ISSN 0125-8516 วารสารของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พิมพ์เป็นปีที่ 60 ฉบับเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2561
กสอ. ขานรับเศรษฐกิจฐานราก
ทุ่มงบปั้นนักธุรกิจเกษตร
หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
เชื่อมโยงการท่องเที่ยว : CIV
มอง CIV ผ่านบุพเพสันนิวาส
เกาะยอ ขุมทรัพย์กลางทะเลสงขลา
มันส�ำปะหลัง สู่ยุค SMEs เกษตร 4.0
ภายใต้แรงหนุนจากกลุ่มอุบลไบโอเอทานอล
SMEs เกษตร
อตุ สาหกรรมเชอื่ มโยงทอ่ งเทยี่ ว
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ปรบั โฉมหนว่ ยงานบรกิ าร SMEs ยคุ 4.0
กองพฒั นาขดี ความสามารถธรุ กจิ อตุ สาหกรรม กลุ่มตรวจสอบภายใน
โทร. 0 2202 4560
• กล่มุ พฒั นาการจัดการธุรกจิ โทร. 0 2202 4407
• กลุ่มพัฒนาบรกิ ารธุรกจิ อุตสาหกรรม
• กลมุ่ ผูป้ ระกอบการ ส�ำนักงานเลขานุการกรม
• กลุม่ พัฒนาการรวมกลมุ่ อุตสาหกรรม
• กลุม่ พัฒนาอุตสากรรมรายสาขา โทร. 0 2202 4559, 0 2202 4560
กองพัฒนาดิจิทัลอุตสาหกรรม
โทร. 0 2367 8001, 0 2367 8167 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน
• กลมุ่ เช่อื มโยงธรุ กิจดิจทิ ัลอตุ สาหกรรม
• กล่มุ พฒั นาผู้ประกอบการและบคุ ลากรดิจทิ ัลอตุ สาหกรรม โทร. 0 2202 4501
• กลมุ่ เพิ่มขดี ความสามารถวิสาหกจิ ด้วยดจิ ทิ ัล • กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงาน
กองพัฒนานวัตกรรม • กลุ่มพฒั นาระบบบริหาร
และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม • กลมุ่ แผนปฏิบตั ิงานและงบประมาณ
โทร. 0 2367 8001, 0 2367 8134 • กลมุ่ ติดตามและประเมินผล
• กลุ่มสง่ เสริมมาตรฐานเทคโนโลยกี ารผลิตและผลิตภัณฑ์ • กลมุ่ ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ
• กลุ่มสง่ เสริมนวัตกรรมอตุ สาหกรรม • กล่มุ ศกึ ษาและพัฒนาระบบสง่ เสริมอตุ สาหกรรม
• กล่มุ พัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กองโลจิสติกส์
• กุลม่ พฒั นาระบบการผลติ อัตโนมตั ิ โทร. 0 2202 4540
กองพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชน • กลมุ่ นโยบายและประสานเครือขา่ ย
โทร. 0 2367 8335 • กลมุ่ พฒั นาระบบโลจสิ ตกิ ส์
• กลุ่มส่งเสรมิ การตลาดผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน • กลมุ่ มาตรฐานและนวตั กรรมโลจิสติกส์
• กลมุ่ พัฒนาผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน • กลุ่มส่งเสรมิ โลจสิ ตกิ ส์องค์กร
• กลุ่มพฒั นาการผลิตอุตสาหกรรม กองส่งเสริมผู้ประกอบการ
• กลมุ่ พฒั นาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมชมุ ชน และธุรกิจใหม่
กองพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ โทร. 0 2202 4489, 0 2202 4499
โทร. 0 2367 8022 • กลมุ่ สนับสนนุ การจดั ต้งั ธุรกจิ
• กลุ่มเชอ่ื มโยงอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ • กลมุ่ สร้างและพฒั นาผปู้ ระกอบการใหม่
• กลุ่มพฒั นาบคุ ลากรอุตสาหกรรมสรา้ งสรรค์ • กลมุ่ สร้างสงั คมผ้ปู ระกอบการ
• กลุ่มพฒั นาอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
• กลุม่ ส่งเสริมการออกแบบอตุ สาหกรรม และการส่ือสาร
• ศูนยอ์ ตุ สาหกรรมอัญมณี จงั หวัดพะเยา โทร. 0 2202 4520
• กลุ่มบริหารธุรกจิ สารสนเทศ
• กลุ่มพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
• กลุ่มระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเครอื ขา่ ย
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 1 - 11
Contents
วารสารอตุ สาหกรรมสาร
ฉบับเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2561
12
Hilight
มอง CIV ผา่ น ‘บพุ เพสนั นวิ าส’
14 31 Product Design
Interview Eco Packaging นวตั กรรมบรรจภุ ณั ฑ์จากผลผลิตการเกษตร
กอบชยั สงั สทิ ธสิ วสั ดิ์ 05 Information
ขานรบั เศรษฐกจิ ฐานราก
ทุ่มงบปั้นนกั ธรุ กิจเกษตร โครงการปน้ั นกั ธรุ กจิ อตุ สาหกรรมเกษตรแปรรปู ไทย (SMEs เกษตร)
เดินหน้ายกระดบั อุตสาหกรรม ตามแนวประชารฐั แผนการยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานชมุ ชนสู่ SMEs 4.0
ชุมชนเช่อื มโยงการท่องเทย่ี ว
07 Product
17 SMEs Focus
หมบู่ า้ นอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์ Creative Industry Village : CIV
มนั สำ� ปะหลงั สยู่ คุ SMEs เกษตร 4.0 ภายใตก้ ารสนบั สนนุ
จากกลมุ่ บรษิ ทั อบุ ลไบโอเอทานอล จ.อบุ ลราชธานี 21 Special Report
ผผู้ ลติ และแปรรปู มนั สำ� ปะหลงั แบบครบวงจร
กสอ. หนนุ การเชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ย – คลสั เตอร์ SMEs
37 Local SMEs วางเปา้ ผนกึ กำ� ลงั ขบั เคลอื่ นการแขง่ ขนั อยา่ งมศี กั ยภาพ
เกาะยอ จ.สงขลา 23 Opportunity
ขมุ ทรัพย์กลางทะเล
BOIN เครอื ข่ายผู้ประกอบการเกษตรอนิ ทรีย์แปรรูปฯ
ต้นแบบการผลกั ดันความร่วมมอื จาก กสอ.
26 Innovation
นวัตกรรมเกษตรแปรรปู จากงาน iafi HFE JAPAN 2018
28 Report
3 4 ไบโอฮับ : Bioeconomy เขตเศรษฐกจิ ชวี ภาพ
Insight SMEs
หมู่บ้านอตุ สาหกรรมสร้างสรรค์ CIV
บ้านห้องแซง จงั หวดั ยโสธร
40 Good Governance
ความสุขทแ่ี ท้จริง นตถิ สนติ ปรํ สขุ ํ
41 Book Corner
Editor Talks วารสารอตุ สาหกรรมตพี มิ พต์ อ่ เนอ่ื งมายาวนาน
นบั ถึงปัจจบุ นั เปน็ ปีที่ 60
เศรษฐกิจฐานราก
เจา้ ของ
เศรษฐกจิ ฐานราก คอื ระบบเศรษฐกจิ ของชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ทส่ี ามารถ
พึ่งตนเองภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีการช่วยเหลือเอื้อเฟื้อ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ซ่ึงกันและกัน มีคุณธรรม และเป็นระบบเศรษฐกิจท่ีเอื้อให้เกิดการ
พัฒนาด้านอน่ื ๆ ในพน้ื ท่ี ทง้ั เศรษฐกิจ สังคม ผู้คน ชุมชน วัฒนธรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
สง่ิ แวดล้อมทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างเข้มแขง็ และยัง่ ยืน โทรศัพท์ 0 2202 4511
ระบบเศรษฐกิจฐานราก จะต้องมีแนวทางการพัฒนาและ ที่ปรึกษา
การจัดการโดยชุมชนท้องถ่ิน ให้ครบวงจรมากท่ีสุด มีการสร้างทุน
และกองทุนท่ีเข้มแข็ง มีการผลิตพ้ืนฐาน การแปรรูป การบริการ นายกอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์
การตลาด การผลติ อาหาร และความจำ� เปน็ พนื้ ฐานเพอื่ การดำ� รงชวี ติ อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
การอยรู่ ว่ มกนั สำ� หรบั คนในพนื้ ทอี่ ยา่ งพอเพยี ง และพฒั นาเปน็ วสิ าหกจิ นายภานุวัฒน์ ตริยางกูรศรี
เพ่อื สังคมหรอื ธรุ กิจของชมุ ชน (ในมิตขิ องการเก้ือกูล เออ้ื เฟื้อ การมี รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ส่วนร่วมของคนในต�ำบล) ต่าง ๆ ทั้งขนาดย่อมหรือขนาดใหญ่ขึ้น
โดยใช้ทั้งความรู้ท่ีส่ังสมในพื้นที่ หรือที่เป็นเอกลักษณ์วัฒนธรรม นายจารุพันธุ์ จารโยภาส
ของพื้นที่ และมีการพัฒนาให้ทันสมัย พร้อมกับมีเทคนิค วิทยาการ รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
และความเทคโนโลยี มาพัฒนาเพ่ิมเติมให้เหมาะสมกับตลาด หรือ
สังคมเศรษฐกิจท่ีเปลี่ยนแปลงไป ท�ำให้ผู้คนและชุมชนท้องถิ่น นายเดชา จาตุธนานันท์
โดยรวมสามารถพงึ่ ตนเอง มรี ายไดม้ ากกวา่ รายจา่ ย และสามารถพฒั นา รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
เป็นผู้ผลิตผู้สร้างงานบริการต่าง ๆ จากท้องถิ่นที่เข้มแข็ง สร้างสรรค์
หลากหลายมีเอกลักษณ์ ทันสมัย และเช่ือมโยงกับระบบตลาด นายเจตนิพิฐ รอดภัย
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
องค์ประกอบของเศรษฐกจิ ฐานรากท่เี ข้มแขง็ ประกอบด้วย นายวีระพล ผ่องสุภา
1) มีการรวมกลุ่ม ผู้อำ�นวยการกลุ่มประชาสัมพันธ์
2) มีการจัดการระบบการเงนิ ของชมุ ชน
3) มรี ะบบการจดั การทนุ ชมุ ชน ทคี่ รอบคลมุ ทนุ ทางสงั คม ทนุ คน บรรณาธิการบรหิ าร
ฟื้นฟทู รพั ยากร
4) มีระบบข้อมลู ท่ที ันสมยั รอบด้านทงั้ ภายในและภายนอก นางสาวปาณทิพย์ เปลี่ยนโมฬี
5) มรี ะบบการผลติ ของชมุ ชนท้งั ข้นั พื้นฐานและก้าวหน้า
6) สร้างความร่วมมือในทุกระดับและทุกมิติ เพื่อให้เกิดความ กองบรรณาธกิ าร
ร่วมมือให้บรรลเุ ป้าหมายและสมั พันธภาพทีด่ ี
นางสมจิตต์ เตียวสุนทรวงศ์, นายชเนศ ศรีพิทักษ์,
บรรณาธิการบริหาร นางสาวกมลชนก กุลวงศ์, นางสาวนฤมล ผึ้งเนียม,
นายไพฑูรย์ มะเมียเมือง, นางเกสรา ภู่แดง,
นายธานินทร์ กล่ำ�พัก, นางสุรางค์ งามวงศ์,
นายสุรินทร์ ม่วงน้อย, นางสาวกัญศิญา ชุมศรี,
นางสาวกนกรักษ์ นุกูลโรจน์, นางสาวศิริธร ชัยรัตน์,
นายธวัชชัย มะกลํ่าทอง
จดั พิมพ์
แ7ข7ว/บ1ง4รสิษาหัทยมไู่บซหี้ามแนอเชขดลตลโสปดารายโมไซหชอมั่นย ก(21ร9ุงถ9เน7ท)นพจสฯำา�ก1ย0ัดไ2ห2ม0
โทรศัพท์ 0 2991 3031-3 โทรสาร 0 2991 3066
สมัครสมาชกิ วารสาร
กรอกใบสมัครซึ่งอยู่หน้าสุดท้ายของเล่ม
จากนั้นส่งใบสมัครได้ 3 ทาง ได้แก่
1. สมัครทางไปรษณยี ์ จ่าหนา้ ซองถึง
บรรณาธิการวารสารอุตสาหกรรมสาร
กลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
2. สมัครทางเครื่องโทรสาร หมายเลข 0 2354 3299
3. สมัครทางอีเมล : [email protected]
4. สมัครผา่ น Google Form :
“บทความ บทสัมภาษณ์ หรืองานเขียนที่ตีพิมพ์ในวารสารเล่มนี้
เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ทางวารสารไม่จำ�เป็น
ต้องเห็นด้วยเสมอไป หากประสงค์จะนำ�บทความใด ๆ ในวารสาร
ไปตีพิมพ์เผยแพร่ ควรแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรต่อกองบรรณาธิการ”
Information
• เรื่อง : นชุ เนตร จกั รกลม
โครงการปั้นนักธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปไทย (SMEs เกษตร)
ตามแนวประชารัฐ แผนการยกระดับเศรษฐกิจฐานชุมชนสู่ SMEs 4.0
จากมาตรการพิเศษเพ่ือขับเคล่ือน กองพัฒนาดิจิทัลอุตสาหกรรม กรมส่งเสริม
SMEs สู่ยุค 4.0 ท่ีมุ่งเน้นการผลักดันการ อุตสาหกรรม ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องท้ังภาค
เปล่ียนแปลงโครงสรา้ งเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม รัฐและเอกชน ด�ำเนินการบูรณาการโครงการ “ปั้น
ของประเทศดว้ ยการสรา้ งมลู คา่ เพมิ่ ผลติ ภณั ฑ์ นกั ธรุ กจิ อตุ สาหกรรมเกษตรแปรรปู ไทย (SMEs เกษตร)
ซึ่งประเทศไทยเป็นประเทศท่ีมีรากฐานในการ ตามแนวประชารัฐ” เป็นโครงการที่ด�ำเนินงานเป็น
พฒั นาเศรษฐกจิ จากภาคเกษตรกรรมประกอบ ปีแรก เพื่อยกระดับกลุ่มเกษตรกรให้สามารถแปรรูป
กับด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เอื้ออ�ำนวย ผลผลิตสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยผลักดันการท�ำเกษตร
ส่งผลให้หน่ึงในอุตสาหกรรมเป้าหมายของ อุตสาหกรรมท่ีมีการเชื่อมโยงต้ังแต่การผลิต การ
ประเทศก็คือ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป แปรรปู จนถงึ การตลาดอยา่ งครบวงจร พฒั นาขดี ความ
ซ่ึงเช่ือมโยงกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจท้ังใน สามารถในการแข่งขนั ของกลุ่มเกษตรแปรรูป เพอื่ ให้มี
ภาคเกษตร ภาคอตุ สาหกรรม และภาคบรกิ าร ความพรอ้ มทจ่ี ะเปน็ ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมเกษตร
รวมถงึ ยงั เกย่ี วขอ้ งกบั ผคู้ นจำ� นวนมากอยา่ งไร แปรรูป (SMEs เกษตร) ทมี่ คี วามรู้ในการดำ� เนินธรุ กจิ
ก็ตามการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้าเกษตร อยา่ งมคี ณุ ภาพ โดยเนน้ การพฒั นาเกษตรกร บคุ ลากร
ยังขาดการพัฒนาต่อยอดด้วยเทคโนโลยีและ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป วิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจ
นวตั กรรมใหมเ่ พอื่ ยกระดบั สนิ คา้ เกษตรแปรรปู ขนาดกลางและขนาดย่อม และบุคลากรในห่วงโซ่
ทม่ี ศี กั ยภาพพรอ้ มแขง่ ขนั ทว่ั ประเทศทผี่ า่ นเกณฑก์ ารคดั กรองจำ� นวน 55,000 คน
และกลุ่มเกษตรกร 300 กลุ่ม ผ่าน 3 กิจกรรมหลัก
www.scmp.com
อตุ สาหกรรมสาร 5
www.nectec.or.th ส่วนการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบ
การเกษตรใหม้ มี ลู คา่ สงู ขนึ้ (Value Added) นน้ั ผปู้ ระกอบการ
ได้แก่ กิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้การเป็นผู้ประกอบการ จะได้รับความรู้จากที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิที่จะช่วย
(Farmer to Entrepreneur), การแปรรูปและพัฒนา ส่งเสริมให้เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิต
ผลติ ภณั ฑจ์ ากวตั ถดุ บิ การเกษตรใหม้ มี ลู คา่ สงู ขน้ึ (Value ทางการเกษตร โดยการแปรรูปและพัฒนาวัตถุดิบจาก
Added), การสนับสนนุ การจดั ตั้งหน่วยผลิตอตุ สาหกรรม ผลติ ผลทางการเกษตร โดยใชอ้ งคค์ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตร์
เกษตรแปรรปู ต้นแบบในพน้ื ที่ เทคโนโลยี นวตั กรรม และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ อีกท้ังสร้าง
ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ท่ีมี
โดยการเข้าร่วมการอบรมบ่มเพาะองค์ความรู้ คณุ ภาพ ทนั สมยั และสอดรบั กบั ความตอ้ งการของตลาด
ในการเป็นผู้ประกอบการ (Farmer to Entrepreneur) ด้านการสนับสนุนการจัดต้ังหน่วยผลิตอุตสาหกรรม
มีวัตถุประสงค์เพ่ือผลักดันผู้ประกอบการเกษตรแปรรูป เกษตรแปรรูปต้นแบบในพื้นท่ี จะเป็นการช่วยผลักดัน
สามารถน�ำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในเชิงการพัฒนาขีด ให้เกิดการจัดตั้งหน่วยผลิตแปรรูปในชุมชนและพัฒนา
ความสามารถทางการแข่งขันในกลุ่มเกษตรแปรรูปเพื่อ ขีดความสามารถในการแข่งขันของกลุ่มเกษตรแปรรูป
เตรยี มความพรอ้ มในการเปน็ ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรม ให้มีความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรม
เกษตรแปรรูป (SMEs เกษตร) ท่ีมีทกั ษะและความรู้ใน เกษตรแปรรูป (SMEs เกษตร) ท่มี ีความรู้ในการดำ� เนนิ
การด�ำเนนิ ธรุ กิจอย่างมคี ณุ ภาพรอบด้านทง้ั การบริการ ธรุ กจิ อย่างมคี ุณภาพ
จัดการ การบัญชี การตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑ์
การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ มาตรฐาน การเช่ือมโยงเครือข่าย ขกกซโทอลรอรมยุ่มข.สตเอ0ช่งรบ่ือเีม2สมค3ติ ร6โณุรมิ ย7องถข8ตุธน้อ0รุสน0มกา1พจิูลหรดแกะิจลรรทิราะมลัมรอูป4ุตภสเาขาพตหจคกาลรกรอมงเตกยองกพรฒั งุ เนทาพดฯจิ 1ทิ 0ัล1อ1ุต0สาหกรรม
6 อุตสาหกรรมสาร
Product
• เร่ือง : บวั ตะวนั มเี ดีย
หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
Creative Industry Village : CIV
พระบรมราโชวาท พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ในหลวงรชั กาลที่ 9 ทรงมงุ่ เนน้ การพฒั นาชมุ ชน
อยา่ งยง่ั ยนื ตามพระราชดำ� ริ “ตอ้ งระเบดิ จากขา้ งใน ตอ้ งมงุ่ พฒั นาเพอ่ื สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหค้ นและครอบครวั ในชมุ ชนทเ่ี ขา้ ไป
พฒั นาใหม้ สี ภาพพรอ้ มทจี่ ะรบั การพฒั นาเสยี กอ่ น แลว้ จงึ คอ่ ยออกมาสสู่ งั คมภายนอก มใิ ชก่ ารนำ� เอาความเจรญิ จากสงั คม
ภายนอกเขา้ ไปหาชมุ ชนและหมบู่ า้ น”
กระทรวงอุตสาหกรรม น้อมน�ำแนวพระราชด�ำรัส เพ่ือเป็นหมู่บ้านต้นแบบ โดยต่อยอดการพัฒนาจากหมู่บ้าน
ดังกล่าวมาเป็น “หัวใจ” ในการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้าน อุตสาหกรรมเพ่ือการท่องเท่ียว หรือหมู่บ้าน JBIC จ�ำนวน
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ โดยน�ำหลักการ “ศาสตร์พระราชา” 18 หมู่บ้านท่กี ระทรวงอตุ สาหกรรมได้ด�ำเนินการในปี 2540
มาเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากเพื่อ
การพัฒนาอย่างย่ังยืน ค�ำนึงถึงสภาพภูมิศาสตร์ ความเชื่อ น�ำร่องการพัฒนาหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (CIV)
ภูมิหลังทางเศรษฐกิจ สังคม ปรับวิถีความเป็นอยู่ของคน โดยมีวัตถุประสงค์ คือ ยกระดับเศรษฐกิจฐานรากจากการ
ในชุมชน โดยไม่ท�ำลายส่ิงแวดล้อม ส่งผลให้คนในชุมชน สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ผปู้ ระกอบการชมุ ชน พฒั นาเศรษฐกจิ
มคี วามสขุ และชุมชน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” พร้อมรับการ ฐานชุมชนสามารถเตบิ โตได้ด้วยตนเองอย่างยง่ั ยนื ผ่านกลไก
พฒั นา โดยการสรา้ งหมบู่ า้ นอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรคใ์ หเ้ ปน็ ฐาน การมีส่วนร่วมระหว่างชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน โดย
การผลิตระดับชุมชน เช่ือมโยงด้านการตลาด การท่องเท่ียว มีหลักในการพัฒนา 3 หลัก โดยคาดหวังผลที่จะได้รับ คือ
ก่อให้เกิดรายได้ในชมุ ชน สร้างความมั่นคง มงั่ คงั่ และยั่งยืน ชมุ ชนมรี ายไดเ้ พมิ่ ขน้ึ จากการสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ใหแ้ กส่ นิ คา้ และ
ในอนาคต รากฐานชุมชนให้แกร่งจาก “ข้างใน” เพ่ือรองรับ บรกิ ารตามความถนดั อตั ลกั ษณช์ มุ ชน และจดุ เดน่ ของตนเอง
อตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี วและอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์ ตามยทุ ธศ์ าสตร์ และมีศักยภาพในการบริหารจัดการ โดยในปี 2559-2560
