนนุ การจดั ต้งั ธุรกจิ
• กลุ่มเชอ่ื มโยงอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ • กลมุ่ สร้างและพฒั นาผปู้ ระกอบการใหม่
• กลมุ่ พฒั นาบคุ ลากรอุตสาหกรรมสรา้ งสรรค์ • กลมุ่ สร้างสงั คมผ้ปู ระกอบการ
• กลุ่มพัฒนาอตุ สาหกรรมสร้างสรรค์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
• กลุ่มสง่ เสริมการออกแบบอตุ สาหกรรม และการส่ือสาร
• ศนู ยอ์ ุตสาหกรรมอัญมณี จังหวัดพะเยา โทร. 0 2202 4520
• กลุ่มบริหารธุรกจิ สารสนเทศ
• กลุ่มพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
• กลุ่มระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเครอื ขา่ ย
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 1 - 11
Contents
วารสารอตุ สาหกรรมสาร
ฉบับเดือนมนี าคม - เมษายน 2561
Interview 11 Opportunity
J-GoodTech สู่ T-GoodTech
Digital Value Chain เครอื่ งมอื เปดิ ชอ่ งทางการคา้ จากญป่ี นุ่ เพอื่ SMEs ไทย
มาตรการพเิ ศษขบั เคลอื่ น
14 Market & Trends
SMEs สู่ Global
กระทรวงอตุ สาหกรรมจบั มอื Lazada บม่ เพาะ SMEs
05 เพมิ่ ศกั ยภาพธรุ กจิ ยคุ ดจิ ทิ ลั
08 17 Information
Special Report เทคโนโลยเี ปลยี่ นโลก : 21 เหตกุ ารณท์ จ่ี ะเกดิ ในทศวรรษหนา้
จบั คธู่ รุ กจิ ออนไลน์ ผา่ น Digital Platform 23 Report
Biz Focus Industry Transformation Center : ITC
โครงการปฏริ ปู อตุ สาหกรรมสอู่ นาคต
ครกศลิ าทพิ ย์
(SILATHIP) 26 Showcase
เพม่ิ คา่ ครกไทย ออกซเิ จน ฮดู้ เครอื่ งมอื แพทยส์ ญั ชาตไิ ทย เดนิ หนา้ สอู่ าเซยี น
ผา่ นชอ่ งทางออนไลน์
29 SMEs Focus
21
Young Happy สงั คมออนไลนเ์ ปย่ี มสขุ เพอื่ ผสู้ งู วยั ยคุ 4.0
31 Development
กสอ. ดนั วนี อนิ เตอรเ์ นชนั่ แนล เจา้ ของแบรนดช์ ดุ ชนั้ ในสตรี ‘เวยี นนา’
พลกิ โฉมธรุ กจิ ดว้ ยดจิ ทิ ลั รปู แบบ B2B บน Alibaba.com
34 Innovation
4 นวตั กรรมสตารท์ อพั สญั ชาตไิ ทย ควา้ โอกาสดว้ ยดจิ ทิ ลั
36 Knowledge
กา้ วทนั เทรนด์ Digital Marketing
38 Biz Trends
ปญั ญาประดษิ ฐเ์ ปลยี่ นโลก e-Commerce
40 Good Governance
การยอมแพข้ องกเิ ลส
41 Book Corner
Editor Talks วารสารอตุ สาหกรรมตีพมิ พต์ อ่ เน่ืองมายาวนาน
นบั ถงึ ปจั จบุ นั เป็นปีที่ 60
ดิจิทัลขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เจา้ ของ
SMEs ถือเป็นเส้นเลือดใหญ่ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ
ประเทศไทย ในยคุ ดจิ ทิ ลั ระบบเทคโนโลยกี ลายเป็นเครอ่ื งมอื ส�ำคญั กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม
ในการลดตน้ ทนุ การสรา้ งสรรคผ์ ลติ ภณั ฑใ์ หมๆ่ และขยายเครอื ขา่ ย
ไปทัว่ โลก ถนนพระรามโทที่ ร6ศัพเขทต์ ร0าช2เ2ท0ว2ี 4ก5ร1ุง1เทพฯ 10400
เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล หมายถึง เศรษฐกิจและสังคมท่ี ที่ปรกึ ษา
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (หรือที่เรียกว่าเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ลั เพอ่ื ใหท้ นั ยคุ สมยั ) เปน็ กลไกส�ำคญั ในการขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู นายกอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์
กระบวนการผลติ การด�ำเนนิ ธรุ กจิ การค้า การบรกิ าร การศกึ ษา อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
การสาธารณสุข การบริหารราชการแผ่นดิน รวมทั้งกิจกรรมทาง นายภานุวัฒน์ ตริยางกูรศรี
เศรษฐกิจและสังคมอ่ืนๆ ท่ีส่งผลต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของคนในสงั คม และการจ้างงานท่เี พิ่มขน้ึ
นายเจตนิพิฐ รอดภัย
เศรษฐกจิ ยคุ ดจิ ทิ ลั พบวา่ เทคโนโลยี IoT (Internet of Things) หรอื เลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
“อนิ เทอร์เนต็ เพอ่ื ทกุ สงิ่ ”เป็นสงิ่ ทห่ี ลายคนพดู ถงึ กนั มากทส่ี ดุ เพราะ
สามารถแทรกตัวเข้าไปได้แทบทุกอุตสาหกรรม กลุ่มอุตสาหกรรม นายวีระพล ผ่องสุภา
การผลิตถือว่า IoT เป็นส่วนหน่ึงที่ถูกน�ำมาใช้ในกระบวนการผลิต ผู้อำ�นวยการกลุ่มประชาสัมพันธ์
ในโรงงานอุตสาหกรรมทั้งช่วยวิเคราะห์ข้อมูล ช่วยประหยัดต้นทุน
ควบคุมความปลอดภัย และยังช่วยขยายตลาดไปท่ัวโลก โดย บรรณาธกิ ารบริหาร
คาดหวังกันว่า IoT จะช่วยลดเวลาการจัดการทั้งหมดของมนุษย์
รวมไปถึงการดูแลความเป็นอยู่ของมนุษย์ให้มีความปลอดภัย นางสาวปาณทิพย์ เปลี่ยนโมฬี
สะดวก และรวดเรว็ มากยิง่ ข้นึ
กองบรรณาธิการ
หากผู้ประกอบการยังท�ำธุรกิจในรูปแบบเดิมๆ ใช้โครงสร้าง
องค์กรแบบเดิม หรือมองข้ามการลงทุนด้านเทคโนโลยีท่ีส�ำคัญๆ นางสมจิตต์ เตียวสุนทรวงศ์, นายชเนศ ศรีพิทักษ์,
ต่อไปจะท�ำให้ธุรกิจไม่สามารถเดินไปข้างหน้าอย่างมีประสิทธิภาพ นางสาวกมลชนก กุลวงศ์, นางสาวนฤมล ผึ้งเนียม,
และจะเสียเปรยี บคู่แข่งที่มีความพร้อมมากกว่า
นายไพฑูรย์ มะเมียเมือง, นางเกสรา ภู่แดง,
บรรณาธิการบริหาร นายธานินทร์ กล่ำ�พัก, นางสุรางค์ งามวงศ์,
นายสุรินทร์ ม่วงน้อย, นางสาวกัญศิญา ชุมศรี,
นางสาวกนกรักษ์ นุกูลโรจน์, นางสาวศิริธร ชัยรัตน์,
นายธวัชชัย มะกลํ่าทอง
จดั พมิ พ์
บริษัท ซี แอด โปรโมชั่น (1997) จำ�กัด
77/14 หมู่บ้านชลลดา ซอย 2 ถนนสายไหม
แขวงสายไหม เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220
โทรศัพท์ 0 2991 3031-3 โทรสาร 0 2991 3066
สมัครสมาชกิ วารสาร
กรอกใบสมัครซึ่งอยู่หน้าสุดท้ายของเล่ม
จากนั้นส่งใบสมัครได้ 3 ทาง ได้แก่
1. สมคั รทางไปรษณยี ์ จา่ หน้าซองถึง
บรรณาธิการวารสารอุตสาหกรรมสาร
กลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
2. สมคั รทางเครื่องโทรสาร หมายเลข 0 2354 3299
3. สมคั รทางอีเมล : [email protected]
4. สมคั รผา่ น google Form :
“บทความ บทสัมภาษณ์ หรืองานเขียนที่ตีพิมพ์ในวารสารเล่มนี้
เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ทางวารสารไม่จำ�เป็น
ต้องเห็นด้วยเสมอไป หากประสงค์จะนำ�บทความใดๆ ในวารสาร
ไปตีพิมพ์เผยแพร่ ควรแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรต่อกองบรรณาธิการ”
Interview
• เร่อื ง : ฉฐั พร โยเหลา
Digital Value Chain
มาตรการพิเศษขับเคล่ือน SMEs สู่ Global
ปัจจุบันการขับเคล่ือนประเทศเพ่ือยกระดับ
ไปสู่ฐานเศรษฐกิจท่ีใหญ่ขึ้นและขยายตัวได้อย่าง
ย่ังยืน จะต้องเร่งพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs ให้
สามารถปรับตัวรับกับเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลงไป
อยา่ งรวดเรว็ การสรา้ งความตระหนกั รู้และเรง่ ใหเ้ กดิ
การปรบั ตวั ในภาคธรุ กจิ ตลอดจนสามารถเชอื่ มโยง
เข้าสู่ห่วงโซ่การผลิตใหม่ของโลกได้ถือเป็นกลไกที่
สำ� คญั ในการยกระดบั ขดี ความสามารถของประเทศ
โดยผปู้ ระกอบการ SMEs จะมสี ว่ นในการขบั เคลอ่ื น
เศรษฐกิจในยุคประเทศไทย 4.0 ซงึ่ เปน็ ยทุ ธศาสตร์
ส� ำ คั ญ ใ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ สู ่ ค ว า ม ย่ั ง ยื น
จึงจ�ำเป็นท่ีภาครัฐจะต้องเข้าไปให้ความช่วยเหลือ
ผู้ประกอบการ SMEs ท่ีมีจ�ำนวนกว่า 3 ล้านราย
ท่ัวประเทศ โดยส่งเสริมศักยภาพด�ำเนินธุรกิจ
สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ รวมท้ังน�ำ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมมาเป็นตัวขับเคล่ือนเพื่อ
ใหส้ ามารถปรบั ตัวไดท้ า่ มกลางความทา้ ทายต่างๆ
วารสารอุตสาหกรรมสารฉบับนี้จึงมุ่งสู่การ
ท�ำความเขา้ ใจ ใหผ้ ปู้ ระกอบการ SMEs เขา้ ถงึ Digital
Value Chain นโยบายขับเคล่ือน SMEs สู่ Global
ซงึ่ รฐั บาลน�ำมาสนบั สนนุ เพอ่ื เพม่ิ ความเขม้ แขง็ ใหก้ บั
SMEs ในขณะเดียวกนั สามารถท�ำให้ SMEs ก้าวทนั
สถานการณท์ างการคา้ ในยคุ ทโ่ี ลกก�ำลงั เปลยี่ นแปลง
ด้วยอทิ ธพิ ลของดิจทิ ัลเทคโนโลยี ส�ำหรับมาตรการ
พเิ ศษในครง้ั น้ี นายภานวุ ฒั น์ ตรยิ างกรู ศรี รองอธบิ ดี
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ได้ให้แนวทางในการสนบั สนนุ Digital Value Chain
เพ่ือเช่ือมโยงระบบฐานข้อมูลของผู้ประกอบการ
SMEs ไปสู่ตลาดโลกได้
อตุ สาหกรรมสาร 5
แนวคดิ และความหมายDigital Value Chain ออกงานแสดงสินค้าและนิทรรศการ งานแฟร์ต่างๆ
ท้ังในประเทศและต่างประเทศ ซ่ึงที่กล่าวมาจะมีต้นทุนสูง
กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม (กสอ.) ในฐานะหนว่ ยงาน และไม่สามารถการันตีได้ว่าการเสียค่าใช้จ่ายในการ
ที่มีภารกิจส่งเสริมและสนับสนุนผลักดัน SMEs ได้เร่ง ออกงานและด�ำเนินงานแต่ละคร้ังจะมีลูกค้าเพิ่มข้ึนกี่
ผลกั ดันหนง่ึ โครงการส�ำคัญตามมาตรการ คือ โครงการ ราย ซ่ึงในปัจจุบันรูปแบบการค้าเปลี่ยนไป โดยเฉพาะ
Digital Value Chain เพ่ือสร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการ ในยุคดิจิทัลได้เปล่ียนโลกการค้าให้สะดวกรวดเร็ว
SMEs เข้าสู่ห่วงโซ่มลู ค่าระดบั โลก (Global Value Chain) ผู้ประกอบการสามารถหาลูกค้าได้โดยการค้นหา
สหู่ ว่ งโซก่ ารผลติ โลกในการสง่ เสรมิ การใชร้ ะบบเชอ่ื มโยง ข้อมูลต่างๆ จาก Google และผ่านแพลตฟอร์มต่างๆ
ธรุ กิจผ่านการสร้างแพลตฟอร์ม T-GoodTech ของไทยท่ี อีกท้ังยังค้นหาข้อมูลเพ่ือน�ำไปสังเคราะห์และวิเคราะห์
เป็นช่องทางการจับคู่ระหว่างธุรกิจกับธุรกิจ (Business การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยนวัตกรรมใหม่เป็นการเพ่ิม
to Business) ระหว่างผู้ประกอบการไทยด้วยกันเอง ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ส�ำหรบั โครงการ Digital
และระหว่างผู้ประกอบการไทยกับบริษัทท่ัวโลก พร้อม Value Chain นเ้ี ปน็ การพฒั นาและตอ่ ยอดเพอ่ื สรา้ งตลาด
เชื่อมต่อสู่แพลตฟอร์ม J-GoodTech ของประเทศญ่ีปุ่น ใหม่เป็นการช่วย SMEs โดยในปีน้ีได้ด�ำเนินโครงการ
ในอนาคต ซง่ึ จะท�ำให้สนิ ค้าและบรกิ ารของ SMEs ไทย จัดท�ำเว็บไซต์และระบบฐานข้อมูลจับคู่ธุรกิจออนไลน์
มีความน่าเช่ือถือและขยายตลาดไปสู่ระดับสากลได้ (T-GoodTech) โดยมรี ปู แบบและวิธกี ารด�ำเนนิ การ ดงั นี้
มากขนึ้
1. พัฒนาแพลตฟอร์ม T-GoodTech Front End
รปู แบบและวธิ กี ารดำ� เนนิ โครงการ โดยด�ำเนินการจัดท�ำและติดตั้งเว็บไซต์รวบรวม
ข้อมูลรายละเอียดการเช่ือมโยงและจับคู่ระหว่างธุรกิจ
ท่านรองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมได้ให้ กับธุรกิจ (Business to Business) ภายใต้ URL www.
