The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มติดตาม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tunyapa.ben, 2022-06-23 23:36:03

เล่มติดตาม

เล่มติดตาม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

รายงานการติดตาม
การขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสานักงานศึกษาธกิ ารภาค 3

กลุ่มยุทธศาสตรก์ ารศึกษา
สานักงานศึกษาธิการภาค 3
สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร
โทร. 0 3232 3384 ต่อ 114 โทรสาร 0 3233 7343

www.reo3.moe.go.th

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

บทสรุปสำหรบั ผบู้ รหิ ำร

รายงานการติดตามการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 3 คร้งั น้ี มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อติดตามกระบวนการ
ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ของหน่วยงานการศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 3
2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะต่อกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ของหน่วยงาน
การศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 3) เพื่อติดตามผลการดาเนินงานการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของหน่วยงานการศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ
สานักงานศึกษาธิการภาค 3 และ 4) เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดาเนินงานการ
ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ของหน่วยงานการศึกษาในพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงาน
ศกึ ษาธิการภาค 3 ขอบเขตด้านเนอื้ หาในการตดิ ตามกระบวนการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
สู่การปฏิบัติระดับภาค ครอบคลุม 4 ด้าน ดังนี้ 1) กลไกการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
2) การขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 3) การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
สู่การปฏบิ ัติ 4) การตดิ ตามและรายงานผลการขบั เคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษา สาหรับการติดตาม
ผลการดาเนินงานการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ดาเนินการติดตาม ตามยุทธศาสตร์ของ
แผนพัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 (พ.ศ.2563-2565) ฉบับทบทวน พ.ศ.2564
จานวน 6 ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ 1. การจัดการศึกษาเพือ่ ความม่ันคงของชาติ 2. การพัฒนาศักยภาพคน และ
การสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้ตลอดชีวิต 3. การสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้เรียนอย่างท่ัวถึง และเท่า
เทียม 4. การผลิต พัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม ที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนา
ประเทศ 5. การจัดการศึกษา เพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจ และ 6. การบริหารจัดการศึกษาใหม้ ีประสทิ ธิภาพ

ประชากรที่ใช้ในการติดตามคร้ังนี้ คือ ผู้บริหารหน่วยงานการศึกษา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา จากหน่วยงานการศึกษาในพ้ืนที่ดาเนินงานของสานักงาน
ศึกษาธิการภาค 3 จานวน 81 คน ได้รับกลับคืนมา 74 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 91.36 และติดตามผลการ
ดาเนินงานการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค จากแบบรายงานผลการดาเนินงานตาม
แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี
ราชบุรี และสพุ รรณบุรี

การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เก่ียวกับกระบวนการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่ ครอบคลุม 4 ด้าน ดังนี้ 1) กลไกการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การ
พัฒนาการศึกษา 2) การขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 3) การแปลงแผนยุทธศาสตร์การ
พัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ 4) การติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เป็นรายข้อและ
รายด้าน และเฉลี่ยรวมทุกข้อในแต่ละด้าน ข้อเสนอแนะเป็นคาถามปลายเปิด เก่ียวกับกระบวนการ
ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค และแบบติดตามผลการดาเนินงานการ



รายงานการติดตามการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ที่สอดคล้องตามแผนพัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัด
ภาคกลางตอนล่าง 1 (พ.ศ.2563 – 2565) ฉบับทบทวน พ.ศ.2564 นาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์เนื้อหา
(Content Analysis) แลว้ นาเสนอในรูปแบบการบรรยาย
ผลการตดิ ตาม มีดังนี้
1. กระบวนการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพ้นื ท่ี

กระบวนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพ้ืนท่ี ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ใน
ระดับมาก เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายด้าน 4 ด้าน ซ่งึ ประกอบด้วย ดา้ นกลไกการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนา
การศึกษา ด้านการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การ
พฒั นาการศกึ ษาสู่การปฏิบัติ ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
พบว่า ด้านที่มีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด คือ ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนา
การศึกษา และดา้ นท่ีมีค่าเฉลีย่ นอ้ ยทีส่ ุด คอื ด้านการขับเคลื่อนแผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ผลการ
วเิ คราะหข์ อ้ มลู แตล่ ะดา้ น มีดงั น้ี

1.1 ด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากทุกข้อ ข้อที่มีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด ได้แก่ การจัดทาแผนพัฒนา
การศึกษา และแผนปฏิบัติการที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม และข้อที่มีค่าเฉล่ียน้อยท่ีสุด คือ การพัฒนาการศึกษา
แบบบูรณาการเพ่อื ใหก้ ารขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์บรรลเุ ปา้ หมาย

1.2 ด้านการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
เมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ อยใู่ นระดับมากทุกข้อ ข้อที่มีค่าเฉล่ียมากที่สุด ได้แก่ การสร้างความรู้ ความ
เข้าใจ เก่ียวกับวิสัยทัศน์ วิธีคิดและวิธีปฏิบัติแก่ผู้ปฏิบัติงาน และข้อท่ีมีค่าเฉล่ียน้อยท่ีสุด ได้แก่ การเปิด
โอกาสให้ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม แสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในการจัดทาแผน
การแสวงหาและระดมทรพั ยากรจากทุกภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้อง

1.3 ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาสกู่ ารปฏิบตั ิ ในภาพรวมอยู่ในระดับ
มาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากทุกข้อ ข้อที่มีค่าเฉล่ียมากที่สุด ได้แก่ การวางแผน
ดาเนินงานสอดคล้องกับยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัด และข้อที่มีค่าเฉล่ียน้อยที่สุด ได้แก่
การดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรมในรูปแบบขององค์คณะบุคคล

1.4 ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากทุกข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด
ได้แก่ การติดตามความก้าวหน้าของโครงการ/กิจกรรมเป็นระยะ และข้อที่มีการปฏิบัติน้อยที่สุด ได้แก่
การนาผลการประเมนิ มาปรับปรุงและพฒั นาแผนในปตี อ่ ไป



รายงานการติดตามการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

2. ขอ้ เสนอแนะตอ่ กระบวนการขับเคล่อื นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษาในพื้นที่ มดี งั น้ี

2.1 ดา้ นกลไกการขับเคลอื่ นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษา
2.1.1 การจดั ทาแผนงาน/โครงการ ตามยุทธศาสตร์ ตอ้ งผา่ นกระบวนการมีสว่ นร่วมของ

ทุกภาคส่วน สร้างความเข้าใจรว่ มกับทกุ หนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้อง บูรณาการหน่วยงานทางการศึกษาอยา่ งเปน็
รูปธรรม เพือ่ ขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ของภาคไปสูเ่ ปา้ หมาย

2.1.2 ควรกาหนดโครงสร้างและกลไกการบริหารจัดการท่ีชัดเจน เพ่ือร่วมขับเคล่ือน
ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาให้สาเร็จ โดยพิจารณาว่ามีหน่วยงานใด บุคคลใดเกี่ยวข้องบ้าง แต่ละส่วนมี
บทบาทหน้าที่ในเร่ืองใดบ้างที่จะร่วมขับเคล่ือนไปด้วยกัน และสื่อสารไปยังผู้เกี่ยวข้อง ทั้งน้ี
ควรพิจารณาโครงสร้างที่สานักงานศึกษาธิการจังหวัดมีองค์คณะบุคคลในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ไปสู่
ความสาเร็จ ได้แก่ อนุกรรมการบรหิ ารราชการเชิงยทุ ธศาสตร์ เขา้ มาเปน็ กลไกสาคัญ

2.1.3 ควรนาเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ โดยนา Social
Network เช่น Line Application เป็นกลไกในการขับเคลื่อน โดยวิเคราะห์สถานการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อ
การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ในช่วงสถานการณ์โรคระบาดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVIC-19) เพื่อลดการ
ประชมุ เสวนา ลดภาระในการเดินทาง

2.1.4 ควรมีการพัฒนาบุคลากรที่มีบทบาทหน้าที่ในการขับเคล่ือนฯ ให้มีความรู้
ความสามารถเพื่อการพัฒนา มีการช้ีแจง หรือทาความเข้าใจให้เห็นถึงความสอดคล้องและเช่ือมโยงของ
ยุทธศาสตร์สกู่ ารปฏบิ ตั ิไปยงั ผปู้ ฏิบัตหิ นา้ ทจ่ี ัดทาแผนของแต่ละหนว่ ยงาน เพือ่ สามารถนาความเชื่อมโยงไปสู่
แผนทกุ ระดบั เนน้ เร่ืองความสอดคลอ้ งระหวา่ งการวางแผนดาเนนิ งานกับยทุ ธศาสตร์กลุ่มจงั หวัด

2.2 ดา้ นการขับเคลือ่ นแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศกึ ษา
2.2.1 ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การ

ปฏิบัติในหลายรูปแบบตามความเหมาะสม เช่น ดาเนินการประชุมออนไลน์ผ่านระบบ Zoom
(ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019) หรือใช้แบบสอบถามที่ครอบคลุมทุกด้าน
ที่ต้องการ ฯลฯ

2.2.2 ควรพฒั นาระบบขอ้ มูลสารสนเทศเชงิ พื้นท่ใี หเ้ ปน็ ระบบ ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็น
ปัจจุบัน ให้มีรูปแบบเดียวกัน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการจัดทาแผนและการตัดสินใจเชิงบริหารในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

2.2.3 ทุกภาคส่วนต้องร่วมกันขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์ชาติและดาเนินการให้
สอดคล้องร่วมกันบูรณาการในการพัฒนาการศึกษาให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยความจริงใจ จริงจัง
และความตั้งใจในการร่วมกันพัฒนาการศึกษา ไปสู่เด็ก-เยาวชน ทุกกลุ่มให้เป็นไปตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตรข์ องกระทรวงศกึ ษาธกิ ารทีส่ อดคล้องกนั สง่ ผลตอ่ การพฒั นาการศึกษาที่ย่ังยนื



รายงานการตดิ ตามการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

2.3 ดา้ นการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาสู่การปฏิบัติ
2.3.1 ควรกาหนดแนวทางการแปลงแผนพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน เช่น

ประสาน ส่ือสาร ขแ้ี จง สรา้ งความเข้าใจทกุ ภาคสว่ น ผลักดันโครงการเรง่ ดว่ นตามนโยบาย
2.3.2 สร้างเครอื ขา่ ยความรว่ มมือกบั หน่วยงานทางการศกึ ษาทุกสังกดั ในจังหวัดอย่างเป็น

รูปธรรมโดยการแปลงยุทธศาสตร์สโู่ ครงการ/กิจกรรม ทีจ่ ะนาไปสผู่ ลสาเรจ็ ที่มคี า่ เปา้ หมายชัดเจน
2.3.3 ควรให้ความสาคัญกับกระบวนการประสานการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติระดับพ้ืนท่ี

เพื่อให้สามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมและสามารถประเมินผลสัมฤทธ์ิของแผน ตามตัวช้ีวัดและ
เป้าหมายได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล

2.4 ดา้ นการติดตามและรายงานผลการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษา
2.4.1 พัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและรายงานให้มีประสิทธิภาพ

รวดเร็ว เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการทบทวน ปรับปรุงการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ทันเหตุการณ์ นาเสนอผลการติดตามและประเมินผลให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ และ
เผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์

2.4.2 การติดตามความก้าวหน้าของโครงการควรใช้ระบบเทคโนโลยี ICT เข้ามาช่วยใน
การติดตาม โดยให้รับการตดิ ตามรายงานผลโครงการผา่ นระบบออนไลน์ กาหนดปฏิทินการรายงานท่ีชัดเจน
และควรมีการบูรณาการร่วมกันในการกาหนดแบบติดตามและรายงานผลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ
ลดภาระและลดการซา้ ซ้อนในการติดตาม และเกิดผลเปน็ รปู ธรรมชัดเจน

2.4.3 ควรมกี ารกากับติดตามและรายงานผลอย่างต่อเนื่องและนาผลมาประเมินวิเคราะห์
ความสาเรจ็ ความคมุ้ ค่า คมุ้ ทนุ ใหช้ ดั เจน สามารถไปพฒั นา ปรบั ปรงุ หรอื ยกเลกิ โครงการได้ในปีต่อไป

3. การตดิ ตามผลการดาเนนิ งานการขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค

การติดตามผลการดาเนินงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ที่สอดคล้องตาม
แผนพัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 (พ.ศ. 2563 – 2565) ฉบับทบทวน พ.ศ.2564
พบว่า ในภาพรวมสานักงานศึกษาธิการภาค 3 ดาเนินโครงการตามยุทธศาสตร์ในพ้ืนท่ี จานวน 286
โครงการ โดยมีการขับเคล่ือนโครงการในยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพัฒนาศักยภาพคนและการสร้างสังคมแห่งการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต มากท่ีสุด จานวน 86 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 30.07 รองลงมาได้แก่ ยุทธ์ศาสตร์ท่ี 6 การบริหาร
จัดการศึกษาให้มปี ระสทิ ธิภาพ จานวน 69 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 24.13 ยุทธ์ศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อ
ความมั่นคงของชาติ จานวน 48 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 16.78 ยุทธ์ศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้าง
เสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 35 โครงการ



รายงานการติดตามการขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

คิดเป็นร้อยละ 12.24 ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมท่ีสอดคล้องกับ
ความต้องการของการพัฒนาประเทศ จานวน 26 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 9.09 และยุทธศาสตร์ท่ีมีการ
ขับเคลื่อนโครงการน้อยที่สุดคือ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้เรียนอย่างทั่วถึงและเท่า
เทียม จานวน 22 โครงการ คิดเปน็ รอ้ ยละ 7.69จาแนกเปน็ ยทุ ธศาสตรแ์ ละกลยุทธ์ ดังน้ี

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การจัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคงของชาติ มี 3 กลยุทธ์ โดยกลยุทธ์ ท่ีมีการ
ขบั เคลอ่ื นโครงการมากท่ีสุดคือ กลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันและการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความ
ม่ันคงของชาติ จานวน 18 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 6.29 รองลงมาได้แก่ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมและ
พัฒนาการจัดการศึกษาท่ีเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข จานวน 16 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 5.59 ส่วนกลยุทธ์
ที่มีการขับเคล่ือนโครงการน้อยท่ีสุดคือ กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือการจัดระบบการดูแล
ป้องกนั ภัยคกุ คามในรูปแบบใหม่ จานวน 14 โครงการ คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.90

ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาศกั ยภาพคนและการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต มี 5 กลยุทธ์
โดยกลยุทธ์ท่ีมีการขับเคล่ือนโครงการมากท่ีสุดคือ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ
ความรู้ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสมตามทักษะและคุณลักษณะท่ีจาเป็นใน
ศตวรรษท่ี 21 จานวน 49 โครงการ คดิ เปน็ ร้อยละ 17.13 รองลงมาได้แก่ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพครู
และบุคลากรทางการศกึ ษา จานวน 20 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 6.99 กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริม และสนับสนุน
การเรียนรู้ตลอดชีวิต จานวน 9 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 3.15 กลยุทธ์ท่ี 5 ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้/
ส่ือการเรียนรู้/คลังข้อมูล/นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้มีคุณภาพและมาตรฐานมีความหลากหลาย และเพียงพอ
กับประชาชนแต่ละช่วงวัย โดยประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรไู้ ดโ้ ดยไม่จากัดเวลา และสถานท่ี จานวน
7 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 2.45 ส่วนกลยุทธ์ท่ีมีการขับเคล่ือนโครงการน้อยท่ีสุดคือ กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริม
และสนบั สนุนการเรียนรู้ทีส่ อดคลอ้ งกับพหปุ ัญญา จานวน 1 โครงการ คิดเปน็ ร้อยละ 0.35

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้เรียนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม มี 3 กลยุทธ์
โดยกลยุทธ์ท่ีมีการขับเคลื่อนโครงการมากท่ีสุดคือ กลยุทธ์ท่ี 1 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา
ท่ีหลากหลายให้กับผู้เรียนอย่างท่ัวถึง และเท่าเทียม จานวน 17 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 5.94 รองลงมา
ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 3 สง่ เสรมิ โอกาสทางการศึกษาผา่ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ับ หรือแพลตฟอร์มเพ่ือการศึกษา พัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนทางไกลทุกระบบให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้สะดวกและ
รวดเร็วอย่างมีคุณภาพ จานวน 5 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 1.75 ส่วนกลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริม สนับสนุน/
ยกระดับคุณภาพ การสร้างโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพ้ืนท่ีพิเศษ (พ้ืนที่สูง พื้นท่ีตามแนวตะเข็บ
ชายแดน ทงั้ กลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรมกลุ่มชนชายขอบ และแรงงานต่างด้าว ไม่มกี ารขับเคลื่อน