ประเทศไทย 4.0 ภายใต้กรอบการปรบั โครงสร้างอตุ สาหกรรม ได้ด�ำเนินการพัฒนาในด�ำเนินการในพื้นท่ี 9 ชุมชน ได้แก่
ของประเทศ 1. ชุมชนบ้านนำ้� เกยี๋ น จ.น่าน 2. ชุมชนออนใต้ จ.เชียงใหม่
3. ชมุ ชนเกาะยอ จ.สงขลา 4. ชมุ ชนบ้านศาลาดนิ จ.นครปฐม
ธรุ กจิ การทอ่ งเทยี่ วในปจั จบุ นั เปน็ เฟอื งกระตนุ้ เศรษฐกจิ ไทย 5. ชมุ ชนบา้ นนาตน้ จน่ั จ.สโุ ขทยั 6. ชมุ ชนบา้ นเชยี ง จ.อดุ รธานี
ปัจจุบันเป็นอุตสาหกรรมท่องเท่ียวเป็นอุตสาหกรรมที่สร้าง 7. ชมุ ชนเกาะเกรด็ จ.นนทบรุ ี 8. ชมุ ชนบา้ นนาตนี จ.กระบี่ และ
รายได้มูลค่ามหาศาลให้แก่ประเทศ คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 9. ชุมชนปากนำ�้ ประแส จ.ระยอง นอกจากน้ียังมีการเตรียม
ร้อยละ 18 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ความพร้อมให้กับชุมชนเป้าหมายใน 76 จังหวัดทั่วประเทศ
จ�ำนวนนักท่องเท่ียวทั้งไทยและต่างชาติมีแนวโน้มเพิ่มข้ึน คู่ขนานกบั การพฒั นา
ต่อเน่ืองทุกปี แต่รายได้ส่วนใหญ่จากอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
มักกระจุกตัวอยู่ตามเมืองหลัก ๆ ทั้งท่ีความต้องการในการ ผลจากการด�ำเนินงาน ในระยะเวลา 2 ปี ที่ด�ำเนิน
ท่องเท่ียวท้งั ไทยและต่างชาตมิ ีความหลากหลายเพม่ิ ขน้ึ และ โครงการหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ชุมชนมีรายได้
มีกลุ่มนักท่องเท่ียวท่ีต้องการท่ีจะสัมผัสประสบการณ์ต่าง ๆ เพ่ิมขึ้นจากอุตสาหกรรมท่องเท่ียวเฉล่ียโดยประมาณ 50%
มากข้ึน เกิดช่องว่างทางการตลาดและโอกาสในการกระจาย ในบางชุมชนท่ีเดิมยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยว
รายได้ให้แก่ชมุ ชน มนี กั ทอ่ งเทยี่ วเพม่ิ ขนึ้ มากกวา่ เทา่ ตวั เชน่ ชมุ ชนออนใต้ จงั หวดั
เชยี งใหม่ ชมุ ชนนำ�้ เกยี๋ น จงั หวดั นา่ น และชมุ ชนบ้านศาลาดนิ
พลิกโอกาสของประเทศให้เป็นโอกาสของชุมชน จังหวัดนครปฐม นอกจากผลตอบรับในด้านของนักท่องเท่ียว
ในปี 2559 นายสมคิด จาตุศรพี ิทกั ษ์ รองนายกรัฐมนตรี มอบ และรายได้ท่เี พ่มิ ขึน้ แล้ว ผู้ประกอบการในหลาย ๆ ชุมชนซงึ่
นโยบายให้กระทรวงอุตสาหกรรม ขยายผลโครงการหมู่บ้าน มีศักยภาพ สามารถตอ่ ยอดการพฒั นากจิ การของตนเอง รวมทงั้
อุตสาหกรรมเพ่อื การท่องเท่ียวในทกุ จงั หวดั จังหวดั ละ 1 แห่ง คำ� นงึ ถงึ การพัฒนาเศรษฐกิจฐากชุมชนอย่างย่ังยืน โดยไม่ได้
อตุ สาหกรรมสาร 7
รอภาครฐั มาชว่ ยเหลอื แตส่ ามารถพง่ึ พาตนเองเปน็ หลกั และ ท่ีหลากหลาย และ/หรือ มีความสามารถในการปรับเปล่ียน
สามารถพัฒนาในเชงิ รกุ เช่น การจดั ทำ� Facebook Fanpage ผลผลติ ได้
ให้คนมาท่องเท่ียวชุมชน การจัดระบบการบริการจัดการ
ห่วงโซ่คุณค่าด้านการท่องเที่ยว การจัดเก็บเงินกองกลางจาก • เนน้ การบรหิ ารความเสยี่ งตำ�่ (Downside risk Management)
การท่องเท่ียวเพื่อปันผลให้กับชุมชน การเขียนโครงการเพ่ือ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ไม่ก่อหนี้จนเกินขีดความสามารถในการ
ขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยัง จัดการ
มีหน่วยงานอีกหลาย ๆ หน่วยงานเข้ามาพัฒนาชุมชนและ
สนบั สนุนในด้านต่าง ๆ อย่างต่อเน่อื ง • เน้นการใช้เสน่ห์ในท้องถน่ิ ในการขบั เคลื่อน
ปจั จยั เหลา่ นจ้ี ะชว่ ยใหผ้ ปู้ ระกอบการชมุ ชน/วสิ าหกจิ ชมุ ชน
สญั ลกั ษณ์ CIV สามารถพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยวคู่ขนานกับการพัฒนาชุมชน
เข้มแข็งได้อย่างมน่ั คงในระยะยาว
สัญลักษณ์ CIV หมายถึง หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ หรือ หมู่บ้าน CIV
ภูมิปัญญาและความเจริญรุ่งเรือง จึงมิใช่โครงการท่ีเน้นเพียงการพัฒนาสินค้าหรือบริการท่ีใช้
กลา่ วคอื ตวั C มาจากความออ่ นชอ้ ย ทุนวัฒนธรรมเป็นแนวทางในการขับเคลื่อน แต่ยังมีเป้าหมาย
ของรูปทรงเคร่ืองถ้วยโบราณ ตัว I เพ่ือสร้าง “รากฐาน” ของชุมชนให้มคี วามสามารถในการสร้าง
เ ส มื อ น ล� ำ เ ที ย น ท่ี ใ ห ้ ค ว า ม ส ว ่ า ง “รายได้ใหม่” ให้ตกอยู่ในชมุ ชน ส่งเสรมิ ให้เยาวชนคนรุ่นใหม่มี
ดุจปัญญา และตัว V หมายถึง อาชีพ ลดการท้งิ ถิน่ ฐานบ้านเกดิ ออกไปหางานท�ำท่อี ื่น
การบรรจบกันของสายธารความคิดแล้วแตกยอดเจริญเติบโต การใช้ทุนวัฒนธรรมเป็นแนวทางในการออกแบบสินค้า
ข้ึนอีก พื้นสีฟ้า แทนค่าความกว้างไกลของชุมชนต่าง ๆ และบริการ จึงเท่ากับว่าชุมชนเป็นผู้ส่งมอบคุณค่าวัฒนธรรม
ในผืนแผ่นดนิ ไทย ใหก้ บั ผมู้ าเยอื น รวมทงั้ ยงั ทำ� หนา้ ทส่ี บื สานมรดกวฒั นธรรมของ
แผ่นดนิ ไปด้วยอกี ทางหน่งึ ในฐานะ “เจ้าบ้าน” ผู้โอบอ้อมอารี
โครงการ CIV และมศี กั ดิศ์ รเี สมอภาค
หมบู่ า้ นอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์ (Creative Industry Village ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาหมบู่ า้ นอตุ สาหกรรม
: CIV) หมายถึง หมู่บ้านแห่งความสมดุลที่น�ำทุนวัฒนธรรม
วิถีชีวิต มาผนวกกับความคิดสร้างสรรค์ และการออกแบบ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยวโดยชุมชน
เพื่อสร้างมูลค่าใหม่ของสินค้าท่ีระลึกเพื่อการท่องเที่ยว และ ฉบับนี้ จัดท�ำขึ้นจากการอบรมเชิงปฏิบัติการในกิจกรรม
บรกิ ารหรอื กจิ กรรมทส่ี รา้ งประสบการณใ์ หมจ่ ากการทอ่ งเทยี่ ว การพัฒนาหมู่บ้านอุตสาหกรรม ภายใต้โครงการสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดมูลค่าใหม่ทางเศรษฐกิจบนแนวคิดอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเชิงวัฒนธรรม โดยการระดมความคิดจาก
สร้างสรรค์ ผปู้ ระกอบการชมุ ชนทม่ี ศี กั ยภาพ และครภู มู ปิ ญั ญา โดยการนำ�
ทุนทางวฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ มาประยกุ ต์ใช้ร่วมกบั
องค์ความรู้ท่ีเติมเต็มให้กับ “หมู่บ้าน CIV” กระทรวง องค์ความรู้ใหม่ เทคโนโลยี นวตั กรรม เพ่ือเป็นแนวทางในการ
อุตสาหกรรม ได้น้อมน�ำหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์ พฒั นาธรุ กจิ การทอ่ งเทยี่ วโดยชมุ ชนตามกรอบแนวคดิ “หมบู่ า้ น
ท่านมาใช้ในการด�ำเนินงาน อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์” (Creative Industry Village : CIV) โดย
มุ่งเน้นการใช้ต้นทนุ พ้ืนฐานหลกั ของชมุ ชน ได้แก่
เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถอุ้มชู
ตวั เองได้ให้มคี วามพอเพยี งกบั ตวั เอง (Self Sufcfi iency) อยู่ได้ 1. “พื้นท่”ี หรือ “สถานท่ี” (Place-based Village) เป็น
โดยไม่สร้างความเดือดร้อนให้ตนเองและผู้อ่ืน ซึ่งต้องสร้าง ตน้ ทนุ ทางวฒั นธรรมและการทอ่ งเทย่ี วของชมุ ชนทมี่ เี อกลกั ษณ์
พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจของตนเองให้ดีเสียก่อน มีความพอกิน เฉพาะ ลักษณะพิเศษทางประวัติศาสตร์ วิถีชีวิตและศิลป
พอใช้ สามารถพง่ึ พาตนเองได้ แลว้ จงึ สามารถสรา้ งความเจรญิ วัฒนธรรม ซึ่งโดยส่วนใหญ่อยู่ในรูปของ “ชุมชนช่างฝีมือหรือ
ก้าวหน้าและฐานะทางเศรษฐกจิ ของประเทศได้ ตลาดวัฒนธรรม” มีเอกลักษณ์เฉพาะ ลักษณะพิเศษทาง
ประวัติศาสตร์ วถิ ีชีวติ และศลิ ปวัฒนธรรม
การประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียง ในการท�ำงาน
“หมู่บ้าน CIV” ในเบอ้ื งต้น มหี ลัก 7 ประการ ดงั นี้ 2. สนิ ค้าและบรกิ าร (Product-based Village) ผลติ ภณั ฑ์
ในชุมชนส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นกลุ่มการผลิตในชุมชนท่ี
• ใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม กล่าวคือ ใช้เทคโนโลยีที่มี ผลิตสินค้าและบริการที่มีเอกลักษณ์ เน้นการใช้ภูมิปัญญา
ราคาไม่แพง แต่ถูกหลกั วชิ าการ ท้องถิ่น ความเช่ียวชาญหรือองค์ความรู้เฉพาะของท้องถ่ิน
หรอื ชุมชน เป็นทร่ี ู้จักโดยท่วั ไปหรอื แพร่หลายในการผลติ
• มีขนาดการผลิตที่เหมาะสม สอดคล้องกับความ
สามารถในการบรหิ ารจดั การ “ทุนจากภายใน” ของชุมชนท้ัง 2 ด้านน้ี ถือเป็นทุน
ตั้งต้นในการพิจารณาเพ่ือจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ฯ ครอบคลุม
• ไม่โลภ และไม่เน้นกำ� ไรระยะส้นั เป็นหลกั ทั้งทุนทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคม วิถีชีวิต
• เน้นความซื่อสัตย์สุจริตในการประกอบการ ไม่เอารัด
เอาเปรยี บผู้บรโิ ภค
• เน้นการกระจายความเส่ียงด้วยการสร้างผลิตภัณฑ์
8 อตุ สาหกรรมสาร
ศิลปวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ และความชำ� นาญเฉพาะ กสอ. ทมุ่ งบฯ ปน้ั หมบู่ า้ น CIV
ด้านท่ีเป็นอัตลักษณ์ส�ำคัญของชุมชน เป็นตัวเช่ือมให้เกิด
การมีส่วนร่วมและความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วม และเป็นปัจจัย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) เดินหน้าพัฒนา
ส�ำคัญต่อความส�ำเร็จในการพัฒนาชุมชนท่ีย่ังยืน ดังแนว หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (CIV) เพิ่มเติม 20 ชุมชน
พระราชดำ� รสั พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ต้ังเป้าพัฒนาครอบคลมุ 76 จังหวดั 158 ชุมชน ภายในปีนี้
ที่ทรงมุ่งเน้นเรอ่ื งการพฒั นาคนว่า “ตอ้ งระเบดิ จากข้างใน” งบกวา่ 22 ลา้ นบาท หลงั ประสบผลสำ� เรจ็ จากการดงึ อตั ลกั ษณ์
คือ ต้องมุ่งพัฒนาเพ่อื สร้างความเข้มแขง็ ให้คนและครอบครวั และทุนทางวัฒนธรรมของชุมชนเป็นจุดขาย นายกอบชัย
ในชุมชนท่ีเข้าไปพัฒนา ให้มีสภาพพร้อมที่จะรับการพัฒนา สงั สทิ ธสิ วสั ดิ์ อธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม เผยวา่ ในปี 2561
เสียก่อน แล้วจึงค่อยออกมาสู่สงั คมภายนอก มิใช่การนำ� เอา การส่งเสรมิ หมู่บ้านอตุ สาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industry
ความเจริญจากสังคมภายนอกเข้าไปหาชุมชนและหมู่บ้าน Village : CIV) จะเปน็ การยกระดบั อตุ สาหกรรมชมุ ชนทเ่ี ชอ่ื มโยง
ซึ่งหลายชุมชนยังไม่ทันได้มีโอกาสเตรียมตัวหรือต้ังตัว จึงไม่ การทอ่ งเทยี่ ว (CIV 4.0) ซง่ึ เปน็ การตอ่ ยอดหมบู่ า้ นอตุ สาหกรรม
สามารถปรับตัวได้ทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงและน�ำไป สรา้ งสรรค์ โดยรว่ มมอื กบั การทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย (ททท.)
สู่ความล่มสลายได้ สภาการท่องเทย่ี ว สำ� นกั งานส่งเสรมิ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและ
ขนาดย่อม ในการสร้างรายได้เพ่มิ ให้กบั ชุมชน โดยคาดว่าจะ
ในการพัฒนาหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (CIV) ทำ� ใหเ้ กดิ การยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานรากชมุ ชนใหม้ รี ายได้เพม่ิ
ยังได้น้อมน�ำแนวทาง “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” มาประยกุ ต์ใช้ใน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ด้วยการพลิกโฉมการท่องเท่ียวและ
การขับเคลอ่ื นโครงการ โดยมกี ระบวนการดังแผนภมู ิ การสร้างสรรค์สินค้าผ่านการดึงเสน่ห์วิถีชุมชนมาผสมผสาน
การประยุกต์น�ำต้นทุนวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อ
โดยขับเคลอ่ื นโครงการด้วยมติ ดิ ้านต่าง ๆ ดงั นี้ สร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์และบริการเชื่อมโยงกับการพัฒนา
1. ทุนทางวฒั นธรรม ประกอบด้วย แหล่งท่องเท่ียวได้อย่างกลมกลืนและลงตัว ซ่ึงเป็นตัวช่วย
• อัตลักษณ์ชมุ ชน ท่ีก่อให้เกิดรูปแบบและมูลค่าใหม่ทางเศรษฐกิจบนแนวคิด
• เสน่ห์ชมุ ชน อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ท�ำให้ชุมชนมีศกั ยภาพในการบรหิ าร
• วถิ ชี มุ ชน จัดการได้ด้วยตนเองอย่างยั่งยืน และลดการเคลื่อนย้าย
• ภมู ิปัญญาชมุ ชน แรงงานจากชมุ ชนสู่เมอื ง
2. การท่องเท่ยี ว ประกอบด้วย
• ทรพั ยากรท่องเท่ยี ว เป้าหมายการพัฒนาในปีนี้ มีจ�ำนวน 158 ชุมชน
• เส้นทางท่องเท่ยี ว ในพ้ืนท่ี 76 จังหวัดท่ัวประเทศ แยกเป็นการพัฒนาหมู่บ้าน
• ข้อมลู ท่องเท่ยี ว อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (CIV) ต่อเนื่องจากปีท่ีแล้ว 20 ชุมชน
3. ผลิตภัณฑ์และบรกิ าร ได้แก่ ภายใตง้ บประมาณ 22.61 ลา้ นบาท โดยเปน็ การประชาสมั พนั ธ์
• การสร้างมลู ค่าเพ่มิ ให้กบั ผลิตภณั ฑ์ชุมชน (เดมิ ) จดั แสดงผลงานของแตล่ ะชมุ ชน เพอื่ เผยแพรใ่ หเ้ ปน็ ทรี่ จู้ กั ผา่ น
• การสร้างมูลค่าเพม่ิ ให้กบั บริการชุมชน (เดมิ ) ชอ่ งทางตา่ ง ๆ และยกระดบั อตุ สาหกรรมทเ่ี ชอ่ื มโยงการทอ่ งเทยี่ ว
• ของฝากและของท่รี ะลึกเพ่ือการท่องเทย่ี ว (CIV 4.0) จำ� นวน 138 ชุมชน ซงึ่ เป็นการบูรณาการเป้าหมาย
ร่วมกับคณะอนุกรรมการการท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยการ
พัฒนาจะมุ่งเสริมศักยภาพผู้ประกอบการชุมชน 3 ด้าน คือ
ด้านกระบวนการผลติ ด้านคณุ ภาพมาตรฐานและการพฒั นา
ผลิตภัณฑ์ และด้านการตลาดออนไลน์ ตามความต้องการ
แตล่ ะพนื้ ท่ี อนั จะกอ่ ใหเ้ กดิ การยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานรากใหม้ ี
รายได้เพิ่มขน้ึ อย่างน้อยร้อยละ 10 ทั่วประเทศ และส่งเสรมิ ให้
ผปู้ ระกอบการชมุ ชนสามารถเตบิ โตไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ในระยะยาว
อตุ สาหกรรมสาร 9
นอกจากน้ี ยงั มแี ผนการยกระดบั เศรษฐกจิ ชมุ ชนฐานราก แนวทางพฒั นา CIV ในระยะยาว
(Local Economy) เพอื่ สร้างงาน สร้างโอกาสและสร้างรายไดใ้ ห้
เกิดข้ึนในเศรษฐกิจฐานรากด้วยการดึงธุรกิจเอกชนรายใหญ่ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมมีเป้าหมายในการยกระดับ
เข้ามาช่วยสนับสนุนการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในท้องถิ่นใน เศรษฐกิจฐานราก ด้วยการสร้างความเข้มแข็งจากภายใน
รปู แบบประชารฐั ประกอบด้วย เช่ือมโยงเศรษฐกจิ ไทยสู่โลก (From Local to Global) ด้วยการ
ยกระดบั ธรุ กิจชมุ ชนให้เป็น “ธรุ กจิ ออนทอป (On Top)” ขยาย
1) โครงการยกระดับอุตสาหกรรมชุมชนเชื่อมโยง ช่องทางธุรกิจให้มีความหลากหลายเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและ
การท่องเท่ียว (CIV 4.0) ผู้บริโภคได้อย่างตรงจดุ พร้อมท้งั ยกระดบั อุตสาหกรรมชมุ ชน
ให้เชือ่ มโยงกบั การท่องเทย่ี ว (CIV 4.0) มีเป้าหมายการพฒั นา
2) โครงการอุตสาหกรรมสร้างงาน สร้างโอกาส สร้าง ท้งั หมดจำ� นวน 160 ชุมชน ทั่วประเทศ โดยใช้หลกั การพัฒนา
รายได้ให้ชมุ ชน 3 หลกั ตามช่อื CIV คอื
3) โครงการปั้นนักธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปไทย 1. หลักฉนั ทามติ (Consensus) คอื การเหน็ พ้องต้องกนั
(SMEs เกษตร) ระหว่างคนในชมุ ชน หน่วยงานภาครัฐ และภาคอตุ สาหกรรม
ในพืน้ ที่
กสอ. ยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานชมุ ชน
2. หลักอตั ลกั ษณ์ชมุ ชน (Identity) คือ การค้นหาจดุ เด่น
การด�ำเนินงานมาตรการส่งเสริมและช่วยเหลือ SMEs และเสน่ห์ของชมุ ชน เพอ่ื น�ำมาสร้างเป็นจดุ ขาย
ปี 2561 ทก่ี รมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม (กสอ.) มแี ผนดำ� เนนิ การ
ยกระดับ โดยมุ่งหวังกระจายรายได้สู่ท้องถ่ินทั่วประเทศ 3. หลกั การสรา้ งมลู คา่ เพมิ่ (Value-added) ใหแ้ กผ่ ลติ ภณั ฑ์
ซง่ึ 1 ใน 9 มาตรการดงั กล่าว คือ การยกระดับเศรษฐกจิ ฐาน และบริการชุมชนเพื่อเช่ือมโยงการท่องเที่ยวจากทรัพยากรใน
ชุมชน (Local Economy) ผ่านโครงการสร้างงาน สร้างโอกาส พื้นที่
และสร้างรายได้จากเศรษบกจิ ฐานราก
ทง้ั นี้ ยงั มโี ครงการปน้ั นกั ธรุ กจิ อตุ สาหกรรมเกษตรแปรรปู
โครงการยกระดับอุตสาหกรรมชุมชนเชื่อมโยงการ ไทย (SMEs เกษตร) ตามแนวประชารัฐ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย
ท่องเท่ยี ว หรอื “โครงการ CIV 4.0” (Creative Industry Village) ทัว่ ประเทศ 600 กลุ่ม ประกอบด้วย Micro SMEs กลุ่มเกษตร
160 ชุมชน โดยเน้นพัฒนาศักยภาพชุมชน ค้นหาอัตลักษณ์ แปรรปู วสิ าหกจิ ชมุ ชน สหกรณก์ องทนุ และเครอื ขา่ ยวสิ าหกจิ
ชมุ ชน ทำ� แผนการพฒั นา และบรหิ ารจดั การอยา่ งยงั่ ยนื พฒั นา แบง่ เปน็ เกษตรแปรรปู 300 กลมุ่ ซงึ่ จะสรา้ งความเปน็ ผปู้ ระกอบการ
ผลติ ภณั ฑ์ และบรกิ ารดว้ ยการพฒั นาตน้ แบบผลติ ภณั ฑ์ และ เตรยี มความพร้อม อบรม พัฒนา บ่มเพาะ พฒั นาการบรหิ าร
เชื่อมโยงการท่องเที่ยว เช่ือมโยงตลาดออนไลน์ด้วย Digital จัดการ และการรวมกลุ่ม รวมถึงการประสานความร่วมมือ
Platform ซึ่งจะด�ำเนินการทุกจังหวัดทั่วประเทศ และมี กับหน่วยงานอน่ื ๆ เพื่อเพมิ่ ช่องทางการจำ� หน่ายสนิ ค้า ผ่าน
เป้าหมายทจ่ี ะยกระดับเศรษฐกจิ ฐานราก ชมุ ชนมรี ายได้เพิม่ ร้านธงฟ้าประชารัฐ ร้านค้าสวัสดิการ ตลาดกลางประชารัฐ
ไม่น้อยกว่า 25%
การพัฒนาหมบู่ า้ นอุตสาหกรรมสรา้ งสรรค์ (CIV) 27 ชุมชน ท่ัวประเทศ
10 อุตสาหกรรมสาร
รายชื่อหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (CIV) 27 ชมุ ชน ทัว่ ประเทศ
ตลาดกลางขนาดใหญ่ และตลาดต่างประเทศ โดยธนาคารเพ่อื ใน 10 อตุ สาหกรรมเป้าหมายของประเทศไทยให้เรว็ ท่ีสุด โดย
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ขณะทอ่ี กี 300 กลุ่ม บูรณาการท�ำงานร่วมกันท้ังภายในและภายนอกกระทรวง
จะเปน็ เกษตรอตุ สาหกรรม ซงึ่ จะเขา้ ไปพฒั นาเทคโนโลยกี ารผลติ ซงึ่ ปัจจบุ นั ศนู ย์ส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมภาค 11 แห่ง ทว่ั ประเทศ