ข้อมูลรูปแบบการค้าเดิมให้ทีมงานฟังว่า “จากรูปแบบ tgoodtech.com รวมถึงด�ำเนนิ การจัดท�ำและติดตั้งระบบ
การค้าในอดีตท่ีผู้ผลิตต้องการหาคู่ค้าหรือผู้ซ้ือ หรือ จัดเก็บฐานข้อมูลผู้ประกอบการ SMEs และการเชื่อมโยง
การขอนัดหมายเพ่ือน�ำเสนองานกับรายใหญ่ จะใช้
วิธีการส่งจดหมายเชิญเพ่ือติดต่อและเย่ียมชมโรงงาน,
6 อตุ สาหกรรมสาร
ระบบฐานข้อมูลรองรับการจับคู่ธุรกิจ ภายใต้ URL เคร่ืองมือใหม่ๆ มาช่วยผู้ประกอบการ SMEs ทั้งน้ี
www.tgoodtech.com ในปีที่ผ่านมากระทรวงอุตสาหกรรม ได้มีโอกาสลงนาม
MOU กับประเทศญปี่ ุ่น โดยองค์กร SMRJ เป็นองค์กร
2. เช่ือมโยงระบบฐานข้อมูลแพลทฟอร์ม T-Good ท่ีดูแล SMEs ของญี่ปุ่นคล้ายกับส�ำนักงานส่งเสริม
Tech และ J-GoodTech โดยการดึงข้อมูลมาแสดงบน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ที่ดูแล
เว็บไซต์ และสามารถส่งต่อข้อมลู ไปยงั ระบบฐานข้อมลู ผู้ประกอบการ SMEs ซ่ึงการร่วมพัฒนาคร้ังน้ี
J-GoodTech ได้ จะมาช่วยท�ำให้รายใหญ่เจอรายเล็กท่ีเก่งๆ ทั้งรูปแบบ
การนัดเจรจาทางธุรกิจตลอดจนจัดอีเวนท์ให้รายเล็กมา
3. คดั กรอง SMEs กลุ่มเป้าหมายท่ีมศี ักยภาพจาก ออกบูท เป็นต้น ซึ่งผู้ประกอบการตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึง
ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค หน่วยงานเครือข่ายหรือ ขนาดใหญจ่ ะมกี ารเกบ็ ขอ้ มลู บนแพลตฟอรม์ เพอื่ เชอื่ มโยง
โครงการต่างๆ เช่น ITC SSRC และ SMEs ทไ่ี ด้รบั เงิน ให้มโี อกาสพบคู่ค้าและผู้สง่ั ซอ้ื ต่อไป
กู้จากกองทุนประชารัฐน�ำเข้าระบบจัดเก็บฐานข้อมูล
ผู้ประกอบการ SMEs ภายใต้ URL www.tgoodtech.com Digital Value Chain
โดยการบริหาร T-GoodTech ให้เกิดความต่อเนื่องโดย ขบั เคลอ่ื นสตู่ ลาดโลกไดจ้ รงิ
จดั ใหม้ ี Help Desk ใหแ้ จง้ และประสานการเชอ่ื มโยงใหม้ ี
ประสทิ ธภิ าพ โดยในปนี คี้ าดวา่ จะมผี ปู้ ระกอบการ SMEs กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้ด�ำเนินการผลักดัน
เข้าร่วมโครงการประมาณ 1,400 ราย โครงการ Digital Value Chain เมอ่ื ถงึ เวลาจะเกดิ เครอื ขา่ ย
ความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย
ในการด�ำเนินการเพื่อพัฒนาระบบ โดยพัฒนา กับญ่ีปุ่นหรือต่างประเทศ รวมถึงผู้ประกอบการไทย
ระบบเวบ็ T-GoodTech (ของไทย) ทเ่ี ชอ่ื มตอ่ J-GoodTech และต่างประเทศมีความมั่นใจในสินค้าและบริการของ
(ของญี่ปุ่น) ผ่านทางการสนับสนุนของกระทรวง SMEs ไทย อีกทงั้ เป็นการสร้างภาพลกั ษณ์ท่ีดีในสายตา
เศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรม (METI) ของ นานาประเทศ ที่ส�ำคัญ SMEs ที่มีคุณสมบัติตรงตาม
ประเทศญ่ีปุ่น โดยผ่านดจิ ทิ ลั แพลตฟอร์ม B2B โดยจะ เกณฑ์และได้รับการคัดเลือกจะเข้าถึงโอกาสการค้า
พัฒนาระบบเว็บ T-GoodTech ที่เชื่อมต่อ J-GoodTech ใหม่ๆ ด้วยเพราะในปัจจุบัน J-GoodTech มีบริษัทที่ได้
ผ่านทางการสนับสนุนของกระทรวงเศรษฐกิจ การค้า รบั การรบั รองจากรฐั บาลญป่ี ุ่น (Big Firm) กว่า 10,000
และอตุ สาหกรรมระดบั สากล (METI) ของประเทศญีป่ ุ่น บริษัท และมี SMEs ที่ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติ
และเมื่อกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมในฐานะหน่วยงาน และได้รับการรับรองแล้วกว่า 3 ล้านราย ซ่ึงสามารถ
รบั ผดิ ชอบการพฒั นาแพลตฟอรม์ T-GoodTech เมอื่ พฒั นา จับคู่เชื่อมโยงท�ำการค้าได้ถงึ 1,500 รายการ และมกี าร
เรยี บร้อยร่วมกบั J-GoodTech แล้วเราจะเหน็ การเชอื่ มโยง ขยายตวั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จากความส�ำเรจ็ ของ J-GoodTech
การค้าระหว่างผู้ประกอบการไทยและญ่ีปุ่น และ นับเป็นโอกาสการก้าวสู่การค้าในยุคดิจิทัล อย่างน้อย
ในอนาคตจะขยายความร่วมมือไปอีกหลายๆ ประเทศ ท่ีสุดในช่วงแรก SMEs ไทยที่เก่งๆ และมีคุณสมบัติ
โดยจะเร่ิมจากประเทศเพอ่ื นบ้านในกลุ่ม CLMV ตามข้อก�ำหนดของญ่ีปุ่นทางหน่วยงานรัฐได้ให้การ
รับรองในการลงทะเบียนสมาชิกของ J-GoodTech
ตอ่ ยอด SMEs ดว้ ย Digital Value Chain ซงึ่ ผปู้ ระกอบการ SMEs เหลา่ นนั้ ไดม้ คี คู่ า้ และจบั คธู่ รุ กจิ
เกิดข้ึนดังนั้นการจัดท�ำ T-GoodTech ครั้งนี้จะเป็นก้าว
นบั เปน็ เครอ่ื งมอื ทช่ี ว่ ยใหผ้ ผู้ ลติ ตง้ั แตต่ น้ นำ�้ กลางนำ�้ ทสี่ �ำคญั ในการขบั เคลอ่ื น SMEs สู่โลก Global ได้จริง”
และปลายน�ำ้ ท่เี ป็นองค์กรในขนาดต่างๆ รวมถึง SMEs
ได้มารวมกันบนแพลตฟอร์ม T-GoodTech เพื่อเข้าถึง ในตอนท้ายของการสัมภาษณ์คร้ังน้ี นายภานุวัฒน์
โอกาสในการพบคู่ค้าใหม่ โดยการเชื่อมโยงฐานข้อมูล ตริยางกูรศรี รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
จากแพลตฟอร์ม J-GoodTech นอกจากนั้นยังน�ำไปสู่ ได้กล่าวให้แง่คดิ แก่ SMEs ในยคุ นี้ว่า
การพัฒนานวัตกรรมทั้งด้านผลผลิตและประสิทธิภาพ
ซง่ึ สอดรบั กบั นโยบายของรฐั บาลทส่ี ง่ เสรมิ 10 อตุ สาหกรรม “วนั นี้ SMEs ตอ้ งกลา้ คดิ กลา้ ท�ำ กลา้ เปลยี่ นแปลง
เป้าหมาย อาทิ อุตสาหกรรมอากาศยาน, อตุ สาหกรรม เพ่ือก้าวสู่ยคุ ดจิ ิทัล”
เครอ่ื งมอื แพทย์, อตุ สาหกรรมหุ่นยนต์ เป็นต้น มาสร้าง
รายได้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โดยโรงงานผลิตเสร็จต้องมี อตุ สาหกรรมสาร 7
ตลาดรองรับท้ังตลาดเดิมและตลาดใหม่เพ่ือลดความ
เส่ียงจากช่องว่างตลาดเดิม ดังน้ันการเข้าถึงตลาด
เป็นเรื่องส�ำคัญการใช้ดิจิทัลช่วยในการค้นหากลุ่มผู้ซ้ือ
จากต่างประเทศจึงเป็นเร่ืองที่รัฐเห็นความส�ำคัญหา
Special Report
• เรอื่ ง : นชุ เนตร จักรกลม
จับคู่ธุรกิจออนไลน์
ผ่าน Digital Platform
‘T-GoodTech เวบ็ ไซตจ์ บั คธู่ รุ กจิ ภายใตโ้ ครงการ Digital Value
Chain ยกระดบั การเชอื่ มตอ่ SMEs สตู่ ลาดสากลอยา่ งเปน็ รปู ธรรม’
นายวฒุ ชิ ยั โหวธรี ะกลุ ผอ.ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เปิดเผยถึงรายละเอียดการด�ำเนินงาน
โครงการจดั ทำ� เวบ็ ไซตแ์ ละระบบฐานขอ้ มลู จบั คธู่ รุ กจิ ออนไลนข์ องไทย
ในรปู แบบ Digital Platform B2B ทใี่ ชช้ อื่ T-GoodTech โดยเนน้ การ
ผลกั ดนั ผปู้ ระกอบการ SMEs สู่ Digital Value Chain และเพมิ่ ขดี
ความสามารถในการขยายสเู่ ครอื ขา่ ยสากลภายใตก้ รอบ9มาตรการ
พเิ ศษเพอื่ ขบั เคลอื่ น SMEs สยู่ คุ 4.0
การสง่ เสรมิ ศกั ยภาพ SMEs สู่SMEs 4.0 ภายใต้โครงการ นายวฒุ ชิ ยั โหวธรี ะกลุ
Digital Value Chain มีแนวทางอยา่ งไร ผอ.ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม
จากมติของคณะรัฐมนตรีเม่ือ 19 ธันวาคม 2560 ท่ีเห็นชอบ
มาตรการพเิ ศษเพอื่ ขบั เคลอ่ื น SMEs สยู่ คุ 4.0 ตลอดจนโครงการภายใต้
มาตรการดงั กล่าว ซ่งึ มจี ดุ มุ่งหมายเพอ่ื ช่วยเหลอื ส่งเสรมิ สนบั สนุน
และพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs ทมี่ มี ากกว่า 3 ล้านรายทว่ั ประเทศ
ใหม้ ศี กั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ทเี่ พมิ่ ขน้ึ โดยน�ำเรอื่ ง
IT เข้ามาสอดแทรกมากขึ้นเพ่ือสร้างความตระหนักและกระตุ้นให้
ผู้ประกอบการ SMEs คุ้นชนิ กับการใช้ IT มากข้นึ เพ่ือให้สอดรบั กับ
ความรวดเร็วของการเปล่ียนแปลงในปัจจุบันและอนาคตอันใกล้ท่ี
เกดิ จากปัจจยั ต่างๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยี
8 อตุ สาหกรรมสาร
ด้านกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวง T-GoodTech มีเกณฑ์การคัดเลือก SMEs
อุตสาหกรรม ซ่ึงเป็นหนึ่งในหน่วยงานหลักท่ีมี และมีลกั ษณะการให้บรกิ ารอย่างไร
ภารกจิ ส่งเสรมิ ผู้ประกอบการโดยตรง จึงเร่งผลักดนั
โครงการ Digital Value Chain หน่งึ ในโครงการส�ำคัญ T-GoodTech เป็นเว็บไซต์ที่ถูกพัฒนาขึ้น
ภายใต้มาตรการเพ่ือให้ส่งผลเป็นรูปธรรมโดยเร็ว จากเวบ็ ไซต์ต้นแบบอย่าง J-GoodTech เพอ่ื รวบรวม
เพอ่ื เชอ่ื มตอ่ ผปู้ ระกอบการ SMEs สหู่ ว่ งโซม่ ลู คา่ ระดบั ข้อมลู และระบบฐานข้อมลู ของผู้ประกอบการ SMEs
โลก (Digital Value Chain) โดยส่งเสรมิ การใช้ระบบ และวิสาหกิจชุมชนที่มีศักยภาพในประเทศไทย
เชอ่ื มโยงธรุ กจิ ผา่ นการสรา้ งแพลทฟอรม์ T-GoodTech และเป็นพื้นที่เชื่อมต่อข้อมูลไปสู่ SMEs ไทย
ของไทยในรปู แบบการจบั คธู่ รุ กจิ กบั ธรุ กจิ (B2B) ทคี่ รบ บริษทั Big Brother ในประเทศไทย หรอื บริษทั ญปี่ ุ่น
วงจรระหว่างธุรกิจไทยด้วยกันเองตลอดจนธุรกิจ ในไทย ฯลฯ โดยสามารถจ�ำแนกการบริการออกเป็น
ไทยกับธุรกิจในนานาประเทศ และพร้อมเช่ือมต่อ 3 ส่วน คอื
สู่แพลตฟอร์ม J-GoodTech ของญปี่ ุ่น ซ่ึงจะช่วยเพม่ิ
ความนา่ เชอ่ื ถอื ใหก้ บั สนิ คา้ และบรกิ ารของ SMEs ไทย 1. บรกิ ารสำ� หรบั บคุ คลท่วั ไป : ค้นหาข้อมลู
อกี ทงั้ ยงั สรา้ งความไดเ้ ปรยี บเชงิ การแขง่ ขนั ในตลาด บรษิ ัท ผลิตภณั ฑ์ บริการ และข้อมูลอุตสาหกรรม,
ระดับสากลมากข้นึ ข้อมูลกจิ กรรม Business Matching
2. บริการสำ� รับสมาชกิ : Inquire ไปยงั บรษิ ทั
ทสี่ นใจ, โปรโมทธรุ กจิ ของบรษิ ทั ฯ บนระบบ, แบง่ ปนั
ข้อมูลธุรกิจและความต้องการพาร์ทเนอร์ธุรกิจผ่าน
ทาง Web Board Share
อตุ สาหกรรมสาร 9
3. Back Office : รายงานประเภทธรุ กจิ , รายงานสรปุ
Inquire, Visitors, View เป็นต้น
ท้ังยังมีการเชื่อมต่อฐานข้อมูลไปสู่ผู้ประกอบการ
ในประเทศญี่ปุ่นผ่านเว็บไซต์ J-GoodTech ได้โดยตั้งเป้า
ผู้ประกอบการ SMEs ที่มีศักยภาพพร้อมเข้าระบบจัดเก็บ
ฐานข้อมูลใน www.tgoodtech.com จ�ำนวน 1,400 กิจการ
ซึ่ ง คั ด ก ร อ ง จ า ก ศู น ย ์ ส ่ ง เ ส ริ ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม ภ า ค
หน่วยงานเครือข่ายหรือโครงการต่างๆ อาทิ ITC, SSRC
และ SMEs ที่ได้รับเงินกู้จากกองทุนประชารัฐ โดย
มีคุณสมบัติคือ ต้องเป็นนิติบุคคลที่มียอดขายต่อปีอย่าง
น้อย 5 ล้านบาท มีเว็บไซต์ และมีมาตรฐานรองรับ
อย่างน้อย 1 มาตรฐาน และหากผู้ประกอบการ SMEs
ในระบบรายใดที่มีพัฒนาการด้านการบริหารจัดการรวม
ถึงการเตรียมความพร้อมเรื่องภาษาอังกฤษท่ีได้มาตรฐานแล้ว
ทางกรมฯ จะท�ำการเชื่อมโยงไปสู่เว็บไซต์ J-GoodTech
เพื่อขยายโอกาสในการพบปะกับพาร์เนอร์ระดับสากล
มากข้ึน นอกจากนี้ทางกรมฯ ยังมีแผนมีแผนท่ีจะเชื่อมต่อ
ไปยงั เวบ็ ไซตจ์ บั คธู่ รุ กจิ กบั ธรุ กจิ (B2B) ของประเทศสงิ คโปร์
อกี ด้วย
แนะน�ำบริการอื่นๆ ของกสอ. ที่น�ำ IT เข้ามาใช้เพ่ือ
อำ� นวยความสะดวกใหแ้ ก่ SMEs
นอกจากเว็บไซต์ T-GoodTech ที่กรมฯ เร่งผลัก
ดันให้แล้วเสร็จและสามารถเชื่อมโยงกับ J-GoodTech
ภายในปีน้ี กรมฯ ยังได้ร่วมมือกับ AIS เพื่อพัฒนา
Mobile Application ทั้งระบบ Android และ IOS ส�ำหรับ
ช่วยเหลือ SMEs ในการบริหารจัดการด้านต่างๆ
5 แอปฯ ได้แก่ Business Plan, Money Flow, Stock Flow,
Billing Flow และ Business Evaluation.
hขtอtpข:/อ/tgบoคodุณteขc้อh.มcoูลmและรปู ภาพจาก
10 อตุ สาหกรรมสาร
Opportunity
• เรอื่ ง : นันทนาพร อรินทมาโน
J-GoodTech สู่ T-GoodTech
เครื่องมือเปิดช่องทางการค้าจากญี่ปุ่นเพื่อ SMEs ไทย
Mr.Makoto Ihara พฤติกรรมของผู้บริโภคและสภาพแวดล้อมของ
ธุรกิจเป็นสิ่งท่ีสามารถเปล่ียนแปลงได้ตลอดเวลา ดังน้ัน
การเปิดรับข้อมูลข่าวสาร สังเกตสถานการณ์เศรษฐกิจ
ที่การเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ จึงเป็นเรื่องส�ำคัญที่ช่วย
พฒั นาธรุ กจิ ใหเ้ ทา่ ทนั โลก ในเรอื่ งน้ี Mr.Makoto Ihara
SMRJ Representative, Thai-Japan SMEs Support
เล่าให้ฟังถึง จุดเริ่มต้นของ J-GoodTech ว่า เกิดจาก
การมองปัญหาภายในประเทศญ่ีปุ่นซ่ึงก�ำลังเข้าสู่สังคม
ผู้สูงอายุ ท�ำให้มีแนวโน้มประชากรลดลง เป็นผลให้เกิด
อปุ สงคแ์ ละอปุ ทานตำ�่ รวมถงึ ความตอ้ งการทางตลาดเลก็ ลง
ฉะนั้นการแก้ไขปัญหาของนักธุรกิจญ่ีปุ่นให้สามารถ
ด�ำเนินธุรกิจต่อไปได้จึงจ�ำเป็นที่จะต้องหาตลาดใหม่ท้ัง
ในประเทศและต่างประเทศเพ่ือรองรับการผลิตสินค้า
ที่เพิ่มขึ้นทางองค์การเพื่อวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดยอ่ มและนวตั กรรมภมู ภิ าคแหง่ ประเทศญป่ี นุ่ (SMRJ)
อุตสาหกรรมสาร 11
จึงสร้าง Business platform (ธุรกิจที่สามารถขยายขีด ศกั ยภาพของ J-GoodTech และการจบั มอื
ความสามารถอย่างไม่จ�ำกัด) ท่มี ีชื่อว่า J-GoodTech ข้ึน กับตา่ งชาติ
เพอื่ เปน็ ศนู ยร์ วมขอ้ มลู ในการหาคคู่ า้ ทางธรุ กจิ ในประเทศ
และต่างประเทศข้นึ มา แรกเรม่ิ J-GoodTech จดั ท�ำขนึ้ เพอ่ื จบั คธู่ รุ กจิ ภายใน
ประเทศเท่าน้ัน แต่ด้วยความต้องการของประเทศญ่ีปุ่น
J-GoodTech คอื อะไร? เริ่มลดน้อยลง จึงต้องการขยายฐานข้อมูลไปยังต่าง
ประเทศ และเกิดการจับคู่ระหว่างบรษิ ัทญป่ี ุ่นและบริษทั
J-GoodTech คือ เว็บไซต์ Business Matching ต่างประเทศข้ึน ซึ่งภายในเว็บไซต์ J-GoodTech ก็มี
ท่ีก่อตั้งขึ้นเม่ือปี 2014 โดยองค์การเพ่ือวิสาหกิจขนาด ฐานข้อมูลของบริษัทต่างชาติลงทะเบียนไว้เช่นกัน โดย
กลางและขนาดย่อมและนวัตกรรมภูมิภาคแห่งประเทศ จะเป็นบริษัทเอกฃน ที่ได้รับค�ำแนะน�ำจากหน่วยงาน
ญป่ี นุ่ (SMRJ) ภายใตก้ ระทรวงเศรษฐกจิ และอตุ สาหกรรม รัฐบาลของประเทศน้ันๆ และติดต่อรับการช่วยเหลือ
ประเทศญปี่ นุ่ เพอื่ จบั คทู่ างธรุ กจิ ระหวา่ งบรษิ ทั ขนาดใหญ่ ต่างๆ กับองค์การเพ่ือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
(Bigifrm) และบริษัทวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และนวัตกรรมภูมิภาคแห่งประเทศญี่ปุ่น (SMRJ) โดย
(SMEs) ในประเทศญ่ีปุ่น ท�ำหน้าท่ีเสมือนเป็นหน้าต่าง บริษัทต่างชาติท่ีลงทะเบียนภายในเว็บไซต์ปัจจุบันมี
ของบริษัทให้ผู้ประกอบการที่ลงทะเบียนในเว็บไซต์เข้า อยู่ประมาณ 4,000 บริษัท ประกอบด้วยบริษัทจาก
มาดูข้อมูลและลงประกาศหาความต้องการของกันและ ประเทศไทย มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย เป็นต้น
กันได้ เพราะบรษิ ัทกม็ ขี ้อจ�ำกดั ในการเข้าถึงข้อมูลบริษัท ซ่ึงก่อนจะเข้ามาเป็นสมาชิกได้น้ันต้องตรวจสอบสถานะ
SMEs ท่ีมีศักยภาพพอจะซัพพอร์ตงานขนาดใหญ่ และ ของบริษัทและดูว่ามีการรับรองจากหน่วยงานภาครัฐ
ทางบรษิ ทั SMEs อาจไม่มโี อกาสที่จะได้ท�ำความรู้จักกบั หรือไม่
บริษัทใหญ่เช่นกัน จึงท�ำให้เกิดการจับคู่ทางธุรกิจน้อย
และท�ำให้ผู้ประกอบการธรุ กจิ เตบิ โตได้ยาก เว็บไซต์ J-GoodTech ไม่ใช่เว็บไซต์ประเภท
อีคอมเมิร์ซท่ีท�ำการซื้อขายผลิตภัณฑ์ผ่านช่องทาง