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การผลิต และพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม ที่สอดคล้องกับความ
ต้องการของการพัฒนาประเทศ มี 3 กลยุทธ์ โดยกลยุทธ์ท่ีมีการขับเคลื่อนโครงการมากที่สุดคือ กลยุทธ์ที่ 1
ผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการของตลาดงานและการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ จานวน 16 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 5.59 รองลงมา ได้แก่ กลยุทธ์ท่ี 2



รายงานการติดตามการขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากาลังคนท่ีมีความเช่ียวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน จานวน 7 โครงการ
คดิ เป็นร้อยละ 2.45 สว่ นกลยุทธท์ ีม่ กี ารขับเคลื่อนโครงการน้อยที่สุด คือ กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริมการวิจัยและ
พัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจ จานวน 3 โครงการ
คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.05

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การจดั การศึกษาเพอื่ สร้างเสริมคุณภาพชวี ติ ที่เปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อมตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี 4 กลยุทธ์ โดยกลยุทธ์ท่ีมีการขับเคล่ือนโครงการมากท่ีสุดคือ
กลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
สร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม มีการขับเคลื่อน จานวน 21 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 7.34
รองลงมาได้แก่ กลยุทธ์ที่ 1 คือ เสริมสร้าง สนับสนุนการสร้างจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม
จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีการ
ขับเคลื่อน จานวน 14 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 4.90 ส่วนกลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัยและ
นวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และกลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาฐานข้อมูลด้าน
การศกึ ษาทีเ่ ก่ียวข้องกับการสรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ติ ที่เปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม ไมม่ กี ารขับเคลือ่ นโครงการ

ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ มี 5 กลยุทธ์ โดยกลยุทธ์ที่มีการ
ขับเคลือ่ นโครงการมากท่ีสดุ คือ กลยุทธท์ ่ี 1 ส่งเสริม พฒั นาระบบการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
ตามหลักธรรมาภิบาล จานวน 55 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 19.23 รองลงมาได้แก่ กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริม และ
พัฒนาระบบการนิเทศ กากับ ติดตาม และประเมินผล จานวน 8 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 2.80 กลยุทธ์ที่ 5
ส่งเสริมทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมและสร้างเครือข่ายในการจัดการศึกษา ตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนและพ้ืนที่ จานวน 3 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 1.05 กลยุทธ์ท่ี 4 ส่งเสริมผู้บริหาร ครู และ
บุคลากรทางการศึกษาใหม้ คี วามก้าวหนา้ ในวชิ าชพี จานวน 2 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 0.70 ส่วนกลยุทธ์
ท่ีมีการขับเคล่ือนโครงการน้อยที่สุด คือ กลยุทธ์ที่3 ส่งเสริมระบบบริการสุขภาพการจัดการความปลอดภัย
และอาชีวอนามัยระหว่างสาธารณสุขกับสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างศักยภาพด้านความฉลาดทางอารมณ์
ตลอดจนภูมิคุ้มกันดา้ นต่าง ๆ ในการดาเนนิ ชีวิตผู้เรยี น จานวน 1 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 0.35

4. ปญั หา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

4.1 ปญั หา อุปสรรค
การดาเนินงานการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค มีปัญหา

อุปสรรค สาคัญ ๆ ดังน้ี
4.1.1 เน่ืองจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19)

ทาให้การดาเนินงานขับเคล่ือนบางโครงการ/กิจกรรมของหน่วยงาน สถานศึกษา ดาเนินการ
ได้ไม่เป็นไปตามแผนและปฏิทินการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่สามารถดาเนินกิจกรรมได้อย่างเต็มรูปแบบ
อาทิ การศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้ไม่สามารถจัดและดาเนินการได้ตามสภาวะปกติ การจัดอบรมต่าง ๆ
ในด้านการส่งเสริมและให้ความรู้จึงต้องดาเนินการภายใต้มาตรการป้องกัน โรงเรียนมีการเลื่อนวันเปิดภาคเรียน
ไม่ได้มีการเปิดการเรียนการสอนได้ตามปกติ การดาเนินโครงการ/กิจกรรมค่อนข้างช้ากว่าปกติ และมี



รายงานการติดตามการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ข้อจากัดในเรื่องการจัดกิจกรรม ซึ่งมีผลต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ ประกอบกับระยะเวลาน้อยเกินไป
ทาให้ขาดประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ส่งผลให้เกิดปัญหาในการขับเคล่ือนการดาเนินงานไม่เป็นไปตาม
ปฏทิ นิ การดาเนินกจิ กรรมของสถานศึกษาและหน่วยงาน

4.1.2 รูปแบบและแนวทางการจัดทาแผนปฏิบัติราชการที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนให้
เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีและพระราชกฤกฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562 เป็นเรื่องใหม่ และมีความซับซ้อน ต้องมีการสร้างการรับรู้และทาความเข้าใจกับ
ผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ส่งผลให้การดาเนินการเป็นไปด้วยความยากลาบากและมีความล่าช้าไม่เป็นไปตามปฏิทิน
การดาเนนิ การทก่ี าหนดไว้

4.1.3 การจดั การข้อมูลสารสนเทศเชงิ พ้ืนท่ีด้านการศึกษา ระบบฐานข้อมูล แบบเก็บข้อมูล
รูปแบบในการจัดเก็บข้อมูลไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ยังขาดการเช่ือมโยงบูรณาการกับหน่วยงานต่าง ๆ
ทีเ่ ก่ียวข้อง สง่ ผลใหข้ อ้ มลู ที่ไดร้ ับล่าชา้ ขาดความครบถ้วน สมบรู ณ์

4.1.4 การปรับเปล่ียนบุคลากรบ่อย ทาให้ขาดความต่อเน่ืองและความเข้าใจในการ
จดั เก็บข้อมูลฯ ทาให้การรวบรวมขอ้ มูลไมถ่ ูกตอ้ งและไม่มีประสทิ ธิภาพเท่าทีค่ วร

4.1.5 บุคลากรผู้รับผิดชอบการรายงานโครงการขาดความรู้ความเข้าใจการรายงาน
ในระบบตดิ ตามและประเมนิ ผลแหง่ ชาติ (eMENSCR)

4.1.6 การประชุมเชิงปฏิบัติการแบบออนไลน์ยังประสบปัญหาเร่ืองเทคโนโลยี
ที่ไม่พร้อมของผู้เข้าร่วมประชุม บางหน่วยงานขาดกล้องและไมค์ ทาให้ไม่เกิดการแลกเปลี่ยนซ่ึงกันและกัน
และขาดการปฏิสมั พันธ์ตอ่ กัน

4.1.7 การขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษายังดาเนินการได้ไม่มากนัก ส่งผลให้
การ ประสาน ควา มร่ วมมือใน การ ดาเ นิน งาน ขับเ คลื่อนยุทธศาสต ร์กา รศึกษาในพ้ื นท่ี ระหว่ างหน่วยงาน
ดาเนินการได้ไม่มากเท่าท่ีควร เห็นได้จากงานโครงการเชิงบูรณาการยังไม่ปรากฎชัดเจนเป็นรูปธรรม การ
กาหนดแผนงานโครงการของหน่วยงาน สถานศึกษาส่วนใหญ่ ไม่ตอบสนองกับแผนพัฒนาการศึกษาของ
พื้นที่ สง่ ผลให้มหี ลายกลยทุ ธใ์ นแผนพฒั นาการศึกษาภาค/จังหวดั ไม่มกี ารนาไปขบั เคลื่อนสูก่ ารปฏบิ ตั ิ

4.1.8 ส่ือคุณภาพ หรือแหล่งเรียนรู้ส่วนใหญ่ให้บริการผ่านระบบออนไลน์ ระบบอินเตอร์เน็ต
ไม่เสถียร ทาให้การส่ือสาร และการรับสัญญาณขัดข้อง ปัจจุบันความพร้อมในการเข้าถึงส่ือเทคโนโลยี
(Digital Divide) ของบุคลากรทางการศึกษา ครู นักเรียน ยังคงค่อนข้างจากัด ขาดความรู้ความเข้าใจ
ในการใช้สื่อคณุ ภาพ

4.2 ขอ้ เสนอแนะ
4.2.1 จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ มีการออกมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดตามนโยบายของ
รัฐบาล และปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ



รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID -19) และแก้ไขไปตามนโยบายและมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาด
โรคติดเชื้อที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด เช่น มาตรการงดเว้นการประชุม ฝึกอบรม และการจัดกิจกรรม
ที่มีการรวมตัวกัน การเว้นระยะห่าง บางโครงการ/กิจกรรม ต้องปรับเปลี่ยนการประชุมและตรวจเยี่ยม
ในรูปแบบออนไลน์ ปรับกิจกรรมและงบประมาณให้มีความเหมาะสมของระยะเวลาการดาเนินงาน
ปรับวิธีการเรียนการสอนด้วยรูปแบบออนไซต์ (On site) ออนแอร์ (On air) ออนไลน์ (On line)
ออนดีมานด์ (On-demand) และออนแฮนด์ (On-hand) ตามความพร้อมของครูผู้สอนและนักเรียน
รายบุคคล และมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติในหลาย
รูปแบบตามความเหมาะสม อาทิ ดาเนินการประชุมออนไลน์โดยใช้โปรแกรม Zoom โปรแกรม Microsoft
Teams หรือใช้แบบสอบถามที่ครอบคลุมทุกด้านที่ต้องการ ฯลฯ มีการปรับเปลี่ยนและชี้แจงแนวทางการ
ปฏิบตั งิ านราชการให้สอดคลอ้ งกบั สถานการณเ์ พอ่ื ให้การขับเคลอ่ื นการบรหิ ารและจัดการศึกษาดาเนินต่อได้
อย่างเหมาะสมและมปี ระสทิ ธิภาพ

4.2.2 สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ควรดาเนินการปรับปรุง Template ของ
แผนปฏิบัติราชการ ท่ีมีการบูรณาการแนวความคิดในการจัดทาแผน โดยใช้หลักความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล
(Causal Relationship : XYZ) ตามแนวทางของสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่วมกับเกณฑ์
คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA 4.0) ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เพื่อให้
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดทุกแห่งใช้เป็นมาตรฐานเดียวกันและเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีและพระราช
กฤษฎกี าว่าดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการบริหารกจิ การบา้ นเมอื งท่ดี ี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2562 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ
จัดทาแผนปฏิบัติราชการการใช้โปรแกรมพ้ืนฐานในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล เพ่ือให้ได้ข้อมูลด้าน
การศกึ ษาทถี่ ูกต้อง แม่นยา มขี อ้ ผดิ พลาดน้อยที่สุด

4.2.3 หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ควรให้ความสาคัญของการจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศ
เพ่ือให้การจัดการระบบข้อมูลและสารสนเทศของสถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง มีการวางกรอบ
แนวทาง/รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันและง่ายต่อการรวบรวม ให้มีความสอดคล้อง
เป็นระบบเดียวกัน รวดเร็ว ครอบคลุม ทันสมัย ตรงกับความต้องการและวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ โดยทุกฝ่าย
สามารถนาไปใช้ในการวางแผนใหเ้ ขา้ กบั งานของตนเองไดเ้ ป็นอย่างดี พฒั นากระบวนการบูรณาการเช่ือมโยง
ข้อมลู การศกึ ษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา และสานักงานศึกษาธิการภาค/ศึกษาธิการจังหวัด ควรจัดให้มี
การประชุมสัมมนาบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาของสถานศึกษา
และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อการวางกรอบแนวทาง/รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
และง่ายต่อการรวบรวมในภาพรวมของจังหวัด ร่วมกันวิเคราะห์และกาหนดรายการของข้อมูลที่ต้องการใช้
พร้อมท้ังวางแผนและทาปฏิทินในการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อทุกหน่วยงานจะสามารถ
วางแผนในการจัดเตรียมขอ้ มลู สารสนเทศทางการศึกษาท่ีต้องมีและใช้ร่วมกัน ทันกับความต้องการ ตรงตาม
วตั ถปุ ระสงค์ของผู้ใช้ และลดความซา้ ซอ้ นของการจดั ระบบข้อมลู และสารสนเทศ



รายงานการตดิ ตามการขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

4.2.4 หนว่ ยงาน สถานศึกษาที่เกี่ยวขอ้ งควรจดั บุคลากรทีม่ ีความรูค้ วามเข้าใจและทักษะ
ทางด้านคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรมพ้ืนฐานในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลเพ่ือให้ได้ข้อมูลด้าน
การศกึ ษาท่มี ปี ระสิทธภิ าพ

4.2.5 หน่วยงานผรู้ บั ผิดชอบ ควรสร้างความรู้ความเข้าใจการรายงานในระบบตดิ ตาม
และประเมนิ ผลแห่งชาติ (eMENSCR)

4.2.6 หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้องในพ้ืนท่ีควรให้ความสาคญั และสนบั สนนุ เทคโนโลยที พ่ี รอ้ ม
ใช้งานใหบ้ คุ ลากร สาหรบั การจัดประชุมแบบออนไลน์

4.2.7 หน่วยงานต้นสังกัดทุกสังกัดที่จัดการศึกษา ต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงาน
ทุกภาคส่วน ทั้งหน่วยงานภาครัฐในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และ
ภาคเอกชน ตลอดจนภาคประชาสังคมท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาการศึกษา ต้องร่วมกันขับเคลื่อน
แผนยุทธศาสตร์ชาติและดาเนินการให้สอดคล้องร่วมกัน บูรณาการในการพัฒนาการศึกษาให้เกิดผลอย่าง
เป็นรูปธรรม ด้วยความจริงใจ จริงจัง และความตั้งใจในการร่วมกันพัฒนาการศึกษา ไปสู่เด็ก-เยาวชน
ทุกกลมุ่ ให้เปน็ ไปตามเปา้ หมายตวั ชว้ี ดั ยุทธศาสตรช์ าติ ยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการท่ีสอดคล้องกัน ส่งผล
ต่อการพฒั นาการศึกษาทยี่ ั่งยืน

4.2.8 ผบู้ ริหารหนว่ ยงานการศึกษา สถาบันทางการศึกษา และสถานศึกษาในพ้ืนท่ี ต้อง
ให้ความสาคัญส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ให้ท่ัวถึงทุกพื้นที่ ในรูปแบบที่
หลากหลายตามความเหมาะสมท้ังรูปแบบออนไซต์ (On site) ออนแอร์ (On air) ออนไลน์ (On line) ออนดีมานด์
(On-demand) และออนแฮนด์ (On-hand) และมีการพัฒนาส่งเสริมให้บุคลากรของหน่วยงาน สถานศึกษา
นาเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมสร้างสรรค์ในการปฏิบัติงาน เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัด
การศึกษาในพ้ืนที่ อาทิ ควรมีการอบรมภายในหน่วยงาน สถานศึกษาในเนื้อหาเก่ียวกับการจัดทาส่ือ
ออนไลนใ์ นรปู แบบที่มีความหลากหลาย เชน่ เปน็ แบบเว็บไซต์ แอพพลิเคชนั่ ผา่ นระบบมอื ถอื

4.2.9 ควรมีการพัฒนาบุคลากรท่ีมีบทบาทหน้าท่ีในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ให้มี
ความรู้ความสามารถเพื่อการพัฒนา มีการช้ีแจง หรือทาความเข้าใจให้เห็นถึงความสอดคล้องและเชื่อมโยง
ของยุทธศาสตรส์ ู่การปฏบิ ัติไปยงั ผปู้ ฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีจดั ทาแผนของแต่ละหนว่ ยงาน เพ่อื สามารถนาความเช่ือมโยง
ไปสู่แผนทกุ ระดบั เน้นเรื่องความสอดคล้องระหวา่ งการวางแผนดาเนนิ งานกบั ยทุ ธศาสตรก์ ล่มุ จงั หวดั