นวัตกรรม และเครอื่ งจกั ร พัฒนามาตรฐาน พัฒนาผลติ ภณั ฑ์ และสำ� นักงานอตุ สาหกรรมจงั หวดั ทุกจังหวดั ได้สำ� รวจความ
และบรรจภุ ณั ฑ์ จดั หาตลาดผา่ นอคี อมเมริ ซ์ ซง่ึ ทงั้ 600 กลมุ่ มี ต้องการและหาแนวทางและโครงการท่ีเหมาะสมเพื่อให้การ
เป้าหมายที่จะสร้างผู้ประกอบการเกษตรแปรรูปและ SMEs ช่วยเหลือแก่ชุมชนเป้าหมาย อาทิ การพัฒนาศักยภาพของ
เกษตรเพิ่มข้ึนไม่น้อยกว่า 30% เป็นส่วนหน่ึงในการสร้าง ผู้ประกอบการชุมชนในด้านการบริหารจัดการเพื่อรองรับ
เศรษฐกิจฐานรากให้มีความเข้มแข็งส่งผลให้เศรษฐกิจชุมชนมี ผู้บริโภคในอุตสาหกรรมท่องเท่ียว การพัฒนามาตรฐาน
รายได้เพ่มิ ขึ้นไม่น้อยกว่า 40% ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน การพฒั นาผปู้ ระกอบการชมุ ชนในดา้ นดจิ ทิ ลั
การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ การพัฒนาของท่ีระลึก
ขนั้ ตอนพฒั นา CIV 4.0 ทว่ั ประเทศ เพอ่ื รองรบั อตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว การพฒั นากระบวนการผลติ
เพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนให้มมี ลู ค่าเพม่ิ
• จัดประชมุ ศภ.11 ศนู ย์ รบั ทราบแนวทางการด�ำเนนิ งาน และตรงกบั ความต้องการของนกั ท่องเท่ียว
มาตรการพเิ ศษเพื่อขบั เคลอ่ื น SMEs สู่ยคุ 4.0
อุตสาหกรรมสาร 11
• ส�ำรวจความต้องการในพ้ืนที่เป้าหมายการพัฒนา CIV
ทั่วประเทศ
• จับคู่ความต้องการเพ่ือหาแนวทางช่วยเหลือในส่วนท่ี
ชมุ ชนขาด
• จัดท�ำฐานข้อมูล และส�ำรวงความถูกต้องของกลุ่ม
เป้าหมาย CIV 160 ชมุ ชน
• ขับเคล่ือนการพัฒนา ประสานหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อ
ช่วยเหลอื และตดิ ตามผล
• สรุปผลการขบั เคลือ่ น CIV ในชุมชนต่าง ๆ ทัว่ ประเทศ
ตามแนวทางมาตรการพเิ ศษเพอ่ื ขบั เคลอ่ื น SMEs สู่ยคุ 4.0
ปี 2561 ขยายผล CIV 27 ชมุ ชน
การด�ำเนินการใน 27 จังหวัดข้างต้นแล้ว กระทรวง
อุตสาหกรรมยังมีโครงการคู่ขนานขยายผลกลุ่มเป้าหมาย
เพ่ิมเติม รวม 160 ชุมชน ท่ัวประเทศ เน้นเพ่ิมศักยภาพ
ผู้ประกอบการชุมชนในด้านที่ขาด เพื่อยกระดับและขับเคลื่อน
ชุมชนให้มีศักยภาพเข้าสู่อุตสาหกรรมท่องเท่ียว อันเป็น 1
Hilight
• เรือ่ ง : ดร.สมชาย หาญหริ ญั
รัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงอตุ สาหกรรม
ม‘อบงพุ เพCสIนVั นวิ ผาสา่ ’น
ในยุคนี้หากไม่เอ่ยอ้างถึงละครช่ือดัง ‘บุพเพสันนิวาส’ www.sanook.com
แลดูจะไม่ทันการณ์ ผมคงไม่ต้องบรรยายว่าละครเรื่องนี้เป็น
มาอย่างไร ทุกสือ่ ประโคมข่าวทกุ วนั ทุกคนพดู ถงึ ละครเรอ่ื งนี้ ตัวละครทุกตัวถูกน�ำมาเล่าเสริมเพ่ือให้คนดูละครได้อรรถรส
ตัง้ แต่ชาวบ้าน แม่ค้า จนถงึ นายกรัฐมนตรี ก่อนอน่ื ผมจะขอ มากขึ้น มีเร่ืองราวต่อเติมเสริมแต่งรายละเอียดขยายออก
กลา่ วแนะนำ� ตอนตน้ นเ้ี กยี่ วกบั หมบู่ า้ นอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์ ไปมากข้ึน ซ่ึงเป็นประโยชน์อย่างมากส�ำหรับคนไทยทั่วไป
หรอื CIV ท่ยี ่อจาก Creative Industry Village (CIV) ว่าสามารถ ผมเองก็เพ่ิงรู้ว่าประวัติของหลายคนจากกระแสของละคร
เรยี นรจู้ ากละครเรอ่ื งนอ้ี ยา่ งไร เปน็ แนวคดิ การพฒั นาเศรษฐกจิ เรื่องน้ี นอกจากน้ี การท่องเท่ียวโบราณสถาน วัดวาใน
ฐานรากทกี่ ระทรวงอตุ สาหกรรมรว่ มมอื กบั คนในชมุ ชนหนงึ่ ๆ อยุธยา พระราชวังโบราณในลพบุรี ก็คึกคักพร้อมท้ังการแต่งตัว
ร่วมมือกันวางแผนพัฒนาชุมชนแห่งนั้นผ่านตัวกลางต่าง ๆ แบบแม่การะเกดก็มีให้เห็นในสถานท่ีท่ีมีการเดินตามรอย
รวมกนั เพราะเชอ่ื วา่ หากมกี ารพฒั นาผลติ ภณั ฑท์ มี่ อี ตั ลกั ษณ์ บุพเพสันนิวาส ส่วนอาหารก็มีการโปรโมทอาหารไทยทั้งคาว
ของชุมชน รวมกับวิถีชีวิต แหล่งท่องเท่ียว และประเพณี และหวานต�ำรบั โบราณ จนถงึ การจัดตลาด และการท่องเทย่ี ว
ต่าง ๆ ของชุมชนมามัดรวมกันเพื่อจูงใจให้ผู้คนมาเยือน วฒั นธรรม และกม็ ีผู้คนตอบรบั อย่างคกึ คัก
กส็ ามารถสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ชมุ ชนอยา่ งทว่ั ถงึ จากแตเ่ ดมิ ทเ่ี รา
เข้าไปพัฒนาเฉพาะผลิตภัณฑ์แล้วพยายามน�ำออกมาขายใน
เมืองใหญ่ การท�ำแบบนี้น่าจะเกิดประโยชน์กับกลุ่มคน
หลายกลุ่มและผลิตภัณฑ์ท้องถ่ินก็อยู่ใกล้กับวัฒนธรรมของ
ตนเองซึ่งจะย่ิงช่วยขับความโดดเด่นและคุณค่าย่ิงกว่าอยู่ห่าง
รากเหงา้ ของตนเอง ตวั อยา่ งแบบน้ี ผมวา่ พวกเราหลายคนคงเคย
เห็นในญป่ี ุ่นที่ผลติ ภณั ฑ์ดงั ๆ ของท้องถ่นิ หาซื้อในเมอื งอ่นื ๆ
ไมม่ ี อยากไดต้ อ้ งมาทเี่ มอื งนเ้ี ทา่ นน้ั โจทยท์ สี่ ำ� คญั ของ CIV คอื
จะท�ำอย่างไรทใ่ี ห้ผู้คนสนใจ และแวะมาเย่ยี มเยอื น
กลับมาท่ีละครออเจ้าอีกคร้ัง ตอนนี้หลายวงการอาศัย
ความแรงของออเจา้ การะเกดและคณุ พห่ี มน่ื มาเปน็ แรงกระตนุ้
ในการสง่ เสรมิ งานดา้ นตา่ ง ๆ ไมว่ า่ อาหาร การทอ่ งเทย่ี ว โบราณ
สถาน และหลาย ๆ คนเดินเข้าพพิ ิธภัณฑ์เป็นคร้งั แรกในชวี ติ
กระแสความสนใจในประวัติศาสตร์ไทยมากขึ้น ประวัติของ
12 อตุ สาหกรรมสาร
ค�ำถามทนี่ ่าสนใจคอื อะไรทท่ี ำ� ให้ละครเรอื่ งนดี้ งั ฝดุ ๆ ใน ในชมุ ชน สถานพกั ผอ่ นหยอ่ นใจแบบธรรมชาติ อาหารทอ้ งถน่ิ
ขณะนี้ ผมวา่ ละครเรอื่ งนเี้ อาผชู้ มเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในละคร เชน่ ท่เี ฉพาะ ผลติ ภณั ฑ์ท่หี าท่ีอน่ื ไม่ได้ และอ่นื ๆ ทต่ี ้องผสมผสาน
การสอดแทรกสาระประวตั ศิ าสตร์ พงศาวดาร ทพี่ วกเราทกุ คน ใหเ้ หมาะและลงตวั และเพอ่ื จะถกู ใจคนตา่ งถน่ิ ทมี่ าเยอื น เหมอื นท่ี
เคยเรียนมาก่อนแม้ว่าอาจจะลืมหรือเร่ืองราวอาจไม่ครบครัน “รอมแพง” สร้างกระแสฟีเวอร์การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ผ่าน
แต่ก็ท�ำให้ผู้ชมวาดภาพ แสดงความรู้ หรอื ใคร่รู้เรอ่ื งราวเสรมิ ละคร “บุพเพสันนิวาส” สร้างกระแสให้คนตื่นตัวมาเรียนรู้
เติมแต่งรายละเอียดของตัวละครออกไปจากท่ีแค่ปรากฏใน ประวัตศิ าสตร์อย่างมากมาย “ผ่านละคร” ท่ใี ห้ทกุ รสชาติกบั
ละครมากขนึ้ นอกจากนยี้ งั เลน่ กบั ความแตกตา่ งทชี่ วนรนื่ เรงิ ใน คนดูและเติมเต็มสิ่งท่ีคนดูไม่อาจหาได้จากเร่ืองอ่ืน ๆ และ
ทกุ เรอื่ งตง้ั แตเ่ รอื่ งอาหารทแ่ี มห่ ญงิ การะเกดคดิ คน้ สตู รมะมว่ ง CIV ก็เหมือนกัน บางทีการโปรโมทผลิตภัณฑ์ประจ�ำท้องถิ่น
นาํ้ ปลาหวาน หมกู ระทะ กงุ้ เผา หรอื หลนเตา้ เจย้ี ว ทเี่ ราทกุ คน ก็ไม่จ�ำเป็นต้องเสนอผ่านตัวผลิตภัณฑ์แบบตรง ๆ แต่ผ่าน
รู้จกั รสชาตดิ ี หรอื ทองหยบิ ทองหยอด ของแม่หญงิ ทองกบี ม้า สิ่งอ่ืนที่ผู้คนถวิลหาในชีวิตท่ีเขาหาได้ใน CIV ซ่ึงมีหลาย
(มารยี ์ ตองค์ กรี ม์ า) และคนดกู ส็ นกุ สนานทเ่ี หน็ คนยคุ นนั้ ชอบ กิจกรรม หรือรอยย้ิม มิตรภาพ ความอบอุ่นทใี่ ห้กบั ผู้มาเยอื น
รสชาตอิ าหารในยคุ เรา หรอื การใชภ้ าษาพดู ทไี่ มร่ คู้ วามไปบา้ ง อาจเป็นปัจจัยส�ำคัญของการขับคุณค่าของอัตลักษณ์ของ
ของแม่หญงิ การะเกด และภาษาวยั รุ่น สมยั ใหม่ ที่สอดแทรก ท้องถ่ินให้โดดเด่นและหาทอ่ี ืน่ ได้ยาก
มาเปน็ ระยะทำ� ใหเ้ ปน็ ทสี่ นกุ สนานเพราะใกลต้ วั ผชู้ มและรเู้ รอ่ื ง
อยา่ งลกึ ซงึ้ โดยไมต่ อ้ งมคี ำ� อธบิ ายใหม้ ากความ ซง่ึ “รอมแพง” ปรชั ญาเบอื้ งหลงั ความสำ� เรจ็ ของ CIV คอื C : Consensus
รู้ดี ดงั นนั้ จงึ มัดรวมสง่ิ ต่าง ๆ ทงั้ อดีต ปัจจบุ ัน ผสมผสานปรุง ส่วน I คอื Identity และ V คือ Value Creation ความหมายรวม
ออกมาได้รสชาตทิ ถี่ ูกใจผู้ชมในกลุ่มกว้าง ท่เี ราตัง้ ใจไว้กง็ ่าย ๆ ครับ ทุกอย่างท่ที ำ� ชุมชนต้องเหน็ พ้อง
ร่วมกันในการเดินทิศทางนี้ มีอัตลักษณ์ที่ชัดเจนและ
สง่ิ ที่ปรากฏในบพุ เพสนั นวิ าสท่ีคนทำ� CIV เรยี นรู้ได้ คือ คนขา้ งนอกรบั รู้ เพอื่ นำ� มาสรา้ งคณุ คา่ ผา่ นทกุ กจิ กรรมในชมุ ชน
การท่ีจะให้คนมาชื่นชมส่ิงที่หมู่บ้านต้องการน�ำเสนอนั้นต้อง …ชอบละครแล้ว ทุกอย่างในรายละเอียดท่ีมีในละครคนดู
ใกล้ตัวกบั กลุ่มเป้าหมายเหมอื นละคร “ออเจ้า” ท่มี ีลกู หยอด ก็จะชอบตามล่ะครับ การแต่งงาน ค�ำพูดที่ใช้ในละครและ
ให้คนดตู ดิ ตามแต่ไม่ยุ่งยากในการตคี วาม และอาจไม่จำ� เป็น ลามไปถึงส�ำรับกุ้งเผา น้ําจ้ิมรสแซ่บ มะม่วงนํ้าปลาหวาน
ต้องแสดงผ่านสิ่งที่อยากบอกนั้นโดยตรงก็ได้ หลายหมู่บ้าน กลายเป็นเมนูบงั คับของร้านในอยธุ ยาแทบทกุ ร้าน
มีผลิตภัณฑ์ท่ีมีชื่อเสียง ผู้คนชื่นชมและภูมิใจในวัฒนธรรม
ของตัวเอง มีวิถีชีวิตที่เป็นอัตลักษณ์ หรือมีสถานท่ีท่องเที่ยว จV(วขCันiาอlIlVกaทขgหี่ อหe2น)มบ5งั ภาคส-ยาือณุ2ยถพ8ใขงึ ิมตม้อโ้กพนีคมา์ฐารลูรางคดแกนมำ� ลาเเศรนพะหรรนิ.ษศมูปงฐ.ู่บาภก2น้าาจิ5นขพ6ออป1จตุงีทากสี่กรา3ะห8ทกฉรรวบรงมับอสทตุ ร่ีส้3าา,ง3หส5กร1รรครม์ ()Creative Industry
แต่สิ่งต่าง ๆ เหล่าน้จี ะมคี ่ากต็ ่อเม่อื คนท่เี ป้าหมายหรอื ลูกค้า อุตสาหกรรมสาร 13
ของเราให้ “คณุ คา่ ” กบั ของของเรา ผคู้ นอาจชอบหลาย ๆ อยา่ ง
แต่ทุกคนจะมจี ุดเน้นของความชอบท่ตี ่างกนั
ดงั นน้ั เพอื่ ชกั จงู ใหผ้ คู้ นไปเยอื น กต็ อ้ งมอี ะไรหลาย ๆ อยา่ ง
ทผี่ คู้ นอนื่ ๆ ถวลิ หาและหาไมไ่ ดใ้ นทท่ี เ่ี ขาอยู่ เชน่ รอยยม้ิ ของคน
Interview
• เรื่อง : นุชเนตร จักรกลม
กอบชัย สังสิทธิสวัสด์ิ
ขานรับเศรษฐกิจฐานราก ทุ่มงบปั้นนักธุรกิจเกษตร
เดินหน้ายกระดับอุตสาหกรรมชุมชนเชื่อมโยงการท่องเที่ยว
ก า ร ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ฐ า น ชุ ม ช น
(Local Economy) เป็น 1 ใน 9 มาตรการ
พิเศษเพ่ือช่วยเหลือผลักดันให้ SMEs
เกิดการพัฒนาเพ่ือยกระดับไปสู่ SMEs
ยุค 4.0 ที่มีศักยภาพ ตามนโยบายรัฐบาล
ที่ ม อ บ ห ม า ย ใ ห ้ ก ร ะ ท ร ว ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม
โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเป็นก�ำลังหลัก
ในการเดินหน้าขับเคลื่อนการด�ำเนินการ
ส่งเสริม SMEs ในเชิงลึกพร้อมเช่ือมโยง
เครือข่ายองค์กรสนับสนุนเพ่ือให้เกิดการ
บรู ณาการความชว่ ยเหลอื โดยเนน้ การกระจาย
รายไดส้ ทู่ อ้ งถน่ิ ทว่ั ประเทศ
นายกอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์ อธิบดี
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กล่าวว่า การยกระดับ
เศรษฐกจิ ฐานชมุ ชน มวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการสนบั สนนุ
พฒั นาวสิ าหกจิ ชมุ ชนในทอ้ งถน่ิ โดยเนน้ การสรา้ ง
ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ ห ม ่ แ ล ะ พั ฒ น า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์
ในเชงิ นวตั กรรม ท่ีสอดรับกบั ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ของ
กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม (พ.ศ. 2559-2563) ทว่ี า่ ดว้ ย
การยกระดับและเชื่อมโยงการบริการเพื่อเพ่ิม
ศักยภาพอุตสาหกรรมด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยี
แห่งอนาคต และทุนวัฒนธรรมผ่านโครงการ
ยกระดบั อตุ สาหกรรมชมุ ชนเชอื่ มโยงการทอ่ งเทย่ี ว
(CIV 4.0) ทด่ี �ำเนินการพฒั นาศักยภาพชมุ ชนด้วย
ก า ร ค ้ น ห า อั ต ลั ก ษ ณ ์ ชุ ม ช น ร ่ ว ม กั บ ท� ำ แ ผ น
การพัฒนาและบริหารจัดการอย่างย่ังยืน รวมถึง
ผลักดันการแปรรูปผลิตผลการเกษตร ผ่าน
3 โครงการหลัก ได้แก่ 1. โครงการปั้นนักธุรกิจ
เกษตรแปรรปู ไทย (SMEs เกษตร) ตามแนวประชารฐั
2. โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและ
การบริหารธุรกิจ SMEs ในอุตสาหกรรมเกษตร
แปรรูป และ 3. โครงการพัฒนาประสิทธิภาพ
การผลติ อตุ สาหกรรมเกษตรแปรรปู ดว้ ยเทคโนโลยี
ดจิ ิทลั และเทคโนโลยอี ัตโนมตั ิ
14 อตุ สาหกรรมสาร
โครงการปั้นนักธุรกิจเกษตรแปรรูปไทย (SMEs เกษตร) การลดความสญู เปลา่ การลดตน้ ทนุ เพอื่ เพม่ิ ขดี ความสามารถ
ตามแนวประชารัฐ ต้ังเป้าการยกระดับเศรษฐกิจฐานราก ในการแขง่ ขนั ของวสิ าหกจิ และเพมิ่ ศกั ยภาพของผปู้ ระกอบการ
ชุมชนใหม้ รี ายไดเ้ พม่ิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 25% โดยเปน็ โครงการทม่ี งุ่ เนน้ ในการด�ำเนินธุรกิจ สามารถเช่ือมโยงสู่แหล่งนวัตกรรมต่างๆ
กลมุ่ อตุ สาหกรรมเกษตรระดบั ตน้ นำ้� ทที่ างกรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม อาทิ ศนู ยป์ ฎริ ปู อตุ สาหกรรม (ITC) สถาบนั การเงนิ และโครงการ
เป็นเจ้าภาพในการด�ำเนินงานร่วมกับสภาเกษตรกรแห่งชาติ Big Brother หรอื แพลตฟอรม์ T-GoodTech ได้ โดยตงั้ เปา้ พฒั นา
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมเครื่องจักรกล 2,000 กจิ การ ซ่งึ แบ่งออกเป็น 1,600 กจิ การจาก SMEs และ
แห่งประเทศไทย และอีกหลายหน่วยงานของภาครัฐและ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปหรืออุตสาหกรรม
เอกชน และเนน้ การพฒั นาบคุ ลากรในอตุ สาหกรรมเกษตรและ ท่ีเกี่ยวเน่ือง และ 400 กิจการจาก SMEs ท่ีมีศักยภาพ
เกษตรแปรรูป วิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจขนาดกลางและ ร่วมกับโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตอุตสาหกรรม
ขนาดย่อม จำ� นวน 50,000 ราย ในรูปแบบของการสัมมนาให้ เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีอัตโนมัติ
ความรกู้ ารเปน็ ผปู้ ระกอบการ (Farmer to Entrepreneur) และ ซง่ึ เปน็ โครงการทชี่ ว่ ยเสรมิ ความแขง็ แกรง่ ใหก้ บั ผปู้ ระกอบการ
ส่งเสรมิ ความรู้ให้แก่กลุ่มเกษตรกรนำ� ร่อง จำ� นวน 300 กลุ่ม ระดับกลางน้ำ� เช่นเดยี วกัน
ในเร่ืองของการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบ
เกษตรโดยใช้เทคโนโลยีและเคร่ืองจักรมาเพ่ิมมูลค่าให้สูงข้ึน ดา้ นการดำ� เนนิ การพฒั นาหมบู่ า้ นอตุ สาหกรรม (Creative
(Value Added) ตลอดจนการสนับสนุนการจัดต้ังหน่วยผลิต Industry Village : CIV) เกิดจากการน้อมนำ� แนวทางเศรษฐกจิ
อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปต้นแบบในพ้ืนท่ีจ�ำนวน 50 กลุ่ม พอเพียง มาประยุกต์ใช้ในการขับเคล่ือนโครงการฯ เพ่ือ
สว่ นโครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ และการบรหิ ารธรุ กจิ SMEs ยกระดับเศรษฐกิจฐานรากจากการสร้างความเข้มแข็งให้กับ
ในอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป เป็นโครงการที่เน้นการพัฒนา ผู้ประกอบการชุมชน พัฒนาเศรษฐกิจฐานชุมชนสามารถ
ศักยภาพผู้ประกอบการในห่วงโซ่กลางน�้ำ ซึ่งวัตถุประสงค์ เติบโตได้ด้วยตนเองอย่างย่ังยืน ผ่านกลไกการมีส่วนร่วม
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ ระหวา่ งชมุ ชน ภาครฐั และภาคเอกชน โดยมหี ลกั ในการพฒั นา
3 หลัก และคาดหวังผลท่ีจะได้รับ คือ ชุมชนมีรายได้เพิ่มข้ึน
อตุ สาหกรรมสาร 15
จากการสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ให้แก่สนิ ค้าและบรกิ ารตามความถนดั การท่องเท่ียวเพ่ือปันผลให้กับชุมชน การเขียนโครงการเพ่ือ
อัตลักษณ์ชุมชน และจุดเด่นของตนเอง และมีศักยภาพ ขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เก่ียวข้อง นอกจากนี้
ในการบรหิ ารจดั การ ทงั้ นใี้ นปี 2559-2560 ไดด้ ำ� เนนิ การพฒั นา ยังมีหน่วยงานอีกหลาย ๆ หน่วยงานเข้ามาพัฒนาชุมชนและ
ในพนื้ ที่ 9 ชมุ ชน ไดแ้ ก่ 1. ชมุ ชนบา้ นนำ�้ เกยี๋ น จ.นา่ น 2. ชมุ ชน สนบั สนนุ ในด้านต่าง ๆ อย่างต่อเน่อื ง
ออนใต้ จ.เชยี งใหม่ 3. ชุมชนเกาะยอ จ.สงขลา 4. ชมุ ชนบ้าน
ศาลาดนิ จ.นครปฐม 5. ชมุ ชนบา้ นนาตน้ จน่ั จ.สโุ ขทยั 6. ชมุ ชน และในปงี บประมาณ 2561 ไดต้ งั้ เปา้ ขยายผลการพฒั นา
บ้านเชียง จ.อดุ รธานี 7. ชมุ ชนเกาะเกรด็ จ.นนทบรุ ี 8. ชมุ ชน เป็น 27 ชุมชน ร่วมกับการด�ำเนินโครงการคู่ขนานขยายผล
บ้านนาตนี จ.กระบี่ และ 9. ชมุ ชนปากนำ้� ประแส จ.ระยอง กลุ่มเป้าหมายเพ่ิมเติม รวม 160 ชุมชน ท่ัวประเทศ เน้น
นอกจากนี้ ยังมีการเตรียมความพร้อมให้กับชุมชนเป้าหมาย เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการชมุ ชนในด้านทข่ี าด เพอ่ื ยกระดบั
ใน 76 จงั หวดั ทวั่ ประเทศคู่ขนานกบั การพฒั นา และขบั เคลอื่ นชมุ ชนใหม้ ศี กั ยภาพเขา้ สอู่ ตุ สาหกรรมทอ่ งเทยี่ ว
อันเป็น 1 ใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศไทย
โดยผลจากการดำ� เนนิ งานในช่วง 2 ปีท่ีผ่านมา สามารถ ให้เร็วที่สุด โดยบูรณาการท�ำงานร่วมกันทั้งภายในและ
พัฒนาชุมชนน�ำร่องให้มีรายได้เพิ่มขึ้นจากอุตสาหกรรม ภายนอกกระทรวง ซึ่งปัจจุบันศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค
ท่องเที่ยวเฉล่ียโดยประมาณ 50% จากเดิมบางชุมชนยัง ท้ัง 11 แห่งทั่วประเทศ และส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักของนักท่องเท่ียวกลายเป็นมีนักท่องเที่ยว ทกุ จงั หวดั ไดส้ ำ� รวจความตอ้ งการและหาแนวทางและโครงการ
เพ่ิมข้ึนมากกว่าเท่าตัว เช่น ชุมชนออนใต้ จังหวัดเชียงใหม่ ท่ีเหมาะสมเพ่ือให้การช่วยเหลือแก่ชุมชนเป้าหมาย อาทิ
ชุมชนน้ำ� เกี๋ยน จงั หวัดน่าน และชมุ ชน บ้านศาลาดนิ จังหวดั การพฒั นาศกั ยภาพของผปู้ ระกอบการชมุ ชนในดา้ นการบรหิ าร
นครปฐม นอกจากผลตอบรับในด้านของนักท่องเที่ยว จดั การเพอ่ื รองรบั ผบู้ รโิ ภคในอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว การพฒั นา
และรายได้ท่ีเพิ่มข้ึนแล้วผู้ประกอบการในหลาย ๆ ชุมชน มาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน การพฒั นาผปู้ ระกอบการชมุ ชนใน