ยกตวั อยา่ ง บรษิ ทั โตโยตา้ ซงึ่ เปน็ บรษิ ทั ผลติ รถยนต์ อินเทอร์เน็ต แต่จะเป็นสินค้าที่มีความจ�ำเพาะและมี
รายใหญ่ของญ่ปี ุ่น ภายในรถ 1 คนั จะมีอะไหล่ประมาณ รายละเอียดจึงท�ำให้ไม่สามารถดูแล้วตัดสินใจซ้ือได้ทันที
30,000 รายการ แตท่ งั้ นท้ี ง้ั นน้ั ทางโตโยตา้ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ผผู้ ลติ
อะไหล่เอง แต่จะให้บรษิ ัท SMEs ท่ีมคี วามสามารถหรอื
เทคโนโลยีท่ีเชี่ยวชาญเป็นผู้ผลิตอะไหล่ให้ทางโตโยต้า
มาประกอบเป็นรถยนต์เอง ฉะน้ัน J-GoodTech จึงเป็น
ช่องทางคัดกรองบริษัทที่มีศักยภาพและเปิดหน้าต่าง
ให้ต่างฝ่ายท�ำความรู้จักกัน โดยปัจจุบัน J-GoodTech
มีบริษัทลงทะเบียนเป็นสมาชิกอยู่ภายในเว็บไซต์กว่า
10,000 บริษัท จากจ�ำนวนบริษัทขนาดใหญ่ประมาณ
หน่งึ หม่นื บริษัท และ บรษิ ัท SMEs ภายในประเทศกว่า
สามล้านแปดแสนบรษิ ทั
12 อุตสาหกรรมสาร
SMEs
หากจะตอ้ งมกี ารนดั พบพดู คยุ กนั ตอ่ ไป เวบ็ ไซตเ์ ปน็ เพยี ง สามารถแลกเปลี่ยนความรู้ด้านนวัตกรรมและจับคู่ธุรกิจ
ขนั้ ตอนแรกของการคดั กรองคณุ สมบตั บิ รษิ ทั ทมี่ ศี กั ยภาพ กันได้ สามารถเพ่ิมช่องทางการตลาด เป็นเคร่ืองมือ
ให้ผู้ท่ีเข้ามาดูข้อมูลสนใจบริษัทนั้นๆ ก่อน เพราะ ช่วยเหลือ SMEs และลดปัญหาของก�ำแพงภาษา
เทคโนโลยีการผลิตต่างๆ อาจไม่ใช่ส่ิงท่ีน�ำมาเปิดเผย ซึ่งจะเป็นเว็บไซต์ของไทยโดยตรง โดยกลุ่มธุรกิจหลัก
เสมอไป ดังนั้นเว็บไซต์นี้อาจจะเป็นประโยชน์ต่อบริษัท ภายในเวบ็ ไซต์จะอยู่ในวงการอตุ สาหกรรม เช่น รถยนต์
ตา่ งชาตใิ นการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ทง้ั นก้ี ารจบั คทู่ างธรุ กจิ อาจไม่ เครื่องจักร การแปรรูป เป็นต้น หากอุตสาหกรรมแขนง
ไดเ้ กดิ ขนึ้ ผา่ นทางเวบ็ ไซตเ์ พยี งอยา่ งเดยี ว หากบรษิ ทั ทลี่ ง อน่ื สนใจเขา้ รว่ มกส็ ามารถเขา้ มาลงทะเบยี นในเวบ็ ไซตไ์ ด้
ทะเบียนเหน็ ว่ามีบรษิ ัทท่สี นใจอยู่ในเวบ็ ไซต์น้ี ก็สามารถ เช่นกัน โดยจะมผี ู้เช่ยี วชาญให้ค�ำปรกึ ษาต่อไป
เชิญไปออกบูทในงานอเี วนท์ต่างๆ เพื่อให้เกิดการพดู คุย
ทางธุรกจิ ในสถานทีจ่ ริงได้เช่นกนั อุตสาหกรรมสาร 13
ญ่ีป่นุ สู่ไทยดว้ ย T-GoodTech
จากความส�ำเร็จของ J-GoodTech ในประเทศ
ญ่ีปุ่น กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จึงได้ลงนามข้อตกลง
ร่วมมือกันกับองค์การเพื่อวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อมและนวัตกรรมภูมิภาคแห่งประเทศญ่ีปุ่น
(SMRJ) เพ่ือพัฒนา SMEs ของท้ังไทยและญ่ีปุ่นให้
Market & Trends
• เรอื่ ง : นชุ เนตร จักรกลม
กระทรวงอุตสาหกรรม www.smartstocknews.com
จับมือ Lazada บ่มเพาะ SMEs www.channelbiz.es
เพิ่มศักยภาพธุรกิจยุคดิจิทัล
ตลอด5ปที ผ่ี า่ นมาพบวา่ อตั ราการเตบิ โต
ของตลาดอคี อมเมริ ซ์ ในประเทศไทยมแี นวโนม้
สงู ขน้ึ อย่างมีนัยส�ำคัญ และคาดการณม์ ลู คา่
ตลาดวา่ จะเพมิ่ สงู ถงึ 5,300 ลา้ นเหรยี ญดอลลา่
สหรฐั ภายในปี2564จากทศิ ทางดงั กลา่ วทำ� ให้
Lazada เดนิ หนา้ ลงทนุ ตง้ั อคี อมเมริ ซ์ ปารค์
(Gen 5 e-Commerce Park) ในพน้ื ที่ EEC
เพ่ือเป็นศูนย์รวมซัพพลายเชน ศูนย์อบรม
และการผลิตครบวงจรศูนย์กลางการลงทุน
และกระจายสนิ คา้ ในภมู ภิ าคCLMVและพรอ้ ม
เป็นประตูเชื่อมต่อสู่ตลาดโลก คาดบริการ
เตม็ รปู แบบภายใน 2 ปี
14 อุตสาหกรรมสาร
เมื่อปลายปี 2559 รัฐบาลไทยท�ำการลงนาม www.marketingoops.com
ร่วมกันกับ Alibaba Group ซ่ึงเป็นบริษัทท่ีดูแล Lazada
จดั ตั้งทมี ประสานความร่วมมอื กับ Lazada ประเทศไทย เพื่อให้การเกื้อหนุนโอกาสภาคธุรกิจอีคอมเมิร์ซ
โดยมหี นว่ ยงานภาครฐั หลายหนว่ ยงานอยา่ ง กรมสง่ เสรมิ เติบโตอย่างเป็นรูปธรรมสอดรับกับนโยบายไทยแลนด์
อุตสาหกรรม ส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง 4.0 Lazada จึงต้ังโครงการอีคอมเมิร์ซ ปาร์คขึ้นบน
และขนาดย่อม สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมด้วย พ้ืนท่ีราว 300 ไร่ในเขตพ้ืนที่เศรษฐกิจพิเศษภาค
หนว่ ยงานอน่ื ๆ เพอ่ื ขบั เคลอื่ นภารกจิ การพฒั นาศกั ยภาพ ตะวันออกซ่ึงคาดว่าจะสามารถเปิดให้บริการได้
SMEs และผลักดันการพัฒนาเขตพื้นท่ีเศรษฐกิจพิเศษ ภายในปี 2562 โดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างระบบนิเวศ
ภาคตะวันออก หรือ EEC ในพื้นที่จังหวัดระยอง ชลบุรี (Ecosystem) ท่ีดีที่สุดในประเทศไทย ซึ่งจะเป็นระบบ
และฉะเชงิ เทรา ใหส้ อดรบั กบั นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ใน นิเวศช้ันน�ำของภูมิภาคในการเป็นประตูเศรษฐกิจ
ระยะยาว อนั เปน็ กลไกส�ำคญั ในการขบั เคลอ่ื นการเตบิ โต
ของตลาดอคี อมเมริ ซ์ ประเทศไทยอยา่ งยงั่ ยนื โดย Lazada
ประเทศไทยมีความมุ่งมั่นในการสนับสนุนส่งเสริมให้
ผปู้ ระกอบการ SMEs และวสิ าหกจิ ชมุ ชน น�ำพาสนิ คา้ ไทย
ก้าวสู่ตลาดอีคอมเมิร์ซได้อย่างแข็งแกร่งผนวกกับระบบ
โลจิสติกส์ท่ียกระดับศักยภาพ อีกทั้งยังมุ่งหวังให้ไทย
เป็นศูนย์กลางการลงทุนด้านการค้าผ่านระบบออนไลน์
หรืออีคอมเมิร์ซท่ีเช่ือมโยงกับภูมิภาค CLVM รวมถึง
ตลาดโลก เพราะเล็งเห็นว่าประเทศไทยมีข้อได้เปรียบ
ทั้งด้านภูมิประเทศท่ีเช่ือมต่อกับกลุ่มประเทศ CLMV
อกี ทงั้ ตลาดไทยยงั มแี นวโน้มการเตบิ โตต่อเน่ือง
www.positioning magazine.com
อตุ สาหกรรมสาร 15
www.ispio.com
www.marketingoops.com สู่นานาประเทศ เป็นจุดนัดพบของเจ้าของธุรกิจขนาด
ย่อมหรือ SMEs ผู้ผลิต ผู้ให้บริการและเป็นศูนย์รวมที่น�ำ
www.nextempire.co โครงสร้างทางเทคโนโลยีข้ันสูงและโลจิสติกส์มารวมไว้เพื่อ
อ�ำนวยความสะดวกได้อย่างครบวงจรโดยการลงทุนเชิงกลยุทธ์
ในเขตพ้ืนที่เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC ของ
Lazada เป็นการตอกย้�ำถึงจุดยืนและเพ่ิมบทบาทให้กับ
Lazada และ Alibaba ในประเทศไทยมากขึน้ รวมถงึ ยงั ช่วย
สง่ เสรมิ การพฒั นาระบบนเิ วศ (Ecosystem) ทรี่ องรบั เทคโนโลยี
ลา่ สดุ ควบคกู่ บั การบม่ เพาะผปู้ ระกอบการยคุ ใหมโ่ ดยเฉพาะ
SMEs และกลุ่ม Startup ให้มีศักยภาพและความพร้อม
ในการท�ำธรุ กจิ ยุคดจิ ิทลั ทีส่ อดรับกบั นโยบายไทยแลนด์ 4.0
นอกจากน้ี Lazada ยังมีแผนที่จะร่วมมือเพื่อส่งเสริม
ความแข็งแกร่งด้านอีคอมเมิร์ซให้กับ SMEs ไทย
ในอนาคตอกี หลายโครงการ อาทิ การร่วมงานกบั กระทรวง
อุตสาหกรรมและกระทรวงพาณิชย์ในการจัดโปรแกรมการ
พัฒนาศักยภาพทางอีคอมเมิร์ซที่เหมาะสมกับผู้ประกอบการ
SMEs พร้อมสร้างโอกาสให้ SMEs ได้รับประสบการณ์
จากโปรแกรมการพัฒนาของต่างประเทศมากขึ้น อาทิ
การส่ง 5 สุดยอดผู้ค้าออนไลน์จาก Lazada ประเทศไทย
เพื่อเข้าร่วมเวิร์คช็อปกับอาลีบาบา แคมปัส ณ เมืองหางโจว
ประเทศจีน เม่ือปีท่ีผ่านมา หรือ การร่วมมือกับบริษัท
ไปรษณีย์ไทยเพื่อยกระดับระบบการขนส่งและโลจิสติกส์
โดยเฉพาะในเขตพื้นท่ีต่างจังหวัดเพ่ือให้สอดรับกับความ
ต้องการของตลาดอคี อมเมริ ์ซ เป็นต้น
16 อตุ สาหกรรมสาร
Information
• เรอ่ื ง : จกั รพันธ์ เด่นดวงบรพิ ันธ์
เทคโนโลยีเปล่ียนโลก
21 เหตุการณ์ที่จะเกิดในทศวรรษหน้า
ในยคุ ทใ่ี ครๆกพ็ ดู ถงึ แตเ่ รอ่ื ง4.0ไมว่ า่ จะเปน็ ประเทศไทย4.0คนไทย4.0Industry4.0Financial4.0Government
4.0และอกี หลายๆ4.0จดุ สำ� คญั ลว้ นเกดิ จากการเตรยี มตวั เขา้ สยู่ คุ ทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยอี ยา่ งกา้ วกระโดดหรอื
ทหี่ ลายๆ คนเรยี กวา่ เปน็ เทคโนโลยเี ปลย่ี นโลก (Disruptive Technology) ซงึ่ World Economic Forum ไดอ้ อกรายงาน
มาฉบบั หนงึ่ เมอ่ื เดอื นกนั ยายน ปี 2558 ชอ่ื วา่ “Deep Shift Technology Tipping Points and Societal Impact”
โดยในรายงานดงั กลา่ วไดแ้ สดงผลการสำ� รวจเหตกุ ารณส์ ำ� คญั ทคี่ าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ 21 เหตกุ ารณ์ (Tipping Points)
จากผบู้ รหิ ารและผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารจำ� นวน816คนผเู้ ขยี นจงึ ขอนำ� 21TippingPoints
เรยี งตามลำ� ดบั เวลาทค่ี าดวา่ จะเกดิ มานำ� เสนอแกท่ า่ นผอู้ า่ น ดงั นี้
ปี ค.ศ. 2018 (พ.ศ. 2561) ปี ค.ศ. 2021 (พ.ศ. 2564)
• การเปลย่ี นแปลงที่ 1 : ทจี่ ดั เกบ็ ขอ้ มลู ฟรสี �ำหรบั ทกุ คน • การเปลยี่ นแปลงที่ 2 : หนุ่ ยนตแ์ ละการบรกิ าร
นิยาม : ร้อยละ 90 ของประชากรโลกจะมีท่ีจัดเก็บข้อมูล นยิ าม : หนุ่ ยนตเ์ ภสชั กร (Robotic pharmacist) จะเกดิ ขนึ้ เปน็
(Storage) ฟรแี ละไมจ่ �ำกดั ขนาดดว้ ย ตวั แรกในสหรฐั อเมรกิ า
ดว้ ยราคาของทจ่ี ดั เกบ็ ขอ้ มลู (ไมว่ า่ จะเปน็ Hand Disk หุ่นยนต์ได้เข้ามามีบทบาทอย่างหลากหลายต้ังแต่ภาค
Drive, Cloud Storage ฯลฯ) มแี นวโนม้ ลดลงอยา่ งรวดเรว็ ตอ่ เนอ่ื ง การผลติ ภาคการเกษตร การคา้ ปลกี รวมถงึ งานบรกิ าร โดย
ส่งผลให้ต่อไปบรษิ ทั ต่างๆ จะแถมทเี่ กบ็ ข้อมลู ไว้เป็นเสมอื น International Federation of Robotics ประมาณการวา่ ปจั จบุ นั มี
บรกิ ารเสรมิ โดยจะมกี ารหาประโยชนจ์ ากการโฆษณาแทน หนุ่ ยนตท์ �ำงานทงั้ หมดในโลก 1.1 ลา้ นตวั และมแี นวโนม้ จะเพมิ่
และหลากหลายขน้ึ เรอื่ ยๆ การใหห้ นุ่ ยนตจ์ า่ ยยาตามอาการกเ็ ปน็
สงิ่ หนง่ึ ทคี่ าดวา่ จะเกดิ ขนึ้ ไดเ้ รว็
ปี ค.ศ. 2022 (พ.ศ. 2565)
• การเปลยี่ นแปลงที่ 3 : อนิ เทอรเ์ นต็ ส�ำหรบั ทกุ สงิ่ และเพอื่ ทกุ สงิ่ (Internet of/for Things)
นยิ าม : มเี ซน็ เซอรเ์ ชอ่ื มตอ่ กบั อนิ เทอรเ์ นต็ 1 ลา้ นลา้ นตวั
อุตสาหกรรมสาร 17
ดว้ ยราคาของเซนเซอร์ (Intelligent Sensors) จะถกู ลงอยา่ ง การวเิ คราะห์ จะมคี วามรวดเรว็ และแมน่ ย�ำมากชน้ึ ท�ำใหร้ ฐั จะ
มากจนสามารถน�ำมาใชไ้ ดอ้ ยา่ งแพรห่ ลายทงั้ ในการสอื่ สารผา่ น น�ำมาใชเ้ พอื่ ใหส้ ามารถตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน
อินเทอร์เน็ต การรวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้บริการใหม่ๆ ได้ “ทนั ท”ี
ที่ดีขึ้น ผู้เช่ียวชาญจึงเชื่อว่าสินค้าทุกอย่างในอนาคตจะถูก
เชื่อมต่อกบั อินเทอร์เนต็ • การเปลย่ี นแปลงที่ 8 : การมองเหน็ ทเ่ี ชอ่ื มตอ่ ได้ (Vision
as the New Interface)
• การเปลี่ยนแปลงท่ี 4 :
อินเทอร์เน็ตท่ีสวมใส่ได้ (Wearable นิยาม : ร้อยละ 10 ของแว่นตา
Internet) สามารถเชอ่ื มตอ่ กบั อนิ เทอรเ์ นต็ ได้
นยิ าม : รอ้ ยละ 10 ของประชากรโลกจะ
ใสเ่ สอื้ ผา้ ทม่ี กี ารเชอื่ มตอ่ กบั อนิ เทอรเ์ นต็ Google Glass เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ของเรอื่ ง
น้ี โดยต่อไปแว่นตาจะถูกใส่เทคโนโลยี
จากในปี 2015 ที่ได้เกิด Apple ตา่ งๆ เพอ่ื ใหก้ ลายเปน็ แวน่ ตาอจั ฉรยิ ะ โดย
Watch หรือนาฬิกาท่ีเป็นสมาร์ทโฟน เชอ่ื มตอ่ กบั อนิ เทอรเ์ นต็ และอปุ กรณต์ า่ งๆ
เชอ่ื มตอ่ กบั อนิ เทอรเ์ นต็ แลว้ ตอ่ ไปเสอื้ ผา้ และตอบสนองกับข้อมูลต่างๆ ท่ีปรากฏ
หรืออุปกรณ์แต่งกายอื่นๆจะถูกฝังชิป ได้ เชน่ การน�ำทาง การรบั ค�ำแนะน�ำและ
เพ่ือให้เกิดการส่ือสารกับผู้สวมใส่ได้ ตอบสนองตอ่ สนิ คา้ /บรกิ าร หรอื แมก้ ระทง่ั
มากขึ้น เพ่ือประโยชน์ในการจัดการ ชว่ ยผพู้ กิ ารใหต้ อบสนองสงิ่ รอบตวั ได้
สขุ ภาพ การปอ้ งกนั บตุ รหลานหาย หรอื
ใหข้ อ้ มลู ประกอบการตดั สนิ ใจ เปน็ ตน้ • การเปลยี่ นแปลงท่ี 9 : ตวั ตน
ดจิ ทิ ลั ของเรา (Our Digital Presence)
• การเปลี่ยนแปลงท่ี 5 : การ
พมิ พ์ 3 มติ ิ กบั การผลติ (3D Printing and นยิ าม : รอ้ ยละ 80 ของคนทงั้ หมดจะ
Manufacturing) มตี วั จนดจิ ทิ ลั ในโลกอนิ เทอรเ์ นต็
นยิ าม : รถยนตท์ ถี่ กู พมิ พ์ 3 มติ คิ นั แรก
จะเกดิ ขน้ึ จ า ก ป ั จ จุ บั น ที่ โ ล ก มี โ ท ร ศั พ ท ์
สมาร์ทโฟนกว่า 2 พันล้านเครื่องและมี
3D Printing หรอื Additive manufacturing คอื เทคนคิ การ บญั ชผี ใู้ ชง้ าน Facebook กวา่ 1,400 ลา้ น
เตมิ วตั ถทุ ตี่ อ้ งการทลี ะเลก็ ทลี ะนอ้ ย จงึ ท�ำใหส้ ามารถทจ่ี ะผลติ บญั ชี การเชอื่ มตอ่ ของโลกในอนาคตจะสง่ ผลใหช้ วี ติ ดจิ ทิ ลั ของ
งานทย่ี งุ่ ยากและซบั ซอ้ นไดม้ ากขน้ึ (จากเดมิ ทกี่ ารสรา้ งแบบใช้ เราตอ้ งเชอื่ มโยงกบั ชวี ติ จรงิ อยา่ งเลย่ี งไมไ่ ด้ ท�ำใหค้ นเราจ�ำเปน็
การตดั เจาะ กลงึ ซง่ึ มคี วามจ�ำกดั จากขนาด) ดงั นน้ั ในทา้ ย ตอ้ งค�ำนงึ ถงึ การวางตวั ตนในโลกดจิ ทิ ลั ทงั้ การสอื คน้ การแชร์
ทสี่ ดุ แลว้ เมอ่ื เครอ่ื งพมิ พ์ 3 มติ ิ สามารถใชไ้ ดก้ บั วสั ดตุ า่ งๆ เชน่ ขอ้ มลู การแสดงความคดิ เหน็ การหาและการถกู คน้ หาหรอื แมแ้ ต่
พลาสตกิ อลมู เิ นยี ม สแตนเลส อลั ลอย เซรามกิ ในราคาทถี่ กู การสรา้ งและรกั ษาความสมั พนั ธใ์ นโลกเสมอื นจรงิ ระดบั โลก
ลงและไวขน้ึ เรอื่ ยๆ จะท�ำใหโ้ รงงานมกี ารใช้ 3D Printing กนั อยา่ ง • การเปลี่ยนแปลงที่ 10 : รัฐบาลและบล็อคเชน
กวา้ งขวางในทกุ ชน้ิ งาน (Blockhain)
นยิ าม : รฐั บาลจดั เกบ็ ภาษผี า่ นบลอ็ คเชนเปน็ ครง้ั แรก
ปี ค.ศ. 2023 (พ.ศ. 2566) ส�ำหรบั ทา่ นผอู้ า่ นบางทา่ นทไี่ มเ่ คยไดย้ นิ ค�ำวา่ Blockhain
มากอ่ นนะครบั Blockhain คอื เทคโนโลยที ชี่ ว่ ยท�ำธรุ กรรมหรอื
• การเปลย่ี นแปลงท่ี 6 : เทคโนโลยปี ลกู ถา่ ยเขา้ รา่ งกาย และเปลย่ี นขอ้ มลู อยา่ งปลอดภยั นา่ เชอ่ื ถอื โดยไมต่ อ้ งอาศยั
(Implantable Technologies) คนกลาง นกึ ภาพปกตใิ นปจั จบุ นั ทเ่ี ราตอ้ งอาศยั ตวั กลางอยา่ ง
นยิ าม : จะมกี ารปลกู ถา่ ยโทรศพั ทม์ อื ถอื เขา้ สรู่ า่ งกายใน
เชงิ การค้าไม่เพยี งการสวมใส่ แต่ต่อไปอปุ กรณ์เชอ่ื มต่อต่างๆ
จะถกู ฝงั ลงในรา่ งกายทงั้ เพอื่ ประโยชนท์ างสขุ ภาพ การวเิ คราะห์
พฤตกิ รรม และการสอ่ื สาร อาทิ เครอ่ื งชว่ ยฟงั และเครอื่ งชว่ ย
คุมจังหวะหัวใจท่ีจะท�ำงานเมื่อเกิดความบกพร่องในร่างกาย
ไปจนถงึ รอยสกั อจั ฉรยิ ะทมี่ กี ารฝงั ชพิ เพอื่ ใหก้ ลายเปน็ โทรศพั ท์
มอื ถอื หรอื อปุ กรณส์ อื่ สารตา่ งๆ ได้
• การเปลย่ี นแปลงที่ 7 : Big Data ส�ำหรบั การตดั สนิ ใจ
นยิ าม : ภาครฐั ใชข้ อ้ มลู Big Data แทนทกี่ ารท�ำส�ำมะโน
เปน็ ครงั้ แรก
การส�ำรวจขอ้ มลู แบบเดมิ ๆ จะดยู งุ่ ยากและไมท่ นั การณ์ ตอ่
ไปการใชเ้ ทคโนโลยจี ดั การ Big Data ในการรวบรวมขอ้ มลู เพอื่
18 อตุ สาหกรรมสาร
ธนาคาร หรอื บรษิ ทั บตั รเครดติ ตา่ งๆ แตโ่ ดยเทคโนโลยี Blockhain พิมพ์ทางชีวะ (Bio-printing)” เช่น การพิมพ์กระดูกเทียม
เปน็ รปู แบบการเกบ็ ขอ้ มลู ทที่ �ำใหข้ อ้ มลู Digital transaction ของ การพมิ พห์ วั ใจเทยี ม หรอื ไตเทยี ม เปน็ ตน้