คำนำ

รายงานการติดตามการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 ฉบับน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือติดตาม
กระบวนการขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษาสู่การปฏิบตั ริ ะดับภาค ติดตามผลการดาเนินงาน
และรับทราบปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดาเนินงานขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนา
การศึกษาสกู่ ารปฏบิ ัติระดับภาคของหน่วยงานการศึกษาในพ้นื ทรี่ ับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 3
ซึ่งผลการติดตามจะนาไปเป็นข้อมูลพื้นฐาน ประกอบการตัดสินใจและทบทวนเชิงนโยบายและ
ยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในพ้ืนท่ีให้มีความเช่ือมโยงและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ
นโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด และบริบทอื่นๆ
ที่เก่ียวข้อง

สานักงานศึกษาธิการภาค 3 ขอขอบคุณผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษา บุคลากร
ทางการศึกษาทุกท่านและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามและจัดเก็บ
ข้อมลู ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ในการตดิ ตามเปน็ อยา่ งดยี ง่ิ ไว้ ณ โอกาสน้ี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงาน
ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องในการร่วมกันพัฒนาการจัดการศึกษาให้บรรลุตามเป้าหมาย
ต่อไป

สานกั งานศึกษาธิการภาค 3
กันยายน 2564

รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

สารบญั

หนา้

บทสรุปสาหรับผบู้ ริหาร ..................................................................................................... ก
คานา ................................................................................................................................ ญ
สารบญั .............................................................................................................................. ฎ
สารบัญตาราง .................................................................................................................... ฑ
สารบัญภาพประกอบ ........................................................................................................ ฒ

บทที่ 1 บทนา …………………………………………………………………………............................. 1
บทที่ 2 ความเปน็ มาและความสาคัญ.....................………………………………………………… 1
วัตถุประสงค์ของการติดตาม……………………………………………………………………. 2
ขอบเขตการติดตาม........................................................................................... 2
นิยามศัพท์.......................................…………………………………………………………. 3
กรอบความคดิ ในการตดิ ตาม............................................................................. 4
ประโยชนท์ ่ีจะได้รับ........................................................................................... 5

หลกั การ แนวคิด และงานวิจยั ท่เี กีย่ วข้อง .......................................................... 6

รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.............................. 7

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580).............................................. 7

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ............................................................... 11

แผนการปฎิรปู ประเทศ……………………………………………………………………… 22

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)......... 28

นโยบายและแผนระดับชาตวิ ่าดว้ ยความมน่ั คงแห่งชาติ

(พ.ศ.2562-2565)................................................................................... 30

เปา้ หมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื (SDGs)............................................................ 31

นโยบายรัฐบาล............................................................................................ 36

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579............................................... 38

ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาภาค.......................................................................... 40

แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธกิ าร (พ.ศ.2563-2565)....................... 42

นโยบายการจัดการศึกษา ของรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ

ปีงบประมาณ 2564......................... 44



รายงานการติดตามการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

สารบญั (ตอ่ )

หนา้

บทท่ี 3 แผนพัฒนาการศึกษาภาคกลาง..................................................................... 45
บทที่ 4 แผนพัฒนากล่มุ จังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 (กาญจนบุรี ราชบุรี
สุพรรณบรุ ี) พ.ศ.2562 – 2565 (ฉบบั ทบทวน พ.ศ.2565)
กลมุ่ งานบริหารยทุ ธศาสตร์กลมุ่ จงั หวัดภาคกลางตอนลา่ ง 1
กระทรวงมหาดไทย....................................................................................... 46
แผนพัฒนาการศึกษากลมุ่ จังหวดั ภาคกลางตอนล่าง 1
(พ.ศ.2563-2565) ฉบบั ทบทวน พ.ศ.2564
ของสานักงานศึกษาธิการภาค 3................................................................. 47
การตดิ ตามประเมนิ ผล....................................................................................... 61
ระบบกลไก......................................................................................................... 62
วธิ ีดาเนินการตดิ ตาม............................................................................................... 64
วธิ ดี าเนนิ การ..................................................................................................... 64
ประชากร.............................…………….............................................................. 64
เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการติดตาม....................................................................................... 65
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ...........…………………………………………………………………. 66
การวเิ คราะหข์ ้อมูลและสถติ ิที่ใช้....................................................................... 66
ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ....................................................................................... 68
การนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู .................................................................. 68
1 ผลการตดิ ตามกระบวนการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา
การศึกษาในพ้นื ที่............................................................................................ 68
2 ข้อเสนอแนะต่อกระบวนการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์การพัฒนา
การศกึ ษาในพ้ืนท.่ี ......................................................................................... 72
3 ผลการดาเนินงานการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษาระดับภาค
ทส่ี อดคลอ้ งตามแผนพัฒนาการศึกษากลมุ่ จงั หวัดภาคกลางตอนล่าง 1
(พ.ศ. 2563 – 2565) ……......................................................................... 74
ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การจดั การศึกษาเพอื่ ความม่ันคงชาติ.............………………. 79
ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การพัฒนาศกั ยภาพคน และการสร้างสังคม

แห่งการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ........................................…………. 87
ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาให้กับผเู้ รยี นอย่างท่วั ถึง

และเทา่ เทยี ม..............……………………….………………………………. 100



รายงานการติดตามการขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

สารบัญ (ต่อ)

หน้า

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การผลติ พัฒนากาลังคน การวิจยั และนวัตกรรม
ที่สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของการพัฒนาประเทศ........ 105

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 การจัดการศึกษา เพ่ือสร้างเสรมิ คณุ ชวี ติ ท่ีเปน็ มิตร
กบั ส่ิงแวดลอ้ ม................................................................... 108

ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 การบรหิ ารการจดั การศึกษาให้มปี ระสทิ ธิภาพ................... 114
4 ปญั หาอุปสรรค และข้อเสนอแนะการดาเนนิ งานขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์

การพฒั นาการศึกษาระดับภาค...................................................................... 125
บทที่ 5 สรปุ ผลการติดตาม ปญั หาอุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ ....................................... 133
บรรณานกุ รม ..................................................................................................................... 142
ภาคผนวก .......................................................................................................................... 144

ภาคผนวก ก แบบสอบถามในการตดิ ตาม .................................................... 145
ภาคผนวก ข หนังสอื ขอความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม...................... 149
คณะทางาน ........................................................................................................................ 157



รายงานการตดิ ตามการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

สารบญั ตาราง

ตารางท่ี หน้า

1 คา่ เฉลี่ยและส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานกระบวนการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนา
การศกึ ษา โดยรวม 4 ดา้ น และจาแนกเปน็ รายดา้ น..................................................... 69

2 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา
การศกึ ษา โดยรวม และจาแนกเป็นรายขอ้ ..................................................................... 69

3 ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานดา้ นการขับเคล่ือนแผนยทุ ธศาสตร์การพฒั นา
การศึกษา โดยรวมและจาแนกเป็นรายข้อ...................................................................... 70

4 ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
การศกึ ษาสู่การปฏิบตั ิ โดยรวมและจาแนกเป็นรายขอ้ …………………………………………… 71

5 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษา โดยรวมและจาแนกเปน็ รายขอ้ ……………………………. 71

6 จานวนโครงการ/กิจกรรม จาแนกตามยุทธศาสตร์ และประเดน็ การพัฒนา................... 74



รายงานการติดตามการขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

สารบัญภาพประกอบ

ภาพประกอบที่ หนา้

1 กรอบความคดิ ในการติดตาม …..................................................................................... 4
2 แผนภูมิขอบขา่ ยการติดตามและประเมนิ ผล................................................................... 61



บทท่ี 1
บทนา

1. ความเปน็ มาและความสาคญั

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 65 รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็น
เป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่าง ๆ
ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน เพ่ือให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว และมาตรา 54
รัฐมีหน้าท่ีดาเนินการ กากับ ส่งเสริม สนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพได้มาตรฐานสากล
การดาเนินการและตรวจสอบการดาเนินการให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วยการศึกษาทั้งปวง
ต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ เช่ียวชาญตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบ
ตอ่ ครอบครวั ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ประเทศไทยให้ความสาคัญด้านการศึกษาในฐานะกลไกหลัก
ในการพัฒนาประเทศ และได้กาหนดกรอบแนวทางในการพัฒนาประเทศระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปี โดยกาหนดวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความ
มนั่ คง มัง่ คัง่ ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ
กาหนดยุทธศาสตร์ ท่ีเกี่ยวกับภารกิจของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 6 ด้าน ได้แก่
1) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง 2) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
3) ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4) ยุทธศาสตร์ชาติการสร้าง
โอกาสความเสมอภาคทางสงั คม 5) ยทุ ธศาสตรช์ าติการเสริมสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ที่เป็นมิตรกับ
ส่ิงแวดล้อม และ 6) ยุทธศาสตร์ชาติการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
แนวนโยบายของนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) ได้กาหนดวิสัยทัศน์ไว้ให้กระทรวงศึกษาธิการ
นาไปกาหนดยุทธศาสตร์เพ่ือการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการไว้ว่า “ยกระดับคุณภาพ
การศกึ ษาทด่ี ีข้ึน มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และลดความเหล่ือมล้าอย่างท่ัวถึง ผลิตและพัฒนากาลังคน
ให้สอดคล้องกับความต้องการและรองรับการพัฒนาประเทศ” นโยบายและจุดเน้นการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการในการขับเคล่ือนสู่การปฏิบัติ ทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ต้องปรับปรุง
แผนปฏิบัติราชการให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ให้ศึกษาธิการจังหวัดจัดทาแผนและขับเคล่ือน
สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และศึกษาธิการภาค มีบทบาท
หน้าที่ตรวจราชการ ติดตามประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทารายงานเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการได้นายุทธศาสตร์ชาติ มาเป็นกรอบความคิดในการจัดทา
แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาและได้กาหนด
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการศึกษาภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ หลักท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ประกอบด้วย 1) การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 2) การผลิตและพัฒนา
กาลังคน การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3) การพัฒนา
ศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 4) การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความ
เท่าเทียมทางการศึกษา 5) การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และ
6) การพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบบริหารจดั การศึกษา

รายงานการตดิ ตามการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ในการขบั เคลื่อนยุทธศาสตรใ์ นพ้ืนที่ สานกั งานศึกษาธิการภาค 3 เปน็ หนว่ ยงานที่ปฏิบัติภารกิจ
ของกระทรวงศึกษาในพ้ืนที่ ทาหน้าที่ขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด กาหนดยุทธศาสตร์
และบทบาทการพัฒนาภาคต่าง ๆ ให้เช่ือมโยงและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศทิศทางการ
ดาเนินงานนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับภาคและกลุ่มจังหวัด รวมทั้งการพัฒนาด้านอ่ืน ๆ ในพื้นที่
รับผิดชอบตามศักยภาพและโอกาสของบุคคลและชุมชนในแต่ละพ้ืนท่ี โดยเฉพาะอานาจหน้าท่ีตาม ข้อ 5 (3)
กากับดูแล ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพ้ืนที่รับผิดชอบ
ได้เลง็ เห็นความสาคัญของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค จึงดาเนินการติดตาม
การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา โดยทาการศึกษากระบวนการขับเคล่ือนและผลการ
ดาเนินงานการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค รวมทั้ง ปัญหา อุปสรรค เพื่อเป็น
ข้อมูลในการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาคให้มีความสอดคล้องกับบริบทของพ้ืนท่ี รวมท้ังนาไป
เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจและทบทวนในเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษาใน
พื้นท่ี ให้มีความเช่ือมโยงและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ นโยบายและยุทธศาสตร์ของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นากลุ่มจังหวัด และบริบทอื่น ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

2. วตั ถุประสงค์ของการตดิ ตาม
2.1 เพ่ือติดตามกระบวนการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ของหนว่ ยงาน

การศกึ ษาในพ้นื ทีร่ บั ผดิ ชอบของสานกั งานศกึ ษาธิการภาค 3
2.2 เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะที่มีต่อกระบวนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา

ของหน่วยงานการศกึ ษาในพ้นื ทรี่ ับผิดชอบของสานักงานศกึ ษาธิการภาค 3
2.3 เพ่ือติดตามผลการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค

ของหนว่ ยงานการศกึ ษาในพน้ื ทร่ี ับผดิ ชอบของสานกั งานศึกษาธิการภาค 3
2.4 เพือ่ ทราบปัญหาอปุ สรรค และข้อเสนอแนะ ในการดาเนนิ งานการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์

การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ของหนว่ ยงานการศกึ ษาในพ้นื ท่ีรับผิดชอบของสานกั งานศึกษาธิการภาค 3

3. ขอบเขตการติดตาม
การติดตามกระบวนการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษา และผลการดาเนินงานการ

ขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค มีขอบเขตการติดตาม ด้านเนื้อหา ด้านพ้ืนที่ และ
เวลา ดงั นี้

3.1 ขอบเขตดา้ นเนือ้ หา
3.1.1 การติดตามกระบวนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ

ระดับภาค ครอบคลุม 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) กลไกการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
2) การขบั เคลอื่ นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 3) การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
สู่การปฏิบตั ิ และ 4) การตดิ ตามและรายงานผลการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษา

3.1.2 การติดตามผลการดาเนินงานการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
ระดับภาค ดาเนินการติดตามตามประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัดภาคกลาง
ตอนล่าง 1 (พ.ศ.2563-2565) ฉบับทบทวน พ.ศ.2564 จานวน 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาศักยภาพคน และ



รายงานการตดิ ตามการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

การสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้เรียนอย่าง
ท่ัวถึง และเท่าเทียม ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การผลิต พัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม ท่ีสอดคล้องกับ
ความต้องการของการพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็น
มิตรกับส่ิงแวดล้อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การบริหารจัดการศึกษา
ให้มีประสิทธิภาพ

3.2 ขอบเขตด้านพื้นท่ี
หน่วยงานการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 ประกอบด้วย

จงั หวัดกาญจนบุรี จังหวัดราชบรุ ี และจังหวดั สพุ รรณบรุ ี
3.3 ขอบเขตดา้ นเวลา
ดาเนนิ การระหวา่ งเดือนตลุ าคม 2563 - 30 กนั ยายน 2564

4. นยิ ามศพั ท์

การขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์ หมายถึง กระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
โดยครอบคลุมกระบวนการ 4 ด้าน ได้แก่ กลไกการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ การแปลงแผนสู่การปฏิบัติ
การขับเคล่อื นแผน การตดิ ตามและรายงานผล

กลไกการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ หมายถึง ระบบหรือขั้นตอนการดาเนินการขับเคล่ือน
ยุทธศาสตร์ โดยครอบคลุมประเด็น การจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการท่ีชัดเจนและ
เป็นรูปธรรม การนาเทคโนโลยี มาใช้เป็นเคร่ืองมือหลักในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การบริหารจัด
การศึกษาแบบมีส่วนร่วม การสร้างเครือข่ายหน่วยงานการศึกษา การพัฒนาการศึกษาแบบบูรณาการ
เพื่อให้การขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์ บรรลุเปา้ หมาย แสวงหาและระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วนที่เก่ียวขอ้ ง

การขับเคลื่อนแผน หมายถึง การสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
การสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ วิธีคิดและวิธีปฏิบัติแก่ผู้ปฏิบัติงาน การจัดการความรู้และ
แลกเปล่ียนเรียนรู้จากประสบการณ์เพื่อให้ผู้ปฏิบัติสามารถออกแบบแผนงาน/โครงการ เปิดโอกาสให้
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม แสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในการจัดทาแผน
การพฒั นาระบบข้อมูลสารสนเทศเชิงพื้นท่ี เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดทาแผนแสวงหาและระดมทรัพยากร
จากทกุ ภาคส่วนท่เี กย่ี วขอ้ ง

การแปลงแผนส่กู ารปฏิบัติ หมายถึง การวางแผนดาเนินงานสอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์พัฒนา
การศึกษากลุ่มจังหวัด การจัดอันดับความสาคัญของเป้าหมาย กาหนดแนวทางการดาเนินงานระยะเวลา
ผรู้ ับผิดชอบของแผนปฏิบัติการที่ชดั เจน การดาเนินการตามแผนงาน/โครงการที่กาหนดโครงการ/กิจกรรม
มกี ารดาเนินงานในรปู แบบขององคค์ ณะบุคคล

การติดตามและรายงานผล หมายถึง การติดตามผลการดาเนินงานตามแผน โดยมีการ
การติดตามความก้าวหน้าของโครงการ/กิจกรรม การประเมินผลการดาเนินงานตามแผน การนาผลการ
ประเมินมาปรบั ปรงุ และพัฒนาแผนในปีตอ่ ไป