ซ่ึ ง มี ศั ก ย ภ า พ ส า ม า ร ถ ต ่ อ ย อ ด ก า ร พั ฒ น า กิ จ ก า ร ข อ ง ด้านดจิ ิทัล การพฒั นาผลิตภณั ฑ์และบรรจภุ ณั ฑ์ การพัฒนา
ตนเอง รวมทั้งค�ำนึงถึงการพัฒนาเศรษฐกิจฐานชุมชน ของที่ระลึกเพื่อรองรับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การพัฒนา
อ ย ่ า ง ย่ั ง ยื น โ ด ย ไ ม ่ ไ ด ้ ร อ ภ า ค รั ฐ ใ ห ้ เ ข ้ า ม า ช ่ ว ย เ ห ลื อ กระบวนการผลติ เพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน
แต่สามารถพ่ึงพาตนเองเป็นหลัก รวมท้ังยังสามารถ ใหม้ มี ลู คา่ เพมิ่ และตรงกบั ความตอ้ งการของนกั ทอ่ งเทย่ี ว เปน็ ตน้
พัฒนาในเชิงรุก เช่น การจัดท�ำ Facebook Fanpage ให้คน
มาท่องเที่ยวชุมชน การจัดระบบการบริการจัดการห่วงโซ่
คุณค่าด้านการท่องเท่ียว การจัดเก็บเงินกองกลางจาก
16 อุตสาหกรรมสาร
SMEs Focus
• เรือ่ ง : อุเทน โชติชัย
มันส�ำปะหลัง สู่ยุค SMEs เกษตร 4.0
ภายใต้การสนับสนุนจากกลุ่มบริษัทอุบลไบโอเอทานอล จ. อุบลราชธานี
ผู้ผลิตและแปรรูปมันส�ำปะหลังแบบครบวงจร
www.ubbegroup www.paleoplan.com
แปรรูปมันส�ำปะหลัง
นายเดชพนต์ เลศิ สวุ รรณโรจน์ กรรมการผจู้ ดั การใหญ่
กลุ่มบริษัทอุบลไบโอเอทานอล ซ่ึงเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่าง
นักธุรกิจท้องถ่ิน บริษัท บีบีจีไอ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท
ไทยออยล์ เอทานอล จำ� กดั กอ่ ตงั้ ในปี 2549 โดยเรม่ิ จากอตุ สาหกรรม
ผลิตแป้งมันส�ำปะหลังและพัฒนาเป็นอุตสาหกรรมพลังงาน
ครบวงจร ด�ำเนินธุรกิจภายใต้หลักบรรษัทภิบาล ค�ำนึงถึงผู้มี
ส่วนได้สว่ นเสยี ทกุ ภาคสว่ น ควบคมุ กระบวนการผลติ ดว้ ยเทคโนโลยี
ที่ทันสมัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยืน เปิดเผยว่า
ทางบริษัทเป็นผู้ผลิตและแปรรูปมันส�ำปะหลังแบบครบวงจร
(Well-integrated Tapioca Player) เปน็ ผผู้ ลติ ธรุ กจิ 3 ประเภท ไดแ้ ก่
เอทานอล แปง้ มนั สำ� ปะหลงั กา๊ ซชวี ภาพและไฟฟา้ ผลติ ภณั ฑ์
ทใ่ี ชผ้ ลติ จากมนั สำ� ปะหลงั ทงั้ หมด ซงึ่ รบั ซอ้ื จากเกษตรกรในจงั หวดั
อบุ ลราชธานแี ละจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง
อตุ สาหกรรมสาร 17
กลมุ่ บรษิ ทั อบุ ลไบโอเอทานอล กลา่ วยำ�้ วา่ ความยง่ั ยนื www.ubbegroup
ไมใ่ ชม่ องแคบ่ รษิ ทั อยา่ งเดยี ว แตต่ อ้ งมองไปถงึ ความยงั่ ยนื ของ
ชาวไรม่ นั ฯ ไปจนถงึ ผบู้ รโิ ภค และลกู คา้ โดยอาศยั วงลอ้ 3 Ps ประเทศไทยทม่ี ากกวา่ 100 โรงงาน และ 2. เทคโนโลยนี จ้ี ะชว่ ย
ไดแ้ ก่ Protfi – People – Planet โดยบรษิ ทั ไดจ้ ดั อบรมทกุ ปใี ห้ ในเรอ่ื งการรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มจากการนำ� ของเหลอื ใชว้ นกลบั มา
ชาวไรม่ นั เพอื่ ถา่ ยทอดความรแู้ ละวธิ ที ยี่ ง่ั ยนื ในการลดตน้ ทนุ ใช้ประโยชน์อีก สามารถปรับปรุงเศรษฐกิจของอุตสาหกรรม
และบรษิ ทั ไดผ้ ลติ พลงั งานสะอาดจากพชื ผลทางการเกษตรให้ แปง้ มนั สำ� ปะหลงั ไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื
คนไทยใช้ ลดการนำ� เขา้ นำ้� มนั รวมทง้ั ผลติ แปง้ มนั เกรดพรเี มยี ม
คอื แปง้ มนั ออรแ์ กนกิ ทผ่ี ลติ จากหวั มนั สำ� ปะหลงั อนิ ทรยี ์ พลังงานจากของเหลือใช้ในโรงงาน
นวัตกรรมเกษตรด้วยบัตรเติมเงิน ในกระบวนการผลติ แป้งมนั สำ� ปะหลงั และเอทานอลของ
กลมุ่ บรษิ ทั อบุ ลไบโอเอทานอลนน้ั เรยี กไดว้ า่ ไมม่ สี ารเคมหี รอื
ต้ังแต่ปี 2558 บริษัทได้น�ำระบบบัตรเงินสดอุบลไบโอ สารพษิ เจอื ปนเลย เปน็ ระบบการผลติ ทพ่ี งึ่ พาระบบชวี ภาพจรงิ ๆ
(UBE – Money Card) ภายใตส้ โลแกน “เฮด็ งา่ ย ขายคลอ่ ง ไมว่ า่ จะเปน็ การใชเ้ อนไซมใ์ นกระบวนการเปลย่ี นแปง้ เปน็ นำ้� ตาล
ปลอดภยั ” เปน็ การปรบั เปลยี่ นระบบบตั รสมาชกิ เดมิ จากระบบ และการใชย้ สี ตซ์ งึ่ เปน็ สง่ิ มชี วี ติ ชนดิ หนง่ึ ในกระบวนการเปลย่ี น
บาร์โค้ด โดยเปลี่ยนรูปแบบเป็นบัตรอิเล็กทรอนิกส์ท่ีพัฒนา น�้ำตาลเป็นแอลกอฮอล์ของระบบการผลิตเอทานอล นอกจาก
ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือที่รู้จักกันว่าเคร่ือง EDC นนั้ ในการผลติ แปง้ มนั สำ� ปะหลงั ซง่ึ เปน็ อตุ สาหกรรมอาหาร
ร่วมกับธนาคารกรุงไทย โดยมุ่งหวังพัฒนางานโดยแบ่งออก ต้องปราศจากสารเคมีและสารพิษเจือปน โดยระบบการผลิต
2 ดา้ น ประกอบดว้ ย แป้งมันส�ำปะหลังของกลุ่มบริษัทฯ ยังได้รับการรับรองตาม
มาตรฐานสากลของอตุ สาหกรรมอาหาร ไมว่ า่ จะเปน็ BRC , GMP,
1. ดา้ นการเงนิ สรา้ งความปลอดภยั การรบั จา่ ยเงนิ สด HACCP, HALAL, KOSHER, ISO 9001, ORGANIC THAILAND,
และการจดั เกบ็ ขอ้ มลู การขายของเกษตรกร ซง่ึ ตอ้ งยอมรบั วา่ USDA ORGANIC และ EURO Organic ทำ� ใหม้ นั่ ใจวา่ ระบบการ
เกษตรกรเป็นอาชีพท่ีไม่มีข้อมูลหลักฐานแสดงการเคล่ือนไหว ผลติ ทง้ั หมดของกลมุ่ บรษิ ทั อบุ ลไบโอเอทานอล ปราศจากสาร
ของรายได้ ไม่สามารถหาแหล่งเงินทุนซ้ือเคร่ืองจักรหรือ พษิ และสารเคมเี จอื ปน จงึ ไมม่ สี ารเคมอี นั ตรายปนเปอ้ื นในนำ�้
พฒั นาการผลติ ได้ ดงั นน้ั การรบั เงนิ คา่ ขายมนั สำ� ปะหลงั จาก ทเ่ี หลอื ใชจ้ ากกระบวนการผลติ
บรษิ ทั ฯ ผา่ นบตั รนจ้ี ะเปน็ แหลง่ ขอ้ มลู ทสี่ ามารถหาแหลง่ เงนิ ทนุ
ผา่ นธนาคารตา่ ง ๆ ไดม้ ากยง่ิ ขนึ้
2. ดา้ นการพฒั นาขอ้ มลู เพอ่ื นำ� ฐานขอ้ มลู ผลผลติ ตอ่ ไร่
ของเกษตรกร ไปสกู่ ารพฒั นาตอ่ ยอดใหเ้ กษตรกร โดยบรษิ ทั ฯ
รว่ มกบั หนว่ ยงานภาครฐั ภายใตโ้ ครงการอบุ ลโมเดล จดั อบรม
เพอ่ื มงุ่ หวงั ใหส้ ามารถลดตน้ ทนุ เพม่ิ ผลผลติ ตอ่ ไร่ และรกั ษา
คุณภาพดินอย่างยั่งยืน ซึ่งผลลัพธ์ที่ยั่งยืนของโครงการ คือ
จงั หวดั อบุ ลฯ มเี กษตรกรมอื อาชพี ยคุ อตุ สาหกรรม 4.0 นำ� ไปสู่
ความมนั่ คงและการมรี ายไดท้ ยี่ ง่ั ยนื
ซึ่งโครงการน้ียังได้รับรางวัล Best Cash Management
Solution Thailand 2016 จาก The Asset Asian Awards ประเทศ
สิงคโปร์ ในด้านการพัฒนาระบบท่ีมีคุณภาพในมาตรฐาน
ความปลอดภยั ใหแ้ กเ่ กษตรกร
เอทานอลจากกากมันส�ำปะหลัง
โรงงานเอทานอลได้รว่ มมอื กบั บรษิ ทั ST1 ซง่ึ เป็นบรษิ ทั
พัฒนาพลังงานจากประเทศฟินแลนด์ เจ้าของเทคโนโลยี
Etanolix® เนรมติ พน้ื ทโ่ี รงงาน เปน็ โครงการนำ� รอ่ งนำ� ผลพลอยได้
จากโรงแป้งมันส�ำปะหลัง “กากมันส�ำปะหลัง” สู่การผลิต
พลงั งานสะอาด “เอทานอล” พรอ้ มทดลองเปน็ ระยะเวลา 1 ปี
การรว่ มมอื ครง้ั นจ้ี ะชว่ ยยกระดบั อตุ สาหกรรมมนั สำ� ปะหลงั
คอื 1. เพมิ่ โอกาสทางธรุ กจิ ใหก้ บั ผผู้ ลติ แปง้ มนั สำ� ปะหลงั พรอ้ ม
การเพม่ิ มลู คา่ ใหก้ บั ผลติ ภณั ฑพ์ ลอยไดข้ องมนั สำ� ปะหลงั อยา่ ง
กากมนั สำ� ปะหลงั ขยายองคค์ วามรเู้ รอ่ื งนี้ ไปสโู่ รงแปง้ อน่ื ๆ ใน
18 อตุ สาหกรรมสาร
www.scbeic.com หลายครัวเรือน และกากมันอีกส่วนหนึ่งก็น�ำไปผลิต
เป็นก๊าซชีวภาพด้วยระบบ CLBR เปลือกล้าง และ
ผลพลอยได้จากกระบวนการผลิตของกลุ่มบริษัทอุบล เปลือกดิน ก็เป็นส่วนหน่ึงของผลพลอยได้ท่ีเหลือ
ไบโอเอทานอลมหี ลายสว่ น สว่ นหนงึ่ คอื กากมนั ซงึ่ ทางสถานี ใ ช ้ จ า ก ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ป ้ ง มั น ส� ำ ป ะ ห ลั ง แ ล ะ
พัฒนาท่ีดิน เขต 4 จังหวัดอุบลราชธานี มีโครงการร่วมกับ เอทานอล ส่วนใหญ่จะเอาไปท�ำเป็นปุ๋ย หรือน�ำไปใช้ใน
กลุ่มบริษัทฯ น�ำเอากากมันที่ได้จากกระบวนการผลิตแป้งมัน การเพาะเห็ด ซึ่งผู้น�ำไปใช้ส่วนใหญ่จะบอกว่าเพาะเห็ด
สำ� ปะหลงั และเอทานอล ไปจดั ทำ� เปน็ ปยุ๋ หมกั เพอ่ื แจกจา่ ยใหก้ บั ได้คุณภาพดีมาก ๆ มาถึงส่วนสุดท้ายของผลพลอยได้ที่
เกษตรกรทตี่ อ้ งการ ซง่ึ กไ็ ดร้ บั การตอบรบั อยา่ งดจี ากเกษตรกร เหลอื ใชจ้ ากกระบวนการผลติ สว่ นใหญก่ ค็ อื นำ้� ซง่ึ มปี รมิ าณ
สงู ถงึ วนั ละกวา่ 13,000 ลกู บาศกเ์ มตร ทง้ั หมดจะถกู นำ� เขา้
สู่กระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพ (Biogas) ท่ีทันสมัยและ
ครบวงจรที่สุดในประเทศ ได้แก่ระบบ UASB และ MUR
กา๊ ซชวี ภาพทไี่ ดท้ งั้ หมดจะถกู นำ� ไปผลติ เปน็ พลงั งานหมนุ เวยี น
ใช้ภายในกลุ่มบริษัทฯ โดยใช้เป็นเช้ือเพลิงในการอบแป้ง
ทดแทนการใชน้ ำ�้ มนั เตา ผลติ กระแสไฟฟา้ ใชภ้ ายในโรงงาน และ
บางส่วนจ�ำหน่ายให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หลังจากนำ้�
ผา่ นกระบวนการผลติ กา๊ ซชวี ภาพแลว้ กจ็ ะถกู สง่ มาพกั อยทู่ ี่
บอ่ บำ� บดั (Oxidation Pond) บำ� บดั แบบธรรมชาติ จนมคี ณุ ภาพ
ทไ่ี ดม้ าตรฐานสามารถนำ� ไปใชท้ างการเกษตรได้
ชูแป้งมันออร์แกนิก
นายเดชพนต์ กลา่ ววา่ “ปจั จบุ นั ความตอ้ งการแปง้ มนั
ออร์แกนิกมีความต้องการสูงมากข้ึนเร่ือย ๆ เพราะกระแส
อตุ สาหกรรมสาร 19
ของผบู้ รโิ ภคใสใ่ จในเรอ่ื งสขุ ภาพมากขน้ึ ผบู้ รโิ ภคกอ่ นตดั สนิ ใจ ข้อเสนอแนวทางในการผลักดันระบบอินทรีย์ให้เกิดความ
ซอื้ มกี ารศกึ ษารายละเอยี ด ใหค้ วามสำ� คญั ถงึ ทม่ี าของผลติ ภณั ฑ์ เช่ือม่ันในตลาด โดยเสนอใหท้ กุ ภาคสว่ นชว่ ยกนั ผลกั ดนั พน้ื ท่ี
แป้งมันออร์แกนิกเป็นส่วนผสมส�ำคัญท่ีท�ำให้ผลิตภัณฑ์อาหาร มันส�ำปะหลังอินทรีย์เป็นพ้ืนท่ีแปลงใหญ่ มีศูนย์การเรียนรู้
ออรแ์ กนกิ สมบรู ณ์ และขายไดม้ ลู คา่ สงู ขนึ้ อกี ประเดน็ ทส่ี ำ� คญั อินทรีย์ท่ีใกล้ชิดเกษตรกร พร้อมท้ังส่งเสริมปัจจัยการผลิตที่
คอื จาก 10 ปที ผ่ี า่ นมาจะเหน็ ขา่ ววา่ เดก็ รนุ่ ใหมแ่ พส้ ารกลเู ตน มปี ระโยชน์ อาทิ ปอเทอื ง ปยุ๋ หมกั ปยุ๋ ชวี ภาพ PGPR 3 และ
มากขึ้น แต่แป้งมันส�ำปะหลังไม่มีสารกลูเตน และไม่มีการ เครอ่ื งจกั รกลในการกำ� จดั วชั พชื การเกบ็ เกย่ี ว มกี ารนำ� สถาบนั
เปล่ียนแปลงพันธุกรรมพืช เพราะใช้ท่อนพันธุ์ในการเพาะปลูก การศกึ ษามาชว่ ยพฒั นาการเกบ็ ขอ้ มลู ใหเ้ กษตรกร นำ� ไปสกู่ าร
จึงเป็นความต้องการของตลาดมากขึ้นด้วย ในส่วนของ วเิ คราะหข์ อ้ มลู แบบ BIG DATA ตอ่ ไป
บริษัทฯ ได้มีการดูแลไปถึงต้นน้�ำคือเกษตรกร เพื่อควบคุม
การผลติ ใหไ้ ดม้ าตรฐานเปน็ ทยี่ อมรบั ตามมาตรฐานสากล จดั อบรม รวมท้ังสนับสนุนบุคลากรในการร่วมตรวจประเมินเพ่ือ
ให้เกษตรกรโดยใช้กระบวนการทเ่ี รยี กว่าอบุ ลโมเดล มกี ารให้ รับรองเป็นเอกสารยืนยันว่าเกษตรกรมีการงดใช้สารเคมีอย่าง
ความรโู้ ดยรว่ มกบั ภาครฐั ประจำ� ทกุ ปี เราเหน็ การเปลย่ี นแปลง นอ้ ย 3 ปี เพอื่ นำ� เกษตรกรเขา้ ระบบมาตรฐานสากลไดต้ อ่ ไป
ของเกษตรกรหลงั จากอบรมคอื มรี ะบบคดิ ใหม่ ๆ ในการจดั การ เป็นต้น และจากการสรปุ ข้อมลู ของสำ� นกั วจิ ยั และพฒั นาการ
แปลงผลผลติ สงู ขนึ้ จาก 3 ตนั เปน็ 8 – 10 ตนั ตอ่ ไร่ ซง่ึ การให้ เกษตรเขตที่ 4 เกษตรกรทเี่ ขา้ รว่ มโครงการเฉลยี่ มผี ลผลติ 4.5 ตนั
ความรจู้ ะนำ� ไปสคู่ วามยง่ั ยนื จรงิ ๆ นอกจากดแู ลตน้ นำ�้ แลว้ การดแู ล ตอ่ ไร่ มรี ายไดเ้ พมิ่ ขนึ้ จากเดมิ 8,000 บาทตอ่ ไร่ เปน็ 15,000 บาท
ตลาดใหม้ คี วามเชอ่ื มนั่ กเ็ ปน็ สว่ นสำ� คญั ทต่ี อ้ งควบคกู่ นั ไป ตอ้ งมี ตอ่ ไร่ เกษตรกรมนั อนิ ทรยี จ์ งึ มรี ายไดส้ งู ขน้ึ และผลผลติ เพม่ิ ขนึ้
การสง่ สนิ คา้ ตอ่ เนอื่ งทมี่ คี ณุ ภาพ ไดม้ าตรฐานอาหารปลอดภยั จากการปรบั เปลย่ี นเปน็ มนั สำ� ปะหลงั อนิ ทรยี อ์ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม
มกี ารพฒั นาแผนธรุ กจิ ทท่ี นั โลกทนั เหตกุ ารณ์ เพอื่ สรา้ งเศรษฐกจิ
ทเ่ี ตบิ โตอยา่ งยงั่ ยนื ใหก้ บั ประเทศไทยตอ่ ไปครบั ” หลกั ของการตลาดนำ� การผลติ นบั เปน็ เปา้ หมายเพอื่ กำ� หนด
ตน้ แบบและยทุ ธศาสตรใ์ นการเพม่ิ พนู ขอ้ มลู ความรทู้ ศิ ทางการ
อุบลโมเดล : ต้นแบบ Smart Farmer ตลาดการคา้ สนิ คา้ เกษตรทถ่ี กู ตอ้ ง ครบถว้ น ทนั ตอ่ สถานการณ์
เปน็ ปจั จยั ทจ่ี ำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ สำ� หรบั การวางแผนการผลติ ในแตล่ ะ
ปจั จบุ นั เกษตรกรตน้ แบบมนั สำ� ปะหลงั อนิ ทรยี ท์ เ่ี ขา้ รว่ ม ฤดกู าล เพอื่ ใหก้ ารลงทนุ ในปจั จยั การผลติ เกดิ ผลลพั ธท์ คี่ มุ้ คา่
โครงการกับทางบริษัทฯ ท้ังหมด 4 อ�ำเภอ รอบโรงงานคือ ผลผลิตเป็นที่ต้องการของตลาด และท�ำให้เกษตรกรมีรายได้
อ.นาเยยี อ.สวา่ งวรี ะวงศ์ อ.พบิ ลู มงั สาหาร และอ.วารนิ ชำ� ราบ เพมิ่ มากขน้ึ ปรบั หลกั คดิ เกษตรกรใหเ้ ปน็ Smart Farmer พรอ้ ม
และในปี 2561 ไดข้ ยายพนื้ ทไี่ ปสอู่ ำ� เภอ อ.สริ นิ ธร อ.โขงเจยี ม กา้ วเขา้ สยู่ คุ Thailand 4.0 และเปน็ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของ
อ.ตาลสมุ อ.ตระการพชื ผล และ จงั หวดั ยโสธร ที่ ต.กระจาย เกษตรกรไทยใหด้ ำ� รงชวี ติ อยไู่ ดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื และพอเพยี ง
และ ต.โคกนาโก และ อ.ป่าติ้ว โดยแต่ละพ้ืนที่จะมีลานมัน
ของบรษิ ทั ฯ รบั ซอื้ โดยตรง มกี ารประกนั ราคามนั ทแ่ี นน่ อนเฉพาะ สโ3กผท3ลู้ชอ3ร่วุ่มบ.ยบบถ0ก้าร8ารษินมร1หัทม6ขนอ5กอ้ 8บุอามงรล8ูลแผไ2ปบู้จเ7พดั4นโอ,ิม่กเต0าอเ8ตำ�รทใบมิ9าหล9นไญ6นดอ2า่ท้ลฝด6่ี ่าีน5อย4าำ�ส4งเ่อืสภสาอวานกราอณั เงยฑคยี ์ก์พรจรงั กหรวรัดณอบุสูตลราชธานี
4 อำ� เภอรอบโรงงาน 3.00 บาท (25%แปง้ ) และตา่ งอำ� เภอจะเปน็
ไปตามระยะทางการขนสง่ ประกนั ราคาท่ี 2.90 บาท ซงึ่ ตอ้ งผา่ น
มาตรฐานการรบั รองทตี่ ลาดกำ� หนด
ปจั จบุ นั มเี กษตรเขา้ รว่ ม 275 ราย รวมพน้ื ท่ี 1,751 ไร่ ซง่ึ
ยงั ตอ้ งเรง่ สง่ เสรมิ ปรบั เปลย่ี นพน้ื ทจ่ี ากมนั เคมใี หเ้ ปน็ มนั อนิ ทรยี ์
ใหไ้ ดต้ ามเปา้ หมาย 20,000 ไรใ่ นปี 2564 โดยทางบรษิ ทั ฯ มี
20 อุตสาหกรรมสาร
Special Report
• เรอ่ื ง : พงษน์ ภา กจิ โมกข์
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
หนุนการเช่ือมโยงเครือข่าย – คลัสเตอร์ SMEs
วางเป้าผนึกก�ำลังขับเคล่ือนการแข่งขันอย่างมีศักยภาพ
จากการผลักดันของกองพัฒนา นางยุพรัตน์ ศตวิริยะ ผู้อ�ำนวยการกองพัฒนา
ขีดความสามารถธุรกิจอุตสาหกรรม ขดี ความสามารถธรุ กจิ อตุ สาหกรรม กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวง กล่าวว่า ในเรื่องของเครือข่ายมีการด�ำเนินงานมานานแล้ว
อุตสาหกรรม ท่ีพยายามสนับสนุน โ ด ย ต้ั ง เ ป ็ น ก ลุ ่ ม ท่ี มี ลั ก ษ ณ ะ ค ล ้ า ย กั บ ช ม ร ม ท่ั ว ไ ป
และช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs โดยน�ำเสนอในรูปแบบของโมเดลที่ท�ำให้ผู้ประกอบการ
ในประเทศไทยให้มีขีดความสามารถ มีความเข้มแข็งหลังจากเข้าร่วมกิจกรรมกับทางกองฯ
ทัดเทียมกับนานาประเทศ เพ่ือเป็นบันได หลังจากนั้นช่วงปี 2547 ได้เล็งเห็นว่า การรวมกลุ่มของ
ใหผ้ ปู้ ระกอบการสามารถเติบโตและแข่งขัน ผปู้ ระกอบการในรปู แบบคลสั เตอรจ์ ะมสี ว่ นชว่ ยผปู้ ระกอบการ
กับต่างประเทศด้านกองพัฒนาขีดความ ในการเพิ่มขีดความสามารถทางธุรกิจ โดยใช้กระบวนการ
สามารถธุรกิจอุตสาหกรรม กสอ. จึง คิดวิเคราะห์ ผ่านการใช้คอนเซ็ปต์ของการรวมตัวกันของ
มุ่งเน้นและพร้อมสนับสนุนผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการท่ีมีความสามารถในการน�ำความรู้ รวมถึง
ผา่ นโครงการตา่ ง ๆ และการสรา้ งเครอื ขา่ ย ประสบการณ์มาแบ่งปันกัน ผ่านปัจจัยด้านนวัตกรรม
SMEs ท่ีจะช่วยให้ผลักดันให้ธุรกิจเติบโตได้อย่างมีศักยภาพ
ซง่ึ เปน็ กลมุ่ ผปู้ ระกอบการทร่ี วมตวั เปน็ คลสั เตอรส์ ว่ นใหญเ่ ปน็
กลุ่มธุรกิจที่มีโอกาสเติบโตไปสู่อุตสาหกรรมแห่งอนาคต
www.thaismescenter.com
อุตสาหกรรมสาร 21
www.sanook.com
www.thairath.co.th ผ ่ า น โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ก า ร ร ว ม ก ลุ ่ ม แ ล ะ เ ช่ื อ ม โ ย ง
22 อุตสาหกรรมสาร อุตสาหกรรม (คลัสเตอร์) โดยเน้นในเรื่องการพัฒนา
เทคโนโลยี นวัตกรรม และพื้นฐานการเพ่ิม Productivity
ที่จะต้องผสานสอดรับกับนวัตกรรมได้อย่างยั่งยืนและ
เกื้อกูลซ่ึงกันและกัน ปัจจุบันกลุ่มอุตสาหกรรมคลัสเตอร์
มีจ�ำนวน 91 กลุ่มอุตสาหกรรม รวมถึงมีการพัฒนากลุ่ม
เครอื ข่าย 26 เครอื ขา่ ย อาทิ เครอื ข่ายปยุ๋ อนิ ทรยี พ์ ชื ผกั เกษตร,
เครือข่ายเคร่ืองส�ำอางอินทรีย์, เครือข่ายฮาลาล, เครือข่าย
อาหารแปรรูป, เครอื ข่าย Food Truck ลานนา ฯลฯ
ผอ.ยพุ รตั น์ กลา่ วปดิ ทา้ ยถงึ ประโยชนข์ องการสรา้ งเครอื ขา่ ย
วา่ “เนอื่ งจาก กสอ. ทำ� หนา้ ทใี่ นการสง่ เสรมิ ใหผ้ ปู้ ระกอบการ
SMEs มีความเข้มแข็งและเติบโต เพราะฉะนั้นถ้าการ
รวมกลมุ่ กจ็ ะตอบโจทยว์ ตั ถปุ ระสงคข์ อง กสอ. วา่ ตอ้ งการสรา้ ง
SMEs ใหม้ คี วามเขม้ แขง็ และมขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขนั
อกี ปจั จยั หนง่ึ ของเครอื ข่ายทส่ี �ำคญั มากเมอื่ ต้องการอยากร้วู า่
กระแสความตอ้ งการของอตุ สาหกรรมเปน็ อยา่ งไร ผปู้ ระกอบการ
เหล่านี้จะเป็นกระบอกเสียงที่จะสื่อถึงได้เลยว่า ตอนน้ีเขา
ต้องพัฒนาไปในทิศทางใด ซ่ึง กสอ.จะได้ท�ำแผนพัฒนาให้
สอดคล้องกับความต้องการ หรือแม้แต่ในเร่ืองนโยบายของ
รัฐที่ออกมาอย่างเร่งด่วน อย่างการข้ึนค่าแรง พอข้ึนแรงมี
ผลกระทบหรือไม่ มีผลกระทบอย่างไร การสร้างเครือข่าย
ก็เพ่ืออำ� นวยความสะดวกและรวดเรว็ นน่ั เอง”
www.khabangkok.com
Opportunity
• เรือ่ ง : พงษน์ ภา กจิ โมกข์
BOIN เครือข่ายผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์แปรรูปฯ
ต้นแบบการผลักดันความร่วมมือจาก กสอ.