แตล่ ะคนสามารถแชรไ์ ปยงั ทกุ ๆคนได้ เปน็ เสมอื นหว่ งโซ่ ทท่ี �ำให้
Block ของขอ้ มลู ลงิ กต์ อ่ ไปยงั ทกุ ๆ คน โดยทที่ ราบวา่ ใครเปน็ • การเปลี่ยนแปลงที่ 14 : บ้านท่ีเช่ือมต่อได้
เจ้าของและมีสิทธิในข้อมูลน้ันจริงๆ ซึ่งเทคโนโลยีนี้ถือว่าเป็น (The Connected Home)
โอกาสและภยั คกุ คามตอ่ รฐั บาลของแตล่ ะประเทศ เนอ่ื งจากยงั
ไมถ่ กู ก�ำกบั หรอื ควบคมุ โดยธนาคารกลาง ท�ำใหร้ ฐั ไมส่ ามารถ นยิ าม : มากกวา่ รอ้ ยละ 50 ของการจราจรทางอนิ เทอรเ์ นต็
ใชน้ โยบายทางการเงนิ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ แตอ่ กี ทางหนง่ึ ทงั้ หมด (Internet trafcfi ) จะเกดิ จากกาารสง่ ข้อมลู กนั ระหวา่ ง
ถือว่าเป็นโอกาสส�ำหรับการจัดเก็บภาษีแบบใหม่ๆ ผ่านทาง อปุ กรณเ์ ครอื่ งใชใ้ นบา้ น บา้ นในอนาคตจะกลายเปน็ บา้ นฉลาด
Blockhain เอง (Smart Home) คอื อปุ กรณใ์ นบา้ นจะสามารถสง่ สญั ญาณตดิ ตอ่
กนั โดยเจา้ ของบา้ นสามารถควบคมุ และปรบั ปรงุ ใหเ้ ปน็ ไปตาม
• การเปลยี่ นแปลงท่ี 11 : ซปุ เปอรค์ อมพวิ เตอรใ์ นกระเปา๋ พฤตกิ รรมทตี่ อ้ งการได้ ท�ำใหเ้ กดิ ความสะดวกสบาย และเกดิ การ
กางเกง (A Suppercomputer in Your Pocket) ใชท้ รพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู ขนึ้
นยิ าม : รอ้ ยละ 90 ของคนทง้ั หมดจะมสี มารท์ โฟนใช้ ปี ค.ศ. 2025 (พ.ศ. 2568)
จากขอ้ มลู ปี 2013 รอ้ ยละ 28 ของประชากรโลกมสี มารท์ โฟน
ใช้ และคาดการณว์ า่ ในปี 2023 จะมถี งึ รอ้ ยละ 90 ทม่ี สี มารท์ โฟน • การเปลย่ี นแปลงท่ี 15 : การพมิ พ์ 3 มติ ิ และสนิ คา้
ใช้ (ในปจั จบุ นั ในบางประเทศกม็ สี ดั สว่ นสมารท์ โฟนเกนิ รอ้ ยละ อปุ โภคบรโิ ภค (3D Printing and Consumer Products)
90 ของประชากรอยแู่ ลว้ อาทิ สงิ คโ์ ปร์ เกาหลี และสหรฐั อาหรบั
อมิ เิ รต) โดยสมารท์ โฟนมแี นวโนม้ ทจี่ ะถกู ลงและมปี ระสทิ ธภิ าพ นยิ าม: รอ้ ยละ 5 ของสนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภคถกู พมิ พจ์ าก
สงู ขนึ้ จากในอดตี มาก (ตวั อยา่ งเชน่ Iphone 4 ปี 2010 มคี วามเรว็ เครอื่ งพมิ พ์ 3 มติ ิ
เทยี บเทา่ กบั ซปุ เปอรค์ อมพวิ เตอร์ Cray-2 ปี 1985) ดงั นนั้ เชอ่ื
วา่ ในอนาคตทกุ คนจะสามารถซอื้ หาสมารท์ โฟนราคาถกู มาใช้ ทง้ั นใี้ นปี 2014 มเี ครอื่ งพมิ พ์ 3 มติ ิ 133,000 เครอ่ื ง (เพม่ิ ขนึ้
เปน็ การสว่ นตวั ได้ 68% จากเมอื่ ปี 2013) โดยการใชง้ านหลกั ในปจั จบุ นั จะเปน็ เรอ่ื ง
การผลติ สนิ คา้ ตน้ แบบ การทดสอบแนวคดิ และตวั อยา่ งสนิ คา้
ปี ค.ศ. 2024 (พ.ศ. 2567) เปน็ ตน้ โดยเมอ่ื เครอื่ งพมิ พ์ 3 มติ ิ มกี ารน�ำมาใชม้ ากขน้ึ และ
มีราคาถูกลง ต่อไปอาจกลายเป็นอุปกรณ์สามัญประจ�ำบ้าน
• การเปล่ียนแปลงที่ 12 หรอื สามญั ตามชมุ ชนทส่ี ามารถสงั่ พมิ พแ์ ลว้ มารบั สนิ คา้ ไดโ้ ดย
: การค�ำนวณมีได้ทุกหนทุกแห่ง สะดวก ซงึ่ จะเปน็ การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภคจาก
(Ubiquitous Computing) เดมิ ทจี่ �ำเปน็ ตอ้ งซอ้ื สนิ คา้ จากรา้ นคา้ เปน็ หลกั
นิยาม : ร้อยละ 90 ของ • การเปลยี่ นแปลงที่ 16 : ปญั ญาประดษิ ฐ์และงาน
คนทั้งหมดสามารถเชื่อมต่อเข้าสู่ ออฟฟศิ (Al and White-Collar Jobs)
อนิ เทอรเ์ นต็ ได้
นยิ าม : รอ้ ยละ 30 ของงานตรวจบญั ชี (corporate audits)
เชน่ เดยี วกบั เรอ่ื งสมารท์ โฟนท่ี ถกู ท�ำโดยปญั ญาประดษิ ฐ์
คนสว่ นใหญจ่ ะมใี ช้ ในอนาคตการ
เข้าสู่อินเทอร์เน็ตจะไม่ใช่เฉพาะ ในอนาคตปญั ญาประดษิ ฐ์ (Articfi ial Intelligence) จะเขา้ มา
ในประเทศท่ีพัฒนาแล้วอีกต่อไป แทนทง่ี านทม่ี รี ปู แบบชดั เจน และมกี ารท�ำซำ้� ได้ ซงึ่ ผลการศกึ ษา
แต่จะเป็นปัจจัยพ้ืนฐานที่ทุกคน ของ Oxford Martin School ประมาณการวา่ งานในสหรฐั อเมรกิ า
สามารถเขา้ ถงึ ได้ (ปจั จบุ นั ประชากรโลกทเ่ี ขา้ ถงึ อนิ เทอรเ์ นต็ ได้ ปี 2010 มีความเสี่ยงสูงถึงร้อยละ 47 ท่ีจะถูกแทนที่โดย Al
รอ้ ยละ 43) ในเวลา 10-20 ปขี า้ งหนา้
• การเปลยี่ นแปลงท่ี 13 : การพมิ พ์ 3 มติ ิ และสขุ ภาพ อุตสาหกรรมสาร 19
มนษุ ย์ (3D Printing and Human Health)
นยิ าม : เกดิ จากการถา่ ยอวยั วะ โดยใชไ้ ตเทยี มทเ่ี กดิ จาก
การพมิ พ์ 3 มติ ิ เปน็ ครงั้ แรก
ไม่เพียงการพิมพ์ 3 มิติ ส�ำหรับสินค้าท่ัวไป แต่จะมี
การพมิ พ์ 3 มติ ใิ นชนิ้ สว่ นของมนษุ ยไ์ ดโ้ ดยเรยี กวา่ เปน็ “การ
• การเปลยี่ นแปลงที่ 17 : เศรษฐกจิ แบง่ ปนั (The Sharing • การเปลยี่ นแปลงท่ี 20 : เมอื งฉลาด (Smart Cities)
Economy) นยิ าม : เกดิ เมอื ง (มปี ระชากรมากกวา่ 50,000 คน) ทไ่ี ร้
ไฟจราจรเปน็ ครงั้ แรก
นยิ าม : การเดนิ ทาง/ทอ่ งเทยี่ วทางรถทว่ั โลกจะเกดิ จาก เมืองฉลาดในอนาคตจะมีอุปกรณ์เซนเซอร์ติดไว้กับ
รถเชา่ แบง่ ปนั (Car Sharing) มากกวา่ รถยนตส์ ว่ นตวั สง่ิ ตา่ งๆ เพอื่ ใหม้ กี ารบรหิ ารจดั การทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ อาทิ
การจอดรถ การจดั เกบ็ ขยะ แสงสวา่ งอจั ฉรยิ ะ การใหบ้ รกิ าร
เศรษฐกจิ แบง่ ปนั มแี นวโนม้ เตบิ โตขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ เรมิ่ ตน้ ทางสาธารณสขุ และการแพทย์ ตลอดจนการใชพ้ ลงั งานสะอาด
จากรปู แบบงา่ ยๆ เชน่ การแบง่ ปนั ความรู้ (Google) การแบง่ ปนั ในเมอื ง ซง่ึ ถกู คาดหวงั วา่ จะยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ สรา้ งสงั คม
สนิ คา้ ทไ่ี มใ่ ชง้ าน (ebay) จนกลายเปน็ รปู แบบการน�ำทรพั ยส์ นิ ทด่ี ี และลดปญั หาอาชญากรรมในเมอื งลดลงอกี ดว้ ย
ทมี่ มี าเกบ็ คา่ เชา่ ในชว่ งทไี่ มไ่ ดใ้ ชง้ านอยา่ ง Airbnb (น�ำบา้ นหรอื
อพารท์ เมนตม์ าใหเ้ ชา่ ในลกั ษณะคลา้ ยโรงแรม) หรอื Uber (ทน่ี �ำรถ ปี ค.ศ. 2027 (พ.ศ. 2570)
สว่ นตวั เองออกมาใชห้ าเงนิ สรา้ งรายไดแ้ ทนทจี่ ะปลอ่ ยทง้ิ ไวเ้ ฉยๆ
ใหเ้ ปน็ ภาระทางการเงนิ ) และดว้ ยเทคโนโลย/ี แอปพลเิ คชนั มอื ถอื • การเปลยี่ นแปลงท่ี 21 : บทิ คอยและบลอ็ คเชน (Bitcoin
ตา่ งๆ ทก่ี า้ วหนา้ และมกี ารใชง้ านมากยง่ิ ขนึ้ จะมกี ารน�ำทรพั ยส์ นิ and the Blockchain)
หรอื สงิ่ ของทมี่ มี าแบง่ ปนั มากยง่ิ ขนึ้ โดยเศรษฐกจิ แบง่ ปนั กอ่ ให้
เกดิ การใชท้ รพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู ขน้ึ ทง่ั ฝง่ั ผเู้ ชา่ ซง่ึ เสยี นยิ าม : รอ้ ยละ 10 ของ GDP โลกถกู จดั เกบ็ โดยเทคโนโลยี
คา่ ใชจ้ า่ ยนอ้ ยกวา่ ตอ้ งซอ้ื และฝง่ั ผแู้ บง่ ปนั ทไ่ี ดน้ �ำทรพั ยากรทมี่ ี บลอ็ คเชน
หารายไดแ้ ทนการทงิ้ ๆ ไวเ้ ฉยๆ นนั่ เอง
ปจั จบุ นั มปี รมิ าณการใช้ Bitcoin (ทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยี Blockchain)
ปี ค.ศ. 2026 (พ.ศ. 2568) อยปู่ ระมาณ 20,000 ลา้ นเหรญี สหรฐั ฯ หรอื ประมาณ 0.025%
ของ GDP โลก (ทปี่ รมิ าณ 80 ลา้ นลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ) ซงึ่ เมอื่
• การเปลย่ี นแปลงที่ 18 : รถไรค้ นขบั (Driverless Cars) เทคโนโลยแี พรห่ ลายและไดร้ บั ความไวว้ างใจมากขนึ้ มแี นวโนม้
นยิ าม : ในสหรฐั อเมรกิ า จะมรี ถไรค้ นขบั ถงึ รอ้ ยละ10 ของ วา่ การท�ำสญั ญาตา่ งๆ จะด�ำเนนิ การผา่ นเทคโนโลยี Blockchain
รถยนตท์ ง้ั หมด มากยง่ิ ขนึ้ และเขา้ สรู่ อ้ ยละ 10 ของ GDP โลกไดใ้ นปี 2027
ปจั จบุ นั มรี ถไรค้ นขบั ตน้ แบบแลว้ จากคา่ ย Google และ Audi เปน็ ตน้ ไป
รวมทงั้ อยรู่ ะหวา่ งการพฒั นาของคา่ ยรถยนตเ์ กอื บทกุ คา่ ย ซง่ึ เมอื่
เทคโนโลยพี ฒั นา และมปี รมิ าณการผลติ เพม่ิ มากขน้ึ จะท�ำให้ ครบกนั แลว้ ส�ำหรบั 21 เหตกุ ารณท์ จ่ี ะเกดิ ในทศวรรษหนา้
มรี ถไรค้ นขบั ในเชงิ พาณชิ ยเ์ พมิ่ สงู ขน้ึ ทงั้ นร้ี ถไรค้ นขบั ถอื วา่ เปน็ บางเรอื่ งไดเ้ กดิ ขน้ึ แลว้ และจะขยายตวั อยา่ งมากในอนาคต บาง
ประโยชนต์ อ่ สงั คมโดยรวม เนอ่ื งจากลดการปลอ่ ยมลพษิ และ เรอื่ งมแี นวโนม้ ทจ่ี ะเกดิ ผเู้ ขยี นหวงั วา่ ทา่ นผอู้ า่ นจะไดร้ บั สาระ
ลดการจราจรตดิ ขดั ลงไดม้ าก (ทา่ นผอู้ า่ นลองนกึ ถงึ สภาพคนขบั และสามารถน�ำไปวางแผนประยุกต์ใช้ส�ำหรับธุรกิจหรืออาชีพ
รถในกรงุ เทพทมี่ วี นิ ยั ไมป่ าดซา้ ยปาดขวา แตว่ ง่ิ ดว้ ยความเรว็ ของตัวท่านเอง หรือแม้กระท่ังการวางแผนการศึกษาให้บุตร
ทเ่ี หมาะสมและไมม่ วี นั ชนกนั ดสู คิ รบั วา่ การจราจรจะดขี น้ึ และ หลานไดใ้ นอนาคตนะครบั
มลพษิ ทป่ี ลอ่ ยออกมาจะลดลงไดข้ นาดไหน)
• การเปลี่ยนแปลงท่ี 19 : ปัญญาประดิษฐ์และงาน ท้ายที่สุดผู้เขียนขอฝากค�ำคมจากท่านมหาตมะ คานธี
ตัดสนิ ใจ (Al and Decision Making) ไวว้ า่ “The future depends on what you do today.” อนาคตขนึ้
นิยาม : แต่งตั้งปัญญาประดิษฐ์เป็นกรรมการบริหาร กับส่ิงท่ีคุณท�ำในปัจจุบัน ถ้าประเทศไทยและตัวเรายังไม่มี
(Corporate board of directors) เปน็ ครงั้ แรกดว้ ย Al สามารถ การเตรยี มพรอ้ มรบั กบั สงิ่ ตา่ งๆ ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ในปจั จบุ นั อนาคต
จดั การกบั ขอ้ มบู จ�ำนวนมากและซบั ซอ้ นได้ดี ท�ำให้ในอนาคต ที่สวยหรูท่ีจะเกิดข้ึนในหลายประเทศก็อาจกลายเป็นอนาคต
Al จะสามารถหาข้อสรปุ ในการตดั สนิ ใจบนพนื้ ฐานของขอ้ มลู ทน่ี า่ สะพรงึ กลวั ส�ำหรบั เราไดเ้ ชน่ กนั ขอพลงั อย่กู บั ท่านผอู้ ่าน
ทม่ี ี หรอื ผลทเี่ คยเกดิ ขนึ้ ในอดตี ไดง้ า่ ยและรวดเรว็ จงึ เปน็ ไปไดท้ ่ี ทกุ ทา่ นครบั …สวสั ดคี รบั
จะเหน็ การน�ำ Al มาชว่ ยตดั สนิ ใจในการบรหิ ารองคก์ ร
•ข้อบคทดิ คเวหาน็ มขนอ้เีงปส็น�ำขน้อกั คงิดานเหเศน็ รสษ่วฐนกบจิ คุ อคตุ ลสาจหงึ ไกมร่จรม�ำเป็นต้องสอดคล้องกบั
20 อุตสาหกรรมสาร
Biz Focus
• เร่อื ง : นนั ทนาพร อรินทมาโน
ครกศิลาทิพย์ (SILATHIP)
เพิ่มค่าครกไทยผ่านช่องทางออนไลน์
‘ครก’ อุปกรณ์สารพัดประโยชน์คู่ครัว จุดเร่ิมต้นของแบรนด์ศิลาทิพย์ (SILATHIP) เกิดขึ้นจาก
ไทยท่ีทุกบ้านจะต้องมีใช้ประกอบอาหาร ครอบครวั ผผู้ ลติ ครกหนิ ในต�ำบลอา่ งศลิ า จงั หวดั ชลบรุ ี ทเี่ ดนิ ทาง
ในอดีตเรามักคุ้นชินกับครกรูปทรงเดิมๆ ที่ มากว่า 70 ปี จนภายหลังได้ย้ายฐานการผลิตมาประจ�ำที่
มีน�้ำหนักและการน�ำไปใช้อย่างเฉพาะตัว แต่ จงั หวดั ตาก เพราะตอ้ งการวตั ถดุ บิ ทไี่ ดค้ ณุ ภาพถงึ แหลง่ ก�ำเนดิ
ไม่ไดถ้ กู พฒั นาใหแ้ ตกตา่ งและตอบโจทยก์ ลมุ่ ซ่ึงได้ช่ือว่าเป็นหินแกรนิตท่ีมีเน้ือแข็งแรงท่ีสุดในประเทศไทย
ผู้บริโภคอย่างหลากหลาย ทำ� ให้ ‘ศิลาทพิ ย์’ จวบจนเขา้ มารวมกล่มุ กบั ชาวบา้ น ตงั้ เป็นกลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน
แบรนด์ครกหินที่ด�ำเนินกิจการมาจนถึง ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2552 เพอ่ื เขา้ โครงการ OTOP และชว่ ยเหลอื ชมุ ชน
รนุ่ ท่ี 3 ปรบั ตวั สรา้ งสรรค์ไอเดยี ใหมๆ่ ทเี่ พม่ิ ใหช้ าวบา้ นมอี าชพี ซง่ึ ปจั จบุ นั ศลิ าทพิ ยไ์ ด้ นายธารา ธาราศกั ด์ิ
มูลค่าให้ครกธรรมดาโดดเดน่ ไม่เหมือนใคร ทายาทรุ่น 3 ท่ีเข้ามาสานต่อธุรกิจผลิตครกหินต่อจาก
รุ่นพ่อแม่และปู่ย่า มาดูแลและต่อยอดผลิตภัณฑ์ให้โดนใจ
ผู้บริโภคท้งั ในและต่างประเทศ
อุตสาหกรรมสาร 21
จุดเด่นของครกศลิ าทิพย์ คือ มคี รกรูปทรงหลากหลาย สู่ผลิตภัณฑ์อื่นๆ เช่น เปลือกหน้าครกใช้ท�ำกระถางต้นไม้
ดีไซน์ทันสมัย ใช้วัตถุดิบท่ีดี และค�ำนึงถึงการใช้งานของ ท�ำเป็นผนังห้อง ปากครกกับส่วนก้นที่ตัดออกน�ำไปท�ำเป็น
ผู้บริโภคเป็นหลัก โดยมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรม เชิงเทียน แม้แต่เศษผงหรือวัสดุท่ีเหลือก็น�ำมาท�ำเป็น
ครกหินให้มีประโยชน์ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค เคร่ืองประดับได้เช่นกนั
ซง่ึ มาจากเสยี งสะทอ้ นในการใชง้ าน โดยเฉพาะกรณสี ากตกหกั
จงึ เกดิ ไอเดียครกรุ่น‘พัก พิง คว�่ำ’ออกแบบตัวครกให้มีร่อง โดยผลิตภัณฑ์ทุกชิ้นเป็นงานแฮนด์เมดทั้งหมด
ด้านบนเพ่ือใช้ป้องกันการกล้ิงตกแตก หรือสามารถน�ำสาก จดั จ�ำหน่ายในประเทศกว่า 80% และจดั จ�ำหน่ายผ่านช่อง
มาวางพักด้านข้างครกเพื่อตักของด้านในออกจากครกได้ ทางออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์ www.silathip.com, Facebook:
อย่างสะดวก และหากล้างท�ำความสะอาดเสร็จก็สามารถ ศิลาทิพย์ ครกหิน ผลิตภัณฑ์จากหิน รวมถึงส่งออก
คว�่ำครกแล้วล็อกสากป้องกันการตกแตกได้ รวมถึงช่วย ตา่ งประเทศประมาณ 20% เชน่ ฮอ่ งกง พมา่ ลาว ในผลติ ภณั ฑ์
ระบายอากาศท�ำให้ป้องกนั กลน่ิ อบั ชน้ื และเชอ้ื ราได้อกี ด้วย รูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้บริโภค
ในประเทศน้ันๆ จากท่ีเคยขายส่งเป็นหลัก การพัฒนา
นอกจากครกรุ่นพังพิงคว่�ำแล้ว ศิลาทิพย์ยังมีรุ่นหูหิ้ว นวัตกรรมท�ำให้แบรนด์เป็นท่ีรู้จักและได้รับความสนใจมาก
ท่ีพัฒนารูปแบบอย่างต่อเน่ือง โดยออกแบบให้เป็นร่อง ขึ้นจนมีลูกค้าขายปลีกและออนไลน์เพิ่มข้ึนด้วย ซึ่งความ
สามารถน�ำเชือกร้อยเข้าไปแล้วท�ำเป็นหูห้ิวส�ำหรับถือ ต้ังใจเหล่าน้ีท�ำให้สามารถคว้ารางวัลระดับประเทศ และได้
สามารถขนยา้ ยไดส้ ะดวก หรอื น�ำไปเปน็ ของฝากผใู้ หญ่ และ รับการคัดสรรเป็น OTOP 5 ดาว อกี ด้วย
ขยายฐานผู้บรโิ ภคคนรุ่นใหม่ที่หลงใหลในการดีไซน์
wขwwอwwwขwwwอ...pmsบmraaคcneุณhtahagaขceihlr้อa.acnมto.dn.ูลctehlแut//bSลlo.mcะcoaรemlsูป-e//VภceioneาntwพroeNmจperาyew/กnnsee.uwasrs-p2-x82?68N39e4-iw0d.shItDm=l9590000061514
ปัจจุบันศิลาทิพย์มีผลิตภัณฑ์ครกต้ังแต่ทรงโบราณ
ไปจนถึงทรงโมเดิร์นให้เลือกมากกว่า 10 แบบ เช่น ทรง
กะลา กระบอก เหล่ยี ม สบั ปะรด ดอกไม้ เป็นต้น โดยมี
ก�ำลังการผลิตโดยเฉล่ียไซส์ปกติ ขนาด 5 น้ิว ประมาณ
400 ลกู /เดือน ไซส์เลก็ ขนาด 2.5-4 นิว้ ประมาณ 800 ลูก/
เดอื น สนนราคาตงั้ แต่ 120-1,000 บาท นอกจากนย้ี งั รบั ผลติ
ตามออเดอรท์ ล่ี กู คา้ ตอ้ งการดว้ ยและยงั น�ำเศษวสั ดไุ ปพฒั นา
22 อตุ สาหกรรมสาร
Report
• เรื่อง : พงษน์ ภา กจิ โมกข์
Industry Transformation Center : ITC
โครงการปฏิรูปอุตสาหกรรมสู่อนาคต
ศนู ยป์ ฏริ ปู อตุ สาหกรรมสอู่ นาคต (Industry Transformation Center - ITC) จดั กจิ กรรมสมั มนาเพอ่ื แลกเปลย่ี น
องคค์ วามรแู้ ละแนวคดิ ภายใตห้ วั ขอ้ “ศนู ยป์ ฏริ ปู อตุ สาหกรรมสอู่ นาคต (ITC) กบั การพฒั นาผลติ ภณั ฑอ์ ยา่ งเปน็ ระบบ”
ณ สำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.)