ผลการดาเนินงาน หมายถึง ผลการดาเนินงานตามเป้าหมาย ตัวชี้วัด และแนวทางการ
พัฒนาตามแผนพัฒนาการศึกษากลมุ่ จังหวดั ภาคกลางตอนล่าง 1 (พ.ศ. 2563 – 2565) ฉบับทบทวนปี พ.ศ.2564

ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษา หมายถึง ยทุ ธศาสตรท์ ่กี าหนดไวใ้ นแผนพัฒนาการศึกษา
กลุ่มจังหวดั ภาคกลางตอนล่าง 1 (พ.ศ.2563-2565) ฉบบั ทบทวน พ.ศ.2564 ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ดังน้ี



รายงานการติดตามการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

1. ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคงของชาติ 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพคน และการ
สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3. ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้เรียนอย่างทั่วถึง
และเท่าเทียม 4. ยุทธศาสตร์การผลิต พัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม ท่ีสอดคล้องกับความ
ต้องการของการพัฒนาประเทศ 5. ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา เพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ
ส่ิงแวดล้อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 6.ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาให้มี
ประสทิ ธิภาพ

ระดับภาค หมายถึง พื้นท่ีท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 (จังหวัด
กาญจนบุรี จังหวัดราชบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี) ที่จัดต้ังขึ้นตามคาสั่ง หัวหน้าคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ ที่ 19/2560 เรอ่ื ง การปฏิรปู การศึกษาในภมู ภิ าคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวนั ท่ี 3 เมษายน พ.ศ.2560

5. กรอบแนวคดิ การติดตาม

การตดิ ตามการขบั เคลือ่ นยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค

กระบวนการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตรก์ าร ติดตามผลการดาเนนิ งานการขับเคล่ือน
พัฒนาการศกึ ษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิระดับภาค ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษา
(ตามยทุ ธศาสตร์ 6 ยทุ ธศาสตร์)

- กลไกการขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์ 1. การจดั การศึกษาเพ่อื ความม่นั คงของชาติ
- การขบั เคลอ่ื นแผน 2. การพัฒนาศักยภาพคน และการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้
- การแปลงแผนสูก่ ารปฏิบัติ
- การติดตามและรายงานผล ตลอดชีวิต
3. การสร้างโอกาสทางการศกึ ษาใหก้ ับผ้เู รยี นอย่างท่ัวถึง และเทา่ เทยี ม
4. การผลิต พัฒนากาลงั คน การวิจยั และนวัตกรรม ท่ีสอดคลอ้ งกับ

ความตอ้ งการของการพฒั นาประเทศ
5. การจัดการศกึ ษา เพอื่ สร้างเสริมคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ป็นมติ ร

กบั สิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
6. การบรหิ ารจดั การศึกษาให้มีประสิทธิภาพ

กระบวนการขับเคลื่อนและผลการดาเนนิ งาน
การขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา

ภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ ในการติดตาม



รายงานการติดตามการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

6. ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รับ
6.1 สานักงานศึกษาธิการภาค 3 ทราบกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา

การศึกษาในพื้นที่ ด้านกลไกการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ด้านการขับเคล่ือนแผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่การปฏิบัติ และด้านการติดตามและ
รายงานผลการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนา รวมทั้งข้อเสนอแนะท่ีมีต่อกระบวนการขับเคล่ือน
ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศกึ ษาในพน้ื ที่ เพ่ือนาไปสู่การปรบั ปรงุ และพัฒนา

6.2 สานักงานศกึ ษาธิการภาค 3 มีผลการดาเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะการ
ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนกาหนดทิศทางการ
พัฒนาการศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ และเหมาะสมกับสภาพ
บรบิ ทของพ้ืนทีไ่ ด้อยา่ งชดั เจนเปน็ รปู ธรรม



บทท่ี 2
บริบทที่เก่ียวขอ้ งดา้ นการศึกษา

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาคประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564
ขอนาเสนอบริบททเ่ี ก่ยี วข้องด้านการศึกษา ดงั นี้

1. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560
2. ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)
3. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
4. แผนการปฏิรปู ประเทศ (ฉบับปรับปรุง) คณะรัฐมนตรีมมี ตเิ หน็ ชอบ เมอื่ วันท่ี 8 ธันวาคม 2563
5. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564)
6. นโยบายและแผนระดับชาติว่าดว้ ยความม่นั คงแหง่ ชาติ (พ.ศ.2562-2565)
7. เปูาหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน (Sustainable Development GoalS : SDGs)
8. นโยบายรฐั บาล (พลเอกประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตร)ี
9. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ.2560-2579)

10. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาภาค

11. แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธิการ (พ.ศ.2563 – 2565)
12. นโยบายการจดั การศึกษา ของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร (นางสาวตรนี ชุ เทียนทอง)
13. แผนพัฒนาการศึกษาภาคกลาง (พ.ศ.2563-2565)

14. แผนพัฒนากลุ่มจงั หวดั ภาคกลางตอนลา่ ง 1 (กาญจนบุรี ราชบรุ ี สุพรรณบรุ ี) พ.ศ.2562 – 2565

(ฉบับทบทวน พ.ศ.2565) กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์กลุม่ จังหวดั ภาคกลางตอนลา่ ง 1

กระทรวงมหาดไทย

15. แผนพัฒนาการศกึ ษากลมุ่ จังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 (พ.ศ.2563 – 2565)

ฉบบั ทบทวน พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธกิ ารภาค 3

16. การติดตามและประเมินผล
17. ระบบกลไก

1. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กฎหมายหลักในการปกครอง
ประเทศได้กาหนดหมวดสาคัญๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา การส่งเสริมและสนับสนุน
การจดั การศกึ ษาและการเขา้ รับบรกิ ารการศึกษาของประชาชน

หมวดหน้าท่ีของปวงชนชาวไทย มาตรา 50 (4) บุคคลมีหน้าที่เข้ารับการศึกษาอบรมในการศึกษา
ภาคบังคบั

หมวดหน้าท่ีของรัฐ มาตรา 54 รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี
ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย รัฐต้องดาเนินการให้เด็กเล็ก
ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ เพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคมและ
สติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม

รายงานการติดตามการขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ในการดาเนินการด้วย รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ
รวมท้ังส่งเสรมิ ให้มีการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตและจดั ใหม้ กี ารร่วมมอื ระหวา่ งรฐั องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ
ภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดาเนินการกากับ ส่งเสริมและสนับสนุนให้การจัด
การศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ท้ังนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ซ่ึงอย่างน้อย
ต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดาเนินการและตรวจสอบการดาเนินการ
ใหเ้ ป็นไปตามแผนการศกึ ษาแห่งชาตดิ ว้ ย การศึกษาทัง้ ปวงต้องมุ่งพฒั นาผเู้ รียนให้เป็นคนดีมีวินัย ภูมิใจใน
ชาติ มีความสามารถเช่ียวชาญได้ตามความถนัดของตนและมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม
และประเทศชาติ ในการดาเนนิ การให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ หรือให้
ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการ ในระบบต่าง ๆ และได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
รฐั ตอ้ งดาเนนิ การให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตามความถนัดของตน
ให้จัดต้ังกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์เพื่อลดความเหลื่อมลา้ ในการศกึ ษาและเพ่ือ
เสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุนหรือใช้มาตรการ
หรือกลไกทางภาษี รวมท้ังการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษีด้วย
ท้ังนี้ ตามท่ีกฎหมายบัญญัติซ่ึงกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องกาหนดให้การบริหารจัดการกองทุน
เปน็ อิสระและกาหนดให้มกี ารใช้จา่ ยเงินกองทุนเพ่ือบรรลุวัตถปุ ระสงค์ดงั กลา่ ว

หมวดการปฏิรูปประเทศ มาตรา 258 (จ) ให้ดาเนินการปฏิรูปประเทศในด้านการศึกษา ให้เกิดผล
ดงั ต่อไปนี้

1) เรม่ิ ดาเนนิ การให้เด็กเลก็ ได้รบั การดแู ลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ เพื่อให้เด็กเล็ก
ได้รับการพฒั นาร่างกาย จติ ใจ วินยั อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา ใหส้ มกับวัย โดยไม่เก็บคา่ ใชจ้ า่ ย

2) ดาเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดต้ังกองทุนเพ่ือใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพ่ือลด
ความเหล่ือมลา้ ในการศึกษาและเพ่อื เสรมิ สรา้ งและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู ให้แล้วเสร็จภายในหน่ึงปี
นบั ตง้ั แตว่ นั ประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญน้ี

3) ให้มกี ลไกและระบบการผลติ คัดกรอง และพัฒนาผปู้ ระกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ ให้ได้ผู้มี
จิตวิญญาณแห่งความเป็นครูมีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับ
ความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมท้ังมีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคล
ของผปู้ ระกอบวิชาชีพครู

4) ปรับปรุงการจดั การเรยี นการสอนทกุ ระดบั เพอื่ ให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัด และ
ปรับปรงุ โครงสรา้ งหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งเพ่อื บรรลเุ ปูาหมายดังกลา่ ว โดยสอดคล้องกันท้ังในระดับชาติและ
ระดบั พ้นื ท่ี

หมวดการปฏิรูปประเทศ มาตรา 261 ในการปฏิรูปตามมาตรา 258 จ. ด้านการศึกษา ให้มี
คณะกรรมการท่ีมีความเปน็ อสิ ระคณะหนง่ึ ทคี่ ณะรฐั มนตรแี ต่งต้ังดาเนนิ การศกึ ษาและจัดทา ข้อเสนอแนะ
และรา่ งกฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ งในการดาเนนิ การให้บรรลเุ ปาู หมาย เพอ่ื เสนอคณะรัฐมนตรดี าเนนิ การ

2. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 กาหนดให้รัฐพึงจัดให้มี



รายงานการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ยทุ ธศาสตร์ชาติเป็นเปูาหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพ่ือใช้เป็นกรอบในการ
จัดทาแผนต่างๆให้สอดคล้องและบูรณาการกัน เพ่ือให้เกิดพลังผลักดันร่วมกันไปสู่วิสัยทัศน์ และเปูาหมาย
ดังน้ี

วสิ ยั ทัศน์
“ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” หรือเปน็ คติพจนป์ ระจาชาตวิ า่ “ม่นั คง มง่ั คงั่ ยั่งยนื ”
ความม่ันคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปล่ียนแปลง
ท้งั ภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจก
บุคคล และมีความม่ันคงในทุกมิติ ท้ังมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม และการเมือง เช่น
ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธปิ ไตยมกี ารปกครองระบบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
พระประมุข สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์มีความเข้มแข็งเป็นศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหน่ียวจิตใจ
ของประชาชน มีระบบการเมืองท่ีมั่นคงเป็นกลไกท่ีนาไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเน่ืองและโปร่งใสตาม
หลักธรรมาภบิ าล สงั คม มคี วามปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกาลังเพ่ือพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความ
เข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคง พอเพียงกับการ
ดารงชีวิต มีการออมสาหรับวัยเกษียณ ความม่ันคงของอาหาร พลังงาน และน้า มีท่ีอยู่อาศัย และความ
ปลอดภัยในชวี ติ ทรพั ยส์ นิ
ความมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ืองและ
มีความย่ังยืน จนเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดี
มีสุขได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น และมีการพัฒนาอย่างท่ัวถึงทุกภาคส่วน
มคี ณุ ภาพชวี ิตตามมาตรฐานขององคก์ ารสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนท่ีอยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจ
ในประเทศมีความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่างๆ
ทั้งในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศเพื่อให้สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ
ตลอดจนมีการสร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคตเพื่อให้สอดรับกับบริบทการพัฒนาที่เปลี่ยนแปลงไป
และประเทศไทยมีบทบาทที่สาคัญในเวทีโลก และมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างแน่นแฟูน
กับประเทศในภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดสาคัญของการเช่ือมโยงในภูมิภาคท้ังการคมนาคมขนส่ง การผลิต
การค้า การลงทุนและการทาธุรกิจ เพื่อให้เป็นพลังในการพัฒนา นอกจากนั้น ยังมีความสมบูรณ์ในทุน
ที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่องไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เป็น
เครื่องมือเครอ่ื งจกั ร ทุนทางสังคม และทุนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาท่ีสามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนให้เพมิ่ ขนึ้ อย่างต่อเนื่อง ซ่ึงเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีอยู่บนหลักการใช้ การรักษา และ
การฟ้ืนฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่ังยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะ
ต่อสิ่งแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ การผลิตและการบริโภค
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับเปูาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดม
สมบูรณ์มากข้ึนและสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละ
เพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐบาลมีนโยบายท่ีมุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน และให้ความสาคัญกับการ
มีสว่ นรว่ มของประชาชนและทุกภาคส่วนในสังคม ยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เพอ่ื การพัฒนาอย่างสมดลุ มีเสถยี รภาพและยง่ั ยนื



รายงานการตดิ ตามการขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

โดยมีเปูาหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจ
พัฒนาอย่างตอ่ เนือ่ ง สงั คมเปน็ ธรรม ฐานทรพั ยากรธรรมชาติย่ังยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศใน
หลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและความ
เสมอภาคทางสงั คม สรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ท่เี ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม และมีภาครัฐ ของประชาชน
เพอ่ื ประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยทุ ธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย

1) ความอยดู่ มี ีสุขของคนไทยและสังคมไทย
2) ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั การพัฒนาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้
3) การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ของประเทศ
4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสงั คม
5) ความหลากหลายทางชวี ภาพ คุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม และความย่ังยืนของทรพั ยากรธรรมชาติ
6) ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การและการเขา้ ถึงการให้บรกิ ารของภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 - 2580) ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเก่ียวข้องกับภารกิจ
ของสานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ดังนี้
1) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง มีเปูาหมายการพัฒนาท่ีสาคัญ คือ ประเทศชาติม่ันคง
ประชาชนมคี วามสุข เนน้ การบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช
อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับต้ังแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน
เคร่ืองมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและ
ภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการปูองกันและแก้ไขปัญหาด้านความม่ันคง
ทีม่ ีอยใู่ นปัจจุบัน และท่ีอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการท้ังกับส่วนราชการ
ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถงึ ประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศทั่วโลกบนพื้นฐานของ
หลักธรรมาภิบาล เพื่อเอ้ืออานวยประโยชน์ต่อการดาเนินการของยุทธศาสตร์ชาติด้านอ่ืน ๆ ให้สามารถ
ขับเคลื่อนไปได้ตามทศิ ทางและเปูาหมายท่ีกาหนด
2) ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเปูาหมายการพัฒนา ที่มุ่งเน้น
การยกระดับศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ บนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ไดแ้ ก่

2.1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม
ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติท่ีหลากหลาย รวมท้ังความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ
ของประเทศในดา้ นอืน่ ๆ นามาประยุกต์ผสมผสานกบั เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อให้สอดรับกับบริบทของ
เศรษฐกจิ และสังคมโลกสมัยใหม่

2.2) “ปรบั ปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของประเทศใน
มิตติ า่ ง ๆ ทัง้ โครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล และ
การปรับสภาพแวดล้อมใหเ้ ออ้ื ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบรกิ ารอนาคต

2.3) “สรา้ งคณุ ค่าใหมใ่ นอนาคต” ดว้ ยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พฒั นาคนรุ่น
ใหม่ รวมถงึ ปรบั รูปแบบธรุ กิจ เพอ่ื ตอบสนองตอ่ ความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยทุ ธศาสตรท์ ี่รองรบั
อนาคต บนพน้ื ฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปจั จุบัน พรอ้ มทัง้ การส่งเสรมิ และสนับสนนุ จากภาครฐั ให้
ประเทศไทยสามารถสรา้ งฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนในเวทโี ลก
ควบคไู่ ปกับการยกระดบั รายได้และการกินดีอย่ดู ี รวมถึงการเพม่ิ ขน้ึ ของคนชัน้ กลางและลดความเหลอ่ื มลา้
ของคนในประเทศไดใ้ นคราวเดยี วกัน



รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

3) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเปูาหมาย
การพัฒนาท่ีสาคัญเพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมี
ความพร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ
รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อ่ืน มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ
มีหลักคิดท่ีถูกต้อง มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และ
อนรุ กั ษภ์ าษาทอ้ งถน่ิ มนี ิสัยรกั การเรียนรแู้ ละการพฒั นาตนเองอย่างต่อเนอื่ งตลอดชีวิตสู่การเป็นคนไทยที่มี
ทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอ่ืน ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของ
ตนเอง

4) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมมีเปูาหมายการพัฒนา
ที่สาคัญที่ให้ความสาคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถ่ิน
มาร่วมขับเคล่ือน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชน ในการร่วมคิดร่วมทาเพื่อส่วนรวม การกระจาย
อานาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทยท้ังในมิติ สุขภาพ เศรษฐกิจ
สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพ่ึงตนเองและทาประโยชน์แก่ครอบครัว
ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและสวัสดิการท่ีมีคุณภาพอย่างเป็น
ธรรมและทัว่ ถึง

5) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวิตท่ีเปน็ มติ รกับส่ิงแวดล้อมมีเปูาหมายการ
พัฒนาที่สาคัญเพื่อนาไปสู่การบรรลุเปูาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนในทุกมิติ ท้ังมิติด้าน สังคม เศรษฐกิจ
ส่ิงแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายในและภายนอกประเทศ
อย่างบูรณาการ ใช้พ้ืนท่ีเป็นตัวต้ังในการกาหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝุายที่เกี่ยวข้องได้เข้า
มามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้โดยเป็นการดาเนินการบนพ้ืนฐานการเติบโต
ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความสาคัญกับการสร้างสมดุล
ท้ัง 3 ด้าน อนั จะนาไปสคู่ วามยง่ั ยนื เพอ่ื คนรุน่ ตอ่ ไปอย่างแทจ้ รงิ

6) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐมีเปูาหมาย
การพัฒนาท่ีสาคัญเพ่ือปรับเปล่ียนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชน และประโยชน์
ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของรัฐท่ี
ทาหน้าทีใ่ นการกากับหรอื ในการให้บรกิ ารในระบบเศรษฐกิจที่มีการแข่งขันมีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล
ปรบั วัฒนธรรมการทางานให้มุ่งผลสมั ฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัยและพร้อมที่จะปรับตัว
ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูล
ขนาดใหญ่ ระบบการทางานที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับ
มาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม
เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคม
ต้องร่วมกันปลกู ฝังคา่ นยิ มความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสานึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการ
ทุจริตประพฤติมิชอบอย่างส้ินเชิง นอกจากนั้น กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จาเป็น มีความทันสมัย
มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และ นาไปสู่การลดความเหล่ือมล้าและเอื้อต่อการพัฒนา โดย
กระบวนการยุตธิ รรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติและการอานวยความยุติธรรม
ตามหลกั นติ ธิ รรม

๑๐

รายงานการติดตามการขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

3. แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ
ตามพระราชบัญญัติการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 10 บัญญัติว่า เมื่อมีพระบรมราช

โองการ ประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติแล้ว ให้คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติแต่ละด้านจัดทาแผนแม่บท
เพอื่ บรรลุเปูาหมายตามท่ีกาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ เสนอคณะกรรมการพิจารณาให้ความเห็นชอบ และเสนอ
ตอ่ คณะรฐั มนตรใี ห้ความเหน็ ชอบและประกาศในราชกิจจานุเบกษา

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนแม่บทเพ่ือบรรลุเปูาหมายตามที่กาหนดไว้
ในยุทธศาสตร์ชาติ มีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้องจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามนั้น รวมท้ังการจัดทา
งบประมาณรายจ่ายประจาปีต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทด้วย โดยแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ประกอบด้วย 23 ประเด็น 62 แผนย่อย (ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การประกาศแผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ณ วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2562 ซ่ึงเก่ียวข้องกับ
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 12 ประเด็น 16 แผนย่อย แต่ได้รับจัดสรรงบประมาณประจาปี
พ.ศ.2564 รวม 11 ประเดน็ 18 แผนย่อย ดังนี้

แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (1) ประเดน็ ความมนั่ คง
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นความม่ันคง ประกอบด้วย แผนย่อย จานวน 5 แผน
เกยี่ วขอ้ งกับสานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จานวน 2 แผน ดงั นี้
แผนย่อย 3.1 การรกั ษาความสงบภายในประเทศ

3.1.1 แนวทางการพัฒนา
2) เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติ ภายใต้การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยปลูกฝังและสร้างความตระหนักรู้ถึงความสาคัญ
ของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและภาคภูมิใจในความเป็นคนไทยและชาติไทย
ผ่านทางกลไกตา่ ง ๆ รวมถงึ การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรใ์ นเชิงสร้างสรรค์ น้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมถึงแนวทางพระราชดาริต่าง ๆ ให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และ
นาไปประยุกต์ปฏบิ ตั ิใชอ้ ยา่ งกว้างขวาง จัดกจิ กรรมเฉลิมพระเกยี รตแิ ละพระราชกรณียกจิ อยา่ งสม่าเสมอ
แผนย่อย 3.2 การป้องกันและแกไ้ ขปญั หาท่มี ีผลกระทบต่อความมัน่ คง
3.2.1 แนวทางการพฒั นา
สว่ นการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรและการพฒั นาประเทศ
1) ปูองกันและปราบปรามยาเสพติด มุ่งยึดแนวคิดการแก้ไขปัญหายาเสพติดตั้งแต่ต้นน้า -
กลางนา้ - ปลายนา้ ในการดาเนินการอย่างเป็นระบบ กล่าวคือ (5) การปูองกันยาเสพติดในแต่ละกลุ่มเปูาหมาย
อย่างเหมาะสมเป็นรูปธรรม โดยการปลูกฝังค่านิยมและองค์ความรู้ที่เหมาะสม อันจะส่งผลกระทบต่อความคิด
และโนม้ นา้ วใหเ้ กิดความเหน็ ทค่ี ล้อยตามอยา่ งถกู ต้อง (6) การปรบั ระบบนิเวศ (สภาพแวดล้อม)ที่เหมาะสม
โดยการเสริมสรา้ งปัจจัยทีเ่ อ้ือตอ่ การไม่เขา้ ไปยุง่ เก่ียวกับยาเสพติดของแต่ละกลุ่มเปูาหมาย อาทิ ครอบครัว
โรงเรียน และชุมชน
2) ปูองกันและแก้ไขปัญหาความม่ันคงทางไซเบอร์ มุ่งเน้นการวางกลยุทธ์/ยุทธวิธีในการ
แก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงทางไซเบอร์ ให้ครอบคลุมสภาพปัญหาของภัยคุกคามทางไซเบอร์ ซ่ึงได้แก่
การโจมตีทางไซเบอร์ของกลุ่มแฮกเกอร์ การจารกรรมหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูล การโจมตีต่อกลุ่ม
โครงสร้างพ้ืนฐานสาคัญทางสารสนเทศ และการเผยแพร่ข้อมูลเพ่ือความป่ันปุวนอันกระทบต่อประชาชน
รวมทั้งอาจสง่ ผลกระทบตอ่ ความมั่นคง

๑๑

รายงานการติดตามการขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

9) ปูองกันและแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ มุ่งจัดการกับเง่ือนไข
ปัญหาที่มีอยู่เดิมทั้งปวงให้หมดสิ้นไป และเฝูาระวังมิให้เกิดเงื่อนไขใหม่ข้ึน โดยน้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงและศาสตร์พระราชา มาเป็นกรอบแนวทางนาในการดาเนินงานแก้ไขและปูองกันปัญหา
ตลอดไปจนถึงการผลักดันยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ไปสู่การปฏิบัติจริงในพ้ืนท่ี
เพ่ือส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาท่ีสาเหตุอย่างแท้จริง พร้อมนาความสงบสันติ
สุขอย่างย่ังยืนกลับคืนสู่ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมท้ังสร้างความเช่ือมั่นให้กับประชาชนทั้ง
ประเทศ และนานาชาติต่อไป

แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (6) ประเด็น พื้นทีแ่ ละเมืองน่าอยู่อจั ฉริยะ
แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประเด็นพืน้ ที่และเมืองน่าอยอู่ ัจฉริยะ ประกอบด้วย แผนย่อย
จานวน 6 แผน เก่ยี วข้องกับสานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ จานวน 1 แผน ดังนี้
แผนย่อย 3.1 การพฒั นาเมืองนา่ อยู่อจั ฉรยิ ะ

3.1.1 แนวทางการพัฒนา
ให้ความสาคัญกับการพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองน่าอยู่อัจฉริยะที่สามารถรองรับกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจ ที่อยู่อาศัย ลดความเหลื่อมล้าและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพ้ืนท่ีทุกกลุ่ม และ
ผลกั ดนั การพฒั นาเมอื งอจั ฉริยะในเมอื งทีม่ ศี กั ยภาพ ซ่ึงมีการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสมัยใหม่มาพัฒนา
ระบบบริหารจัดการเมืองในทุกมิติให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยแบ่งการพัฒนาเมืองออกเป็น 2 รูปแบบ
ไดแ้ ก่
1) เมืองศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกิจ โดยพัฒนาเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภาค ได้แก่
กรงุ เทพและปริมณฑล เชียงใหม่ ขอนแก่น เมืองในระเบียงเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก สงขลา และภูเก็ต ให้มี
ศักยภาพในการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเทียบเท่าเมืองขนาดใหญ่ในระดบั นานาชาติและมีความน่าอยู่
2) พัฒนาเมืองขนาดกลางให้เป็นเมืองน่าอยู่ที่เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ สังคมและ
การบรกิ ารใหก้ ับพนื้ ท่ีโดยรอบ โดยเน้นการตอ่ ยอดจากฐานเศรษฐกิจท่ีมีในพื้นที่ เพ่ือให้เกิดการกระจาย
ความเจริญไปสู่พ้ืนที่โดยรอบ และสนับสนุนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจโดย
สร้างเครอื ข่ายการพัฒนาเศรษฐกิจระดับภาค ซ่งึ การพฒั นาแบ่งตามภาคได้ดงั นี้

ภาคเหนือ เน้นการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวเชิง
วัฒนธรรม และการเกษตรมูลค่าสูง และการให้บริการด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจและโครงสร้าง
พ้นื ฐานทางสังคมแก่พนื้ ที่โดยรอบ

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เน้นการพัฒนาการค้าและกิจกรรมทางเศรษฐกิจใหม่
การเกษตรมลู ค่าสูง และการให้บริการด้านโครงสร้างพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานทางสังคม
แกพ่ ืน้ ทีโ่ ดยรอบ

ภาคกลางและตะวันออก เน้นการพัฒนาและสง่ เสรมิ การค้าและกจิ กรรมทาง
เศรษฐกจิ ท่ีมอี ยู่เดิม และการให้บรกิ ารด้านโครงสรา้ งพื้นฐานทางเศรษฐกิจและโครงสร้างพ้ืนฐานทางสงั คม
แกพ่ ื้นที่โดยรอบ

ภาคใต้ เน้นการพัฒนาและสง่ เสริมการท่องเท่ียวเชิงนิเวศและอุตสาหกรรมการเกษตร
ครบวงจร และการให้บริการด้านโครงสร้างพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจและโครงสร้างพ้ืนฐานทางสังคมแก่พ้ืนท่ี
โดยรอบ

๑๒

รายงานการติดตามการขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (10) ประเด็น การปรับเปล่ียนคา่ นิยมและวฒั นธรรม
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การปรบั เปลยี่ นคา่ นยิ มและวฒั นธรรม
ประกอบดว้ ย แผนย่อย จานวน 3 แผน เกยี่ วขอ้ งกบั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จานวน 1 แผน
ดังน้ี
แผนย่อย 3.1 การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และการเสริมสร้างจิตสาธารณะ
และการเปน็ พลเมอื งทด่ี ี

3.1.1 แนวทางการพัฒนา
2) บูรณาการเรื่องความซื่อสัตย์ วินัย คุณธรรม จริยธรรม และด้านส่ิงแวดล้อม
ในการจดั การเรยี นการสอนในและนอกสถานศึกษา จัดให้มีการเรียนการสอนตามพระราชดาริ และปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา จัดให้มีการเรียนรู้ทางศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ
และภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งการตระหนักรู้ และการมีส่วนร่วมด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ให้รองรบั การเปล่ยี นแปลงทั้งในประเทศและต่างประเทศ
5) การส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
สร้างจิตสาธารณะและจิตอาสาโดยใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสา รสนเทศ
การส่ือสาร เพื่อรับผิดชอบต่อส่วนรวม สร้างเสริมผู้นาการเปลี่ยนแปลง และต้นแบบท่ีดีท้ังระดับบุคคล
และองค์กร โดยการยกย่องผู้นาท่ีมีจิตสาธารณะและจิตอาสา และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
ส่งเสริมสนับสนุนให้มีกลไกการดาเนินงานในการสร้างเสริมการพัฒนาจิตสาธารณะแล ะจิตอาสา
เพอ่ื สังคมและส่วนรวม โดยส่งเสรมิ และสนบั สนนุ องค์กรสาธารณะท่ีไมห่ วงั ผลประโยชน์
แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (11) ประเด็น ศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ ประกอบดว้ ย แผนย่อย
จานวน 5 แผน เก่ียวข้องกับสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร จานวน 4 แผน ดังนี้
แผนย่อย 3.2 การพัฒนาเด็กตงั้ แต่ชว่ งการต้งั ครรภจ์ นถงึ ปฐมวัย
3.2.1 แนวทางการพฒั นา
3) จัดให้มีการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการ สมรรถนะ และคุณลักษณะท่ีดีที่สมวัยทุก
ด้าน โดยการพัฒนาหลักสูตรการสอนและปรับปรุงสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่เน้น
การพัฒนาทักษะสาคัญด้านต่าง ๆ อาทิ ทักษะทางสมอง ทักษะด้านความคิดความจา ทักษะการควบคุม
อารมณ์ ทักษะการวางแผนและการจัดระบบ ทักษะการรู้จักประเมินตนเอง ควบคู่กับการยกระดับบุคลากร
ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมทั้งทักษะ ความรู้ จริยธรรม และความเป็นมืออาชีพ ตลอดจน
ผลักดันให้มีกฎหมายการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ครอบคลุมทั้งการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เน้นการเตรียม
ความพร้อมเข้าสู่ระบบการศึกษา การพัฒนาสุขภาพอนามัยให้มีพัฒนาการที่สมวัยและการเตรียมทักษะการ
อย่ใู นสงั คมให้มีพัฒนาการอย่างรอบดา้ น
แผนยอ่ ย 3.3 การพัฒนาชว่ งวยั เรยี น/วัยรุน่
3.3.1 แนวทางการพัฒนา
1) จัดใหม้ กี ารพฒั นาทักษะท่ีสอดรับกบั ทักษะในศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะทักษะด้านการ
คิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ความสามารถในการแกป้ ัญหาที่ซบั ซอ้ น ความคดิ สร้างสรรค์ การทางานรว่ มกับผู้อื่น
2) จัดให้มีการพัฒนาทักษะด้านภาษา ศิลปะ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ทสี่ อดคลอ้ งกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจ

๑๓

รายงานการติดตามการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

3) จัดให้มีการพัฒนาทักษะในการวางแผนชีวิตและวางแผนการเงิน ตลอดจนทักษะ
ทีเ่ ช่ือมต่อกับโลกการทางาน

4) จัดให้มีพัฒนาทักษะอาชีพท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ การบ่มเพาะการ
เป็นนักคิด นักนวัตกร และการเป็นผู้ประกอบการใหม่ รวมทั้งทักษะชีวิตที่สามารถอยู่ร่วมและทางาน
ภายใต้สงั คมที่เปน็ พหวุ ัฒนธรรม

แผนย่อย 3.4 การพฒั นาและยกระดับศกั ยภาพวัยแรงงาน
3.4.1 แนวทางการพัฒนา
1) ยกระดบั ศกั ยภาพ ทักษะและสมรรถนะของคนในช่วงวัยทางานให้มีคุณภาพมาตรฐาน

สอดคล้องกับความสามารถเฉพาะบุคคลและความต้องการของตลาดงาน รวมทั้งเทคโนโลยีสมัยใหม่เพ่ือ
สรา้ งความเข้มแข็งเศรษฐกจิ และผลติ ภาพเพิม่ ขึน้ ใหก้ ับประเทศ