เครือข่ายเกษตรอินทรีย์แปรรูปกรุงเทพมหานคร (Bangkok Organic Industrial Network : BOIN) โดย
กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม ได้ใหก้ ารสนบั สนนุ และพฒั นา ภายใตก้ จิ กรรมสรา้ งเครอื ขา่ ย SMEs
เพื่ออุตสาหกรรมเป้าหมายและสร้างโอกาสขยายช่องทางตลาดธุรกิจ (เกษตรแปรรูป) โดย BOIN เป็นเครือข่ายซ่ึง
รวมตวั กนั ของเหลา่ ผปู้ ระกอบการรนุ่ ใหม่ ทมี่ ศี กั ยภาพและความมงุ่ มนั่ ตง้ั ใจในการทจี่ ะสรา้ งธรุ กจิ ออรแ์ กนกิ เชงิ สรา้ งสรรค์
โดยผู้ประกอบการส่วนใหญ่ท่ีเข้าร่วมเครือข่ายจะเป็นผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมเคร่ืองส�ำอาง สุขภาพและ
ความงาม ทงั้ การบรกิ ารผลติ สนิ คา้ แบบ Original Equipment Manufacturer (OEM) ซงึ่ เปน็ ผปู้ ระกอบการทผี่ า่ น
การรบั รองมาตรฐานโรงงานทง้ั ในประเทศและในระดบั สากล นอกจากนยี้ งั เปน็ เวทเี ปดิ โอกาสใหก้ บั เจา้ ของผลติ ภณั ฑ์
แบรนด์ไทยใหส้ ามารถเทา่ เทยี มและแขง่ ขนั ในระดบั สากลไดอ้ กี ทางหนงึ่
สำ� หรบั พนั ธกจิ ของ BOIN ประกอบไดด้ ว้ ยมงุ่ เนน้ การเชอื่ มโยง
และการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตรอินทรีย์แปรรูปที่ไม่ใช่
อาหารเข้าด้วยกัน, ส่งเสริมผลักดันให้สมาชิกสนับสนุนธุรกิจ
ซึ่งกันและกันภายในเครือข่าย, สนับสนุนผลผลิตเกษตรอินทรีย์
ต้นน�ำ้ ท้งั พชื พรรณและสมนุ ไพรมาแปรรปู ผลติ ภัณฑ์ออร์แกนิก,
ผลักดันสมาชิกของเครือข่ายให้เข้าถึงเทคโนโลยี – นวัตกรรม
ในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ บรกิ ารทสี่ ามารถรบั รองมาตรฐาน Natural
& Organic ได้ และสดุ ทา้ ยชว่ ยสง่ เสรมิ การสรา้ งแบรนดอ์ อรแ์ กนกิ
ของสมาชกิ และผลกั ดนั ออกสตู่ ลาดภายในและภายนอก โดยอยู่
ภายใต้คอนเซป็ ต์ ‘Innovation, Standards, Friendly, Thai Heritage
& Wisdom’
อุตสาหกรรมสาร 23
โดยเครอื ขา่ ย BOIN เปน็ กลมุ่ ผปู้ ระกอบการ ผผู้ ลติ
เครื่องส�ำอางที่ทาง กสอ. พัฒนาเพ่ือสร้างมาตรฐานและ
รปู แบบของผลติ ภณั ฑ์ และเนน้ ไปทอี่ อรแ์ กนกิ มากขน้ึ ซงึ่ ทาง
กสอ. มองว่าสร้างเครอื ข่ายเป็นเวลา 3 ปี และคลสั เตอร์เป็น
เวลา 5 ปี โดนจะมกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ในปแี รกของการ
สรา้ งเครอื ขา่ ยจงึ เนน้ ไปในเรอ่ื งของการสรา้ งกลมุ่ สรา้ งระบบ
มีกิจกรรมให้ท�ำร่วมกันในกลุ่มเพ่ือให้เกิดความเหนียวแน่น
ในส่วนของปีต่อ ๆ ไป จะมองไปในเร่ืองของการพัฒนาให้มี
การเติบโตในเชงิ ธุรกจิ นอกจากนจ้ี ุดมุ่งหมายของเครอื ข่าย
คืออยากให้มีการรวมกลุ่ม ร่วมแรงร่วมใจเพื่อให้สามารถ
พฒั นาไปไดด้ ว้ ยกนั ถา้ เกดิ การรว่ มกลมุ่ ทเี่ ขม้ แขง็ ผปู้ ระกอบการ
ก็สามารถแบ่งปันกันได้ภายในกลุ่ม และเน่ืองจาก กสอ.
มหี นา้ ทใี่ นการสง่ เสรมิ ใหผ้ ปู้ ระกอบการมศี กั ยภาพและความ
เขม้ แขง็ ดงั นน้ั การรว่ มกลมุ่ กส็ ามารถตอบโจทยว์ ตั ถปุ ระสงค์
ของกสอ.ไดเ้ ลยตรงทตี่ อ้ งการสรา้ ง SMEs ใหม้ คี วามเขม้ แขง็
และมขี ีดความสามารถในการแข่งขนั
24 อุตสาหกรรมสาร
www.eventcalendr.com ในสว่ นของแนวทางการพฒั นาเครอื ขา่ ยถกู กำ� หนด
ไว้ 3 ปี โดยในปี 2561 นปี้ ระกอบไปดว้ ยกจิ กรรมเชอ่ื มโยง
เครอื ข่าย, สร้างความเข้าใจมาตรฐาน Nature, พัฒนา
แบรนด์ ส�ำรวจตลาดและปรับสูตร ปรับปรุงโรงงาน
ปี 2562 ประกอบการไปด้วยการขอรับรองมาตรฐาน
Nature, เชอ่ื มโยงตลาด, สรา้ งความเขม้ แขง็ ภายในเครอื ขา่ ย,
เช่ือมโยงเกษตรกร Organic และพัฒนาผลิตภัณฑ์เพ่ือ
สง่ งานประกวดดา้ นนวตั กรรม และปี 2563 ประกอบไปดว้ ย
ขอรับรองมาตรฐาน Nature, เชื่อมโยงธุรกิจภายนอก
เครือข่าย พร้อมส่งเสริมสมาชิกประกวดด้านนวัตกรรม
เพื่อสร้างชอ่ื เสยี งของเครือข่ายฯ
โดยที่ผ่านมาทางเครือข่ายฯ ได้มีโอกาสน�ำ
สมาชิกเครือข่ายฯ โชว์ศักยภาพในงาน The China
International Organic and Green Food Industry Expo 2018
ณ กรุงปักก่งิ สาธารณรฐั ประชาชนจนี เมอ่ื วันที่ 8 – 10
เมษายน 2561 และงาน Cosmobeauté Vietnam 2018
ณ โฮจมิ นิ ห์ ประเทศเวยี ดนาม เมอ่ื วนั ที่ 19 – 21 เมษายน
2561 ติดตามข่าวสารและรายละเอียดของเครือข่าย
เพ่มิ เติมได้ท่ี Facebook/BOINOrganicThailand
กFโถนขทaนอาอcรยงนขe.พนbพอ0oัฒพรบo2ะดนkค2รล/า0Bาุณ2ขมOขดีอทI4Nค้อุ่ม5่ี O6ว3มน0าr้อูลgมเยaแขสnตลiาcผระมTาู้อรhาชูปa�ำรเiนถlทภaธวnวายรุdีพกกกจิจาทอารมกกตุ ล.สุ่ม1า0หพ4กัฒ0ร0นรมาอกตุ รสมาสห่งกเสรรรมิมอราตุ ยสสาาหขการรม
อตุ สาหกรรมสาร 25
Innovation
• เรอื่ ง : จารวุ รรณ เจตเกษกจิ
นวัตกรรมเกษตรแปรรูป
จากงาน ifia HFE JAPAN 2018
International Food Ingredients & Additives (IFIA) Health Food Exposition (HFE) เปน็ งานแสดงสนิ คา้
ทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ ในญป่ี นุ่ ดา้ นสว่ นผสมอาหาร(FoodIngredient)สารเตมิ แตง่ (FoodAdditives)และอาหารเพอื่ สขุ ภาพ
(Health Food) โดยจดั ขนึ้ ระหวา่ งวนั ท่ี 14 – 19 พฤษภาคม 2561 ณ กรงุ โตเกยี ว ประเทศญป่ี นุ่ จากการศกึ ษา
ดูงาน พบว่านวัตกรรมเกษตรแปรรูปที่โดดเด่นน่าสนใจด้านการคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่จากวัตถุดิบการเกษตร
นำ� มาตอ่ ยอดเปน็ ผลติ ภณั ฑเ์ พม่ิ มลู คา่ ดงั น้ี
26 อุตสาหกรรมสาร
สารใหค้ วามหวานและความขน้ หนดื นมขา้ ว แปง้ กลว้ ย
(Rice Milk)
แปง้ กลว้ ย จากประเทศออสเตรเลยี จดุ เดน่ คอื แปง้ กลว้ ย
สารให้ความหวานและความข้นหนืดนมข้าว (Rice อยใู่ นกลมุ่ แปง้ ทนยอ่ ย (Resistant Starch) มปี ระโยชนต์ อ่ รา่ งกาย
Milk) ของบรษิ ทั คคิ แุ มน (Kikkoman) ประเทศญปี่ นุ่ ทม่ี คี วาม โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ผลตอ่ ระบบทางเดนิ อาหารบรเิ วณลำ� ไสใ้ หญ่
เชยี่ วชาญในเทคโนโลยกี ารหมกั ซอี วิ๊ กบั หมกั มริ นิ จงึ ไดน้ ำ� และมี “ซโี รโทนนิ (Serotonin)” ชว่ ยเรอ่ื งผอ่ นคลายความเครยี ด
2 เทคโนโลยดี งั กลา่ วมาผนวกกนั เพอื่ ผลติ Rice Mike โดย ซ่ึงประเทศไทยมีกล้วยเยอะ รวมถึงมีเทคโนโลยีการผลิต
หลักการคือ น�ำข้าวกล้องหรือข้าวซ้อมมือมาเป็นวัตถุดิบ แปง้ กลว้ ยแลว้ สามารถนำ� มาตอ่ ยอดทำ� เปน็ เชงิ พาณชิ ยไ์ ดโ้ ดย
ผลิตภายใต้เทคโนโลยีการหมักท่ีน�ำข้าวกล้องมาหมัก ทนั ที
กับเชื้อราที่ย่อยแป้งหรือสร้างเอมไซม์อะไมเลสได้ หรือ
การหมกั แปง้ ใหเ้ ปน็ นำ�้ ตาลเกดิ ความหวานทำ� ใหไ้ ดน้ วตั กรรม พลาสมาโลเกน (PLASMALOGEN) อาหารเสริมสมอง
การเพิ่มมูลค่าจากข้าวกลายเป็น smart ingredient 4.0 จากประเทศญ่ีปุ่น ส�ำหรับผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ ผลิตจากหอย
ที่เรียกว่า “สารให้ความหวานและความข้นหนืดนมข้าว โฮตาเตะ (Hotate) หรือ หอยเชลล์ อุดมด้วยคุณค่า ช่วยให้
(Rice Milk)” ที่สามารถน�ำมาเป็นส่วนผสมแทนนมเนยใน ร่างกายสร้างพลาสมาโลเกน เพื่อป้องกันสารเบต้าอะมีลอยด์
อาหารไดอ้ ยา่ งหลากหลาย เชน่ สว่ นผสมไอศกรมี เบเกอรี่ (BETA AMYLOID PLAQUE) เขา้ ไปเคลอื บสมอง เปน็ สาเหตขุ อง
เป็นต้น ซ่ึงประเทศไทย สามารถน�ำมาผลิตโดยประยุกต์ โรคอลั ไซเมอร์
ใชข้ า้ วสายพนั ธต์ุ า่ ง ๆ ของไทยซง่ึ จะทำ� ใหม้ คี วามโดดเดน่
แตกตา่ งเรอ่ื งสกี ลนิ่ คณุ คา่ ทางโภชนาการตามสายพนั ธข์ุ า้ ว การพัฒนาส่วนผสมอาหาร (Food Ingredient) สาร
เตมิ แตง่ (Food Additives) และอาหารเพอ่ื สขุ ภาพ (Health Food)
www.gigazine.net ในปจั จบุ นั และอนาคตตอ่ ไปจากนมี้ งุ่ เนน้ ใหค้ วามสำ� คญั เรอื่ งการ
ศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ยั และพฒั นาสว่ นผสมอาหารทม่ี าจากธรรมชาติ
เพอ่ื ใชท้ ดแทนสว่ นผสมจากสารเคมสี งั เคราะหต์ า่ ง ๆ ซง่ึ เปน็ สง่ิ ที่
ผู้ประกอบการอาหารทั่วโลกมีความต้องการอย่างมาก เช่น
สารกนั บดู จากธรรมชาติ (Nature) ทสี่ ามารถยดื อายอุ าหารไดน้ าน
และไมท่ ำ� ใหส้ กี ลน่ิ รสชาตขิ องอาหารเปลย่ี น เปน็ ตน้
ขกาอรขศอกึ บษคาดุณงู ขา้อนมifลูiaแHลFะEรJAูปPภANาพ20จ1า8,ก14-16 พฤษภาคม 2561
อตุ สาหกรรมสาร 27
Report
• เรือ่ ง : บวั ตะวนั มีเดยี
www.econnews.co.th
ไบโอฮับ : Bioeconomy
เขตเศรษฐกิจชวี ภาพ
เมอ่ื วนั ที่ 10 มถิ นุ ายน 2561 มรี ายงานจากทำ� เนยี บรฐั บาล วา่ สำ� นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คม
แหง่ ชาติ (สศช.) เตรียมเสนอวาระการประชมุ คณะรัฐมนตรนี อกสถานที่ (ครม. สญั จร) กล่มุ จงั หวัดภาคเหนอื ตอนล่าง 2
ในพน้ื ที่ 4 จงั หวดั ประกอบดว้ ย นครสวรรค์ กำ� แพงเพชร พจิ ติ ร และอทุ ยั ธานี ระหวา่ งวนั ท่ี 11 - 12 มถิ นุ ายน 2561 โดย
การประชมุ ทจี่ งั หวดั นครสวรรค์ เมอ่ื วนั ท่ี 12 มถิ นุ ายน 2561 ไดเ้ สนอแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม “แผนพฒั นาจงั หวดั /
กลมุ่ จงั หวดั ” กลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนลา่ ง 2 ใน 6 ดา้ น ไดแ้ ก่
1. สง่ เสรมิ การวจิ ยั และการเกษตรโครงการเขตเศรษฐกจิ ประเพณ,ี จงั หวดั อทุ ยั ธานี เน้นพฒั นาการเกษตร (ขา้ ว ออ้ ย
ชวี ภาพ (Bioeconomy) หรอื ไบโอฮบั ในพน้ื ทภ่ี าคเหนอื ตอนลา่ ง มนั สำ� ปะหลงั และปศสุ ตั ว์ (ควาย)) และการทอ่ งเทยี่ วเชงิ นเิ วศ
โดยเฉพาะนครสวรรคแ์ ละกำ� แพงเพชร เชงิ ธรรมชาติ และเชงิ เกษตร
2. พฒั นาแหลง่ นำ้� เพอ่ื การเกษตร ทง้ั นี้ “แผนพฒั นาจงั หวดั /กลมุ่ จงั หวดั ” กลมุ่ จงั หวดั ภาค
3. พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน เหนือตอนล่าง 2 จะถกู ก�ำหนดให้เป็น “ศนู ย์กลางธุรกิจข้าว”
4. พฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว สนิ คา้ เกษตรปลอดภยั การทอ่ งเทยี่ วธรรมชาติ และวฒั นธรรม
5. พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ลำ้� คา่ ระดบั ประเทศ ไดแ้ ก่
6. เขอื่ นปอ้ งกนั ตลง่ิ รมิ แมน่ ำ้� เพอ่ื ปอ้ งกนั อทุ กภยั
ตามแผนพฒั นา จงั หวดั นครสวรรค์ เนน้ อตุ สาหกรรม (ขา้ ว 1. ผลผลิตข้าวและสินค้าเกษตรท่ีปลอดภัย มีคุณภาพ
ออ้ ย มนั สำ� ปะหลงั ) การทอ่ งเทย่ี วเชงิ วฒั นธรรม ธรรมชาติ และ ตามมาตรฐาน
เชงิ สขุ ภาพ, จงั หวดั กำ� แพงเพชร จะพฒั นาเปน็ เมอื งการเกษตร
อุตสาหกรรมแปรรูป การท่องเท่ียวมรดกโลกและธรรมชาติ, 2. ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวและสินค้าเกษตรที่เกิดจาก
จังหวัดพิจิตร เพิ่มเส้นทางคมนาคม และการท่องเท่ียวนิเวศ การใชน้ วตั กรรม ผา่ นกระบวนการผลติ ทไ่ี ดม้ าตรฐาน และสรา้ ง
มลู คา่ เพม่ิ
28 อตุ สาหกรรมสาร
3. ธุรกิจข้าวและสินค้าเกษตรปลอดภัยมีช่องทางและ 1) โครงการขยายเสน้ ทางหลวงหมายเลข 11 จาก 2 เลน
การตลาดเพม่ิ ขนึ้ ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ เปน็ 4 เลน ชว่ ง กม.116+345 - 14+600 (เชอ่ื มรอยตอ่ จงั หวดั
พจิ ติ ร - ชอ่ งแค - ตาคลี - อนิ ทรบ์ รุ )ี ระยะทาง 101.75 กม.
4. การเชอ่ื มโยงการทอ่ งเทยี่ วธรรมชาติ ประวตั ศิ าสตร์ และ
วัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรเป็นท่ีรู้จักและยอมรับของ 2) โครงการพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและเครอื ขา่ ยคมนาคม
นกั ทอ่ งเทย่ี วทงั้ ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศ ทางหลวงหมายเลข 11 ตอนควบคมุ 0301 ตอน หนองกลบั -
เขาทราย ชว่ งระหวา่ ง กม. 116+345-131+100 ระยะทาง 14.750 กม.