ดร.กฤษณ์ไกรพ์ สทิ ธิเสรปี ระทปี ในการสมั มนา ดร.กฤษณไ์ กรพ์ สทิ ธเิ สรปี ระทปี
หัวหน้าโครงการศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมสู่อนาคตและ
นักวิจัยอาวุโส หน่วยวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ ศูนย์
เทคโนโลยโี ลหะและวสั ดแุ หง่ ชาติ (MTAC) ส�ำนกั งานพฒั นา
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) ไดก้ ลา่ วถงึ
ศูนย์ปฏริ ปู อตุ สาหกรรมสู่อนาคตว่า เป็นการท�ำงานร่วม
กันระหว่าง 3 กระทรวง คอื กระทรวงอุตสาหกรรม โดย
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี โดยสถาบันพลาสติก และกระทรวงดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคม โดยศูนย์เทคโนโลยีโลหะและ
วสั ดแุ ห่งชาติ (MTEC) เพอื่ ร่วมกนั ขับเคล่อื นประเทศไทย
เข้าสู่ยคุ 4.0 อย่างมศี ักยภาพ
อุตสาหกรรมสาร 23
“โครงการนี้เป็นอีกหน่ึงโครงการท่ีเราก�ำลัง
ประยุกต์และเปล่ียนแปลงเพ่ือรองรับการเข้าสู่สังคม
ยุค 4.0 ทกุ วนั นอ้ี ะไรก็ 4.0 ไปหมด จากการที่มคี ล่นื
ดิจิทัลเข้ามา เราต้องเตรียมรับการเปลี่ยนแปลงน้ี
อย่างไร โครงการ Industry Transformation Center
กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมจะน�ำ
เอาเทคโนโลยีเข้ามาปรับรูปแบบ เปล่ียนแปลง
กระบวนการในอุตสาหกรรมของไทยร่วมกับ
กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
เราด�ำเนนิ งานขบั เคลอื่ นรว่ มกนั ทง้ั 3 กระทรวง อนั นคี้ อื
จุดเร่ิมต้นของศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมสู่อนาคต
Industry Transformation Center” ดร.กฤษณ์ไกรพ์
กล่าว
ดร.กฤษณ์ไกรพ์กล่าวปิดท้ายว่า ศูนย์ปฏิรูป
อตุ สาหกรรมสอู่ นาคตจะเปน็ ตวั กลางทค่ี อยสอื่ สารให้
สังคมได้รบั รู้ ขณะน้ีเป็นการบรู ณาการร่วมกนั ของ 3
กระทรวง แตใ่ นอนาคตคาดวา่ อาจจะเพม่ิ เปน็ 4 หรอื
5 กระทรวง โดยจะร่วมมอื กันเพ่อื ท�ำให้ประเทศไทย
และภาคอุตสาหกรรมในประเทศสามารถรองรับ
ความต้องการ อีกทั้งยังช่วยเสริมความแข็งแรงให้
กับทักษะของแรงงานในอุตสาหกรรมของไทยให้มี
ประสิทธภิ าพ
24 อุตสาหกรรมสาร
ด้าน นายบูรณางค์ ศขุ สมิติ รองผู้อ�ำนวยการ
ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมสู่อนาคต กล่าวว่า ปัจจุบัน
การเปล่ียนแปลงทุกอย่างล้วนเกิดข้ึนจากเทคโนโลยี
และการเปลีย่ นแปลงมผี ลกับคนมากมาย อาจกล่าว
ได้ว่ามกี ารเกิดลกู โซ่พายขุ องการเปลย่ี นแปลง
“ทางศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมสู่อนาคตจึงมีการ
ต้งั เป้าหมายไว้ 4 เรอื่ ง คอื Matching, Innovate, Fund
และ Share ซ่ึงการร่วมมือกันของทั้ง 3 กระทรวงน้ัน
มุ่งเน้นให้คนสามารถท�ำงานร่วมกับเครื่องจักร
เพื่อให้เกิดกระบวนการผลิตที่ครบวงจรจนออกมา
เป็นผลติ ภณั ฑ์ ทางศูนย์ฯ น�ำเอาเครอื่ งจักร รวมท้ัง
เทคโนโลยีนวัตกรรมเข้ามาช่วยผู้ประกอบการเพ่ือ
ให้สอดรับกับเร่ือง 4.0 ที่เป็นพันธกิจหน่ึงของศูนย์”
นายบูรณางค์กล่าว
ส�ำหรับศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมฯ แบ่งออกเป็น
2 โซน คือ อาคารต้นคิด (Ton–Kit Studio) ใช้
ส�ำหรับให้เจ้าของธุรกิจเข้ามาขอค�ำปรึกษาหรือขอ
ค�ำแนะน�ำกบั ทางศูนย์ อกี อาคารเป็น อาคารต้นกล้า
(Ton–Kla Gallery) อาคารท่ีใช้ส�ำหรับการเปิดพ้ืนท่ี
เพื่อประชุม และจัดแสดงผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆ
ท้ังน้ีการด�ำเนินงานของศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมฯ
ตง้ั แตเ่ ดอื นสงิ หาคม 2560 ถงึ เดือนมกราคม 2561
มผี เู้ ขา้ ใชบ้ รกิ ารและเขา้ เยย่ี มชมศนู ยจ์ �ำนวน 1,118 คน
แบ่งเป็น ภาคการศึกษา 105 คน ภาคเอกชน
463 คน และภาครฐั 550 คน
ส�ำ ห รั บ ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ห รื อ เ จ ้ า ข อ ง ธุ ร กิ จ
ท่านใดสนใจเข้าเย่ียมชมหรือต้องการค�ำปรึกษาจาก
ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมฯ สามารถดูรายละเอียด
ได้ท่เี วบ็ ไซต์ www.itc.or.th โทร 0 2391 5340 – 43
หรือเข้าไปท่ีศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมฯ ซอยตรีมิตร
ถนนพระราม 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย
กรงุ เทพมหานคร
วขงาทิอนยขสาอัมศบมาคสนตุณารศข์ปูน้อรยะม์ปเูลทฏแศริ ไลูปทะอยรุตปูสสาภ�ำหนากพกั รงจราามนกสพู่อฒั นนาคาวตทิ (ยITาCศ)ากสบั ตกรา์แรลพะฒัเทนคาโนผโลลติ ยภแี ัณห่งฑช์อายต่าิ ง(สเปวท็นชระ.)บอบทุ ยวนัานทว่ี 1ิท3ยามศนี าาสคตมร์ป2ร5ะ6เ1ทณศไทอยาคจา.ปรศทนู มุ ยธ์ปารนะี ชมุ อทุ ยาน
อุตสาหกรรมสาร 25
Showcase ออกซิเจน ฮู้ด
• เรื่อง : บณั ฑิตา ศริ พิ นั ธ์ เครื่องมือแพทย์สัญชาติไทย
เดินหน้าสู่อาเซียน
อีกหนึ่งธุรกิจท่ีน่าจับตามองในปัจจุบัน
คือ ธุรกิจอุปกรณ์ทางการแพทย์ เนื่องจาก นายกิตติ โควินท์ กรรมการผู้จัดการ ห้างหุ้น
ประเทศไทยก�ำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ส่วนจ�ำกัด โควิน ซัพพลาย กล่าวว่า “แนวคิดเร่ิมต้น
สมบูรณ์แบบ นั่นหมายถึงความจ�ำเป็นในการ ในการท�ำธุรกิจอุปกรณ์การแพทย์มาจากความคุ้นชิน
พฒั นาทางดา้ นการแพทยท์ จ่ี ะตอ้ งครอบคลมุ ในสายอาชีพ เพราะตนเคยเป็นพยาบาลเวชศาสตร์
และเข้าถึงง่าย อีกท้ังยังถือเป็นการตอบรับ ใต้น้�ำ กรมแพทย์ทหารเรือ สั่งสมประสบการณ์มากว่า
แนวคดิ ประเทศไทย 4.0 ทมี่ เี ครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ 25 ปี ท�ำให้มองเห็นปัญหาการใช้งาน รวมถึงการ
การแพทย์เป็นหนึ่งในกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ ขาดแคลนอุปกรณ์การแพทย์มาโดยตลอด เพราะเดิมที
ที่รัฐบาลให้การส่งเสริม เป็นเหตุให้ โควิน หน่วยงานต่างๆ จะใช้เครื่องให้ออกซิเจนชนิดครอบ
ซพั พลาย เลง็ เหน็ ขอ้ ไดเ้ ปรยี บในการทำ� ธรุ กจิ ศีรษะ (Oxygen Hood) ท่ีน�ำเข้าจากต่างประเทศใน
เกยี่ วกบั อปุ กรณก์ ารแพทยส์ ญั ชาตไิ ทยขนึ้ มา ราคาช้นิ ละประมาณ 12,000 บาท อกี ท้งั ยงั ไม่มบี รกิ าร
หลังจากขายอีกด้วย ท�ำให้เม่ือเสียจะต้องซื้อใหม่อย่าง
เดยี ว จนเมอ่ื ตนมโี อกาสผนั ตวั มาท�ำธรุ กจิ จงึ เกดิ แนวคดิ
การท�ำอุปกรณ์ให้ออกซิเจนชนิดครอบศีรษะสัญชาติไทย
ใช้วัสดุของไทย ผลิตในประเทศไทย เพ่ือลดต้นทุน
การผลติ ขน้ึ มา”
26 อตุ สาหกรรมสาร
เดนิ หนา้ ธรุ กจิ ดว้ ยการปรกึ ษาผรู้ ู้
เมื่อได้แนวคิดธุรกิจแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซ่ึงก็ได้น�ำข้อมูลต่างๆ
ท่ีรวบรวมไว้ส�ำหรับการประกอบธุรกิจเข้าไป
ป รึ ก ษ า ผู ้ เ ชี่ ย ว ช า ญ อ ย ่ า ง ส ถ า บั น พ ล า ส ติ ก
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เพราะต้องการที่จะให้
ผลิตภัณฑ์ของตนใช้วัสดุที่ได้มาตรฐาน แต่ก็ต้อง
มตี ้นทนุ ทไ่ี ม่สงู มาก เม่อื ยน่ื เรอื่ งเข้ามาปรึกษาทาง
สถาบันพลาสติกจึงได้รับเลือกให้รับทุนสนับสนุน
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และหลังจากเข้ามาพัฒนา
ร่วมกันจึงได้ข้อสรุปในการเลือกใช้พลาสติกเกรด
เครื่องมือการแพทย์มาใช้เป็นวัสดุหลัก อีกทั้ง
ยงั ปรบั ปรงุ คณุ สมบตั ิ เพม่ิ วสิ ยั ทศั นใ์ นการมองเหน็
ผ่านแผ่นฟิล์มที่คลุมศีรษะของผู้ป่วยและพัฒนา
เซฟตวี้ าลว์ (Safety Valve) ทจ่ี ะชว่ ยใหผ้ ปู้ ว่ ยสามารถ
หายใจได้ในช่วงเวลาที่หมวกยุบตัวลง จากการ
พัฒนาร่วมกับสถาบันพลาสติกท�ำให้ลดต้นทุนลง
ได้ 2-3 เท่าตวั เมอ่ื เทยี บกบั ราคาน�ำเข้าเหลือเฉลย่ี
เพยี งชิน้ ละ 5,000 บาท
อตุ สาหกรรมสาร 27
เพมิ่ ความมน่ั ใจดว้ ยมาตรฐานการบรกิ าร
อีกหน่ึงปัญหาที่พบคือ การใช้เครื่องให้ออกซิเจน
ชนิดครอบศีรษะที่น�ำเข้าจากต่างประเทศจะไม่มีบริการ
หลงั การขาย โควนิ ซพั พลายจงึ อดุ รอยรว่ั นโ้ี ดยการแตกไลน์
ให้บริการรับบ�ำรุงห้องปรับความดันบรรยากาศตามสถาน
พยาบาลต่างๆ แผนต่อมาคือ การรับจ้างสร้างห้องปรับ
ความดนั บรรยากาศใหก้ บั โรงพยาบาล เพราะปจั จบุ นั บรษิ ทั
ต่างประเทศจะเป็นผู้รบั เหมา ซงึ่ มีต้นทนุ สูงถงึ ประมาณ 10
ล้านบาท แต่ถ้าเราสามารถสร้างเองได้จะช่วยลดต้นทุนได้
ถึงครึง่ ต่อคร่งึ
พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ แตกไลนส์ อู่ าเซยี น
กลุ่มเป้าหมายหลกั ของ โควนิ ซพั พลาย คอื หน่วยงาน
ภาครฐั ต่างๆ เช่น กรมแพทย์ทหารเรือ เป็นต้น ซ่ึงถือว่ายงั
ไม่แพร่หลายเป็นท่ีรู้จักมากนัก ในปีน้ีทางโควิน ซัพพลาย
มงุ่ เนน้ ทางดา้ นการตลาดและการพฒั นาผลติ ภณั ฑเ์ ปน็ หลกั
โดยปัจจุบันอยู่ในกระบวนการร่วมมือกันกับกรมส่งเสริม
อุตสาหกรรมในการท�ำมาตรฐาน ISO 13485 ด้านเครื่องมือ
แพทย์ระดับอาเชียนให้ส�ำเร็จ เพ่ือเพิ่มโอกาสในการขยาย
การใช้ผลิตภัณฑ์นอกห้องความดันอากาศในรถกู้ชีพ กรณี
ผู้ป่วยท่ีประสบอุบัติเหตุอยู่ในสภาวะติดเชื้อในทางเดิน
หายใจ หรอื สภาวะพรอ่ งออกซเิ จน การใชเ้ ครอ่ื งใหอ้ อกซเิ จน
ชนิดครอบศรี ษะจะท�ำให้การรกั ษาเป็นไปได้ง่ายขน้ึ
เมื่อได้รับมาตรฐาน ISO 13485 แล้วถือเป็นการเพ่ิม
โอกาสทางด้านการตลาด รวมไปถึงการขยายตลาดไปยัง
ประเทศอาเซียนได้ ซึ่งเคร่ืองให้ออกซิเจนชนิดครอบศีรษะ
ถอื เปน็ เครอื่ งมอื การแพทยท์ จี่ �ำเปน็ เพราะชว่ ยรกั ษาไดห้ ลาก
หลายโรค อาทิ อาการเจบ็ ป่วยจากการด�ำนำ้� โรคตดิ เชือ้ ใน
ระบบทางเดนิ หายใจ หูดบั เฉียบพลนั แผลตดิ เช้ือ ฯลฯ
โข2อโคท2ีเอม/วร2ข.นิลอ0หkซ8บมiพัtคู่1ti2พ97ุณ03ลต5uขา�mำย้อ5บ35มล@3ูลบ3hแ,าoงtล0mป8ะ่าaร9ilปู2.อc0ภ�oำ0เmาภ6พอ6จเ3มา9อืกง จงั หวดั ราชบุรี 70000
28 อุตสาหกรรมสาร
SMEs Focus
• เรือ่ ง : นชุ เนตร จกั รกลม
Young Happy ส่ือสังคมออนไลน์ผู้สูงวัย
ธุรกิจสตาร์ทอัพต้นแบบ
จากแนวโน้มการเพ่ิมจ�ำนวนประชากรผู้สูงอายุ
ท่ีเพิ่มขึ้นกว่า 10% ตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา และ
คาดวา่ ภายในปี 2568 ประเทศไทยจะเขา้ สสู่ งั คมสงู อายุ
โดยสมบรู ณ์ หรอื มสี ดั สว่ นผสู้ งู อายเุ กนิ 60 ปมี ากกวา่
20%นนั่ เองซง่ึ สง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงในหลายดา้ น
โดยเฉพาะพฤติกรรมการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุในสังคม
ปจั จบุ นั ทต่ี อ้ งพงึ่ พาเทคโนโลยใี นการดำ� เนนิ ชวี ติ Young
Happy ส่ือสังคมออนไลน์ส�ำหรับผู้สูงวัยโดยเฉพาะ
จงึ ถกู สรา้ งสรรคข์ นึ้ ดว้ ยไอเดยี ของสตารท์ อพั สญั ชาติ
ไทย เพอ่ื ชว่ ยแกป้ ญั หาสงั คมใหก้ บั ผสู้ งู อายคุ วบค่ไู ปกบั
การเชอื่ มโยงผสู้ งู อายแุ ละเทคโนโลยใี หเ้ กดิ ความเขา้ ใจและ
นำ� ไปปรบั ใช้ไดอ้ ยา่ งรเู้ ทา่ ทนั โดยในปที ผ่ี า่ นมาภายในงาน
Thailand Industry Expo 2017 - Thailand Industry
4.0 : One Transformation, Thousand Opportunities
ที่ทางกระทรวงอุตสาหกรรมจัดข้ึน Young Happy
กเ็ ปน็ หนง่ึ ในธรุ กจิ สตารท์ อพั ตน้ แบบทเี่ ขา้ รว่ มแสดงผล
งานในโซน Creative and Innovation Entrepreneur
โซนท่ีรวมสินค้าและบริการด้านความคิดสร้างสรรค์
และนวัตกรรมท่ีโดดเด่น ซึ่งได้รับความสนใจอย่าง
ผเู้ ขา้ ชมงานอยา่ งเนอื งแนน่
อุตสาหกรรมสาร 29
นายธนกรณ์ พรหมยศ Co-Founder Young Happy เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน รวมถึงยังเป็นการสร้างคอมมิวนิต้ี
เปิดเผยว่า ในปัจจุบันเหตุผลหลักๆ ที่ท�ำให้ผู้สูงอายุสนใจ ออนไลน์ซึ่งมีการจัดกิจกรรมหรือเวิร์คช็อปต่างๆ ให้ผู้สูง
เลน่ โซเชยี ลมเี ดยี เปน็ เพราะอยากพดู คยุ กบั ครอบครวั โดยเฉพาะ อายุท่ีสนใจเข้าร่วมเพ่ือพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ อาทิ
ลูกหลานเพื่อคลายความคิดถึง และเพ่ือติดต่อส่ือสารกับ การสอนใช้งานมือถือ การสอนตัดต่อคลิปวีดิโอ เป็นต้น
เพอ่ื นวยั เดยี วกนั แต่ด้วยอปุ สรรคด้านการเรยี นร้ขู องผู้สงู วยั ตลอดจนการวางแนวทางการสร้างงานอดิเรกท่ีสามารถ
ท่ีอาจต้องใช้ระยะเวลาในการท�ำความเข้าใจในการใช้งาน ต่อยอดสู่การสร้างรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุ อาทิ การสอนวิธี
เทคโนโลยแี ละโซเชยี ลมเี ดยี การไมก่ ลา้ ปรกึ ษาหรอื ขอความ การชงกาแฟจากคอร์ส Happy Job ซ่งึ จัดท�ำหลักสตู รเฉพาะ
ชว่ ยเหลอื ดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยกี บั คนในครอบครวั หรอื ความ ส�ำหรบั ผสู้ งู อายุ ทเี่ นน้ การเรยี นการสอนทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย ไมเ่ รง่ รบี
วิตกกังวลในช่วงเวลาว่างหลังเกษียณอายุ ฯลฯ ซึ่งปัจจัย ผทู้ ไี่ มม่ พี นื้ ฐานมากอ่ นกส็ ามารถเรยี นได้ และเมอื่ จบหลกั สตู ร
เหล่าน้ีล้วนขัดขวางการใช้งานโซเชียลมีเดียของผู้สูงอายุ ยงั ไดร้ บั ใบ Certicfi ate เพอื่ น�ำไปสมคั รงานหรอื สามารถเปิด