แผนพฒั นากลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนลา่ ง 2 จะเนน้ สง่ เสรมิ
การแปรรปู สนิ คา้ เกษตร เพอื่ สรา้ งมลู คา่ เพม่ิ , พฒั นาแหลง่ นำ�้ เพอ่ื 3) โครงการพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานและเครอื ขา่ ยคมนาคม
การเกษตรอยา่ งทวั่ ถงึ , สง่ เสรมิ การปลกู ออ้ ยทเ่ี หมาะสมกบั สภาพ ทางหลวงหมายเลข 11 ตอนควบคุม 0302 ตอนเขาทราย -
พนื้ ทใี่ นลกั ษณะ Zoning, สง่ เสรมิ และพฒั นาพลงั งานทดแทน, สากเหลก็ ชว่ งระหวา่ ง กม. 132+211-173+000 ระยะทาง 36.800
ประชาสมั พนั ธก์ ารลงทนุ จดั ตง้ั ศนู ยฮ์ าลาลตามสถานบี รกิ ารปม๊ั กม. ทศิ ทางการพฒั นาของกลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนลา่ ง 2
นำ�้ มนั เพอ่ื รองรบั นกั ทอ่ งเทยี่ วอสิ ลาม, พฒั นาการขนสง่ ทางนำ้� ใน
แม่น้�ำเจ้าพระยา เพ่ือลดต้นทุนการขนส่งทางบก ลดอุบัติเหตุ นอกจากนี้ ทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ
ลดมลภาวะ ลดงบประมาณการซอ่ มบำ� รงุ รองรบั การขนสง่ สนิ คา้ ตอนลา่ ง 2 ประกอบไปดว้ ย
เขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น ระเบยี งเศรษฐกจิ (East-West Economic
Corridor) และอนภุ มู ภิ าคลมุ่ นำ�้ โขง (GMS) สว่ นแผนทจ่ี ะเสนอ 1) ขยายฐานเศรษฐกจิ ของกลมุ่ ใหห้ ลากหลาย สรา้ งมลู คา่
การลงทนุ ประกอบไปดว้ ย เพมิ่ ผลติ ผลเกษตร พฒั นาเทคโนโลยี เพอ่ื พฒั นาเศรษฐกจิ เดมิ
สภู่ าคอตุ สาหกรรมทมี่ มี ลู คา่ สงู และการพฒั นาระบบ Logistic
• การกอ่ สรา้ งทางรถไฟสายนครสวรรค์ - ก�ำแพงเพชร - โดยใชจ้ งั หวดั นครสวรรคเ์ ปน็ ศนู ยก์ ลาง มงุ่ เนน้ การเปน็ ศนู ยผ์ ลติ
ตาก - แมส่ อด และค้าข้าว รวมถึงให้ภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเป็น
ฐานสร้างรายได้ โดยการเพ่ิมผลิตภาพการผลิตและธุรกรรม
• ก่อสร้างเพิ่มทางจราจรทางหลวงหมายเลข 115 ช่วง การค้าข้าว ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวคุณภาพสูง
กำ� แพงเพชร – พจิ ติ ร สนับสนุนการปลูกข้าวด้วยระบบการผลิตเกษตรที่ดี (GAP)
พฒั นาผลติ ภณั ฑข์ า้ วแปรรปู เพอื่ ตอบสนองตลาดเฉพาะ สง่ เสรมิ
• ก่อสร้างเส้นทางใหม่ (แยกวังกระชายหันคา - การลงทนุ อตุ สาหกรรมแปรรปู ผลผลติ การเกษตรทม่ี ศี กั ยภาพให้
เมอื งอทุ ยั ธาน)ี ตดั กบั ทางหลวงหมายเลข 1 มคี วามสมบรู ณต์ งั้ แตต่ น้ นำ้� ถงึ ปลายนำ�้ พฒั นาระบบ Logistic
โดยนครสวรรค์เป็นศูนย์กลางขนส่งสินค้าพืชผลเกษตรและ
• พฒั นาสถานบี รรจแุ ละแยกสนิ คา้ กลอ่ ง (Inland Container การสง่ ออกแบบเบด็ เสรจ็ จดั ทำ� การศกึ ษา เพอ่ื กำ� หนดรปู แบบ
Depot : ICD) ตามขอ้ เสนอของงานวจิ ยั ทด่ี ำ� เนนิ การเมอื่ ปี 2557 ระบบ Logistic ทเ่ี หมาะสมของกล่มุ ทง้ั ระบบราง ถนน และ
การขนสง่ ทางนำ้�
• ยกระดบั ธรุ กจิ SMEs เปน็ ธรุ กจิ ขนาดใหญเ่ พอื่ รองรบั AEC
ขณะท่ี การปรบั ปรงุ ถนนเสน้ ทางหมายเลข 11 จาก 2 เลน
เปน็ 4 เลน มี 3 โครงการ ประกอบดว้ ย
http//www.cleantecheconomics.be
อุตสาหกรรมสาร 29
2) เพม่ิ รายไดจ้ ากการพฒั นาและสรา้ งสนิ คา้ การทอ่ งเทยี่ ว 2. โครงการด้านการปรบั ปรงุ ถนนเพอื่ การคมนาคมขนส่ง
มุ่งเน้นการเพ่ิมโอกาสการขยายตัวทางการค้า การลงทุนและ พชื ผลทางการเกษตร สะดวก ปลอดภยั ชว่ ยลดตน้ ทนุ จำ� นวน
ยกระดบั การท่องเทยี่ วใหเ้ ปน็ แหลง่ สรา้ งรายได้ของกล่มุ จงั หวดั 34 โครงการ งบประมาณ 942,255,000 บาท
อยา่ งมน่ั คง โดยสง่ เสรมิ พฒั นาดา้ นการบรหิ ารจดั การทอ่ งเทย่ี ว
เชื่อมโยงการท่องเที่ยวภายในกลุ่มจังหวัด และระหว่างกลุ่ม 3. โครงการดา้ นสง่ เสรมิ การผลติ ลดตน้ ทนุ แปรรปู สนิ คา้
จังหวัด จัดท�ำแผนการพัฒนาและใช้ประโยชน์ทรัพยากรการ จำ� นวน 28 โครงการ งบประมาณ 269,053,000 บาท
ท่องเท่ียวท่ีเป็นมรดกโลกของพื้นที่ ทั้งอุทยานประวัติศาสตร์
กำ� แพงเพชรและเขตอนรุ กั ษส์ ตั วป์ า่ หว้ ยขาแขง้ สนบั สนนุ ชมุ ชน 4. โครงการด้านการตลาด เพ่ิมขีดความสามารถของ
ทอี่ ยใู่ กลแ้ หลง่ มรดกโลกมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นา ตลอดจนพฒั นา ผปู้ ระกอบการ จำ� นวน 13 โครงการ งบประมาณ 73,180,000 บาท
แหล่งท่องเที่ยวใหม่และส่ิงอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับ
การท่องเที่ยว ฟื้นฟูบึงบอระเพ็ดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ อนุรักษ์ โครงการภายใตห้ ว่ งโซค่ ณุ คา่ การทอ่ งเทยี่ วเชงิ ธรรมชาตแิ ละ
พันธุ์ปลาที่หายากของท้องถ่ิน และแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตชาวแพ วฒั นธรรม จำ� นวน 31 โครงการ งบประมาณ 160,580,000 บาท
รมิ แมน่ ำ�้ โดยแบง่ เปน็ 1. โครงการดา้ นถนนเพอ่ื สนบั สนนุ การขนสง่ สนิ คา้
และการทอ่ งเทย่ี ว จำ� นวน 2 โครงการ งบประมาณ 19,000,000
3) แกไ้ ขปญั หานำ้� ทงั้ ระบบ ใหส้ อดคลอ้ งกบั กรอบการพฒั นา บาท 2. โครงการดา้ นพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วใหเ้ ปน็ ตามมาตรฐาน
ลมุ่ นำ�้ หลกั ของประเทศ เพอื่ ปอ้ งกนั และแกป้ ญั หาภยั ธรรมชาติ ของกรมการท่องเท่ียว จ�ำนวน 14 โครงการ งบประมาณ
สนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดความเส่ียงจาก 91,580,000 บาท 3. โครงการด้านเพ่ิมศักยภาพ และพัฒนา
อทุ กภยั และภยั แลง้ และการใชป้ ระโยชนส์ งู สดุ โดยการพฒั นา ผปู้ ระกอบการ จำ� นวน 15 โครงการ งบประมาณ 48,000,000 บาท
แหลง่ นำ�้ และการบรหิ ารจดั การนำ้� ใหท้ ว่ั ถงึ เปน็ ระบบเชอื่ มตอ่ กบั
การจดั การลมุ่ นำ�้ หลกั ของภาคทอ่ี ยใู่ นพน้ื ทกี่ ลมุ่ ใหม้ นี ำ้� เพยี งพอ ขณะทง่ี บลงทนุ ประกอบไปดว้ ย การพฒั นาปจั จยั พนื้ ฐาน
สำ� หรบั การเกษตร อตุ สาหกรรม และการอปุ โภคบรโิ ภค ปอ้ งกนั พฒั นาแหลง่ นำ�้ 15 โครงการ วงเงนิ 430,000,000 บาท, การเพมิ่
หรือบรรเทาปัญหาน้�ำท่วมหรือภัยแล้ง เพิ่มสมรรถนะแหล่ง ผลผลติ ลดตน้ ทนุ การแปรรปู พฒั นาตลาด การผลติ /การตลาด
กกั เกบ็ น�้ำและเพม่ิ แหลง่ กกั เกบ็ น้�ำใหมโ่ ดยสรา้ งแกม้ ลงิ ในพนื้ ที่ 41 โครงการ วงเงนิ 342,233,000 บาท, การพฒั นาปจั จยั พน้ื
เหมาะสม สร้างฝายระบายน้�ำและพนังก้ันน�้ำในล�ำน้�ำสาย ฐาน ดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว/ทรพั ยากรธรรมชาติ - ถนน 2 โครงการ
หลกั และเพม่ิ สถานสี บู นำ�้ ดว้ ยไฟฟา้ พรอ้ มพฒั นาขดุ ลอกแหลง่ วงเงนิ 19,000,000 บาท, การพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วและกจิ กรรม
กกั เกบ็ นำ�้ เดมิ ทต่ี นื้ เขนิ การทอ่ งเทย่ี ว - แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว 14 โครงการ วงเงนิ 91,580,000
บาท, พฒั นาตลาดศกั ยภาพบคุ ลากรการทอ่ งเทยี่ ว - เพม่ิ ศกั ยภาพ
4) พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และคุณภาพชีวิตเพ่ือเพิ่ม 15 โครงการ วงเงนิ 48,000,000 บาท
ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั โดยใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นา
ระดับความรู้ความสามารถของประชาชนและก�ำลังแรงงาน hขMtอtGpขRsอ:/O/บmnคglinrุณoenขlวiอ้nนั eมท.cูลี่o1แm0ล/pมะoถิรliูปุนticาภsย/าdนพetจ2a5iาl/6ก91610000057595
ในกลมุ่ จงั หวดั ใหส้ งู ขนึ้ โดยการยกระดบั การศกึ ษาและพฒั นา
ก�ำลังแรงงานให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ยกระดับคุณภาพ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สนับสนุนให้มีการเข้าศึกษา
ต่อในระดับมัธยมและอุดมศึกษามากขึ้น สนับสนุนการเพิ่ม
ประสทิ ธภิ าพกำ� ลงั แรงงานใหส้ งู ขนึ้ โดยเรง่ พฒั นาทกั ษะฝมี อื ของ
บคุ ลากรใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของตลาด รวมถงึ การสง่ เสรมิ
ใหป้ ระชาชนดแู ลรกั ษาสขุ ภาพของตนเอง
โครงการ 2 พนั ลา้ น ชหู ว่ งโซข่ า้ ว ทอ่ งเทย่ี วธรรมชาตแิ ละ
วฒั นธรรม มรี ายงานวา่ สำ� หรบั งบประมาณโครงการตามแผน
พฒั นากลมุ่ จงั หวดั 4 ปี กลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนลา่ ง 2 กวา่ 121
โครงการ ประกอบไปดว้ ย “โครงการภายใตห้ ว่ งโซค่ ณุ คา่ ขา้ วและ
สนิ คา้ เกษตร” จำ� นวน 90 โครงการ งบประมาณ 1,714,488,000
บาท โดยแบง่ เปน็
1. โครงการดา้ นการพฒั นาแหลง่ นำ�้ เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ
การบริหารจัดการน้�ำเพื่อการเกษตร จ�ำนวน 15 โครงการ
งบประมาณ 430,000,000 บาท
30 อุตสาหกรรมสาร
Product Design
• เร่ือง : ธัญนนั ท์ ธรี พทุ ธพิ ันธ์
Eco Packaging
นวัตกรรมบรรจุภัณฑ์จากผลผลิตการเกษตร
ปจั จบุ ันกระแสการอนรุ กั ษ์ส่งิ แวดลอ้ มยังเป็นที่สิง่ ทที่ ว่ั โลกให้ความสำ� คัญ และหันมาสนใจกับบรรจุภณั ฑ์ท่ี
เปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มและระบบนเิ วศเพอื่ ชว่ ยธำ� รงธรรมชาตเิ อาไว้ และดว้ ยนวตั กรรม การวจิ ยั และเทคโนโลยี
ในปจั จบุ นั กเ็ ออ้ื ตอ่ การนำ� ผลผลติ ทางการเกษตรมาแปรรปู เปน็ บรรจภุ ณั ฑท์ ส่ี ามารถยอ่ ยสลายไดต้ ามธรรมชาติ
ภายในหว้ งระยะเวลาไมม่ ากนกั อกี ทงั้ บางบรรจภุ ณั ฑก์ ส็ ามารถรบั ประทานไดอ้ กี ดว้ ย Product Design ฉบบั นี้
จงึ นำ� ไอเดยี บรรจภุ ณั ฑจ์ ากผลผลติ ทางการเกษตรมานำ� เสนอเพอื่ จดุ ประกายไอเดยี ใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการไดน้ ำ� ไป
ปรบั ใชก้ บั ผลติ ภณั ฑข์ องตนเองไดอ้ ยา่ งเปน็ มติ รกบั โลก
I AM NOT PLASTIC ถ้วย-จาน ใบทองกวาว
ผลิตภัณฑ์ท่ีดูหน้าตาเหมือนพลาสติกสีฟ้าอมเขียว ถ้วยจานที่ท�ำจากใบไม้สีเขียว ยังคงผิวสัมผัส
อย่างไม่ผิดเพี้ยน แต่มันเป็นพลาสติกท่ีกินได้ ที่พัฒนา และลวดลายของใบทองกวาวเอาไว้ จากการวิจัย
โดยบรษิ ทั Avani Eco สญั ชาตอิ นิ โดนเี ซยี ผลติ บรรจภุ ณั ฑ์ ของอาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
“ถุงกินได้” จากมันส�ำปะหลัง พืชที่นิยมปลูกท้ังใน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร จ.พษิ ณโุ ลก นำ� โดย
แอฟริกา ลาตนิ อเมรกิ า และเอเชยี มคี ณุ สมบัตติ ง้ั แต่ รศ.ดร.ศรนิ ทรท์ พิ ย์ แทนธานี คณบดคี ณะวศิ วกรรมศาสตร์
น�ำกลับมาใช้ใหม่ รีไซเคลิ ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ รศ.ดร.สมร หิรัญประดิษฐ์กุล และ ดร.นฤมล สีพลไกร
ท่ีส�ำคัญคือ สามารถละลายได้ในน้�ำ เรียกได้ว่าเป็น อาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ ได้ร่วมกัน
มิตรต่อธรรมชาติและสัตว์น้�ำอย่างแน่นอน โดย วิจัยบรรจุภัณฑ์จากใบไม้สดเพ่ือลดปัญหาจากโฟมและ
จุดประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาขยะล้นเมืองและล�ำคลอง การท�ำลายสิ่งแวดล้อม ซ่ึงน�ำใบทองกวาวมาขึ้นรูปเป็น
ในอินโดนเี ซยี จาน เคลือบด้วยแป้งและผ่านการทดสอบโดยการใส่
นำ�้ รอ้ นแลว้ ไมร่ วั่ ซมึ แถมยงั ยอ่ ยสลายไดเ้ องตามธรรมชาติ
อกี ด้วย ปัจจุบันได้มกี ารพฒั นาให้สามารถใส่ได้ท้งั อาหาร
ร้อนและประเภทไขมนั ต่าง ๆ ได้หลากหลายยิ่งข้ึน
อุตสาหกรรมสาร 31
Gracz
ภาชนะจากใยธรรมชาติ
บริษัทบรรจุภัณฑ์เพ่ือสิ่งแวดล้อมจำ� กัด โดยนายแพทย์ วีรฉัตร กิตติรันไพบูลย์ เห็นถึงปัญหาท่ีเกิดจากการใช้ถ้วย
จานท่เี ป็นโฟม ท่ีนอกจากจะเป็นขยะท�ำลายส่งิ แวดล้อมแล้ว ยังเป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพของผู้บรโิ ภคอีกด้วย ‘Gracz’ เป็น
ผลติ ภณั ฑจ์ ากเยอื่ ของพชื 100% ทส่ี ามารถบรรจไุ ดท้ งั้ น�้ำและทนความรอ้ น ทนความเยน็ ได ้ ใชเ้ ขา้ ไมโครเวฟและเตาอบได้
อยา่ งปลอดภยั และไมม่ สี ารกอ่ มะเรง็ หรอื สารเคมที เ่ี ปน็ อนั ตรายปนเปอ้ื นในอาหาร เรยี กไดว้ า่ ดตี อ่ สขุ ภาพดว้ ย นอกจากนนั้
Gracz ยงั สามารถย่อยสลายได้ภายใน 45 วนั จงึ ไม่ตกค้างทจ่ี ะเป็นมลพิษต่อส่งิ แวดล้อมในภายหลงั
Happy Eggs
ผลติ ภณั ฑบ์ รรจไุ ขไ่ กส่ ดุ นา่ รกั ทท่ี ำ� ใหเ้ รารสู้ กึ เปน็ มติ รตอ่ โลกมากขนึ้
ตั้งแต่แรกเห็น เพราะบรรจุภัณฑ์ของ Happy Eggs ท�ำมาจากฟาง
และหญ้าแห้ง ที่น�ำมาบีบอัดด้วยความร้อนจนกลายเป็นบรรจุภัณฑ์
ใส่ไข่หลากหลายขนาด โดยมีฉลากต่างสีกันเพ่ือบอกถึงจ�ำนวนไข่
อีกด้วย ซ่ึงออกแบบโดย Maja Szczypek นักเรียนสาขานิเทศศิลป์
ในกรงุ วอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ เป็นบรรจุภัณฑ์เรียบง่ายไอเดียเก๋ ๆ
ทสี่ ามารถยอ่ ยสลายไดเ้ รว็ กวา่ กระดาษ ยงั สามารถลดตน้ ทนุ การผลติ
ได้มาก ช่วยได้ทง้ั สิ่งแวดล้อมและผู้ผลิตเลย
32 อตุ สาหกรรมสาร
Good Paper Project
โปรเจก็ ต์ไอเดยี เก๋จาก Bio Farm บรษิ ัทผลิตปุ๋ยออร์แกนิก ร่วมกันกบั Leo Burnett สาขามมุ ไบ สร้างบรรจภุ ณั ฑ์
ทเ่ี ป็นมิตรต่อสง่ิ แวดล้อม โดยตอนแรก Bio Farm ต้องการจะเปล่ยี นภาพลกั ษณ์ของถงุ ปุ๋ยเท่าน้ันแต่ Leo Burnett ต้องการ
พัฒนาให้เป็นมากกว่าแค่ถงุ ปุ๋ย จนนำ� มาสู่ Good Paper Project ถงุ กระดาษใส่ปุ๋ยที่มสี ่วนผสมของปุ๋ยออร์แกนิกมาผสม
รวมกบั กระดาษ แลว้ น�ำไปผา่ นขนั้ ตอนการท�ำกระดาษแบบดง้ั เดมิ จนกลายมาเปน็ ถงุ ปยุ๋ กระดาษสนี �้ำตาลออ่ น ทหี่ นา้ ตา
เหมือนถุงกระดาษมากจนไม่นึกเลยว่าจะมีส่วนผสมของปุ๋ยอยู่ แม้กระท่ังหมึกบนถุงปุ๋ยกระดาษยังเป็นหมึกออร์แกนิก
ซง่ึ เมอ่ื เราใช้ปุ๋ยจนหมดแล้วยงั สามารถฉกี ถุงกระดาษเพอื่ น�ำไปเป็นปุ๋ยต่อได้
กระดาษฝังเมล็ดพันธุ์ ขhhhhhhhtttttttอtttttttpppppppขsssssssอ::::::://////////////บgwwwwwwrคwwwwwweeณุ wwwwwwn......nขmpccccerrrrอ้oeeeewasมaaaattistttttcูลiiii.ovvvvhadแeeeeogammmmneลy.n.oooocะccovvvvรoyeeee.ปู/mt?....hccccpภ//oooosu=าmmmmon1พcc7////idddcaa2จrteeel7ee/าsssl1agoกiiigggtocinnnvariel///z/hbg5/egrea1dapon1/cpon-z4hyde-7u2--we1pt/tgaslygp_/9se/0r-1p4ro4ject/
บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมากกว่ากระดาษ อตุ สาหกรรมสาร 33
ไม่เช่ือก็ต้องเชื่อว่ากระดาษหน้าตาธรรมดาจะปลูกพืช
ได้ Ben Huttly นกั ศึกษาคณะ Visual Communication จาก
Arts University College at Bournemouth ประเทศอังกฤษ
คิดค้นบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับผัก ผลไม้ที่เป็นมิตรต่อโลก
ขนึ้ มา ซง่ึ สามารถยอ่ ยสลายตวั เองได้ และรไี ซเคลิ ไดแ้ บบไม่
หลงเหลอื อะไร กค็ อื ฉลากทคี่ ลา้ ยกบั Hang tag ทผ่ี ลติ มาจาก
กระดาษไมฟ่ อกสี และย่อยสลายได้ ตวั อกั ษรทอี่ ยบู่ นฉลาก
ใช้การยิงเลเซอร์แทนการใช้หมึกท่ีอาจจะไม่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม ความพิเศษสุดของกระดาษ คือ มีเมล็ดพันธุ์
พชื อยทู่ ว่ั กระดาษ ทส่ี ามารถนำ� ไปโยนลงทส่ี วนเพอ่ื ปลกู เปน็
ผักสวนครัวได้ แทนบรรจุภัณฑ์อย่างพลาสติกและโฟมที่
ไม่เป็นมติ รต่อสงิ่ แวดล้อม
Insight SMEs
• เรื่อง : อเุ ทน โชติชยั
หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
CIV บ้านห้องแซง จังหวัดยโสธร
“ข้าวหอมมะลิขาวสวย ห้วยลิงโจนน�้ำใส
ถิ่นฐานไกลเมืองพิณ หินสามก้อนค่าล้�ำ วัฒนธรรมภูไท“
www.ThaiTechno.net
ประวตั คิ วามเปน็ มา ชุมชนห้องแซง เป็นชุมชนขนาดใหญ่ประชากร
หนาแน่นมีศิลปวัฒนธรรมของคนพ้ืนเมืองเป็นเผ่าภูไท
ชาวบ้านห้องแซง เป็นชนเผ่าภูไทที่อพยพมาจากประเทศ มวี ฒั นธรรมเกย่ี วกบั การพดู การแตง่ กาย การละเลน่ ตา่ ง ๆ
สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว นบั ถอื ศาสนาพทุ ธ ดงั นน้ั เชน่ การรำ� เลาตบู ลงขว่ ง เขน็ ฝา้ ย การฟอ้ นภไู ท การรำ� ภไู ท
ประเพณีวัฒนธรรมของชุมชนจึงแสดงออกไปในแนวทางที่ การตีกลองตุ้ม ปัจจุบันได้มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟู เป็นการ
บัญญัติตามพระพุทธศาสนาท่ีได้ก�ำหนดไว้ซ่ึงก็เหมือนกับ สืบสานวัฒนธรรมด้ังเดิมของชาวภูไทเพ่ือเป็นวิถีของ
ประเพณขี องไทยอสี านทว่ั ๆ ไป มปี ระเพณที ำ� บญุ ตา่ ง ๆ เชน่ ชาวชุมชนที่ด�ำเนินชีวิตในปัจจุบัน และจัดต้ังสภา
บญุ เขา้ พรรษาออกพรรษาบญุ กฐนิ บญุ บงั้ ไฟและบญุ บวชนาค วฒั นธรรมตำ� บลหอ้ งแซง ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2541 – ปจั จบุ นั ได้
สว่ นภาษาพดู นนั้ ทง้ั ตำ� บลมอี ยู่ 5 หมบู่ า้ นทพี่ ดู เปน็ สำ� เนยี งภไู ท จดั ตง้ั ศนู ยว์ ฒั นธรรมภไู ทเพอ่ื ใชเ้ ปน็ ทรี่ วมของศลิ ปวฒั นธรรม
คอื บา้ นหอ้ งแซง บา้ นดงยาง บา้ นโนนแดง บา้ นหนองบงึ และบา้ น ภูไท เป็นแหล่งเรียนรู้ มีการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม
ปา่ ชาดสว่ นหมบู่ า้ นอนื่ นนั้ พดู ภาษาพน้ื เมอื งของไทยอสี านทวั่ ไป ในรปู แบบตา่ ง ๆ และไดม้ กี ารกำ� หนดเปน็ นโยบายอนั สำ� คญั
ทจ่ี ะตอ้ งดำ� เนนิ กจิ กรรมตอ่ ไปเพอ่ื เปน็ การอนรุ กั ษฟ์ น้ื ฟแู ละ
34 อตุ สาหกรรมสาร สบื สานศลิ ปวฒั นธรรม เชน่ บญุ ผะเหวด บญุ กมุ้ ขา้ วใหญ่
(บญุ คณู ลาน) ประเพณลี อยกระทง กจิ กรรมรดนำ้� ขอพร
ผสู้ งู อายุ การตกั บาตรวนั ขน้ึ ปใี หม่ เปน็ ตน้
ทตี่ งั้ อาณาเขต เขตการปกครอง
สภาพภมู ปิ ระเทศทว่ั ไปของตำ� บลหอ้ งแซง สว่ นใหญ่