จึงเปิดตวั ธรุ กจิ เพอ่ื สงั คม Young Happy ขน้ึ บนแพลตฟอร์ม รา้ นตวั เองได้ ท�ำใหแ้ มผ้ สู้ งู อายจุ ะอยบู่ า้ นคนเดยี วกส็ ามารถ
ที่หลากหลาย ได้แก่ เวบ็ ไซต์ ไลน์ เฟซบุ๊ก และแอปพลิเคชัน คลายความเหงาและด�ำเนนิ ชวี ติ ไดอ้ ยา่ งมคี ณุ คา่ สนกุ สนาน
ท่ีรองรับได้ท้ังระบบ Android และ IOS ภายใต้คอนเซ็ปต์ และสามารถพ่ึงพาตัวเองได้อย่างมีความสุขด้วยเนื้อหา
High Touch to High Tech โดยเน้นการพฒั นาฟังก์ชน่ั ต่างๆ สารประโยชน์ต่างๆ จาก Young Happy นนั่ เอง
ให้ตอบโจทย์พฤตกิ รรม ความต้องการ และการใช้งานของ
ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุม เหมาะสม อีกท้ังยังสะดวกต่อ wwwขwอwwwwขwwwwอ....ypfdบaoiogcuคseitntณุbatgoloahdขogaakอ้epy.mcp.มcoyaoูลm.gomแ.r/cgyลoomะuรngปู hภapาpพyจseาก
ลกั ษณะการใช้งานของแต่ละบคุ คล
โดยเนื้อหาหลักของ Young Happy ว่าด้วยเร่ืององค์
ความรู้ครบวงจรส�ำหรับผู้สูงอายุ ไม่ว่าจะเป็นการใช้งาน
โซเชียลมีเดยี เพ่อื เข้าสังคม ประโยชน์ด้านสุขภาพ การดแู ล
ตัวเองในชีวิตประจ�ำวัน ด้วยข้อมูลที่เข้าใจง่าย มีข้ันตอน
อย่างละเอียดพร้อมภาพประกอบท่ีสามารท�ำตามได้ทันที
มีฟีเจอร์ส�ำหรับช่วยเหลือผู้สูงอายุและบริการ Call Center
30 อตุ สาหกรรมสาร
Development
• เรื่อง : นุชเนตร จกั รกลม
กสอ. ดัน วีน อินเตอร์เนช่ันแนล
เจ้าของแบรนด์ชุดช้ันในสตรี “เวียนนา”
พลิกโฉมธุรกิจด้วยดิจิทัลรูปแบบ B2B บน Alibaba.com
บริษัท วีน อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด หนึ่งในบริษัทฯ
ภายใต้เครือสหกรุ๊ป ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อ 9 เมษายน 2530
โดยใช้ช่ือ บริษัท วีน จ�ำกัด ก่อนจะเปล่ียนเป็น บริษัท
วนี อนิ เตอรเ์ นชน่ั แนลจำ� กดั เมอื่ ปี7ปที ผ่ี า่ นมาดว้ ยวสิ ยั ทศั น์
ในการนำ� เสนอผลติ ภณั ฑค์ ณุ ภาพเพอื่ รองรบั ความตอ้ งการ
ของผู้บริโภคอย่างซื่อสัตย์และมีคุณธรรม รวมท้ังมุ่งม่ัน
สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ท่ีมีประโยชน์ สร้างความสุข ความ
พงึ พอใจ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ใหก้ บั ลกู คา้ สมาชกิ และ
สงั คมใหด้ ยี งิ่ ขน้ึ ผา่ นระบบสมาชกิ และขายตรงโดยผลติ ภณั ฑ์
หลักของบริษัทฯ ได้แก่ ชุดชั้นในสตรีแบรนด์เวียนนา
ที่มีจุดเด่นเรื่องคุณภาพของวัสดุที่น�ำมาใช้ในการผลิต
การตัดเย็บท่ีสนองตอบสรีระของผู้สวมใส่ที่แตกต่างกัน
ตลอดจนการบริการจากทีมงานผู้เช่ียวชาญ ร่วมด้วย
ผลิตภัณฑ์อื่นๆ ที่เก่ียวข้องกับสตรี และผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ใน
ครวั เรอื นทง้ั หมดกวา่ 500รายการอาทิเสอ้ื ผา้ เครอื่ งสำ� อาง
เคร่ืองประดับ อาหารเสริม ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ สินค้า
อปุ โภค จกั รเยบ็ ผา้ แบรนดด์ งั จากประเทศญปี่ นุ่ จาโนเม่ และ
จกั รเยบ็ ผา้ เอลนา่ ฯลฯ
อุตสาหกรรมสาร 31
จากอุดมการณ์ในการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์และ
บริการด้วยนวัตกรรมทันสมัยให้ได้มาตรฐานระดับสากล
เพ่ือมอบส่ิงที่ดีท่ีสุดให้แก่ลูกค้ามาตลอด 30 ปี ส่งผลให้
‘เวียนนา’ ครองต�ำแหน่งผู้น�ำอุตสาหกรรมชุดช้ันในระบบ
ขายตรงของเมอื งไทย ทม่ี ยี อดขายเปน็ อนั ดบั หนงึ่ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
โดยปัจจุบันบริษัทฯ ท�ำการตลาดผ่านระบบสมาชิกใน
2 กลุ่มธรุ กจิ หลัก คือ 1. กลุ่มธรุ กิจชดุ ช้นั ในและผลติ ภณั ฑ์
เพ่ือสุขภาพและความงามสตรี ได้แก่ ชุดช้ันในเวียนนา,
เลอวดี า้ พรีเว่ และเบสซีเลค็ ชน่ั 2. กลุ่มธุรกจิ จักรเย็บผ้าและ
งานฝีมือ ได้แก่ จักรเย็บผ้าจาโนเม่และจักรเย็บผ้าเอลน่า
โดยมฐี านลกู คา้ ทแ่ี ขง็ แกรง่ มากกวา่ 300,000 รายทว่ั ประเทศ
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คอื กลุ่มสมาชิกผู้ใช้สินค้าและกลุ่มสมาชกิ
ธุรกิจ อีกทั้งยังขยายไลน์ธุรกิจส่งออกสินค้าไปยังประเทศ
ต่างๆ อาทิ สงิ คโปร์, ฮ่องกง, จนี , มาเลเซยี ฯลฯ
และเพ่ือให้ตอบโจทย์การแข่งขันในยุคปัจจุบัน บริษัท
วนี อินเตอร์เนชน่ั แนล จ�ำกดั ได้เปิดเผยแผนการขับเคล่อื น
ธุรกิจของชุดช้ันในสตรีเวียนนาในเชิงรุกตามยุทธศาสตร์
4.0 โดนเน้นกลยุทธ์ด้านดิจิทัล มาร์เก็ตต้ิง แบบครบ
วงจรที่ครอบคลุมทุกช่องทาง เพ่ือปรับภาพลักษณ์แบรนด์
เกา่ แกใ่ ห้ทันสมัยมากขึ้นทั้งด้านผลิตภัณฑ์และช่องทางการ
จดั จ�ำหนา่ ย ซง่ึ จะเปน็ การตอ่ ยอดความแขง็ แกรง่ ดา้ นการตลาด
และขยายโอกาสการเตบิ โตเพม่ิ ข้นึ ด้วยการพฒั นา Mobile
Application ช่อื Wieanna ขนึ้ เพอ่ื เป็นช่องทางซอ้ื ขาย อพั เดท
สนิ คา้ ใหม่ บอกโปรโมชนั่ สทิ ธพิ เิ ศษ ตลอดจนกจิ กรรมตา่ งๆ
ผา่ นแอปฯ ซงึ่ เปน็ การอ�ำนวยความสะดวกใหแ้ กล่ กู คา้ ในการ
ติดตามข้อมูลข่าวสารได้รวดเร็ว รวมถึงแคมเปญ Wienna
32 อุตสาหกรรมสาร
Drop Ship ที่เน้นการสร้างโอกาสใหม่ทางธุรกิจภายใต้
คอนเซ็ปต์ “ไม่มีเงินทุนก็รวยได้-ย่ิงโพสต์ย่ิงได้ ยิ่งโพสต์
ย่ิงรวย” เพียงแค่มีโซเชียลมีเดีย ไม่ว่าจะเป็น เฟซบุ๊ก
อินสตราแกรม ทวิตเตอร์ ฯลฯ ก็สามารถท�ำธุรกิจร่วมกับ
เวียนนาได้ โดยการโพสต์รูปผลิตภัณฑ์สวยๆ ของเวียนนา
และข้อมูลสั้นๆ ผ่านช่องทางของตนเอง เมื่อมีออเดอร์
ก็สามารถมาส่งั ซอ้ื สนิ ค้าได้ ซ่ึงเป็นช่องทางการขายรูปแบบ
ใหม่ท่ีไม่มขี ้นั ตอนยุ่งยาก ไม่ต้องลงทุน ไม่ต้องกกั ตุนสินค้า
ลดอตั ราเสย่ี งในการท�ำธุรกจิ ซึ่งเหมาะกบั ไลฟ์สไตล์ของคน
รุ่นใหม่ทน่ี ยิ มซ้ือ-ขายสินค้าบนช่องทางออนไลน์
นอกจากนนั้ ในปที ผ่ี า่ นมา บรษิ ทั วนี อนิ เตอรเ์ นชน่ั แนล
จ�ำกัด ยงั สามารถคว้ารางวลั ชนะเลศิ จาก กจิ กรรมส่งเสรมิ
SMEs ท�ำธุรกิจในรูปแบบ B2B ผ่านเว็บไซต์ Alibaba.com
ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพ SMEs ด้วยระบบ Digital
โดยส�ำนักพัฒนาการจัดการอุตสาหกรรม กรมส่งเสริม
อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม ซงึ่ เปน็ โครงการตอ่ เนอื่ ง
ท่ีจดั ขน้ึ เพ่อื ส่งเสริม สนบั สนุน และพฒั นาขดี ความสามารถ
ของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) โดย
น�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการเพิ่มช่องทางการค้า
ท่ีมีประสิทธิภาพด้วยการประยุกต์ใช้ระบบ e-Commerce
ผ่านเว็บไซต์ Alibaba.com ด้านคุณสมบัติของ SMEs
ที่เข้าร่วมโครงการจะต้องเป็นผู้ประกอบการที่อยู่ในภาค
การค้าการผลิตภายใต้ 13 สาขาอุตสาหกรรมท่ีก�ำหนดไว้
มีท่ีตั้งของส�ำนักงานชัดเจนอยู่ในบริเวณกรุงเทพ-ปริมณฑล
และสามารถตรวจสอบได้ และหลงั จากการเข้าร่วมกจิ กรรม
บริษัท วีน อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ได้คะแนนรวมจาก
การท�ำ RFQ, การจัดท�ำ mini site และการ log-in เข้าดู
Inquiry จากผซู้ อ้ื ท�ำใหค้ รองต�ำแหนง่ ผชู้ นะและไดเ้ ดนิ ทางไป
เย่ียมชมส�ำนักงานใหญ่ของ Alibaba ณ เมืองหางโจว
สาธารณรัฐประชาชนจีน และน�ำองค์ความรู้ตลอดจน
ประสบการณ์ท่ีได้รับมาปรับใช้ในการพัฒนาช่องทางการ
จัดจ�ำหน่ายสินค้าผ่านระบบออนไลน์ที่มีศักยภาพมากข้ึน
โดยเฉพาะอย่างย่งิ บนเวบ็ ไซต์ Alibaba.com
บขเเโซวขทออร็บตรษิยข.ไบเัทซอจ0าตรบงว2์ญิคีนค6wอ8รณุwแอ9าwหษขนิ 8ลเอ้.ฎ5wตม2มรอi0์eลูร7กn์เแ.รนcแงุลoชยเ.ะทน่ัtกhรพแูป1นม5ภลหถาาจพนน�นำคจกพราัดกร1ะ0ร1า2ม0 3 แขวงบางโคล่
อตุ สาหกรรมสาร 33
Innovation
• เรอื่ ง : บณั ฑติ า ศริ พิ นั ธ์
4 นวัตกรรมสตาร์ทอัพสัญชาติไทย
คว้าโอกาสด้วยดิจิทัล
ปจั จบุ นั ประเทศไทยมธี รุ กจิ หลากหลายแขนงการแยง่ ชงิ โอกาสในการเขา้ ถงึ ผบู้ รโิ ภคจงึ สำ� คญั ซง่ึ สง่ิ ทกี่ ำ� ลงั ไดร้ บั ความนยิ ม
คอื การใชแ้ อปพลเิ คชนั และเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ เปน็ สอื่ กลางในการนำ� เสนอผลติ ภณั ฑ์ และการบรกิ ารทที่ งั้ สะดวกและเขา้ ถงึ งา่ ย และ
จะยง่ิ นา่ สนใจ หากมกี ารใหข้ อ้ มลู ทเ่ี ปน็ ประโยชนแ์ ละแตกตา่ งอยา่ งมเี อกลกั ลกั ษณ์
PharmaSafe ใช้บริการแอปพลิเคชันได้ก็ต้องเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล
ตวั ชว่ ยสำ� หรบั ผรู้ กั สขุ ภาพ ท่ีรวมมือกับ PharmaSafe เท่าน้ัน ซ่ึงตอนนี้เริ่มต้นที่แรก
ที่โรงพยาบาลค่ายสรุ นารี จงั หวดั นครราชสมี า”
แอปพลิเคชันในหมวดของการให้ความรู้และช่วยเหลือ
กับระบบช่วยแจ้งเตือนการรับประทานยาผ่านทางโทรศัพท์ ทางด้านการพัฒนาธุรกิจตั้งเป้าไว้ว่าภายในปี 2561
มือถือ รวมถึงเก็บข้อมูลประวัติการใช้ยาท�ำให้ผู้ใช้งาน จะมีกลุ่มผู้ใช้บรกิ ารอยู่ทป่ี ระมาณ 200,000 ราย และ 1 - 2
ลดการเกิดปัญหาทานยาผิดหรือไม่ตรงเวลา นายจักร ปีข้างหน้า จะก้าวสู่การเป็นผู้น�ำระบบส่งข้อมูลดูแลการใช้ยา
โกศลั ยวตั ร ผู้ก่อตงั้ แอปพลเิ คชนั และซีอีโอของ PharmaSafe ของผู้ป่วย รวมถึงเป็นแอปพลิเคชันแนะน�ำการใช้ยาที่ดีที่สุด
กล่าวว่า “PharmaSafe คือ ชุมชนการใช้อย่างปลอดภัย ของประเทศ และจะผลักดันการขยายธุรกิจไปในตลาด
ท่ีมีระบบเชื่อมต่อข้อมูลจากโรงพยาบาล เพ่ือแจ้งเตือน ต่างประเทศด้วย PharmaSafe จึงถือเป็นแอปพลิเคชัน
การรับประทานยาได้อย่างถูกต้องตรงตามเวลา อีกท้ังยัง น้องใหม่ท่ีน่าสนใจไม่น้อย ด้วยรูปแบบการให้บริการท่ีเน้น
โชว์ให้เห็นรูปของยาเพื่อป้องกันการผิดพลาดและเก็บข้อมูล การให้ข้อมูล แสดงตัวว่าเป็นผู้ช่วยคนส�ำคัญของคุณและ
เอกสารประวตั กิ ารใชย้ าตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ขอ้ มลู ประวตั ิ สามารถดาวน์โหลดมาใช้งานได้ฟรี
การแพย้ า ยาทม่ี ผี ลขา้ งเคยี งตลอดจนการตรวจสอบยาทไี่ ดร้ บั
ว่าถูกต้องหรือไม่ แสดงยอดยาคงเหลือ ผู้บริโภคจะสามารถ
34 อุตสาหกรรมสาร
Haupcar
เดนิ ทางสะดวกดว้ ยคารแ์ ชรงิ่
ผู้ให้บรกิ ารคาร์แชรง่ิ รายแรกของประเทศไทย น�ำเสนอ
ผ่านเทคโนโลยีแบบใหม่ที่จะท�ำให้การใช้บริการรถเช่ามี
ความสะดวกและคล่องตวั มากขนึ้ จดั เป็นสตาร์ทอพั ในกลุ่ม
Mobility Tech ของไทยท่ีมีความโดนเด่นในเร่ืองของความ
คิดสร้างสรรค์
นายสโรช บุญศิริพนั ธ์ ผู้ร่วมก่อต้ังและ Chief Strategy ธรุ กิจลดต้นทนุ ได้เป็นอย่างดี อกี ทง้ั ยงั สามารถท�ำงานได้ทกุ ท่ี
Ofcif er ของ Haupcar เปิดเผยว่า “Haupcar เป็นผู้ให้บริการคาร์ ทกุ เวลา ทงั้ การวางแผนธรุ กจิ อยา่ งรอบครอบ ตลอดจนจดั การ
แชร่ิงรายแรกของประเทศไทย โดยใช้เทคโนโลยีการควบคุม บัญชี จัดการรายรับรายจ่าย และวางแผนภาษี ครบครัน
ตน้ ทนุ การจดั การรถผา่ นการใชโ้ มบายแอปพลเิ คชนั ในการจอง ในเว็บไซต์เดียว สร้างความมั่นคงให้แก่องค์กรพร้อมเข้าสู่
รถและส่งกุญแจรถให้โดยเจ้าหน้าท่ี ซึ่งต้งั แต่เปิดให้บรกิ ารมา การเป็นผู้ประกอบการยคุ 4.0
มกี ารจองมากกว่า 2,300 ครงั้ คดิ เป็นระยะเวลาท่รี ถให้บรกิ าร
มากกว่า 2 หม่นื ช่ัวโมง มีระยะทางขบั ขีร่ วมมากกว่า 200,000 Seekster
กโิ ลเมตร และมแี นวโน้มเพ่ิมขน้ึ อย่างต่อเน่อื ง” แมบ่ า้ น-ชา่ งแอร์ บรกิ ารท่ีใชส่ ำ� หรบั คณุ
ซึ่งเหตุผลหลักท่ีท�ำให้คุณสโรชเลือกท�ำธุรกิจน้ีคือการ นายชัชนาท จรัญวัฒนากิจ ผู้ร่วมก่อตั้ง Seekster
มองเห็นความต้องการในอนาคต เน่ืองจากประเทศไทยก�ำลัง เปิดเผยว่า บริษัทฯ มีรูปแบบธุรกิจเป็นแพลตฟอร์มส�ำหรับ
มีการพัฒนาทางด้านคมนาคม ก่อให้เกิดสายรถไฟฟ้ากว่า การหาผใู้ หบ้ รกิ ารดแู ลอสงั หารมิ ทรพั ย์ ทงั้ บา้ น คอนโดมเิ นยี ม
10 สาย การเดินทางสะดวกสบายมากข้ึน จึงอาจส่งผลต่อ ออฟฟิศ พร้อมท้ังยังมีบริการแม่บ้านท่ีจะเข้าไปท�ำความ
พฤตกิ รรมของคนในเมอื งทเี่ ปลย่ี นไป ไมม่ คี วามจ�ำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ ง สะอาดให้แก่ผู้ที่สนใจใช้บริการ รวมถึงยังมีบริการช่างซ่อม
ซอ้ื รถยนต์ แตใ่ นทางกลบั กนั ความจ�ำเปน็ ในการใชง้ านรถยนต์ แอรใ์ หบ้ รกิ ารดว้ ย โดยผทู้ สี่ นใจสามารถเขา้ ไปใชบ้ รกิ ารผา่ นทงั้
ยงั คงอยู่ ท�ำใหน้ วตั กรรมคารแ์ ชรง่ิ สามารถตอบโจทยพ์ ฤตกิ รรม แอปพลเิ คชนั Seekster หรอื เวบ็ ไซต์ www.seekster.co จะจอง
ได้เป็นอย่างดี เพราะผู้บรโิ ภคเลอื กใช้บริการได้ตามวนั เวลาที่ การใช้บริการล่วงหน้าหรือใช้บริการทันทีก็ได้เช่นกัน ปัจจุบัน
ต้องการ รวมถงึ เลอื กรถยนตต์ ามประเภทการใช้งานไดอ้ กี ด้วย มีขอบเขตการให้บริการภายในกรุงเทพฯ และปริมณฑล
ในส่วนของความปลอดภัยระบบมีการตรวจสอบข้อมูล
Borihan.com คัดกรองประวัติของกลุ่มผู้ท่ีเข้ามาให้บริการเป็นอย่างดี
ครบเครอ่ื งเรอ่ื งธรุ กจิ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความมน่ั ใจวา่ จะไมม่ ปี ญั หาในการใชบ้ รกิ าร ซงึ่ ถอื
เป็นจุดเด่นอีกอย่างหน่ึงรวมถึงค่าบริการที่ถูกเม่ือเทียบกับ
จับธุรกิจด้วยการมองจุดอ่อนของธุรกิจเป็นกลยุทธ์ การจ้างพนักงานประจ�ำ ท�ำให้บริการแม่บ้านและช่างแอร์