เปน็ ทร่ี าบสงู บนแนวเทอื กเขาเลก็ ๆ สภาพดนิ เปน็ ดนิ รว่ น
ปนทราย พน้ื ทป่ี ระมาณ รอ้ ยละ 50 เปน็ ปา่ ไมม้ ลี ำ� นำ�้
ขนาดเล็ก คือ ล�ำเซบายไหลผ่านและมีอ่างเก็บน้�ำห้วย
ลงิ โจนเปน็ แหลง่ นำ้� สำ� คญั ทใ่ี ชใ้ นการเกษตร
เทศบาลตำ� บลหอ้ งแซง มเี นอื้ ที่ 135.30 ตารางกโิ ลเมตร
หรือประมาณ 84,569 ไร่ อยู่ห่างจากอำ� เภอเลิงนกทา
ไปทางทศิ ตะวนั ตกประมาณ 21 กโิ ลเมตร ระยะทางหา่ ง
จากจงั หวดั ยโสธร 85 กโิ ลเมตร มอี าณาเขต ดงั น้ี เขตการ
ปกครอง จำ� นวนหมบู่ า้ น 19 หมบู่ า้ น 2,871 หลงั คาเรอื น
จำ� นวนประชากร จ�ำนวนประชากรทง้ั หมด 11,337 คน
แยกเปน็ ชาย 5,697 คน หญงิ 5,640 คน
www.robotics.org http//www.VisitYasothon.com
แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว 4. กลมุ่ โฮมสเตยภ์ ไู ทหอ้ งแซง โฮมสเตยภ์ ไู ท เกดิ จากการ
ทเี่ ปน็ ชมุ ชนทมี่ เี อกลกั ษณแ์ ละรกั ษาประเพณวี ฒั นธรรมวถิ ชี วี ติ
มีหมู่บ้านท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมภูไทห้องแซง, แบบดง้ั เดมิ ไวจ้ งึ ไดร้ บั ความสนใจจากผคู้ นจากตา่ งถน่ิ เขา้ มา
อา่ งเกบ็ นำ้� หว้ ยลงิ โจน, ภรู ม่ เยน็ มโนธรรม และภถู �้ำพระ เปน็ แวะเยยี่ ม มาศกึ ษาดงู าน เพอ่ื ใหก้ ารบรกิ ารจดั การและรองรบั
แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทส่ี ำ� คญั นักท่องเที่ยว จึงได้รวมกลุ่มกันก่อตั้งโฮมสเตย์ขึ้นโดยท�ำงาน
ร่วมกับสภาวัฒนธรรมต�ำบลห้องแซงและได้รับการสนับสนุน
ผลติ ผลติ ภณั ฑเ์ ดน่ ของชมุ ชน จากเทศบาลต�ำบลห้องแซง ผู้มาเยือนจะได้ชมและศึกษา
วถิ ชี วี ติ ความเปน็ อยขู่ องชาวภไู ททยี่ งั คงไวอ้ ยา่ งดง้ั เดมิ โดยเฉพาะ
ผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน “ของดบี า้ นฉนั ” บา้ นหอ้ งแซง ต�ำบล วฒั นธรรมภไู ททมี่ อี ยอู่ ยา่ งหลากหลายกจิ กรรม ทงั้ พธิ บี ายศรี
หอ้ งแซง อำ� เภอเลงิ นกทา จงั หวดั ยโสธร ไดแ้ ก่ สู่ขวัญ การแสดงพ้ืนบ้านทั้งเด็กและผู้ใหญ่ นอกจากนั้นแล้ว
ในตอนเช้าจะได้ท�ำบุญตักบาตรกับพระสงฆ์ท่ีเดินบิณฑบาตร
1. ขา้ วกลอ้ งงอกหอมมะลิ จากการทพ่ี นื้ ทต่ี ำ� บลหอ้ งแซง ตามถนนภายในหมบู่ า้ น
สามารถปลกู ขา้ วเจา้ หอมมะลไิ ดผ้ ลผลติ ดมี คี ณุ ภาพยอดเยย่ี ม
ชาวบา้ นหอ้ งแซง จงึ ไดร้ วมตวั กนั กอ่ ตงั้ กลมุ่ ขา้ วกลอ้ งเพอ่ื สขุ ภาพ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ
ขนึ้ สำ� หรบั จำ� หนา่ ยใหก้ บั ประชาชนโดยทวั่ ไป มจี ำ� หนา่ ยทก่ี ลมุ่ ของกระทรวงอตุ สาหกรรม
เกษตรกรทำ� นาหอ้ งแซง
ส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดยโสธร และศูนย์ส่งเสริม
2. ข้าวหอมมะลิ 105 ข้าวหอมมะลิ 105 ของต�ำบล อุตสาหกรรมภาคท่ี 7 เป็นหน่วยงานในพื้นที่ที่เข้าให้
หอ้ งแซง เปน็ ขา้ วเจา้ คณุ ภาพดเี ยยี่ ม ซง่ึ ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลศิ การสนบั สนนุ และพฒั นารว่ มกบั หนว่ ยงานอน่ื ๆ ทง้ั ภาครฐั และ
การประกวดผลติ ภณั ฑด์ เี ดน่ จงั หวดั ยโสธร ประจำ� ปี 2545 เอกชนอยา่ งตอ่ เนอื่ งมาตลอด ในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ การทำ�
บรรจภุ ณั ฑ์ การบรหิ ารจดั การกลมุ่ เปน็ ตน้ เพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพ
3. ผา้ ทอมดั หมภี่ ไู ทหอ้ งแซง ชาวภไู ทแตง่ กายดว้ ยผา้ ทอ ผลติ ภณั ฑใ์ หส้ งู ขน้ึ ตามลำ� ดบั
ลวดลายดง้ั เดมิ เชน่ ลายผเี สอื้ ลายขนมตดั ลายนกนอ้ ย ลาย
ตน้ สน ลายทาง เปน็ ตน้ ทยี่ งั คงบง่ บอกถงึ ความเปน็ เอกลกั ษณ์ อตุ สาหกรรมสาร 35
เฉพาะ โดยการทอผ้าใช้เองภายในครอบครัว มีการถ่ายทอด
ภูมิปัญญาสืบลูกสืบหลานซึ่งเหลือจากการใช้แล้วยังท�ำเป็น
สนิ คา้ สง่ ออกเพอ่ื นำ� รายไดเ้ ขา้ สคู่ รอบครวั อกี ทางหนงึ่
นางเบญจมาพร เอกฉตั ร์ ผตู้ รวจราชการกระทรวงอตุ สาหกรรม จดุ เด่นของ CIV บา้ นห้องแซง จงั หวดั ยโสธร
เยยี่ มชมหมบู่ า้ น และชโู มเดลเศรษฐกจิ ฐานชมุ ชน (Local Economy)
เอกลักษณ์ที่เด่นคือเน้น “อนุรักษ์วัฒนธรรมภูไท” มี
“จุดเน้นของกระทรวงอุตสาหกรรม คือการเข้าไปช่วย ความพร้อมของคนในชุมชนเป็นอย่างมาก มีความโดดเด่น
คนตวั เล็ก ผู้ผลิตระดบั Micro SMEs ในทกุ จังหวัด โดยเฉพาะ และกล่าวถงึ ของผู้มาเยอื น ซงึ่ มีจ�ำนวนมากขน้ึ ทุกปี
การพัฒนาสินค้าที่เป็นอัตลักษณ์ของชุมชนให้มีมูลค่าเพิ่ม
และเช่ือมโยงการท่องเท่ียวตลอดจนพัฒนาชุมชนท่องเท่ียว “จุดเน้นของกระทรวงอุตสาหกรรม คือการเข้าไปช่วย
ด้วยการเติมเต็มสิ่งที่ยังขาดอยู่ เพ่ือจูงใจให้นักท่องเท่ียวเข้า คนตัวเลก็ ผู้ผลติ ระดับ Micro SMEs ในทกุ จังหวดั โดยเฉพาะ
มาท่องเท่ียวในชุมชน และซ้ือสินค้าในชุมชนกลับไปเป็นของ การพฒั นาสนิ คา้ ทเ่ี ปน็ อตั ลกั ษณข์ องชมุ ชนใหม้ มี ลู คา่ เพมิ่ และ
ฝากหรือของท่ีระลึกท�ำให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่เพียงแต่ที่ เชอื่ มโยงการทอ่ งเทยี่ วตลอดจนพฒั นาชมุ ชนทอ่ งเทย่ี ว ดว้ ยการ
ท่องเท่ียวหรือสินค้าในชุมชนแต่รวมถึงภาคส่วนอื่นในชุมชน เตมิ เตม็ สง่ิ ทย่ี งั ขาดอยู่ เพอื่ จงู ใจใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี วเขา้ มาทอ่ งเทยี่ ว
ด้วย เช่น ร้านอาหาร การเดนิ ทาง เป็นต้น การสร้างงานใน ในชุมชน และซื้อสินค้าในชุมชนกลับไปเป็นของฝากหรือของ
ชุมชนท�ำให้ลูกหลานหรือเด็กยุคใหม่เห็นโอกาสท่ีจะมีอาชีพ ที่ระลึกท�ำให้ชุมชนมีรายได้เพ่ิมขึ้นไม่เพียงแต่ที่ท่องเท่ียวหรือ
โดยไม่ต้องไปหางานท�ำในเมืองและยังสามารถน�ำความรู้ท่ี สินค้าในชุมชนแต่รวมถึงภาคส่วนอ่ืนในชุมชน ด้วย เช่น
เรยี นมาชว่ ยพฒั นาตอ่ ยอดผลติ ภณั ฑ์หรอื กจิ การของชมุ ชนได้ ร้านอาหาร การเดินทาง เป็นต้น การสร้างงานในชุมชน
และมโี อกาสดแู ลพอ่ แมท่ บี่ า้ นไดโ้ ดยกระทรวงอตุ สาหกรรมเนน้ ท�ำให้ลูกหลานหรือเด็กยุคใหม่เห็นโอกาสที่จะมีอาชีพโดยไม่
ใหผ้ ปู้ ระกอบการทม่ี กี ำ� ลงั และตอ้ งการแบง่ ปนั ใหก้ บั สงั คมเปน็ ต้องไปหางานท�ำในเมืองและยังสามารถน�ำความรู้ท่ีเรียนมา
พใ่ี หญม่ าชว่ ยชมุ ชน ซงึ่ อาจมาในรปู การใหค้ วามรู้ ดา้ นการผลติ ช่วยพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์หรือกิจการของชุมชนได้และ
การบริหารจดั การ การช่วยเหลอื สนับสนนุ เครอื่ งจักร อุปกรณ์ มีโอกาสดูแลพ่อแม่ท่ีบ้านได้โดยกระทรวงอุตสาหกรรมเน้นให้
หรอื แมแ้ ตส่ ง่ เสรมิ ดา้ นการตลาด เชน่ การเปดิ พนื้ ทกี่ ารจำ� หนา่ ย ผู้ประกอบการท่ีมีก�ำลังและต้องการแบ่งปันให้กับสังคมเป็น
สินค้าในโรงงานเพื่อเพิ่มช่องทางการตลาดให้ นอกจากน้ัน พ่ีใหญ่มาช่วยชุมชน ซ่ึงอาจมาในรูปการให้ความรู้ ด้านการ
กระทรวงอตุ สาหกรรมยงั เปิดศนู ย์ ITC ท่ีมีเครอ่ื งจกั รอปุ กรณ์ ผลิต การบริหารจัดการ การช่วยเหลือสนับสนุนเคร่ืองจักร
การผลิต อุปกรณ์ออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ อุปกรณ์ หรือแม้แต่ส่งเสริมด้านการตลาด เช่น การเปิด
เพ่ือเปิดโอกาสให้ SMEs ได้มาทดลองใช้เครื่องจักรอุปกรณ์ พ้ืนที่การจ�ำหน่ายสินค้าในโรงงานเพื่อเพ่ิมช่องทางการตลาด
ในการออกแบบหรือผลิตสินค้า ต้นแบบและขยายต่อยอดไป ให้ นอกจากนั้นกระทรวงอุตสาหกรรมยังเปิดศูนย์ ITC ท่ี
เปน็ การผลติ เพอื่ จำ� หนา่ ย ปจั จบุ นั มกี ารเปดิ ศนู ย์ ITC แลว้ หลาย มีเคร่ืองจักรอุปกรณ์การผลิต อุปกรณ์ออกแบบผลิตภัณฑ์
แหง่ ซงึ่ SMEs สามารถเขา้ ไปใชบ้ รกิ ารได้ การระดมสรรพกำ� ลงั ออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อเปิดโอกาสให้ SMEs ได้มาทดลอง
ของกระทรวงอุตสาหกรรมในครั้งนี้เพื่อให้ประชาชนคนตัวเล็ก ใช้เคร่ืองจักรอุปกรณ์ในการออกแบบหรือผลิตสินค้าต้นแบบ
มีรายได้เพ่ิมขึ้นและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น” นางเบญจมาพร และขยายต่อยอดไปเป็นการผลิตเพ่ือจ�ำหน่าย ปัจจุบันมีการ
เอกฉตั ร์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงอตุ สาหกรรมกล่าว เปดิ ศนู ย์ ITC แลว้ หลายแหง่ ซงึ่ SMEs สามารถเขา้ ไปใชบ้ รกิ าร
ได้ การระดมสรรพก�ำลังของกระทรวงอุตสาหกรรมในครั้งน้ี
36 อุตสาหกรรมสาร เพ่ือให้ประชาชนคนตัวเล็กมีรายได้เพ่ิมขึ้นและมีคุณภาพชีวิต
ท่ีดีข้ึน” นางเบญจมาพร เอกฉัตร์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง
อตุ สาหกรรม กล่าว
ขอขอบคณุ ข้อมลู และรูปภาพจาก
สน�ำานงลักะงเาอนยี อดตุ สศารหสี ุขกรปรมระจธงั าหนวกดั ลยุ่มโสฯธโรทโรท. ร0.8061931411515900999
Local SMEs
• เรื่อง : อมรรัตน์ เพ็งรกั ษ์
เกาะยอ จ.สงขลา
ขุมทรัพย์กลางทะเล
โครงการหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industry Village : CIV) เป็นโครงการของกระทรวงอุตสาหกรรม
ดำ� เนนิ การโดยกรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม ขยายผลจากโครงการหมบู่ า้ นอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี วเพอ่ื เปน็ ตน้ แบบ ซง่ึ หมายถงึ หมบู่ า้ น
แห่งความสมดุลที่นําทุนวัฒนธรรม วิถีชีวิต และอัตลักษณ์ชุมชน มาผนวกกับความคิดสร้างสรรค์และการออกแบบ เพ่ือสร้าง
มูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้าและบริการของชุมชน เชื่อมโยงกับการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเริ่มต้นคัดเลือกหมู่บ้านในปีงบประมาณ 2559
มหี นว่ ยงานภาครฐั เปน็ คณะทำ� งานมากกวา่ 10 หนว่ ยงาน โดยคดั เลอื ก 9 ชมุ ชนเปน็ พนื้ ทนี่ ำ� รอ่ ง และดำ� เนนิ การพฒั นาในปี 2560
ตอ่ มาในปี 2561 ยงั มกี ารคดั เลอื กพน้ื ทพ่ี ฒั นาอกี 10 ชมุ ชน ควบค่ไู ปกบั การดำ� เนนิ งานในพน้ื ทเี่ ดมิ ท่ีไดด้ ำ� เนนิ การแลว้ ในปี 2560
ทางภาคใต้ตอนล่าง ในจังหวัด สงขลา นราธิวาส ปลากะพงขาว 3 นำ�้ อรอ่ ยทส่ี ดุ
ปัตตานี สตลู ยะลา ได้คัดเลือกชุมชนเกาะยอ จงั หวดั สงขลา
เขา้ รว่ มโครงการ ในปี 2560 และยงั ดำ� เนนิ การตอ่ เนอื่ งในปี 2561 ผู้เดินทางมาเยือนจะหลงใหลในมนต์เสน่ห์ของชุมชน
รบั ผดิ ชอบโครงการโดยกองพฒั นาอตุ สาหกรรมชมุ ชน มศี นู ย์ ดงั้ เดมิ ทมี่ ีความหลากหลายทางวฒั นธรรม มแี หล่งท่องเท่ยี ว
ส่งเสริมอตุ สาหกรรมภาคท่ี 11 ประสานงานในพ้นื ที่ ในชมุ ชนทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความอดุ มสมบรู ณท์ างทรพั ยากรทาง
ธรรมชาติ อาทิ การเยยี่ มชมการเลย้ี งปลากระพงขาวในกระชงั
“เกาะยอ” เปน็ เกาะเลก็ ๆ ในอำ� เภอเมอื ง จงั หวดั สงขลา ซ่ึงเป็นปลา 3 นำ้� คอื น้�ำเค็ม น้�ำจืด และน้�ำกร่อย ได้ช่อื ว่า
มีน้�ำทะเลสีครามล้อมรอบ มีความสวยงามตามธรรมชาติ เป็นปลากะพงท่ีอร่อยที่สุด การชมวิถีของเกษตรกรรับประทาน
สะดวกในการเดินทาง ด้วยสะพานติณสูลานนท์ ท่ีเชื่อมต่อ ผลไม้สดจากสวน มีละมุด และจ�ำปาดะ ผลไม้พ้ืนถ่ินท่ีมี
เกาะยอ 2 ด้าน ระหว่างฝั่งบ้านน�้ำกระจาย อ�ำเภอเมือง ช่ือเสียง มีรสชาติอร่อย หอมหวาน การท่องเท่ียวตามวิถี
สงขลา และบ้านเขาเขียว อ�ำเภอสิงหนคร ชาวบ้านในต�ำบล พุทธท่ีวัดแหลมพ้อ การชมสะพานติณสูลานนท์ที่เป็นสะพาน
เกาะยอ มีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย คงรักษาประเพณีวัฒนธรรม ยาวทีส่ ดุ ในประเทศไทย
ด้ังเดิมไว้อย่างเหนียวแน่น ในชุมชนประกอบอาชีพหลากหลาย
ท้ังประมง ท�ำเกษตรกรรม การผลิตและจ�ำหน่ายสินค้า เชอ่ื มโยงชมุ ชนสแู่ หลง่ ทอ่ งเทยี่ ว
พ้ืนบ้าน การทอผ้า “ผ้าทอเกาะยอ” ซ่ึงเป็นผ้าพื้นเมืองที่มี
ช่ือเสียงและได้รับความนิยมจากผู้นิยมสวมใส่ผ้าไทย มีลาย ชมุ ชนทอ่ งเทย่ี วทไี่ ดร้ บั คดั เลอื กเขา้ รว่ มโครงการ CIV หรอื
ที่เป็นเอกลกั ษณ์ เช่น ลายราชวตั ถ์ ดอกพิกลุ ดอกพะยอม หมบู่ า้ นอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์ (Creative Industry Village) ของ
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมนับเป็นโอกาสที่ดีของชุมชน ท�ำให้
อตุ สาหกรรมสาร 37
www.bfi o.kmutt.ac.th
เกดิ การเรยี นรู้ รว่ มมอื รว่ มใจกนั บรหิ ารจดั การกบั ทรพั ยก์ รทม่ี อี ยู่ ผมู้ าเยอื นจะประทบั ใจกบั มรดกทางวฒั นธรรมทส่ี บื ทอดมายงั
ในพ้ืนถ่ิน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด มีการก�ำหนดเส้นทาง รุ่นหลัง
การท่องเท่ียวท่ีชัดเจน เพ่ือท่ีนักท่องเท่ียวได้สัมผัสวิถีชีวิต
วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ความงามของทัศนียภาพได้อย่าง ชมวฒั นธรรมพน้ื บา้ น
ทั่วถึงและเกิดมูลค่าจากการท่องเท่ียวขอเชิญสัมผัสเกาะยอ
จ.สงขลา ตามแหล่งท่องเท่ียว ลัดเลาะไปยังแหล่งอาหาร • กลมุ่ ผา้ ทอดอกพกิ ลุ ผา้ ทอยกดอกลายพกิ ลุ เปน็ มรดก
แหล่งผลติ ภณั ฑ์และวฒั นธรรมทม่ี ีชอ่ื ของจังหวดั สงขลา
ทางวฒั นธรรมของทอ้ งถน่ิ สมยั กอ่ นจะทอเปน็ ผา้ สไบ ไดม้ กี าร
สมั ผสั สถาปตั ยกรรมโดดเดน่ พฒั นาจนทอเป็นผ้าผนื ยาว ตดั เป็นชุดได้
• วัดแหลมพ้ออยู่ใกล้ถนนเชิงสะพานติณสูลานนท์ฝั่ง • แม่จรรยาขนมไทยพ้ืนบ้าน ผลิตและจ�ำหน่ายขนม
เกาะยอ เป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธรูปปางปรินิพพานท่ี พนื้ บา้ นทางใต้ และขนมมอ่ ฉ่ี หรอื ขนมโมจมิ ตี �ำนานวา่ เกดิ สมยั
ใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย พระบาทมลี วดลายภาพศลิ ปะ สร้าง สงครามโลกครง้ั ที่ 2 ญป่ี นุ่ ยดึ สงขลาเปน็ ฐานทพั คนญป่ี นุ่ ชอบ
ข้นึ เมื่อปี พ.ศ. 2537 ท�ำกนิ คนสงขลาเกดิ การเรยี นรู้และประยกุ ต์ให้ถูกปาก
• วดั โคกเปรยี้ ว สรา้ งขน้ึ ในปี 2425 อยตู่ ดิ ทะเลสาบสงขลา • หนงั นคั ราตะลงุ วาทนิ “หนังโรจน์” เย่ียมชมบ้านนาย
ทางดา้ นทศิ ใตข้ องเกาะยอ ภายในโบสถม์ สี ถาปตั ยกรรมเกา่ แก่ หนังตะลุง ฟังเร่ืองราวการสืบสานศิลปะการแสดงประจ�ำถ่ิน
และมีต้นละมุดอายุกว่า 100 ปี อยู่ท่ีกุฏิหลังเดิมเจ้าอาวาส ของภาคใต้ ชมรูปตวั ละครต่าง ๆ ของหนงั ตะลุง
วดั โคกเปี้ยว ภายในวดั มี “พระพ่อแก่” หรอื พระพทุ ธรปู เก่าแก่
ทชี่ าวบ้านมาสกั การะ ชมทศั นยี ภาพทา่ มกลางธรรมชาติ
• วัดท้ายยอ เป็นวัดท่ีโดดเด่นด้วยสถาปัตยกรรม • ทพ่ี ักสงฆ์เขากฎุ ิ และจดุ ชมวิวมมุ สูงเกาะยอ สามารถ
มองเหน็ ความงามของเกาะยอไดอ้ ยา่ งชดั เจนยงั มเี จดยี โ์ บราณ
พนื้ บา้ น มกี ฎุ เิ รอื นไทยอายกุ วา่ 200 ปี จำ� นวน 3 หลงั ดา้ นหลงั ประดิษฐานอยู่
ของวดั เปน็ เขาเพหาร ภายในวดั มบี อ่ นำ้� โบราณ สระนำ�้ โบราณ
• สวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรมติณสูลานนท์ต้ังอยู่
38 อุตสาหกรรมสาร บริเวณเชิงสะพานติณสูลานนท์ มีเน้ือที่ประมาณ 150 ไร่
จดั แบง่ พน้ื ทเ่ี ปน็ 3 สว่ น หอประวตั พิ ลเอกเปรม สวนสาธารณะ ในด้านของเทคโนโลยีสมัยใหม่ โดยให้เข้ารับการฝึกอบรมใน
และศูนย์บรกิ ารการเรยี นรู้ระบบนเิ วศป่าชายเลน โครงการ Digital Otop จำ� นวน 2 กลมุ่ เพอื่ นำ� ความรไู้ ปตอ่ ยอด
ในการสร้างแบรนด์ และประชาสมั พนั ธ์สนิ ค้าชมุ ชน
• โฮมสเตย์ “ท้ายเกาะ” โฮมสเตย์ตั้งอยู่ริมทะเลสาบ
จุด Check in ที่ได้ร่วมกันก�ำหนดขึ้น เพ่ือให้เกิดการ
สงขลา ลุงโชเจ้าของที่พักจะมีบริการพาผู้เข้าพักล่องเรือไป ประชาสัมพันธ์สถานที่ท่องเที่ยวไปในตัว จะเป็นวัดแหลมพ้อ
ชมการยกไซดักกุ้ง การหาปลา ต้ังแต่เช้ากุ้งที่ได้มาก็น�ำมา ซึ่งเป็นวัดที่มีความสวยงามทางสถาปัตยกรรมและภูมิทัศน์
ท�ำอาหารเช้าให้ผู้เข้าพักรับประทาน ท่ีพักสะอาดร่มร่ืนอยู่ ที่อยู่ติดทะเล ชาวชุมชนยังร่วมกันค้นหากิจกรรมต่าง ๆ ให้
ท่ามกลางธรรมชาติ นักท่องเที่ยวได้มีส่วนร่วม อาทิ การปั้นขนมม่อฉ่ี ขนมท่ีมี
เฉพาะท้องถ่ินคล้ายขนมโมจิ ทดลองทอผ้า ชมการดักไซนั่ง
นอกจากการก�ำหนดเส้นทางท่องเท่ียวแล้ว ยังร่วม (ประมงพ้นื บ้าน ให้อาหารปลากะพงขาวในกระชงั สานโคร๊ะ
กันก�ำหนดสัญลักษณ์ โดยค้นหาจากอัตลักษณ์ของชุมชนเป็น (ทางมะพรา้ วสำ� หรบั หอ่ จำ� ปาดะ) การนง่ั เรอื ชมวถิ ชี วี ติ บนเกาะ
รูปทรงแผนที่เกาะยอที่อยู่ระหว่างกลางของสะพานติณสูลานนท์ หนั มาใหค้ วามสำ� คญั กบั ทพี่ กั แบบโฮมสเตย์ นอกจากการดกั กงุ้
เช่ือมกับแผ่นดินใหญ่ทั้งสองด้าน ภายในแผนที่เป็นลวดลาย ใหด้ ู และกงุ้ ทไี่ ดม้ ากน็ ำ� มาทำ� อาหารเชา้ ใหผ้ เู้ ขา้ พกั รบั ประทาน
กราฟิกที่สะท้อนถึงความมั่งคั่งทางทรัพยากรทางทะเล เป็นเสน่ห์ที่มีมาแต่เดิมแล้ว ยังได้มีการแนะน�ำให้พัฒนาเร่ือง
งานหัตถกรรม (กระเบ้ืองเกาะยอและลายผ้าทอราชวัตถ์) ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความได้มาตรฐานของสถานท่ี
เพอื่ นำ� ไปใช้ให้เกดิ มูลค่าเพมิ่ ในตวั สนิ ค้าและผลิตภณั ฑ์ เพ่ือสร้างความพอใจแก่นกั ท่องเท่ยี ว
การสง่ เสรมิ เสรมิ พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ในชมุ ชน ปัจจุบัน “เกาะยอ” เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ท�ำให้
ผู้เดินทางมาเยือนจังหวัดสงขลา นึกถึงเป็นอันดับต้น ๆ มี
พัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชนให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน ความงดงามตามธรรมชาติ มีประเพณวี ัฒนธรรมทย่ี งั สบื ทอด