ท่ี นายณัฐภูมิ รัฐชยากร กรรมการผู้จัดการกลุ่มบริษัท ของ Seekster ได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในอนาคต
นวิ สเปคทฟี หยบิ ยกน�ำมาใชใ้ นการสรา้ งเวบ็ ไซตบ์ รหิ ารดอทคอม มีการเตรียมความพร้อมที่จะขยายการให้บริการเพิ่มข้ึน
(www.borihan.com) โปรแกรมช่วยบริหารธุรกิจครอบคลุม เพ่ือเจาะกลุ่มลูกค้าออฟฟิศ และกลุ่มลูกค้าแบบบีทูบีเป็น
ทกุ อยา่ งภายในเวบ็ ไซต์ ทงั้ ระบบการบรหิ ารหนา้ รา้ น หลงั รา้ น ล�ำดบั ต่อไป
โดยมกี ลมุ่ เปา้ หมายเปน็ เหลา่ ผปู้ ระกอบการ SMEs ผปู้ ระกอบการ
สตาร์ทอัพ รวมถึงคนท่ีก�ำลังเริ่มต้นสร้างธุรกิจทั้งแบบกลุ่ม อตุ สาหกรรมสาร 35
และคนเดียว ถือเป็นผู้ช่วยส�ำคัญที่จะท�ำให้ผู้ประกอบการ
Knowledge
• เร่ือง : พงษน์ ภา กจิ โมกข์
www.thuengay.vn
ก้าวทันเทรนด์ Digital Marketing
ยุ ค ท่ี เ ท ค โ น โ ล ยี เ ข ้ า ม า มี บ ท บ า ท • ผู้น�ำทางความคิด จะเข้ามามีบทบาทมากขึ้น
ทุกอย่างรอบๆ ตัวต่างมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากการเข้ามาของสื่อโซเชียลมีเดียและสังคมออนไลน์
ไป รวมถึงการตลาดที่แต่ละองค์กรต่าง ต่างๆ ผู้บริโภคจึงเลือกท่ีจะเช่ือบุคคลท่ีเป็นผู้น�ำทางความ
ต้องปรับตัวเข้าสู่ Digital Marketing คิดด้านต่างๆ เช่น บล็อกเกอร์รีวิวสินค้าตามเพจเฟซบุ๊ก
เพ่ือขับเคลื่อนองค์กรให้สามารถก้าวทัน หรือวดิ โี อบน YouTube ซง่ึ แบรนด์สามารถใช้ประโยชน์จาก
เทคโนโลยี อีกท้ังยังช่วยให้องค์กรสามารถ บุคคลเหล่านี้ได้ด้วยการจ้างเขียนรีวิว และการส่งสินค้าให้
ต อ บ ส น อ ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร เ ข ้ า ถึ ง ส่ื อ บลอ็ กเกอร์ทม่ี ชี อ่ื เสียงได้ทดลองใช้และมกี ารบอกต่อนั่นเอง
โซเชยี ลมเี ดยี ของคนในปจั จบุ นั ดงั นน้ั นกั การ
ตลาดจึงต้องปรับตัวและก้าวตามให้ทันกับ • สร้างประสบการณจ์ ากสมารท์ โฟน ในอดีต SMS
ความต้องการของคนในยุคดิจิทัล คอลัมน์ เปน็ เพยี งการสง่ ขอ้ ความสน้ั ๆ เพอ่ื กระตนุ้ กจิ กรรมทางตลาด
Knowledge ฉบบั นจ้ี งึ นำ� 7 เทรนด์ Digital เท่านน้ั แต่ปัจจบุ นั SMS ถกู พฒั นาให้สามารถจบั ต�ำแหน่ง
Marketing มาฝากกนั (Location) ของผู้บริโภคที่เข้ามาในร้าน โดยจะมี SMS น�ำ
เสนอสินค้า ส่วนลดไปยังผู้บริโภค โดยท่ีผู้บริโภคคนน้ันๆ
36 อุตสาหกรรมสาร ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นสมาชกิ ของร้าน
• ผู้บริโภคสนใจวิดีโอมากข้ึน การท�ำโฆษณาใน
ประเภทวิดีโอนับเป็นรูปแบบที่ได้รับความสนใจและความ
นิยมจากผู้บริโภคอย่างมาก นักการตลาดจะต้องให้ความ
ส�ำคัญและสร้างสรรค์วิดีโอเพื่อท�ำการตลาดให้กับแบรนด์
แต่ต้องค�ำนึงว่าวิดีโอท่ีดีจะต้องมีความยาวไม่เกิน
1.30 – 2.00 นาที ต้องมีค�ำบรรยายประกอบค�ำพูด
ภาพตอ้ งมคี วามหลากหลายและมคี วามครอบคลมุ กบั เนอื้ หา
ทตี่ ้องการสอ่ื สารกบั ผู้บรโิ ภค
www.worldhotelmarketing.com
www.cgdigitalacademy.com • ใช้การโปรโมตผ่านเว็บไซต์ การตลาดดิจิทัล
นับเป็นการตลาดที่มีการแข่งขันกันสูง และเป็นโอกาสดี
• บริการดีมีแต้ม แม้ว่าเทคโนโลยีที่เข้ามาจะช่วย ของเว็บไซต์โฆษณาที่ถูกออกแบบให้สามารถเข้าถึงข้อมูล
อ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้บริโภค แต่ส่ิงหนึ่งท่ีผู้บริโภค การบริการโดยเว็บไซต์โฆษณาเหล่านี้จะได้ค่าตอบแทน
ต้องการและคาดหวังน้ันคือ การบริการที่ดีจากแบรนด์ท้ัง จากการลงโฆษณาสนิ ค้าของแบรนด์เช่น Google Adwords
การให้ข้อมลู รายละเอยี ดสนิ ค้า ค�ำแนะน�ำ นับเป็นการสร้าง เมื่อผู้บริโภคท�ำการค้นหาสินค้าหรือบริการหนึ่งๆ โฆษณา
ความประทบั ใจท่ดี ีให้กบั ผู้บรโิ ภคได้ไม่น้อย สินค้าและบริการของแบรนด์ท่ีซ้ือโฆษณาผ่าน Google
Adwords นน้ั จะปรากฏข้ึนมาเป็นอนั ดับแรก
• การเขา้ มามบี ทบาทของสมาร์ทโฟน การท�ำงาน
และการด�ำเนนิ ชวี ิตในปัจจบุ นั ต่างต้องมเี ทคโนโลยสี มาร์ท เม่ือเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในภาคธุรกิจมากขึ้น
โฟนเข้ามามีบทบาท ท้ังการท�ำธุรกรรมทางการเงิน อย่าง นักการตลาดรวมท้ังบุคลากรขององค์กรต้องพร้อมท่ี
ธนาคารไทยพาณชิ ย์มี SCB Easy แม่มณี ธนาคารกสกิ รไทย จะช่วยขับเคล่ือนองค์กรให้สามารถด�ำเนินไปพร้อมๆ กับ
มี K Plus แอปพลเิ คชนั เหลา่ นตี้ า่ งเจาะกลมุ่ พอ่ คา้ แมค่ า้ เพอ่ื การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี เพ่ือให้สอดรับกับความ
ให้ซอ้ื ง่ายขายคล่อง ต้องการของผู้บริโภคที่เปล่ียนไปเฉกเช่นเดียวกับเทคโนโลยี
7 เทรนด์ Digital Marketing เพ่ือวางแผนกลยุทธ์และเสรมิ
• ตัวเลขและการเก็บข้อมูลกลับมา ในปีน้ีนัก ความแขง็ แรงให้กบั องค์กร
การตลาดจะเรมิ่ มกี ารน�ำตวั เลขตา่ งๆ มาวเิ คราะหแ์ ละท�ำการ
วัดผลการท�ำงานของการประชาสัมพันธ์แบรนด์ ท�ำให้นัก wwขอwwขwwอ..ctบhgedคsigณุtaitnขadl้อaacrมaddลู.ceแom/ล8y-ะ.mcรoaูปmrkภeาtiพngจ-aาnกd-advertising-trends-2018
ครีเอทีฟทางต้องคิดและสร้างสรรค์คอนเทนต์ต่างๆ เพื่อน�ำ อตุ สาหกรรมสาร 37
มาตอบสนองความต้องการของผู้บรโิ ภคจากตวั เลขเหล่าน้ี
Biz Trends
• เรอ่ื ง : พงษน์ ภา กิจโมกข ์
www.posarte.com.br
ปัญญาประดิษฐ์เปลี่ยนโลก
e-Commerce
ปฏเิ สธไมไ่ ด้วา่ เทคโนโลยปี ัญญาประดษิ ฐ์ (Articfi ial อีกท้ังยังสามารถคืนทุนที่ทางบริษัทฯ ลงทุนสร้างระบบ
Intelligence) หรือ AI เป็นเทคโนโลยที ีน่ ่าจบั ตามองทส่ี ดุ ไป 200 ล้านเยน ได้ภายในระยะเวลา 2 ปี
ในขณะน้ี ซึง่ ปัจจบุ ัน AI ถูกน�ำมาใช้ประโยชน์กับธุรกจิ
ในการเก็บข้อมูล (Big Data) เพ่ือตอบสนองการใช้งาน AI พลกิ วงการ e-Commerce
ของผู้บริโภคได้มากย่ิงขึ้น โดยคาดการณ์ว่าภายในปี
ค.ศ. 2020 ผู้บรโิ ภคกว่า 85% จะซ้อื สินค้าผ่านช่องทาง ทุกวันนี้ธุรกิจ e-Commerce เป็นธุรกิจที่หลาย
ออนไลน์มากกว่ามนษุ ย์ด้วยกนั เอง คนหันมาให้ความสนใจทั้งตัวเจ้าของธุรกิจเอง หรือ
แม้กระท่ังผู้บริโภค ซึ่งที่น่าสนใจในขณะน้ีคือ วงการ
ในต่างประเทศ AI ถูกน�ำมาใช้ในหลายวงการ e-Commerce ต่างใช้ระบบ AI เป็นเครื่องมอื ไว้ช่วยเกบ็
ยกตัวอย่าง Fukoku Mutual Life Insurance บริษัท ข้อมลู และพฤตกิ รรมการใช้งานของผู้บรโิ ภค โดยสรปุ ได้
ประกันภัยในประเทศญี่ปุ่น ปลดพนักงานกว่า 30 คน ว่า AI ใช้การวเิ คราะห์และประมวลผลจากข้อมลู ดงั นี้
แล้วน�ำระบบ AI มาท�ำงานด้วยการค�ำนวณค่าเบ้ีย
ประกนั ในแตล่ ะกรมธรรม์ โดยระบบ AI สามารถค�ำนวณ • เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการขาย AI เป็นระบบท่ีน�ำมา
ดอกเบี้ยเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงานมากกว่า 30% ประยุกต์เข้ากับการบริหารความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร
และผบู้ รโิ ภค โดยผบู้ รโิ ภคสามารถใช้ AI ในการหาขอ้ มลู
38 อตุ สาหกรรมสาร
www.rfi mowo.com Dwell Times ระบบ AI สามารถคาดการณ์พฤติกรรม
การซ้ือของผู้บริโภคได้ โดยจะท�ำการประมวลผลว่า
และค�ำตอบได้เองอตั โนมตั ิ ระบบ AI จะท�ำการประมวล ผู้บริโภคมีความสนใจในสินค้าชนิดนี้ หลังจากน้ันเม่ือ
ผลความต้องการและเสนอขายสินค้าให้กับผู้บริโภคได้ ผู้บริโภคเข้าใช้เว็บไซต์ออนไลน์อีกคร้ัง อาจเห็นสินค้า
ทันที โดยท่ไี ม่ต้องใช้พนกั งานขายสนิ ค้า นนั้ ๆ ทเ่ี คยคน้ หาขน้ึ โชวอ์ ยหู่ นา้ เวบ็ ไซต์ จงึ เปน็ ประโยชน์
ตอ่ แบรนดใ์ นการเสนอขายสนิ คา้ ใหต้ รงกบั ความตอ้ งการ
• ใช้ภาพเพื่อค้นหา AI ถือเป็นตัวช่วยให้ผู้บริโภค ของผู้บริโภคให้มากทส่ี ดุ
สามารถค้นหาสินค้าหรือส่ิงที่ต้องการได้โดยการใช้
รูปภาพ เพียงอัพโหลดภาพสนิ ค้าทต่ี ้องการลงไป ระบบ นับว่าเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI เป็น
จะท�ำการประมวลผลหาสินค้าท่ีมีความคล้ายคลึงหรือ เครื่องมือที่จะช่วยส่งเสริมการขายให้กับวงการ
ใกล้เคียงกบั ภาพทผ่ี ู้บรโิ ภคใช้ค้นหาจากสี รปู ร่าง ขนาด e-Commerce ได้ไม่น้อย นอกจากน้ียังถือเป็นการสร้าง
เพ่ือช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้ผู้บริโภคค้นหาสินค้าท่ี ความเชอ่ื มน่ั ใหก้ บั องคน์ น้ั ๆ และชว่ ยสรา้ งประสบการณ์
ต้องการได้อย่างง่ายและรวดเรว็ ใหมใ่ นการใชบ้ รกิ ารใหก้ บั ผบู้ รโิ ภค ท�ำใหอ้ งคก์ รสามารถ
ด�ำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงนับว่า AI เป็น
• อา่ นใจผบู้ รโิ ภค AI ท�ำการรวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะห์ ประโยชนต์ อ่ e–Commerce อยา่ งมากเพอื่ สรา้ งความแขง็ แรง
ผ่านช่องทางท่ีหลากหลาย อาทิ พฤติกรรมการใช้ ในยคุ ที่มีการแข่งขนั ท่สี งู ข้ึนอย่างในปัจจุบัน
สมาร์ทโฟน หรือการวิเคราะห์ความต้องการผ่าน
ขอขอบคณุ ข้อมูลจาก
Pwhwowto.saifntiem-edWeosirgdnP.rceosms./com Photosfine
www.anzarshopping.com
อตุ สาหกรรมสาร 39
Good Governance
• เรอ่ื ง : ปาณทิพย์ เปลย่ี นโมฬี
การยอมแพ้ของกิเลส
www.photosinf e - wordpress.com การคุ้นกับกิเลสน้ันมาก ถ้าจะให้เลิกนิสัยที่ไม่ดีสักอย่าง
มนั จงึ ทรุ นทรุ ายมาก อยากจะกลบั ไปท�ำผดิ ๆ เหมอื นเดมิ อกี
องคป์ ระกอบของมนษุ ย์
การฝกึ ใจ
ตวั ตนคนเรานน้ั ประกอบด้วยร่างกายกบั จติ ใจ ร่างกาย
ประกอบดว้ ยธาตหุ ยาบ4อยา่ งคอื ธาตดุ นิ ธาตนุ ำ�้ ธาตลุ มและ ใจน้ันฝึกให้ดีขึ้นได้และมีศักยภาพฝึกได้ไม่มีขีดจ�ำกัด
ธาตุไฟ ธาตุทั้งส่ีต้องรวมกันได้สัดส่วน ถ้าไม่ได้สัดส่วน สง่ิ ทต่ี อ้ งฝกึ คอื ฝกึ ใจใหเ้ ปน็ สมั มาสมาธิ จะท�ำใหใ้ จหยดุ คดิ
โรคภยั ไข้เจบ็ ก็มาเยอื น สมัยโบราณการรักษาคนท่เี จบ็ ไข้ได้ สิง่ ท่ีไม่ควรคดิ และใจน้ันย่ิงฝึก ยิ่งสว่าง ยิ่งแจ่มใส ยง่ิ สุข
ป่วย ท�ำโดยการสงั เกตธาตทุ ้งั สีน่ ี้ว่าธาตไุ หนก�ำเริบ ธาตไุ หน ยิ่งสงบ ยิง่ ทรงพลงั มีแต่ความชุ่มช่ืนเบกิ บาน มีพลงั ทีจ่ ะ
หย่อน ธาตไุ หนวิปรติ แล้วกร็ กั ษาตามอาการ ท�ำความดเี พม่ิ ขนึ้ เมอื่ ฝกึ มากๆ เขา้ กเ็ ปน็ ทางมาแหง่ ปญั ญา
ใจนั้นต่างจากกาย ใจเป็นธาตุละเอียด จับต้องไม่ได้ เทคนคิ สำ� คญั ในการฝกึ สมาธิ
ไมอ่ าจเหน็ ไดด้ ว้ ยตาเปลา่ เดมิ มนษุ ยเ์ รากไ็ มม่ ใี ครรแู้ ละเขา้ ใจ
เกยี่ วกบั ใจได้ถูกต้อง จนกระทง่ั พระสัมมาสมั พทุ ธเจ้าผู้รู้แจ้ง กว่าท่ีใจจะหยุดนิ่งได้ ต้องตะล่อมใจที่คิดซัดส่าย
โลกทรงตรสั ชัดเจนถึงเรอ่ื งของใจ ไปมาให้กลับมาอยู่กับเนื้อกับตัวเสียก่อนการผ่อนคลาย
ร่างกายทกุ ส่วน มีผลให้ใจผ่อนคลายและกลบั มาอยู่กบั ตัว
กเิ ลสทำ� ลายใจ เทคนิคที่ส�ำคัญคือ การหลับตาเบาๆ ให้ผนังตาปิดเพียง
90 เปอร์เซ็นต์
กเิ ลส คอื สง่ิ ทที่ �ำใหใ้ จเศรา้ หมอง ถา้ ใจตกอยใู่ ตอ้ �ำนาจ
กิเลสจะถกู กเิ ลสบงั คับให้คดิ ในเร่ืองทไ่ี ม่ควรคิด และเปล่ยี น การยอมแพข้ องกเิ ลส
เรอื่ งคดิ จากเรอ่ื งหนงึ่ ไปอกี เรอ่ื งหนงึ่ ไมห่ ยดุ ทงั้ ถ่ี ทงั้ เรว็ ทง้ั ท่ี
เร่ืองเดิมยงั คดิ ไม่จบ ใจจงึ มดื ลง ล้าง่าย เหน่อื ยง่าย ทกุ ข์ภยั ทกุ ชนดิ ของคนและสตั ว์ล้วนเกดิ จากการยอม
แพ้ต่ออ�ำนาจกิเลสมาชาติแล้วชาติเล่าท้ังสิ้น เมื่อยอมแพ้
กิเลสเป็นธาตุละเอียดและสกปรก มันฝังอยู่ในเน้ือ ก็เลยก่อกรรมท�ำชั่ว เพราะก่อกรรมท�ำชั่วก็เกิดทุกข์ การ
ใจตั้งแต่วันแรกเกิด ท�ำให้ใจเศร้าหมองเม่ือมีวัตถุภายนอก ก�ำจัดกิเลสให้หมดสิ้นได้เด็ดขาด จึงเป็นความสุขและเป็น
มากระทบ มายวั่ ยุ กเ็ หมอื นกบั การกวนนำ�้ ใหข้ นุ่ กเิ ลสจะก�ำเรบิ หนา้ ทท่ี แ่ี ทจ้ รงิ ของทกุ คน ไมม่ ใี ครท�ำแทนกนั ไดเ้ ปน็ กจิ ทที่ กุ
ขนึ้ มาท�ำใหใ้ จขนุ่ มวั ออ่ นลา้ ท�ำใหใ้ จเสยี คณุ ภาพในการเหน็ คนต้องท�ำด้วยตวั เอง เพือ่ ตัวเอง สมาธทิ ่เี ราเร่มิ ฝึกในวนั นี้
จ�ำ คิด รู้ แล้วมันจะบังคับใจให้คิดในทางไม่ดีตามอ�ำนาจ จะมีผลบั้นปลายมาถึงตรงน้ี เมื่อเรายังไม่ถึงผลบ้ันปลาย
ของมนั คอื ท�ำใหใ้ จคดิ โลภ คดิ โกรธ คดิ หลง คดิ อจิ ฉาตารอ้ น กเ็ พยี รขวนขวายท�ำกนั ตอ่ ไป วนั หนงึ่ กจ็ ะท�ำไดต้ ามพระสมั มา
คิดพยาบาท คดิ เรื่องท่ไี ม่ควรคดิ ท้งั หลาย สมั พุทธเจ้าผู้เป็นพระบรมครขู องเรา
เม่ือคนเราเจ็บป่วยและตายไปนั้น กิเลสไม่ได้ตายตาม
กายไปดว้ ย มนั ยงั ฝงั คา้ งอยใู่ นใจตามไปบบี คนั้ ใจในชาตหิ นา้
ต่อไปอกี ด้วยความทก่ี ิเลสมันไม่พรากจากใจเลย ใจคนเรา
จึงคุ้นกับกิเลสเหมือนปลาคุ้นน�้ำ นิสัยอะไรท่ีไม่ดีก็คือ
40 อุตสาหกรรมสาร
Book Corner
• เร่ือง : สุพรรษา พทุ ธะสุภะ
การออกไปลงทนุ ในตา่ งประเทศของประเทศไทย : แกะรอยหยกั สมอง 2 : รเู้ รอื่ งลงทนุ
ผลกระทบและนโยบายทพี่ งึ มี ผู้เขียน : ภาววิทย์ กล่นิ ประทุม
ผู้เขยี น : ธนะพงษ์ โพธปิ ิติ รคหือัสกา: ร กEล4ับ5มภา5ข5องซีร่ีย์ “แกะ” ท่ีสร้างยอดขาย
รหัส : IV 3 ก601 ถล่มทลาย รวบรวมเรียบเรียงใหม่ แกะเพิ่มท้าย
หนงั สอื เลม่ นไ้ี ดร้ วบรวมงานวจิ ยั ภายใตช้ ดุ โครงการ บทอกี 60 บท บวก 7 เคล็ดลับการท�ำธุรกิจรุ่นใหม่
การศึกษาเงินลงทุนทางตรงระหว่างประเทศ คเนุณื้อจหะาตในกขเลอ่มบจโละกพาโคลุณกเผปู้อล่า่ียนนขไปยัแบลข้วา แกล้าะวเกช่อ่นนกัทนี่
ขาออกของประเทศไทย ที่มุ่งเน้นศึกษาถึงผลกระทบของการ รปู แบบการลงทนุ กเ็ ปลย่ี นไปแลว้ ทสี่ �ำคญั กวา่ กค็ อื “ชวี ติ กบั การลงทนุ
ออกไปลงทุนในต่างประเทศต่อภาคการผลิต และภาคส่วนต่างๆ ผูกพนั กนั มากข้นึ ” หนงั สือเล่มนอ้ี ธบิ ายเร่อื งต่างๆ ตรงนไ้ี ด้เป็นอย่างดี
ในระบบเศรษฐกิจรวมถึงนโยบายการส่งเสริมการออกไปลงทุนใน ก่อนหน้าน้ี “แกะรอยหยักสมองฯ” เป็นท่ียอมรับอย่างกว้างขวาง
ต่างประเทศท่เี หมาะสมกบั ประเทศไทย ในวงการนกั ลงทนุ “หนุ้ ” แตใ่ นตอนน้ี “แกะรอยหยกั สมองฯ” โดนสรา้ ง
การออกไปลงทนุ ในตา่ งประเทศของประเทศไทย : ใหม่ ใหเ้ หมาะกบั การอา่ นของทกุ ๆ คน ทกุ วงการ ดว้ ยมมุ คดิ ทว่ี า่ “หนงั สอื
การวเิ คราะหร์ ายภาคธรุ กจิ และระดบั สถานประกอบการ ชุดน้ีไม่ได้เป็นหนังสือเฉพาะกลุ่ม” แต่เป็นแนวคิดที่ใช้ได้กับทุกคนท่ี
ผู้เขยี น : กรกรณั ย์ ชวี ะตระกลุ พงษ์ ด�ำรงชีพอยู่ในโลกยคุ ใหม่
รหสั : IV 3 ก602 รวยหนุ้ แบบ VI ไมเ่ สย่ี ง
เกย่ี วกบั การออกไปลงทนุ ในตา่ งประเทศในมติ ขิ อง ผรหู้เขัสยี น: E: 4ค5ณรติ 54นิมมาลัยรตั น์
การศึกษารายภาคธุรกิจและการศึกษาการออก รายละเอียดเก่ียวกับการสอนลงทุนง่ายๆ อธิบาย
ไปลงทุนในระดับสถานประกอบการโดยเป็นการ ด้วยภาพและการ์ตูน แนวคิดลงทุนหุ้นให้รวย
รวบรวมงานวิจัยภายใต้ชุดโครงการ “การศึกษา ระยะยาวอย่างง่ายๆ
เงินลงทุนทางตรงระหว่างประเทศขาออกของ หนุ้ พลกิ ชวี ติ
ประเทศไทย ผู้เขยี น : สภุ าพงษ์ นิลเกษ
เตอื นภยั ลงทนุ ใน AEC รหัส : E 45 ส57
ผู้เขยี น : ปัญญาสริ ิ จรูญโกศล หนังสือเล่มน้ีแนะน�ำการซื้อขายหุ้นเป็นอาชีพเสริม
รหสั : E 330 ต57 หรืออาชีพหลัก เป็นการลงทุนทางธุรกิจง่ายๆ
วันนี้กระแสการลงทุนใน AEC แรงมาก จน เพื่ออิสรภาพทางการเงินอย่างมีความสุข โดย
แทบจะกลายเป็นแฟช่ันท่ีหลายคนสนใจและ ใช้แนวคิดในการหาหุ้นพลิกชีวิต แนะน�ำการ
ตอ้ งการจะเขา้ ไปลงทนุ ทวา่ เหรยี ญมสี องดา้ นเสมอ คดั เลอื กหนุ้ ทดี่ ี ซอื้ หนุ้ ถกู ตวั หนุ้ ทเี่ หมาะกบั คณุ และ
วันนี้เราคุ้นเคยกับเหรียญเพียงด้านเดียวจนลืมไป ซ้ือหุ้นตัวน้ันถูกเวลา เพียงแค่คุณอ่านหนังสือเล่มน้ีจบอย่างเข้าใจ
ว่าอีกด้านหน่ึงเป็นเช่นไร เตือนภัยลงทุนใน AEC จึงเป็นหนังสือ และหมน่ั ฝกึ ฝน คณุ กส็ ามารถท�ำก�ำไรจากตลาดหนุ้ ได้เป็นกอบเปน็ ก�ำ
ท่ีจะเตือนนักลงทุนหรือผู้ท่ีสนใจท่ีจะไปลงทุนใน AEC ให้ลองใช้ อย่างมคี วามสขุ แน่นอน!
สติพิจารณาให้ดอี ย่าเพิง่ มองโลกสวยแต่ให้มองตามความเป็นจรงิ ลงทนุ คอนโด ไมย่ าก
ผู้เขียน : คณติ นมิ มาลยั รตั น์
สตู รลบั รวยหนุ้ ทำ� คณุ ใหร้ วย : รหัส : I 23 ค581
The Big Secret for the Small Investor ใลนงกทาุนรควเิอคนราโะดห์เไจมา่ยะตาลกา”ดลเลงท่มนุ นใี้ นจคะอมนาโดช่วซย้ือคง่าุณย
ผู้เขียน : Joel Breenblatt ขายคลอ่ ง ก�ำไรคมุ้ คา่ เจาะชอ่ งทางตลาดการลงทนุ
ผู้แปล : ชัชวนนั ท์ สันธเิ ดช ในคอนโดอย่างละเอียด ตีแตกด้วยผลตอบแทน
สรหูตสั รล:ับ หEุ้น45ทช�5ำค8ุณให้รวย” เป็นหนังสือลงทุนท่ี “มืออาชีพ” ในแวทดี่แวสงนอคสุ้มังหคา่ารใิมนทอรนัพายค์ ตที่จดะ้วมยาปเรปะิดสคบวกาามรทณ้า์ทจาากย
อ่านง่าย ไม่ท�ำให้ปวดหัว ท่ีส�ำคัญคือ เป็นวิธี ครัง้ ใหม่ให้กบั นักลงทนุ อสิ ระ
การทีน่ กั ลงทนุ ตวั เลก็ ๆ ทกุ คนสามารถน�ำไปใช้ได้
แมช้ อ่ื หนงั สอื ดเู หมอื นจะบอกเคลด็ ลบั หรอื สตู รลบั สถานทสี่ อบถามรายละเอยี ดและข้อมลู เพม่ิ เตมิ
ในการลงทนุ แต่เมอ่ื เปิดอ่านข้างในแล้ว กลับเป็น ห้องสมุดกรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม
หลักวิชาการบนพื้นฐานของ “วีไอ” หรือ “การลงทุนเน้นมูลค่า”
แนวทางการลงทุนสวนกระแสท่ีท�ำให้ วอร์เรน บัฟเฟตต์ กลาย
เป็นอภิมหาเศรษฐีอันดับต้นๆ ของโลก ไม่ว่าคุณจะเป็นนักลงทุน
มือใหม่หรือมือเก๋า รับรองได้ว่าจะได้รับประโยชน์จากเน้ือหาใน
หนังสอื เล่มนแ้ี น่นอน
โทร. 0 2202 4425, 0 2202 4417 หรอื 0 2354 3237อุตสาหกรรมสาร 41
เว็บไซต์ http://library.dip.go.th
วใบาสรมสัคราสรมอาตุชกิ สาหกรรมสาร 2561
สมาชิกเก่า สมาชิกใหม่
วนั ท่ีสมัคร................................................
ช่ือ / นามสกลุ ........................................................................................................บริษทั /หนว่ ยงาน..........................................
ทอี่ ยู.่ ..................................................................................................................................................................................
จงั หวดั ........................................................ รหสั ไปรษณยี .์ ......................................... เวบ็ ไซต์บรษิ ทั .........................................
โทรศัพท.์ ............................................... โทรสาร..................................................ต�ำแหน่ง......................................................
อีเมล...................................................................
แบบสอบถาม
1. ผลิตภัณฑห์ ลักทท่ี ่านผลติ คือ………………………………………………………………………………………...............................…………….
2. ทา่ นรจู้ ักวารสารนจ้ี าก………………………………………………………………………………………………………………………………….......
3. ข้อมลู ท่ที า่ นตอ้ งการคอื ……………………………………………………………………………………………………………………………….....…
4. ประโยชนท์ ที่ ่านได้จากวารสารคอื ……………………………………………………………………………….………………………..............……...
5. ทา่ นคิดวา่ เนื้อหาสาระของวารสารอตุ สาหกรรมสารอยู่ในระดับใด เม่อื เทียบกบั วารสารราชการทั่วไป
ดีท่สี ดุ ดีมาก ด ี พอใช้ ต้องปรบั ปรุง
6. การออกแบบปกและรปู เลม่ อยู่ในระดับใด
ดีทส่ี ดุ ดีมาก ด ี พอใช้ ต้องปรับปรงุ
7. ขอ้ มูลทีท่ ่านต้องการใหม้ ีในวารสารน้มี ากท่สี ุดคือ (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามลำ� ดบั )
การตลาด การให้บรกิ ารของรฐั สัมภาษณผ์ ปู้ ระกอบการ ขอ้ มูลอุตสาหกรรม อื่นๆ ระบ.ุ ..................................
8. คอลัมนท์ ีท่ า่ นชอบมากทีส่ ุด (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามล�ำดบั ความชอบ)
Interview (สัมภาษณผ์ ูบ้ รหิ าร) Product Design (ออกแบบผลติ ภณั ฑ์) Good Governance (ธรรมาภิบาล)
SMEs Profile (ความสำ� เร็จของผู้ประกอบการ) Report (รายงาน / ข้อมลู ) Innovation (นวตั กรรมใหม)่
Market & Trend (การตลาด / แนวโน้ม) Book Corner (แนะนำ� หนงั สือ) อน่ื ๆ ระบ.ุ .....................................
9. ท่านไดร้ ับประโยชนจ์ ากวารสารอตุ สาหกรรมสารมากน้อยแคไ่ หน
ได้ประโยชนม์ าก ได้ประโยชนพ์ อสมควร ได้ประโยชนน์ ้อย ไมไ่ ดใ้ ช้ประโยชน์
10. เทยี บกบั วารสารราชการท่วั ไป ความพึงพอใจของท่านท่ีได้รบั จากวารสารเล่มน้ี เทยี บเป็นคะแนนได้เทา่ กบั
91-100 คะแนน 81-90 คะแนน 71-80 คะแนน 61-70 คะแนน ต่ำ� กวา่ 60 คะแนน
สมคั รสมาชิกวารสาร กรอกใบสมัครซึ่งอยู่หน้าสุดท้ายของเล่มจากนั้นส่งใบสมัครได้ 3 ทาง ได้แก่
1. สมคั รทางไปรษณยี ์ จา่ หนา้ ซองถึง บรรณาธิการวารสารอุตสาหกรรมสาร
กลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
2. สมัครทางเคร่อื งโทรสาร หมายเลข 0 2354 3299
3. สมคั รทางอีเมล : [email protected]
4. สมัครผ่าน google Form :
หนว่ ยงานเครอื ขา่ ย
กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมในสว่ นภมู ภิ าค
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 1 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 4
(เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮอ่ งสอน ล�ำ พูน ล�ำ ปาง พะเยา แพร่ น่าน) (อุดรธานี หนองบวั ล�ำ ภู หนองคาย เลย)
158 ถนนทุ่งโฮเตล็ ต.วดั เกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000 399 ม.11 ถนนมติ รภาพ ต.โนนสูง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41330
โทรศัพท์ (042) 207 232-6, 207-238 โทรสาร (042) 207 241
1 โทรศพั ท์ (053) 245 361-2, 243 494, 242 226 e-mail: [email protected]
โทรสาร (053) 248 315
4e-mail: [email protected]
2 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 2 5
(พิษณุโลก สุโขทยั อุตรดติ ถ์ เพชรบูรณ์ ตาก) ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 5
292 ถนนเลย่ี งเมือง-นครสวรรค์ ต.บา้ นกรา่ ง
อ.เมือง จ.พษิ ณุโลก 65000 (ขอนแก่น กาฬสนิ ธุ์ มหาสารคาม รอ้ ยเอ็ด
โทรศัพท์ (055) 282 957-9 มกุ ดาหาร สกลนคร )
โทรสาร (055) 283 021 86 ถนนมิตรภาพ ต.ส�ำ ราญ อ.เมอื ง จ.ขอนแก่น 40000
e-mail: [email protected] โทรศพั ท์ (043) 379 296-9 โทรสาร (043) 379 302
7e-mail: [email protected]
3 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 3 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 7
(พจิ ิตร ก�ำ แพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี (อุบลราชธานี ยโสธร อ�ำ นาจเจรญิ ศรสี ะเกษ)
ชยั นาท สงิ ห์บุรี ลพบรุ )ี 222 หมูท่ ่ี 24 ถนนคลงั อาวธุ ต.ขามใหญ่ อ.เมอื ง
200 ม.8 ถนนเล่ยี งเมือง ต.ท่าหลวง จ.อุบลราชธานี 34000
อ.เมอื ง จ.พจิ ติ ร 66000 โทรศพั ท์ (045) 313 772, (045) 313 945,
โทรศพั ท์ (056) 613 161-5 (045) 314 216, (045) 314 217
โทรสาร (056) 613 559 โทรสาร (045) 312 378, (045) 312 493
e-mail: [email protected] e-mail: [email protected]
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 8
(สพุ รรณบุรี กาญจนบรุ ี อา่ งทอง พระนครศรีอยธุ ยา 6 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 6
นครปฐม นนทบุรี ราชบรุ ี สมุทรสาคร
สมทุ รสงคราม เพชรบุรี ประจวบครี ีขนั ธ)์ (นครราชสมี า ชยั ภูมิ บุรรี ัมย์ สรุ ินทร์)
117 หมู่ 1 ถนนมาลยั แมน ต.ดอนก�ำ ยาน 333 ถนนมติ รภาพ ต.สงู เนิน อ.สงู เนิน จ.นครราชสีมา 30170
8อ.เมอื ง จ.สพุ รรณบุรี 72000 โทรศัพท์ (044) 419 622 โทรสาร (044) 419 089
โทรศพั ท์ (035) 441 027, 441 029, 441 031 e-mail: [email protected]
โทรสาร (035) 441 030 9
e-mail: [email protected] ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 9
(ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง จนั ทบรุ ี สระบุรี ตราด
นครนายก ปราจีนบรุ ี สระแก้ว)
67 ม.1 ถนนสขุ มุ วิท ต.เสมด็ อ.เมอื ง จ.ชลบรุ ี 20000
โทรศพั ท์ (038) 261-203, 273-702, 784 654-5
หนว่ ยงานสว่ นกลาง โทรสาร (038) 273 701
e-mail: [email protected]
(กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ
นนทบรุ ี ปทุมธาน)ี ถนนพระรามท่ี 6
ราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400 11 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 11
โทรศัพท์ 0 2202 4422-3 (สงขลา ตรัง พัทลุง สตูล ยะลา ปตั ตานี นราธวิ าส)
โทรสาร 0 2354 3152 165 ถนนกาญจนวนชิ ต.น้าํ นอ้ ย อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
โทรศพั ท์ (074) 211 905-8 โทรสาร (074) 211 904
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 10 e-mail: [email protected]
(นครศรีธรรมราช สุราษฎรธ์ านี กระบี่ ภเู ก็ต พงั งา ระนอง ชมุ พร)
131 ม.2 ถนนเทพรัตนกวี ต.วดั ประดู่ อ.เมอื ง จ.สรุ าษฎรธ์ านี 84000
โทรศพั ท์ (077) 200 395-8 โทรสาร (077) 200 449
10e-mail:[email protected]
อุตสาหกรรมสารออนไลน์
http://e-journal.dip.go.th
วารสารเพ่ือผู้ประกอบการ SMEs และ OTOP
เวบ็ วารสารปรบั โฉมใหม่ !อตุ สาหกรรมสารออนไลน์http://e-journal.dip.go.th ฐานขอ้ มลู สง่ เสรมิ ความรดู้ า้ นอตุ สาหกรรมและ
แนวโนม้ ของอตุ สาหกรรม กระบวนการผลิต การตลาด การบรหิ ารการจดั การ การพฒั นารปู แบบผลติ ภัณฑ์ การให้บริการตา่ งๆ
ตลอดจนตัวอย่างผูป้ ระกอบการทปี่ ระสบความส�ำเรจ็ อยากร้ขู ้อมลู คลกิ อา่ นไดเ้ ลย อยากเก็บขอ้ มลู ดาวน์โหลดไดเ้ ลย
สมัครเป็นสมาชิกได้ท ่ี วารสารอตุ สาหกรรมสาร กลมุ่ ประชาสมั พนั ธ์ กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400
สมัครผ่านโทรสารท่ีหมายเลข 0 2354 3299 หรือ สมัครผ่านอีเมล : [email protected]