เกิดมูลค่า ให้เติบโตอย่างยั่งยืน โดยเริ่มต้นจากการท�ำ มาอยา่ งเหนยี วแนน่ มผี ลติ ภณั ฑพ์ นื้ บา้ น สำ� หรบั เปน็ ของขวญั
Packaging ใหม่ให้แก่กลุ่มวิสาหกิจและวิสาหกิจในชุมชน ของฝาก มีกิจกรรมให้นักท่องเท่ียวมีส่วนร่วม สร้างความ
จำ� นวน 15 แหง่ ทำ� ใหส้ นิ คา้ ไดร้ บั ความสนใจแกล่ กู คา้ มากยงิ่ ขน้ึ ประทับใจแก่ผู้มายนื ดงั สโลแกน
และสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษภ์ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ใหย้ งั คงอยสู่ บื ทอด
ไปยงั คนรนุ่ หลงั อาทิ การสานโคระ๊ การทอผา้ ซง่ึ ปจั จบุ นั มกี ลมุ่ “เกาะยอ ขุมทรพั ย์กลางทะเลสงขลา”
ทอผ้าเกิดขึ้นมาหลายกลุ่ม และศึกษาเพ่ือให้เกิดผลิตภัณฑ์
ใหม่ในชมุ ชน และส่งเสรมิ ให้เกิดศูนย์จำ� หน่ายสนิ ค้าในชุมชน
ทงั้ ยงั มกี ารสง่ เสรมิ ชาวเกาะยอ ใหไ้ ดร้ บั การพฒั นาองคค์ วามรู้
ขศ1โท6ูนอ5รยข.ถ์สอน0่งบเ7นสคก4รุณมิ2า1ญอขตุอ้1จ9สมน0หวลู5กนแรชิ ลรมะตรภ�ำูปาบคภลทนา่ีพ�้ำ1นจ1้อากยกรมอสำ� เ่งภเสอรหิมาอดตุ ใหสาญห่ กจรงั รหมวดั สงขลา
อตุ สาหกรรมสาร 39
Good Governance
• เรอื่ ง : ปาณทพิ ย์ เปล่ียนโมฬี
ความสุขท่ีแท้จริง
www.rentrer.fr
‘ ’นตถิ สนติ ปรํ สุขํ
ความสุขที่แท้จริง หรือ สุขอื่นนอกจากใจหยุดใจน่ิงนั้นเป็นไม่มี
ความสุขที่แท้จริงน้ัน ก็คือ ความสุขที่ท�ำใจให้หยุด ท�ำใจให้น่ิง ท�ำใจให้สงบระงับ ท�ำใจให้ถึงสมาธิน่ันเอง เป็นสุข
อย่างยิ่ง เป็นสุขทีไ่ ม่มขี อบเขต เป็นสขุ ที่เป็นอสิ ระ เป็นสุขทเ่ี ยอื กเยน็ ละเอียดอ่อน นุ่มนวล เป็นสขุ ทไี่ ม่ซำ้� กับความสขุ ท่ีเคย
เจอมาก่อน ความสขุ ชนดิ นเ้ี ขา้ ถึงไดด้ ้วย...สมาธิ
พระสมั มาสมั พุทธเจ้า ทรงตรสั ไว้ถงึ ...วิธกี ารท่เี ราจะ แต่กฎแห่งกรรม ไม่เคยเปล่ียนแปลง ท�ำดีได้ดี
ได้รบั ความสขุ ด้วยวธิ งี ่าย ๆ ไม่ต้องเหนอื่ ยยาก ไมต่ ้องเสยี ท�ำชั่วได้ชั่ว ท�ำอย่างไรได้อย่างน้ัน ปลูกถั่วก็ต้องเป็นถั่ว
เงนิ เสยี ทองอะไรเลย ซงึ่ จะทำ� ใหเ้ ราไดร้ บั ความสขุ ทแี่ ทจ้ รงิ ปลกู งาก็ต้องเป็นงา ปลูกถว่ั จะไปเป็นงาไม่ได้
กลบั มา ส่งิ น้นั คือ...การท�ำสมาธิ
การแผเ่ มตตา ทำ� ใหใ้ จเราเปน็ สขุ แผก่ ระแสแหง่ ความ
มนุษย์ส่วนใหญ่มักจะแสวงหาสิ่งท่ีไร้สาระ ซึ่งน�ำ ปรารถนาดขี องเรา ไปยงั สรรพสตั วท์ งั้ หลายทไี่ มม่ ปี ระมาณ
ติดตัวไปในภพเบ้ืองหน้าไม่ได้ แต่สิ่งท่ีเป็นสาระ เป็น (นบั ไม่ถ้วน) ให้สรรพสตั ว์ทง้ั หลายเหล่านนั้ อยู่เยน็ เป็นสขุ
แก่นสารของชีวิต และน�ำติดตัวไปในภพเบื้องหน้าได้ พ้นจากทุกข์โศกโรคภัยพิบัติต่าง ๆ ใครท่ีเคยท�ำให้เรา
เรากลบั ไมใ่ หค้ วามสำ� คัญ ขุ่นข้อง หมองใจ ขุ่นมัว เราก็ให้อภัยเขา ไม่โกรธตอบ
ไม่ผูกโกรธ ไม่ผูกพยาบาท ใจเรากเ็ ป็นสุขได้อย่างแท้จรงิ
ทเ่ี ป็นอย่างน้ี เพราะบางคนไม่รู้ บางคนถงึ รู้แต่ไม่ทำ�
เพราะฉะนนั้ เราจะตอ้ งให้ความส�ำคญั ในการท�ำใจหยดุ นงิ่
เพ่ือให้เข้าถงึ ส่ิงท่มี ีจริงอยู่ภายใน นัน่ คอื .. สมาธิ
กฎหมายหรือกฎเกณฑ์อะไรบางอย่างในโลกน้ี
ทม่ี นษุ ยส์ มมตกิ นั ขน้ึ มา ยงั หลกี เลย่ี งได้ ยงั เปลยี่ นแปลงได้
40 อุตสาหกรรมสาร
Book Corner
• เร่ือง : สพุ รรษา พทุ ธะสภุ ะ
คมู่ อื ทำ� ธรุ กจิ กลว้ ยไมท้ ำ� เงนิ นวตั กรรมสมนุ ไพรไทยกา้ วไกลสอู่ ตุ สาหกรรม
ผู้เขยี น : สพุ รรณ์ ก้อนค�ำ ณ ลำ� โขง รผหู้เขัสียน: S: 6ส3�ำนสกั21งานนวตั กรรมแห่งชาติ
รหสั : IK 4 ก58 เนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาแนวความร่วมมือระหว่าง
หนังสือมีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐาน หน่วยงานภาครัฐและผู้ประกอบการภาคเอกเอกชน
เกี่ยวกับกล้วยไม้ การปลูกและดูแล ใผนลกิตาภรัณพฑัฒ์ในหามส่เพม่ือุนสไพุขภราพPrทo่ีมduีมcูลtคC่าเhพa่ิมmทpาioงnเศรใษห้ฐเปก็นิจ
กล้วยไม้ในเชิงธุรกิจ แนวคิดใน พัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย สร้างงาน
การท�ำธุรกิจกล้วยไม้ ซ่ึงกล้วยไม้” และสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรส่งเสริมสุขภาพประชาชน
เป็นดอกไม้ซึ่งเป็นท่ีต้องการทั้งในและ และส่งออกเพอ่ื น�ำรายได้เข้าประเทศอกี ทางหนง่ึ
ต่างประเทศ ในแต่ละปีธุรกิจกล้วยไม้
“ท�ำรายได้มหาศาล” ให้แก่ผู้ประกอบการ แนวทางการผลิตและลงทุนผักไฮโดรโปนิกส์
หากคุณเป็นมือใหม่ เป็นผู้ที่สนใจอยากท�ำธุรกิจกล้วยไม้ เพอื่ ทำ� เงนิ
หรือเป็นผู้ที่อยากเปลี่ยนจากการท�ำธุรกิจการเกษตรที่สร้าง
รายได้ไม่แน่นอน มาเป็นการท�ำธุรกิจกล้วยไม้ หนังสือเล่มนี้ รผหู้เขสั ยี น: S:Aอ3มั พผา53ค�ำวงษา
เหมาะส�ำหรับคุณ ด้วยเนื้อหาท่ีไม่ใช่แค่เพียงรู้จักกล้วยไม้ เน้ือหาท่ีส�ำคัญเก่ียวกับแนวทางการผลิตและลงทุน
ปลกู กล้วยไม้เป็น แต่จะท�ำให้คณุ สามารถเร่มิ ต้นท�ำธุรกิจกล้วยไม้ ผักไฮโดรโปนิกส์ เพ่ือท�ำเงิน ในเล่มเต็มไปด้วย
เพอื่ สร้างความส�ำเร็จให้เกดิ ขึน้ ได้จริง หลากแนวคดิ ในการผลติ ของแตล่ ะฟารม์ การลงทนุ เทคนคิ การผลติ ปญั หา
อุปสรรคต่าง ๆ รวมถงึ การตลาด ซ่ึงแต่ละท่มี ีจุดเร่มิ ต้น ตลอดจนกลยทุ ธ์
ไมถ่ งึ ไรท่ ำ� อะไรดีใหร้ วย ที่แตกต่างกันออกไป ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ลองน�ำไปศึกษาดูก่อนถึง
ข้อดี ข้อเสยี ของการผลติ พืชด้วยระบบนี้ ก่อนจะตดั สินใจลงทนุ ในโอกาส
ผู้เขยี น : อภชิ าติ ศรสี อาด ตอ่ ไป หรอื อยา่ งนอ้ ยเพอ่ื เปน็ การสง่ เสรมิ ใหผ้ ลติ ผกั ปลอดภยั ไวบ้ รโิ ภคเอง
รหสั : S 60 อ57 ภายในครวั เรือน หรือเพ่ือแก้ปัญหาข้อขดั ข้องในการปลกู พชื บางพ้นื ที่
เนื้อหาเกี่ยวกับหลักในการท�ำเกษตรในพื้นที่
1 ไร่ เป็นวิธีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรใน ไฮโดรบอกซป์ ลกู ผกั ไม่ใชด้ นิ ตน้ ทนุ ตำ่� ทำ� งา่ ย
พนื้ ท่ี 1 ไร่ ใหเ้ กดิ ความคมุ้ คา่ สงู สดุ โดยยดึ หลกั
ของการออมน้�ำ ออมดนิ ออมต้นไม้ ออมสัตว์ ซง่ึ จะทำ� ให้ปัจจยั ผู้เขยี น : เฉลมิ ชัย รุจเิ รข
เหล่าน้ีเกิดความยั่งยืนเเละเกิดการเชื่อมโยงกันเป็นระบบนิเวศ รหสั : SA 3 ผ57
ท่ีเกื้อกูล ส่งผลให้ลดต้นทุนทางด้านการผลิตได้ดี อาทิ เลี้ยงกบ หนังสือเล่มนี้เผยแพร่ระบบการท�ำงานและระบบ
คู่ปลาที่สามารถเล้ียงคู่กันได้เพ่ือประหยัดค่าอาหาร เป็นต้น การควบคมุ การท�ำงานด้วยพแี อลซเี บคฮอฟฟ์ ทผ่ี ลิต
หนังสือ “ไม่ถึงไร่ท�ำอะไรดีให้รวย” เล่มนี้ เน้ือหาภายในเล่ม จากประเทศเยอรมนี เพื่อเรียนรู้และนำ� ผลท่ีได้ไปใช้
ได้มุ่งตรงไปทอ่ี งค์ความรู้ การทำ� อาชพี เพาะเหด็ การเลย้ี งไส้เดอื น ในการควบคมุ เคร่ืองจกั รอุตสาหกรรม
การเลี้ยงจ้ิงหรีด การปลูกผักไร้ดิน ท่ีเน้นพื้นที่น้อยเเต่สามารถ
สรา้ งรายไดอ้ ยา่ งลน้ หลาม นอกจากนยี้ งั มอี งคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั พน้ื ท่ี ปลกู ผกั กนิ เอง แบง่ ได้ ขายดว้ ย
1 ไร่ ทางเลือกใหม่ด้านการเกษตร เพ่ือให้เกษตรกรไทยน�ำไป
ประยุกต์ใช้ได้อย่างมอื อาชพี ผู้เขียน : อังคณา รตั นจนั ทร์
รหสั : SA 3 ม55
แบบอย่าง...และแนวทางปฏิบัติ คู่มือเล่มน้ีได้รวบรวมเคล็ดลับการปลูกผักสวนครัว
การเกษตรประณีต & เกษตรหลัง กว่า 40 ชนิด ให้คุณ “ปลูกผักกินเอง” เเบบง่าย ๆ
เกษยี ณ ปลอดภยั ..ยง่ั ยนื อย่างละเอียดทุกข้ันตอน เร่ิมต้ังเเต่การวางเเผนการ
ปลูกอย่างเป็นระบบ เพือ่ ให้คณุ มผี กั เก็บกินได้ตลอดปี
ผู้เขยี น : อภชิ าต ศรสี อาด ประโยชน์เเละวิธีการกางอุโมงค์พลาสติก ซ่ึงเป็น
รหัส : S 60 อ56 องค์ความรู้อันชาญฉลาดของชาวญี่ปุ่น เพื่อควบคุมอุณภูมิให้คงที่เเละ
พบกบั บทเรยี นชวี ติ จรงิ ของเกษตรกรต้นฉบบั จำ� นวน 8 ตวั อย่าง ป้องกันเเมลงศัตรูพืช รวมถึงส่ิงส�ำคัญท่ีต้องท�ำ การดูเเลเเละวิธีเเก้ไข
ระดับชั้นครู ที่หยิบกลเม็ดเคล็ดวิชาจากรุ่นสู่รุ่นมาถ่ายทอด เมอื่ เกิดปัญหาในการปลกู พชื ผกั เเต่ละชนิด เพอื่ ให้คุณเปลีย่ นทกุ พ้ืนท่วี ่าง
เล่าสู่กนั ฟังอย่างละเอยี ด ซ่ึงนอกจากกิจกรรมข้างต้นแล้ว ยงั เสรมิ ในบ้านเป็นสวนผกั สเี ขียวอย่างง่ายดาย
ด้วยสูตรลับที่ไม่ลับ ท้ังเรื่องดิน เรื่องปุ๋ย และอีกมากมาย
ผ่านการท�ำกนิ บนพ้นื ที่ 1 ไร่ หรอื พื้นท่จี ำ� นวนเท่าไรกไ็ ด้ เพ่อื ให้เกิด สถานทสี่ อบถามรายละเอียดและขอ้ มลู เพิ่มเตมิ
ประโยชนอ์ ยา่ งสงู สดุ ซงึ่ จะมาเปลย่ี นผนื ดนิ ใหก้ ลายเปน็ เงนิ แสนเงนิ ห้องสมดุ กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม
ล้าน และสามารถยนื หยดั ด้วยล�ำแข้งของตวั เองได้ โทร. 0 2202 4425, 0 2202 4417 หรอื 0 2354 3237
เว็บไซต์ http://library.dip.go.th
อตุ สาหกรรมสาร 41
วใบาสรมสัคราสรมอาตุชกิ สาหกรรมสาร 2561
สมาชิกเก่า สมาชิกใหม่
วนั ท่ีสมัคร................................................
ช่ือ / นามสกลุ ........................................................................................................บริษทั /หนว่ ยงาน..........................................
ทอี่ ยู.่ ..................................................................................................................................................................................
จงั หวดั ........................................................ รหสั ไปรษณยี .์ ......................................... เวบ็ ไซต์บรษิ ทั .........................................
โทรศัพท.์ ............................................... โทรสาร..................................................ต�ำแหน่ง......................................................
อีเมล...................................................................
แบบสอบถาม
1. ผลิตภัณฑห์ ลักทท่ี ่านผลติ คือ………………………………………………………………………………………...............................…………….
2. ทา่ นรจู้ ักวารสารนจ้ี าก………………………………………………………………………………………………………………………………….......
3. ข้อมลู ท่ที า่ นตอ้ งการคอื ……………………………………………………………………………………………………………………………….....…
4. ประโยชนท์ ที่ ่านได้จากวารสารคอื ……………………………………………………………………………….………………………..............……...
5. ทา่ นคิดวา่ เนื้อหาสาระของวารสารอตุ สาหกรรมสารอยู่ในระดับใด เม่อื เทียบกบั วารสารราชการทั่วไป
ดีท่สี ดุ ดีมาก ด ี พอใช้ ต้องปรบั ปรุง
6. การออกแบบปกและรปู เลม่ อยู่ในระดับใด
ดีทส่ี ดุ ดีมาก ด ี พอใช้ ต้องปรับปรงุ
7. ขอ้ มูลทีท่ ่านต้องการใหม้ ีในวารสารน้มี ากท่สี ุดคือ (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามลำ� ดบั )
การตลาด การให้บรกิ ารของรฐั สัมภาษณผ์ ปู้ ระกอบการ ขอ้ มูลอุตสาหกรรม อื่นๆ ระบ.ุ ..................................
8. คอลัมนท์ ีท่ า่ นชอบมากทีส่ ุด (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามล�ำดบั ความชอบ)
Interview (สัมภาษณผ์ ูบ้ รหิ าร) Product Design (ออกแบบผลติ ภณั ฑ์) Good Governance (ธรรมาภิบาล)
SMEs Profile (ความสำ� เร็จของผู้ประกอบการ) Report (รายงาน / ข้อมลู ) Innovation (นวตั กรรมใหม)่
Market & Trend (การตลาด / แนวโน้ม) Book Corner (แนะนำ� หนงั สือ) อน่ื ๆ ระบ.ุ .....................................
9. ท่านไดร้ ับประโยชนจ์ ากวารสารอตุ สาหกรรมสารมากน้อยแคไ่ หน
ได้ประโยชนม์ าก ได้ประโยชนพ์ อสมควร ได้ประโยชนน์ ้อย ไมไ่ ดใ้ ช้ประโยชน์
10. เทยี บกบั วารสารราชการท่วั ไป ความพึงพอใจของท่านท่ีได้รบั จากวารสารเล่มน้ี เทยี บเป็นคะแนนได้เทา่ กบั
91-100 คะแนน 81-90 คะแนน 71-80 คะแนน 61-70 คะแนน ต่ำ� กวา่ 60 คะแนน
สมคั รสมาชิกวารสาร กรอกใบสมัครซึ่งอยู่หน้าสุดท้ายของเล่มจากนั้นส่งใบสมัครได้ 3 ทาง ได้แก่
1. สมคั รทางไปรษณยี ์ จา่ หนา้ ซองถึง บรรณาธิการวารสารอุตสาหกรรมสาร
กลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
2. สมัครทางเคร่อื งโทรสาร หมายเลข 0 2354 3299
3. สมคั รทางอีเมล : [email protected]
4. สมัครผ่าน google Form :
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 1 - 11
กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 1 4 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 4
(เชยี งใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำ�พูน ลำ�ปาง พะเยา แพร่ น่าน) (อดุ รธานี หนองบัวลำ�ภู หนองคาย เลย)
158 ถนนทุ่งโฮเต็ล ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000 399 ม.11 ถนนมิตรภาพ ต.โนนสงู อ.เมือง จ.อุดรธานี 41330
โทรศัพท์ (053) 245 361-2, 243 494, 242 226 โทรศัพท์ (042) 207 232-6, 207-238 โทรสาร (042) 207 241
โทรสาร (053) 248 315 e-mail: [email protected]
1e-mail: [email protected] 5 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 5
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 2 (ขอนแกน่ กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด
มุกดาหาร สกลนคร นครพนม)
(พิษณุโลก สุโขทัย อุตรดิตถ์ เพชรบรู ณ์ ตาก) 86 ถนนมิตรภาพ ต.สำ�ราญ อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000
292 ถนนเลี่ยงเมือง-นครสวรรค์ ต.บ้านกร่าง โทรศัพท์ (043) 379 296-9 โทรสาร (043) 379 302
อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 e-mail: [email protected]
โทรศัพท์ (055) 282 957-9
โทรสาร (055) 283 021 6 7 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 7
9 (อุบลราชธานี ยโสธร อำ�นาจเจริญ ศรีสะเกษ)
2e-mail: [email protected] 222 หมู่ที่ 24 ถนนคลังอาวุธ ต.ขามใหญ่ อ.เมือง
จ.อุบลราชธานี 34000
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 3 โทรศัพท์ (045) 313 772, (045) 313 945,
(045) 314 216, (045) 314 217
(พจิ ติ ร กำ�แพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี โทรสาร (045) 312 378, (045) 312 493
ชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี อ่างทอง) e-mail: [email protected]
200 ม.8 ถนนเลี่ยงเมือง ต.ท่าหลวง
อ.เมือง จ.พิจิตร 66000 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 6
3โทรศัพท์ (056) 613 161-5 (นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์)
333 ถนนมิตรภาพ ต.สูงเนิน อ.สงู เนิน จ.นครราชสีมา 30170
โทรสาร (056) 613 559 โทรศัพท์ (044) 419 622 โทรสาร (044) 419 089
e-mail: [email protected] e-mail: [email protected]
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคที่ 8 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 9
(สุพรรณบุรี กาญจนบุรี พระนครศรีอยุธยา (ชลบรุ ี ฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี ตราด สมุทรปราการ
นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว)
8นครปฐม นนทบุรี ราชบุรี สมุทรสาคร สระบุรี 67 ม.1 ถนนสุขุมวิท ต.เสม็ด อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000
โทรศัพท์ (038) 261-203, 273-702, 784 654-5
ปทุมธานี สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์) โทรสาร (038) 273 701
117 หมู่ 1 ถนนมาลัยแมน ต.ดอนกำ�ยาน e-mail: [email protected]
อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี 72000 11 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 11
โทรศัพท์ (035) 441 027, 441 029, 441 031 (สงขลา สตลู ยะลา ปัตตานี นราธิวาส)
โทรสาร (035) 441 030 165 ถนนกาญจนวนิช ต.นํ้าน้อย อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
e-mail: [email protected] โทรศัพท์ (074) 211 905-8 โทรสาร (074) 211 904
e-mail: [email protected]
หนว่ ยงานสว่ นกลาง
(กรุงเทพมหานคร)
ถนนพระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ 0 2202 4422-3
โทรสาร 0 2354 3152
10ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 10
(นครศรีธรรมราช สรุ าษฎรธ์ านี กระบี่ ภเู ก็ต พังงา ระนอง ชุมพร ตรัง พัทลุง)
131 ม.2 ถนนเทพรัตนกวี ต.วัดประดู่ อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี 84000
โทรศัพท์ (077) 200 395-8 โทรสาร (077) 200 449
e-mail:[email protected]
การกำ�หนดเขตพื้นที่จังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบของศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค
เปลี่ยนแปลงรายชื่อจังหวัดตามประกาศกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2560
อุตสาหกรรมสารออนไลน์
http://e-journal.dip.go.th
วารสารเพื่อผู้ประกอบการ SMEs และ OTOP
ฐานขอ้ มลู สง่ เสรมิ ความรดู้ า้ นอตุ สาหกรรม และแนวโนม้ ของอตุ สาหกรรม กระบวนการผลติ การตลาด การบรหิ ารการจดั การ
การพฒั นารปู แบบผลติ ภณั ฑ์ การใหบ้ รกิ ารตา่ งๆ ตลอดจนตวั อยา่ งผปู้ ระกอบการทป่ี ระสบความสำ� เรจ็
อยากรขู้ อ้ มลู คลกิ อา่ นไดเ้ ลย อยากโหลดขอ้ มูลดาวน์โหลดได้ทันที
สมัครเป็นสมาชิกได้ที่ โทรสารท่ีหมายเลข 0 2354 3299 หรือ Google Form :