2) เสริมสร้างวัฒนธรรมการทางานท่ีพึงประสงค์ และความรู้ความเข้าใจและทักษะทางการเงิน
เพื่อเสริมสร้างความม่ันคงและหลักประกันของตนเองและครอบครัว รวมทั้งสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับ
วยั ทางานผา่ นระบบการคมุ้ ครองทางสงั คมและการสง่ เสริมการออม

3) ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาทักษะแรงงานฝีมือให้เป็นผู้ประกอบการใหม่ และ
สามารถพัฒนาต่อยอดความรู้ในการสร้างสรรคง์ านใหม่ ๆ และมโี อกาสและทางเลือกทางานและสรา้ งงาน

แผนย่อย 3.5 การส่งเสริมศักยภาพผสู้ งู อายุ
1) ส่งเสริมการมีงานทาของผู้สูงอายุให้พ่ึงพาตนเองได้ทางเศรษฐกิจ และร่วมเป็นพลัง

สาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนและประเทศ รวมทั้งสนับสนุนมาตรการจูงใจทางการเงินและการคลังให้
ผู้ประกอบการมีการจา้ งงานที่เหมาะสมสาหรับผูส้ ูงอายุ ตลอดจนจัดทาหลักสตู รพัฒนาทักษะในการประกอบ
อาชีพที่เหมาะสมกับวัย สมรรถนะทางกาย ลักษณะงาน และส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในการทางานร่วมกัน
ระหวา่ งกลุม่ วัย

3) ส่งเสริมสนับสนุนระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ พร้อมท้ังจัดสภาพแวดล้อม
ให้เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ อาทิ ส่ิงอานวยความสะดวกในการใช้ชีวิตประจาวันที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ
เมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุท้ังระบบขนส่งสาธารณะ อาคารสถานที่ พ้ืนที่สาธารณะ และท่ีอยู่อาศัยให้เอ้ือ
ตอ่ การใชช้ วี ิตของผู้สงู อายแุ ละทกุ กลุม่ ในสงั คม

แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (12) ประเด็น การพัฒนาการเรียนรู้
แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพฒั นาการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย แผนยอ่ ย
จานวน 2 แผน เกยี่ วข้องกบั สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ จานวน 2 แผน
แผนยอ่ ย 3.1 การปฏิรปู กระบวนการเรียนรู้ทีต่ อบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21

3.1.1 แนวทางการพัฒนา
1) ปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้สาหรับศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 4 แนวทาง
ย่อย ได้แก่ (1) พัฒนากระบวนการเรียนรู้ในทุกระดับช้ัน ต้ังแต่ปฐมวัยจนถึงอุดมศึกษา ที่ใช้ฐานความรู้และระบบ
คิดในลักษณะสหวทิ ยาการ มีการวจิ ัยและพฒั นาหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐานท่ีเป็นหลักสูตรฐาน
สมรรถนะให้ได้มาตรฐานกับหลักสูตรในระบบการศึกษาชั้นนาท่ีได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
อย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีที่เปิดเผยต่อสาธารณะเก่ียวกับการนิเทศ การติดตาม
ประเมินผล และการปรับปรุงหลักสูตรฐานสมรรถนะ ปฏิรูปหลักสูตรและรูปแบบการเรียนการสอน
อาชีวศกึ ษาให้สอดคล้องกบั กรอบมาตรฐานฝมี อื แรงงานและมาตรฐานอาชีพ โดยเน้นการศึกษาอาชีวศึกษา

๑๔

รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ระบบทวิภาคี และการฝึกงานในสถานประกอบการ ปฏิรูปการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาโดยเน้นการ
เรียนรูท้ ่ผี ูกกบั งาน เพอื่ วางรากฐานใหม้ สี ถาบันอดุ มศกึ ษาท่ีสามารถตอบสนองความต้องการของประเทศได้
ในหลากหลายมิติ ทั้งในด้านการผลิตกาลังคนที่มีสมรรถนะและทักษะในสาขาท่ีเป็นท่ีต้องการของตลาดการ
พฒั นาผูป้ ระกอบการยุคใหมท่ ่มี ศี กั ยภาพในการสรา้ งธุรกจิ ใหม่ทม่ี ีใชเ้ ทคโนโลยี นวัตกรรม และสามารถไปสู่
ตลาดต่างประเทศได้ รวมถงึ มนี กั วจิ ัยและนวตั กรท่สี ามารถสร้างสรรค์ผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ
สามารถสง่ เสรมิ สนบั สนุนการพัฒนาประเทศในดา้ นเศรษฐกจิ และสังคมเป็นอย่างดี (2) พัฒนากระบวนการ
เรียนรูข้ องผเู้ รียนทุกระดบั การศึกษา รวมถึงจัดกิจกรรมเสริมทักษะเพ่ือพัฒนาทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21
มีการผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเนื้อหาและวิธีการสอน โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนทฤษฎีการเรียนรู้แบบ
ใหม่ในการพฒั นาเนื้อหาและทกั ษะแบบใหม่ เทคโนโลยเี พ่ือการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ควรมีคุณลักษณะที่
มีชีวิต มีพลวัต มีปฏิสัมพันธ์ การเชื่อมต่อและมีส่วนร่วม (3) พัฒนาระบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการท่ีเน้นการลง
มือปฏิบัติ มีการสะท้อนความคิด/ทบทวนไตร่ตรอง โดยเน้นการเรียนการสอนที่เสริมสร้างทักษะชีวิต และ
สามารถนามาใช้ต่อยอดในการประกอบอาชีพได้จริง และ (4) พัฒนาระบบการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนสามารถกากับ
การเรียนรู้ของตนได้ เพ่ือให้สามารถนาองค์ความรู้ไปใช้สร้างรายได้ รวมถึงมีทักษะด้านวิชาชีพและทักษะ
ชีวิต โดยใช้ส่ือผสมอย่างหลากหลาย ปรับเปลี่ยนตามความสามารถและระดับของผู้เรียนมีเนื้อหาท่ี
ไม่ยึดติดกับตัวสื่อ เลือกประกอบเนื้อหาได้เอง ค้นหา แก้ไข จดบันทึกได้ เก็บประวัติการเรียนรู้อย่างเป็น
ระบบ มีระบบการประเมินผลการเรียนรู้ท่ีรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะ
ทเี่ ป็นทตี่ ้องการของตลาดแรงงาน

2) เปลี่ยนโฉมบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่ ประกอบด้วย ๓ แนวทางย่อย ได้แก่
(1) วางแผนการผลิต พัฒนาและปรบั บทบาท “ครู คณาจารยย์ ุคใหม”่ ให้เป็น “ผูอ้ านวยการการเรียนรู้”
มีหลักสูตรผลิตครูอาชีวะยุคใหม่ท่ีสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานอาชีพ โดยเน้นการ
เป็นผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการในสาขาที่ตนเองสอน
(2) ปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูตั้งแต่การดึงดูด คัดสรร ผู้มีความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครู ปฏิรูป
ระบบการผลิตครูยุคใหม่ โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะของวิชาชีพครูที่สามารถสร้างทักษะในการจัดการ
เรยี นการสอนในหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานทีเ่ ป็นหลกั สูตรฐานสมรรถนะ และมีครูท่ีชานาญใน
ด้านการสอนภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 ที่ได้มาตรฐานในระดับนานาชาติ ในจานวนท่ีเพียงพอต่อความ
ตอ้ งการของนักเรียน อีกทงั้ ยงั มรี ะบบการอบรมและเสรมิ สมรรถนะครูที่ผ่านการศึกษาในระบบเดิม หรือครู
ภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3 ที่ยังไม่ผ่านการประเมินมาตรฐานในระดับนานาชาติ และ (3) ส่งเสริม
สนับสนุนระบบการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูอย่างต่อเน่ือง ครอบคลุมท้ังเงินเดือน สายอาชีพและ
ระบบสนับสนุนอื่น ๆ ปฏิรูประบบการผลิตครูอาชีวะยุคใหม่ โดยผู้ท่ีมีใบประกอบวิชาชีพจะต้องเป็น
ผู้เช่ียวชาญและมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการในสาขาที่ตนเองสอน มีความรู้
ทักษะ และสามารถสร้างสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานอาชีพให้แก่
ผู้เรียน และมีอัตรากาลังเพียงพอต่อความต้องการของสถานศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังของ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

3) เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท ประกอบด้วย
6 แนวทางย่อย ได้แก่ (1) ปฏิรูปโครงสร้างองค์กรด้านการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ โดยเน้นการสร้าง
ความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ ตั้งแต่ระดับบนสุดลงไปจนถึงระดับโรงเรียน รวมถึงมีโครงสร้างแรงจูงใจและ
ความรับผดิ ชอบของหน่วยงานและบุคลากรทางการศึกษาท้ังระบบท่ีเหมาะสม (2) จัดให้มีมาตรฐานขั้นต่า

๑๕

รายงานการติดตามการขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ของโรงเรียนในทุกระดับ เพ่ือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีสูงขึ้นมีการกาหนดมาตรฐานขั้นต่าของโรงเรียน
ในทุกระดับ ท่ีเหมาะสมกับบริบทของประเทศ ในด้านความพร้อมของโครงสร้างพ้ืนฐาน อุปกรณ์การเรียน
การสอน การบริหารจัดการโรงเรียน จานวนครูที่ครบชั้น ครบวิชา จานวนพนักงานสนับสนุนงานบริหาร
จัดการโรงเรียน (3) ปรับปรุงโครงสร้างการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและเพ่ิมคุณภาพการศึกษา
มีการปรับปรุงโครงสร้างการศึกษาที่เน้นสายอาชีพมากขึ้น มีการเรียนการสอนและการเรี ยนรู้ท่ีใช้
เทคโนโลยีสมัยใหม่ เกิดทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ทักษะภาษาที่ 3 ทักษะและความรู้ใน
การประกอบอาชีพใหม่ ๆ อย่างคล่องตัว เพ่ิมประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางการศึกษาอย่างเป็น
รูปธรรม (4) เพ่มิ การมีสว่ นรว่ มจากภาคเอกชนในการจัดการศกึ ษา สง่ เสริมภาคประชาสังคมปรับปรุงแหล่ง
เรียนรู้ในชุมชนให้เป็นพื้นที่เรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต รวมถึงการเรียนรู้และทบทวนทักษะพ้ืนฐาน
ได้แก่ การอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น โดยระดมทรัพยากรจากภาคเอกชนและภาคประชาสังคม (5 )
พฒั นาระบบประกนั คุณภาพการศึกษา โดยแยกการประกนั คุณภาพการศึกษาออกจากการประเมินคุณภาพ
และการรับรองคุณภาพและการกากับดูแลคุณภาพการศึกษา และปฏิรูประบบการสอบที่นาไปสู่การวัดผล
ในเชิงทักษะท่ีจาเป็นสาหรับศตวรรษท่ี 21 มากกว่าการวัดระดับความรู้ และ (6) ส่งเสริมการวิจัยและใช้
เทคโนโลยีในการสร้างและจัดการความรู้ การเรียนการสอน และการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพที่
สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทพน้ื ที่ ซงึ่ รวมถึงการบูรณาการความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษากับภาคอุตสาหกรรม
ชุมชน และภาครัฐ เพอื่ เสรมิ สร้างระบบนเิ วศนวตั กรรมที่เขม้ แข็ง

4) พัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต ประกอบด้วย 5 แนวทางย่อย ได้แก่ (1) จัดให้มี
ระบบการศึกษาและระบบฝึกอบรมบนฐานสมรรถนะท่ีมีคุณภาพสูงและยืดหยุ่น (2) มีมาตรการจูงใจและ
ส่งเสริมสนบั สนุนใหค้ นเข้าสู่ใฝุเรยี นรู้ พฒั นาตนเอง รวมถงึ การยกระดับทกั ษะวิชาชีพ (3) พฒั นาระบบ
การเรียนรู้ชุมชนให้เข้าถึงได้ทุกท่ีทุกเวลา โดยความร่วมมือจากภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม
(4) พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลและดิจิทัลแฟลตฟอร์ม สื่อดิจิทัลเพื่อการศึกษาในทุกระดับ
ทุกประเภทการศึกษาอย่างท่ัวถึงและมีประสิทธิภาพ และ (5) พัฒนาโปรแกรมประยุกต์หรือส่ือการเรียนรู้
ดิจิทัลท่ีมีคุณภาพที่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองผา่ นเทคโนโลยสี มัยใหม่ได้

5) สร้างระบบการศึกษาเพ่ือเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ ประกอบด้วย 5 แนวทาง
ยอ่ ย ได้แก่ (1) สง่ เสรมิ และพัฒนาศักยภาพสถาบันการศกึ ษาทมี่ ีความเชี่ยวชาญและมีความโดดเด่นเฉพาะ
สาขาสู่ระดับนานาชาติ มีกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานอาชีพที่กาหนดสมรรถนะและทักษะ
พื้นฐานสาหรับสาขาอาชีพต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับความต้องการของอุตสาหกรรม โดยเฉพาะใน 10 กลุ่ม
อตุ สาหกรรมเปูาหมาย S-curve และ New S-curve เพื่อเป็นเครื่องมือในการยืนยัน และพัฒนาสมรรถนะ
ของแรงงาน และมีกรอบแนวคิดในการคาดการณ์อุปสงค์แรงงานในอนาคตในสาขาอาชีพต่าง ๆ และมี
แนวทางทบทวนและปรับปรุงให้แม่นยามากขึ้นเป็นระยะ (2) สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ
และแลกเปลี่ยนนักเรียน นักศึกษาและบุคลากรในระดับนานาชาติ รวมถึงการพัฒนาศูนย์วิจัย
ศูนย์ฝึกอบรม และทดสอบในระดับภูมิภาค (3) จัดให้มีการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยและ
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น (4) จัดให้มีการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรมของไทยและพัฒนาการ
ของประเทศเพือ่ นบา้ นในสถานศึกษา และสาหรบั ประชาชน และ (5) ส่งเสริมสนับสนุนการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และนักเรียนกับประเทศเพอ่ื นบ้านในภูมภิ าคเอเชียอาคเนย์

๑๖

รายงานการตดิ ตามการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (17) ประเดน็ ความเสมอภาคและหลกั ประกันทางสังคม
แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นความเสมอภาคและหลักประกันทางสงั คม
ประกอบดว้ ย แผนย่อย จานวน 2 แผน เกย่ี วข้องกับสานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จานวน 1 แผน ดังนี้
แผนย่อย 3.1 การคุ้มครองทางสังคมข้ันพื้นฐานและหลักประกันทางเศรษฐกิจ สังคม
และสขุ ภาพ

3.1.1 แนวทางการพัฒนา
1) ขยายฐานความคุ้มครองทางสังคม โดยกาหนดระดับมาตรฐานข้ันต่าของสวัสดิการ
แต่ละประเภทแต่ละกลุ่มเปูาหมายให้เหมาะสมและชัดเจน เพ่ือปูองกันไม่ให้ประชาชนทุกช่วงวัยต้องเจอ
สภาวะความยากจนกรณีประสบเหตุการณ์ที่ทาให้ต้องสูญเสียรายได้ เพื่อเป็นหลักประกันในการดาเนินชีวิต
ทางสังคมได้ โดยการจัดระบบหรือมาตรการในรูปแบบต่าง ๆ ให้สามารถคุ้มครองสิทธิขั้นพ้ืนฐานของ
ประชาชนทุกคน บริการสังคม การประกันสังคม การช่วยเหลือทางสังคม การคุ้มครองอย่างเป็นทางการ
และไม่เป็นทางการ ซ่ึงครอบคลุมถึงการจัดโครงข่ายการคุ้มครองทางสังคม สาหรับผู้ด้อยโอกาสและคน
ยากจน ให้สามารถเข้าถึงบริการพ้ืนฐานของภาครัฐได้อย่างมีคุณภาพ และการจัดการกับความเสี่ยงทาง
สังคมท่ีเกิดขึ้นจากวิกฤตทางเศรษฐกิจ สังคม และภัยพิบัติต่าง ๆ เพ่ือปิดช่องว่างการคุ้มครองทางสังคมต่าง ๆ
ในประเทศไทย
แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (18) ประเดน็ การเตบิ โตอย่างยง่ั ยนื
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการเตบิ โตอยา่ งยัง่ ยืน ประกอบไปด้วย แผนยอ่ ย
จานวน 5 แผน เกี่ยวข้องกบั สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จานวน 1 แผน ดังน้ี
แผนย่อย 3.5 การยกระดับกระบวนทศั น์เพอ่ื กาหนดอนาคตประเทศ
3.5.1 แนวทางการพัฒนา
1) ส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้านส่ิงแวดล้อมและคุณภาพชีวิต
ที่ดีของคนไทย โดยปรับปรุงกลไกและพัฒนาเคร่ืองมือต่าง ๆ ของภาครัฐ ให้เอื้อต่อการปรับเปล่ียน
พฤติกรรมของประชาชนทุกภาคส่วนให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพ่ือรองรับการเติบโตท่ีมีคุณภาพในอนาคต
สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ การตระหนักรู้ และการมีส่วนร่วมด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้รองรับการ
เปลี่ยนแปลงท้งั ในระดับประเทศและระดับสากล โดยสอดแทรกในหลักสูตรการศึกษาและ/หรือการจัดการ
เรียนรู้ตลอดชวี ติ ท้งั ในระบบและนอกระบบ

แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (20) ประเด็น การบริการประชาชนและประสิทธภิ าพภาครัฐ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ
ประกอบดว้ ย แผนยอ่ ย จานวน 5 แผน เกี่ยวข้องกบั สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จานวน 4 แผน ดงั นี้
แผนย่อย 3.1 การพัฒนาบริการประชาชน

3.1.1 แนวทางการพัฒนา

1) พัฒนารูปแบบบริการภาครัฐเพ่ืออานวยความสะดวกในการให้บริการประชาชน
ผู้ประกอบการ และภาคธุรกิจ โดยภาครัฐจัดสรรรูปแบบบริการให้มีความสะดวก มีการเชื่อมโยงหลาย
หน่วยงานแบบเบ็ดเสร็จ ครบวงจร และหลากหลายรูปแบบตามความต้องการของผู้รับบริการ รวมท้ัง
อานวยความสะดวกทางการค้า การลงทุน และการดาเนินธุรกิจ อาทิ การบูรณาการข้ันตอนการออก
ใบอนุญาตต่าง ๆ การให้บริการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาท่ีมีประสิทธิภาพสะดวกรวดเร็วและ
สอดคล้องกบั มาตรฐานสากล

๑๗

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลอื่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

2) พัฒนาการให้บริการภาครัฐผ่านการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ ตั้งแต่ต้น
จนจบกระบวนการและปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากลอย่างคุ้มค่า มีความรวดเร็ว โปร่งใส
เสียคา่ ใชจ้ ่ายน้อย ลดข้อจากดั ทางกายภาพ เวลา พน้ื ที่และตรวจสอบได้ ตามหลักการออกแบบท่ีเป็นสากล
เพ่ือให้บริการภาครัฐเป็นไปอย่างปลอดภัย สร้างสรรค์ โปร่งใส มีธรรมาภิบาลเกิดประโยชน์สูงสุด ปรับวิธีการ
ทางาน จาก “การทางานตามภารกิจที่กฎหมายกาหนด” เป็น “การให้บริการท่ีให้ความสาคัญกับ
ผ้รู บั บริการ” ปรบั ปรุงวิธีการทางานเพอ่ื สนับสนุนการพฒั นาบริการภาครัฐที่มีคุณค่าและได้มาตรฐานสากล
โดยเปลี่ยนจากการทางานด้วยมือ เป็นการทางานบนระบบดิจิทัลท้ังหมด เช่ือมโยงและบูรณา การ
ปฏิบัติงานของหนว่ ยงานภาครฐั เข้าดว้ ยกันเสมือนเป็นองค์กรเดียว มีการพัฒนาบริการเดิมและสร้างบริการ
ใหม่ท่ีเป็นพลวัตสอดคล้องเหมาะสมกับสถานการณ์และขับเคล่ือนโดยความต้องการของประชาชน ภาคธุรกิจ และ
ผใู้ ช้บรกิ ารและเปิดโอกาสให้เสนอความเหน็ ตอ่ การดาเนนิ งานของภาครัฐไดอ้ ยา่ งสะดวก ทนั สถานการณ์

แผนย่อย 3.2 การบรหิ ารจัดการการเงินการคลงั
3.2.1 แนวทางการพัฒนา
3) จัดทางบประมาณตอบสนองต่อเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อให้งบประมาณ

เป็นเครอ่ื งมอื สาคัญที่จะขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตรช์ าติ โดยสนับสนุนบทบาทภารกิจของหน่วยงานทั้งในภารกิจ
พ้ืนฐาน ภารกิจยุทธศาสตร์ ภารกิจพ้ืนท่ี และภารกิจอื่น ๆ ท่ีได้รับมอบหมายให้สามารถดาเนินการได้ตาม
เปูาหมายของแต่ละแผนงาน/โครงการ และเปูาหมายร่วมตามระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ สอดคล้องกับ
สถานการณ์และความเร่งด่วนในแต่ละช่วงเวลา โดยใช้เคร่ืองมือด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีทันสมัย
ร่วมกนั เพอ่ื ให้เกิดการพฒั นาในทุก ๆ มิติอย่างยงั่ ยืน

5) กาหนดให้มีการติดตามประเมินผลสัมฤทธ์ิการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ
และผลสัมฤทธิ์ของแผนงาน/โครงการ ทั้งในภารกิจพื้นฐาน ภารกิจยุทธศาสตร์ และภารกิจพื้นท่ี
มีการติดตามประเมินผลท้ังก่อนเริ่มโครงการ ระหว่างดาเนินการ และหลังการดาเนินงาน เป็นการติดตาม
ประเมินผลท้ังระบบ ต้ังแต่ปัจจัยนาเข้า กระบวนการดาเนินการ ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบต่อการ
บรรลุเปูาหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ โดยพัฒนาการเช่ือมโยงข้อมูล เพ่ือให้สามารถตรวจสอบ และนาไปสู่
การปรับแนวทาง การดาเนินงานที่เหมาะสมได้อย่างต่อเน่ือง พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้า
มามีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล และจัดให้มีการรายงานการติดตามประเมินผลในการบ รรลุ
เปูาหมายต่อสาธารณะเป็นประจา รวมท้ังการตรวจสอบ โดยองค์กรอิสระต้องเป็นไปเพื่อส่งเสริมการขับเคลื่อน
ยทุ ธศาสตร์ชาติ

แผนยอ่ ย 3.4 การพฒั นาระบบบรหิ ารงานภาครัฐ
3.4.1 แนวทางการพัฒนา
1) พฒั นาหน่วยงานภาครัฐให้เป็น “ภาครัฐทันสมัย เปิดกว้าง เป็นองค์กรขีดสมรรถนะสูง”

สามารถปฏบิ ัตงิ านอย่างมปี ระสิทธภิ าพ มคี วามคุ้มค่า เทียบได้กับมาตรฐานสากล รองรับสภาพแวดล้อมใน
การปฏิบัติงานที่มีความหลากหลายซับซ้อนและทันการเปล่ียนแปลง โดยการนานวัตกรรมและเทคโนโลยี
ดิจิทัล การพัฒนาให้มีการนาข้อมูลและข้อมูลขนาดใหญ่มาใช้ในการพัฒนานโยบาย การตัดสินใจ การ
บริหารจัดการ การให้บริการ และการพัฒนานวัตกรรมภาครัฐ รวมถึงการเช่ือมโยงการทางานและข้อมูล
ระหว่างองค์กรท้ังภายในและภายนอกภาครัฐแบบอัตโนมัติ อาทิ การสร้างแพลตฟอร์มดิจิทัลท่ีภาครัฐ
สามารถใช้ร่วมกัน เพ่ือเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลที่สะดวกและรวดเร็ว เช่ือมโยงข้อมูลของหน่วยงาน
ภาครัฐให้มีมาตรฐานเดียวกันและข้อมูลระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนเพ่ือให้ภาคธุรกิจ

๑๘

รายงานการติดตามการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ภาคเอกชน และผู้ประกอบการสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลในการขยายโอกาสทางการค้าทั้งในประเทศ
และตา่ งประเทศ

2) กาหนดนโยบายและการบริหารจัดการที่ต้ังอยู่บนข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์
มุ่งผลสัมฤทธิ์ มีความโปร่งใส ยืดหยุ่นและคล่องตัวสูง นานวัตกรรม เทคโนโลยี ข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบ
การทางานท่ีเป็นดิจิทัล มาใช้ในการบริหารและการตัดสินใจ มีการพัฒนาข้อมูลเปิดภาครัฐให้ทุกภาคส่วน
สามารถเข้าถึง แบ่งปัน และใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมและสะดวก รวมท้ังนาองค์ความรู้ในแบบ
สหสาขาวิชาเข้ามาประยุกต์ใช้ เพ่ือสร้างคุณค่าและแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศในการตอบสนองกับสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ได้อย่างทันเวลา พร้อมทั้งมีการจัดการความรู้และถ่ายทอดความรู้อย่างเป็นระบบเพ่ือพัฒนาภาครัฐ
ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และการเสริมสร้างการรับรู้ สร้างความเข้าใจ การพัฒนาวัฒนธรรมองค์กร
เพอื่ สง่ เสริมการพัฒนาระบบบรกิ ารและการบริหารจัดการภาครัฐอย่างเต็มศักยภาพ

3) ปรับเปล่ียนรูปแบบการจัดโครงสร้างองค์การและออกแบบระบบการบริหารงาน
ใหม่ ให้มีความยืดหยุ่น คล่องตัว กระชับ ทันสมัย สามารถตอบสนองต่อบริบทการเปล่ียนแปลงได้ในทุก
มิติ ไม่ยึดติดกับการจัดโครงสรา้ งองคก์ ารแบบราชการและวางกฎเกณฑม์ าตรฐานกลางอยา่ งตายตัว มีขนาด
ท่ีเหมาะสมกับภารกิจ ปราศจากความซ้าซ้อนของการดาเนินภารกิจ สามารถปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจ
โครงสร้างองค์การ ระบบการบริหารงาน รวมทั้งวางกฎระเบียบได้เองอย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ท่ี
เปลี่ยนแปลงไป เนน้ ทางานแบบบรู ณาการไรร้ อยต่อและเชือ่ มโยงเปน็ เครอื ข่ายกับทุกภาคส่วน ท้ังน้ี เพื่อมุ่ง
ไปสู่ความเป็นองค์การท่ีมีขีดสมรรถนะสูง สามารถปฏิบัติงานและมีผลสัมฤทธิ์เทียบได้กับมาตรฐานระดับ
สากล นอกจากนี้ยังมีความเป็นสานักงานสมัยใหม่ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลขนาดใหญ่เพ่ือวิเคราะห์
คาดการณล์ ว่ งหนา้ และทางานในเชงิ รกุ สามารถนาเทคโนโลยอี ันทนั สมัยเข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ
สร้างคุณคา่ ในการทางาน

แผนยอ่ ย 3.5 การสร้างและพัฒนาบคุ ลากรภาครฐั
3.5.1 แนวทางการพัฒนา
2) เสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารงานบุคคลในภาครัฐให้เป็นไปตามระบบ

คุณธรรมอย่างแท้จรงิ โดยการสรรหาและคดั เลือกบุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรมและ
จิตสานึกสาธารณะ มีระบบบริหารจัดการและพัฒนาบุคลากรให้สามารถสนองความต้องการในการ
ปฏบิ ัติงาน มีความกา้ วหนา้ ในอาชีพ สามารถจูงใจให้คนดีคนเกง่ ทางานในภาครัฐ โดยมีการประเมินผลและ
เลื่อนระดับตาแหนง่ ของบคุ ลากรภาครัฐตามผลสัมฤทธิข์ องงานและพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน โดยมีกลไก
การปูองกันการแทรกแซงและการใช้ดุลยพินิจโดยมิชอบ การสร้างความก้าวหน้าให้กับบุคลากรภาครัฐตาม
ความร้คู วามสามารถและศักยภาพในการปฏิบัติงาน และการสร้างกลไกให้บุคลากรภาครัฐสามารถโยกย้าย
และหมุนเวียนได้อย่างคล่องตัวเพื่อประโยชน์ของภาครัฐ รวมถึงการพัฒนาระบบการจ้างงานบุคลากร
ภาครัฐทุกประเภทให้มีรูปแบบท่ีหลากหลายเหมาะสมกับภารกิจในรูปต่าง ๆ อาทิ การจ้างงานท่ีมีลักษณะ
ชั่วคราว ให้เป็นเครื่องมือในการบริหารงานในภาครัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังการทบทวนและ
ปรับเปลี่ยนระบบค่าตอบแทนท่ีเป็นธรรม มีมาตรฐาน เหมาะสมสอดคล้องกับภาระงาน โดยปรับปรุงวิธีการ
กาหนดและพจิ ารณาคา่ ตอบแทนและสทิ ธปิ ระโยชนข์ องบุคลากรภาครัฐใหม้ มี าตรฐานเหมาะสมกับลักษณะ
งานและภารกิจรวมถงึ สามารถเทยี บเคยี งกับตลาดการจ้างงานได้อย่างสมเหตุสมผล โดยไม่ให้เกิดความเหล่ือม
ลา้ ของค่าตอบแทนและสทิ ธปิ ระโยชนต์ า่ ง ๆ ระหว่างบคุ ลากรของรัฐ

๑๙

รายงานการติดตามการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

3) พัฒนาบุคลากรภาครัฐทุกประเภทให้มีความรู้ความสามารถสูง มีทักษะการคิด
วิเคราะห์และการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีระบบการพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรภาครัฐให้
มีสมรรถนะใหม่ ๆ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาที่สาม ทักษะด้านดิจิทัล มีทัศนคติและกรอบ
ความคิดในการทางานเพ่ือให้บริการประชาชนและอานวยความสะดวกภาคเอกชนและภาคประชาสังคม
เพื่อประโยชน์ของการพัฒนาประเทศ สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงบริบทการพัฒนา มีการเสริมสร้าง
คุณธรรมและจริยธรรม การปรับเปลี่ยนแนวคิดให้การปฏิบัติราชการเป็นมืออาชีพ มีจิตบริการ ทางานใน
เชิงรุกและมองไปข้างหน้า สามารถบูรณาการการทางานร่วมกับภาคส่วนอื่นได้อย่างเป็นรูปธรรม และมี
สานึกในการปฏิบัติงานด้วยความรับผิดรับชอบและความสุจริต ปฏิบัติงานตามหลักการและหลักวิชาชีพด้วย
ความเป็นธรรมและเสมอภาค กล้ายืนหยัดในการกระทาที่ถูกต้อง คานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่า
ประโยชน์ของส่วนตน ตลอดจนส่งเสริมให้มีการคุ้มครองและปกปูองบุคลากรภาครัฐที่กล้ายืดหยัดในการ
กระทาที่ถกู ต้องและมีพฤติกรรม การปฏบิ ตั ิงานตามจริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ

4) สร้างผูน้ าทางยุทธศาสตร์ในหน่วยงานภาครัฐทุกระดับอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ
เพื่อให้ผนู้ าและผบู้ รหิ ารภาครฐั มีความคิดเชงิ กลยุทธ์ มคี วามเขา้ ใจสภาพเศรษฐกจิ สงั คม และวัฒนธรรมท้ัง
ระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก มีความสามารถในการนาหน่วยงาน และ
มีคุณธรรม จริยธรรมในการบริหารงานเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม เป็นทั้งผู้นาทางความรู้และความคิด
ผลักดันภารกิจ นาการเปลี่ยนแปลง พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นแบบอย่างท่ีดีต่อผู้ร่วมงานและ
ต่อสังคม เพ่ือรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว โดยต้องได้รับการปรับเปลี่ยนกระบวนการ
ทางความคิดให้ตนเอง มีความเป็นผู้ประกอบการสาธารณะ เพ่ิมทักษะให้มีสมรรถนะท่ีจาเป็น และ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันจะช่วยทาให้สามารถแสดงบทบาทของการเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง เพื่อสร้าง
คุณคา่ และประโยชนส์ ุขให้แก่ประชาชน

แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (21) ประเดน็ การต่อตา้ นการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การต่อตา้ นการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ประกอบดว้ ย แผนยอ่ ย จานวน 2 แผน เกี่ยวขอ้ งกบั สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ จานวน 1 แผน ดังนี้
แผนย่อย 3.1 การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ

3.1.1 แนวทางการพัฒนา
1) ปลูกและปลุกจิตสานึกการเป็นพลเมืองที่ดี มีวัฒนธรรมสุจริต และการปลูกฝัง
และหล่อหลอมวัฒนธรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชนทุกช่วงวัย ทุกระดับ มุ่งเน้นการปรับพฤติกรรม “คน”
โดยการ “ปลูก” และ “ปลุก” จิตสานึกความเป็นพลเมืองท่ีดี มีวัฒนธรรมสุจริต สามารถแยกแยะได้ว่าส่ิงใด
เป็นประโยชนส์ ่วนตน ส่ิงใดเป็นประโยชน์ส่วนรวม มีความละอายต่อการกระทาความผิด ไม่เพิกเฉยอดทน
ต่อการทุจริต และเข้ามามีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ รวมถึงการส่งเสริมการสร้าง
วัฒนธรรมและค่านิยมสุจริตในระดับชุมชนเพ่ือนาไปสู่การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมค่านิยมท่ี ยึดประโยชน์
สาธารณะมากกวา่ ประโยชนส์ ่วนตน และต่อต้านการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบในทุกรูปแบบ โดยเฉพาะการ
ส่งเสริมวัฒนธรรมสุจริตผ่านหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับท่ีเด็กไทยทุกคนต้องเรียนทั้งภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา เพ่ือปฏิรูป “พลเมืองไทยในอนาคต” ให้มีความเป็น
พลเมืองเต็มข้ัน สามารถทาหน้าที่ความเป็นพลเมืองท่ีดี มีจิตสานึกยึดม่ันในความซ่ือสัตย์สุจริต มีความ
รบั ผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม มีระเบยี บวนิ ัย และเคารพกฎหมาย

๒๐

รายงานการติดตามการขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

2) ส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความใสสะอาด
ปราศจากพฤติกรรมที่ส่อไปในทางทุจริต โดยการปฏิบัติหน้าที่ราชการอย่างเปิดเผย โปร่งใส ถูกต้อง
เป็นธรรม ไม่คดโกง รู้จักแยกแยะเร่ืองส่วนตัวออกจากหน้าท่ีการงาน การสร้างธรรมาภิบาลในการ
บริหารงาน ตลอดจนการสร้างจิตสานึกและค่านิยมในการต่อต้านการทุจริตให้แก่บุคลากรขององค์กร โดย
การสนับสนุนให้ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีรัฐเข้ามามีส่วนร่วมเป็นเครือข่ายต่อต้านการทุจริตในหน่วยงาน
ภาครัฐ เพ่ือส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการเฝูาระวัง สอดส่อง ติดตามพฤติกรรมเส่ียงและแจ้งเบาะแส เพื่อ
สกัดกนั้ มใิ หเ้ กิดการทจุ ริตประพฤติมิชอบได้ โดยมมี าตรการสนับสนุนและคุม้ ครองผู้แจง้ เบาะแส

แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (22) ประเด็น กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม
แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม ประกอบด้วย
แผนยอ่ ย จานวน 2 แผน เกยี่ วขอ้ งกบั สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จานวน 1 แผน
แผนยอ่ ย 3.1 การพฒั นากฎหมาย

3.1.1 แนวทางการพัฒนา
1) พัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรการต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับบริบท
และเอื้อต่อการพัฒนาประเทศ โดยประเมินผลสัมฤทธ์ิ ทบทวนความจาเป็นและความเหมาะสมของ
กฎหมายที่มีอยู่ทุกลาดับชั้นของกฎหมาย แก้ไขปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัย ยกเลิกกฎหมายที่มีเน้ือหาไม่
จาเป็นหรือเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ เพื่อให้กฎหมายช่วยสร้างสรรค์ความเป็นธรรม ลดความ
เหล่ือมล้า และกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม มีความสอดคล้องกับข้อตกลงระหว่างประเทศที่เป็น
ประโยชน์ต่อประชาชนโดยรวม ให้เอื้อต่อการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐในการพัฒนาประเทศ เพ่ือ
รองรับการพัฒนาภูมิภาคและจังหวัดที่มีประสิทธิภาพ เอ้ือต่อการใช้นวัตกรรมทั้งในภาครัฐและเอกชนให้
สอดคล้องกับบริบทที่เปล่ียนแปลงไป เอื้อต่อการประกอบธุรกิจท้ังในและต่างประเทศทั้งในภาคเกษตร
อุตสาหกรรม บริการ และการท่องเท่ียว โดยเฉพาะการกาหนดวงรอบในการทบทวนปรับปรุงแก้ไข
กฎหมายใหท้ ันสมยั อยตู่ ลอดเวลา รวมทัง้ การประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิของกฎหมายทกุ รอบระยะเวลาท่ีกาหนด
2) มวี ิธีการบัญญัติกฎหมายอย่างมีส่วนร่วม ต้องดาเนินการให้มีการรับฟังความคิดเห็น
ของผ้เู กีย่ วข้อง วิเคราะห์ผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึนจากกฎหมายอย่างรอบด้านและเป็นระบบ รวมท้ังเปิดเผย
ผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์ต่อประชาชน และนามาประกอบการพิจารณาในกระบวนการ
ตรากฎหมายทุกขั้นตอน เพื่อพัฒนากฎหมายทุกฉบับและทุกลาดับศักดิ์ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับ
บริบทต่าง ๆ ท่ีเปล่ียนแปลงไป เอ้ืออานวยต่อการบริหารราชการแผ่นดิน การดาเนินงานของภาครัฐที่
เหมาะสม การพฒั นาประเทศ การให้บริการประชาชน การประกอบธรุ กิจ และการแข่งขันระหว่างประเทศ
3) พฒั นาการบงั คับใช้กฎหมาย โดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัล และนวัตกรรมสมัยใหม่มา
ใช้ในกระบวนการบงั คับใช้กฎหมายให้เปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติ และเป็นธรรม และก่อ
ให้ เกิดความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ สามารถกล่าวหาและจับกุมผู้กระทาผิดได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็ว
รวมทงั้ เพ่ิมประสทิ ธิภาพในการบงั คับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด และเป็นธรรม
4) ส่งเสริมเทคโนโลยีดิจิทัล และนวัตกรรมในกระบวนการกฎหมาย สนับสนุนการใช้
เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการพัฒนากฎหมาย การบังคับใช้และการปฏิบัติตามกฎหมายเพ่ือให้เป็นไป
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ และสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกระบวนการทางกฎหมายโดยเพิ่มช่องทางการมีส่วน
ร่วม ของประชาชนต้ังแต่ต้นจนจบกระบวนการ เพื่อให้กฎหมายเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาประเทศ และมี
เน้อื หาเป็นไปเพื่อประโยชนส์ ่วนรวม

๒๑

รายงานการติดตามการขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (23) ประเด็น การวจิ ัยและพฒั นานวัตกรรม
แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการวิจยั และพฒั นานวตั กรรม ประกอบด้วย แผนยอ่ ย
จานวน 5 แผน เกย่ี วข้องกับสานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร จานวน 1 แผน ดงั นี้
แผนยอ่ ย 3.4 การวจิ ยั และพัฒนานวัตกรรมดา้ นองค์ความรู้พนื้ ฐาน

4. แผนการปฏริ ปู ประเทศ (ฉบับปรบั ปรุง) คณะรฐั มนตรมี มี ตเิ หน็ ชอบ เมือ่ วนั ท่ี 8 ธันวาคม 2563

คณะรัฐมนตรมี ีมติเหน็ ชอบรา่ งแผนการปฏิรปู ประเทศ (ฉบับปรับปรงุ ) 13 ดา้ น พร้อมกับ
แนวทางการขับเคล่ือนแผนฯ (ฉบบั ปรับปรงุ ) เมอ่ื วนั ท่ี 8 ธันวาคม 2563 โดยมสี าระสาคญั ดังน้ี

1. เห็นชอบร่างแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) 13 ด้าน ตามท่ีคณะกรรมการ
ยุทธศาสตร์ชาติพิจารณาให้ความเห็นชอบแล้วเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2563 ได้แก่ 1) ด้านการเมือง
2) ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการยุติธรรม 5) ด้านเศรษฐกิจ
6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7) ด้านสาธารณสุข 8) ด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยี
สารสนเทศ 9) ดา้ นสงั คม 10) ด้านพลังงาน 11) ด้านการปูองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
12) ดา้ นการศึกษา และ 13) ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์

2. เห็นชอบแนวทางการขับเคล่อื นแผนการปฏิรปู ประเทศฯ (ฉบบั ปรับปรุง) และกิจกรรมปฏิรูป
ที่จะส่งผลให้เกิดการเปล่ยี นแปลงต่อประชาชนอย่างมนี ัยสาคญั (Big Rock) สาระสาคัญท่ีเกี่ยวข้อง ดังน้ี

2.1 การดาเนินกิจกรรมของแผนการปฏิรูปประเทศเดิม ให้ดาเนินการคู่ขนานกับ
กจิ กรรม Big Rock โดยหนว่ ยงานรับผิดชอบหลักรับไปดาเนินการในลักษณะภารกิจปกติของหน่วยงาน

2.2 สานักงบประมาณให้ความสาคัญในการจัดสรรงบประมาณเพื่อใช้ในการดาเนิน
โครงการภายใต้กิจกรรม Big Rock เพ่ือให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแผนการปฏิรูปประเทศไปสู่การปฏิบัติได้
อย่างเป็นรปู ธรรม

2.3 คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ 2 คณะ และหน่วยงานหลัก 36 แห่ง รับผิดชอบ 62
กจิ กรรม Big Rock ท่ีมีเปูาหมายสอดคล้องกับเปูาหมายการพัฒนาประเทศ ที่กาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ
และแผนแม่บทฯ ร่วมกันขับเคล่ือนแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ให้แล้วเสร็จภายในปี 2565
โดยมีกฎหมายทตี่ อ้ งจดั ทาหรอื ปรบั ปรงุ รวมทัง้ ส้นิ 45 ฉบับ

ภารกิจสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวข้องและสนับสนุนเปูาประสงค์แผนการ
ปฏริ ปู ประเทศ (ฉบบั ปรับปรงุ ) รวม 10 ด้าน ประกอบด้วย (1) ดา้ นการเมือง (2) ด้านการบริหารราชการ
แผ่นดิน (3) ดา้ นกฎหมาย (5) ดา้ นเศรษฐกิจ (6) ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม (8) ดา้ นสือ่ สารมวลชน
เทคโนโลยีสารสนเทศ (9) ด้านสังคม (11) ด้านการปูองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
(12) ด้านการศึกษา (13) ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์

1) แผนการปฏริ ปู ประเทศ (ฉบับปรบั ปรงุ ) ด้านการเมือง
เป้าประสงค์ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับการปกครอง

ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ สง่ เสริมใหป้ ระชาชนเขา้ มามีส่วนร่วมทางการ
เมืองและกระบวนการนโยบายสาธารณะ การเมืองมีเสถียรภาพและความมั่นคงและเกิดความสามัคคี
ปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติ ตลอดจนเพื่อให้พรรคการเมืองและนักการเมืองยึดมั่นในประโยชน์
ของประเทศชาติและประชาชนเป็นหลัก

๒๒

รายงานการติดตามการขับเคล่อื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

กิจกรรม Big Rock ดา้ นการเมือง ประกอบด้วย 5 กิจกรรมปฏริ ูป
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการเกย่ี วข้องกจิ กรรมปฏิรปู ท่ี 1 และ 3
(1) การส่งเสริมความรู้ทางการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ
(2) การสง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมของประชาชน ในกระบวนการนโยบายสาธารณะทกุ ระดับ
(3) การสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ของคนในชาติ
(4) การส่งเสรมิ การพฒั นาพรรคการเมือง
(5) การปรบั ปรุงกระบวนการรา่ งรฐั ธรรมนญู
2) แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบับปรบั ปรุง) ดา้ นการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ
เปา้ ประสงค์ เพ่ือให้ความสาคัญในการเตรยี มความพร้อมเผชญิ กับการเปล่ียนแปลง ในทุกมิติ
และรองรบั ผลกระทบของสถานการณ์ชวี ติ วถิ ีใหม่ และทิศทางทก่ี าหนดไว้ตามยุทธศาสตรช์ าติ
กิจกรรม Big Rock ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ประกอบด้วย 5 กิจกรรมปฏิรปู
สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวขอ้ งทงั้ 5 กิจกรรมปฏิรูป
(1) ปรบั เปล่ียนรปู แบบการบรหิ ารงานและการบรกิ ารภาครฐั ไปสรู่ ะบบดิจทิ ลั
(2) จัดโครงสร้างองค์กร และระบบงานภาครัฐให้มีความยืดหยุ่น คล่องตัว
และเปล่ยี นแปลงได้ตามสถานการณ์
(3) ปรับเปลยี่ นการบรหิ ารทรัพยากรบุคคลภาครัฐส่รู ะบบเปิด เพ่ือให้ได้มาและรักษาไว้
ซึ่งคนเกง่ ดี และมีความสามารถอยา่ งคลอ่ งตัว ตามหลกั คณุ ธรรม
(4) สร้างความเข้มแข็งในการบริหารราชการในระดับพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน
(5) ขจัดอุปสรรคในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และการเบิกจ่ายเงินเพ่ือให้เกิดความรวดเร็ว
คุ้มคา่ โปร่งใส ปราศจากการทจุ รติ
3) แผนการปฏิรปู ประเทศ (ฉบบั ปรับปรุง) ดา้ นกฎหมาย
เป้าประสงค์ เพื่อให้เกิดผลอันพึงประสงค์ในการมีกฎหมายท่ีดีและมีเพียงเท่าที่จาเป็น
ตามหลกั การของมาตรา 258 ค. ของรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย
กิจกรรม Big Rock ดา้ นกฎหมาย ประกอบด้วย 5 กิจกรรมปฏิรูป
สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเก่ยี วข้องกิจกรรมปฏิรูปที่ 1 และ 3
(1) มีกลไกยกเลิกหรือแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่สร้างภาระหรือเป็นอุปสรรคต่อการ
ดารงชีวิตหรือการประกอบอาชพี ของประชาชน เพอ่ื ขบั เคลอื่ นให้เกดิ ผลอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและเปน็ รปู ธรรม
(2) จัดให้มีกลไกทางกฎหมายเพื่อให้มีการพิจารณาปรับเปล่ียนโทษทางอาญา
ท่ีไม่ใช่ความผิดร้ายแรงให้เป็นโทษปรับเป็นพินัย เพ่ือลดผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
(3) จัดให้มีกลไกกาหนดให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐซึ่งมีหน้าที่ควบคุม กากับ
ดูแล และบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย นาเทคโนโลยีมาใช้ในการดาเนินการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการบังคบั ใช้กฎหมาย
(4) จัดใหม้ กี ลไกช่วยเหลอื ประชาชนในการจัดทาและเสนอรา่ งกฎหมาย
(5) จัดทาประมวลกฎหมายเพื่อรวบรวมกฎหมายเร่ืองเดียวกันไว้ด้วยกันเพื่อความ
สะดวกในการใช้งาน

๒๓

รายงานการติดตามการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

5) แผนการปฏริ ปู ประเทศ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ดา้ นเศรษฐกิจ
เป้าประสงค์ เพ่ือยกระดับศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ กระจายความเจริญและ

ความเข้มแข็งของภาคสังคม และปรับบทบาท โครงสร้าง และกลไกสถาบันบรหิ ารจดั การเศรษฐกิจของ
ประเทศตามหลักแนวคิดการบริหารงานคุณภาพท่ีมีบทบาทสาคัญต่อการขับเคล่ือนประเด็นปฏิรูปเพื่อเพิ่ม
ความสามารถในการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ และลดความเหล่ือมลา้ ใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธิ์

กจิ กรรม Big Rock ด้านเศรษฐกิจ ประกอบดว้ ย 5 กจิ กรรมปฏริ ปู
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารเกี่ยวขอ้ งกจิ กรรมปฏริ ปู ที่ 5
(1) การสรา้ งเกษตรมูลคา่ สูง
(2) การส่งเสริมและพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วคณุ ภาพสูง
(3) การเพิ่มโอกาสของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กในอุตสาหกรรมและบริการ
เปาู หมาย
(4) การเป็นศนู ย์กลางด้านการคา้ และการลงทุนของไทยในภมู ภิ าค
(5) การพัฒนาศักยภาพคนเพือ่ เป็นพลังในการขบั เคลื่อนเศรษฐกิจ
6) แผนการปฏริ ปู ประเทศ (ฉบับปรบั ปรุง) ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ เพ่อื ให้ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ได้รบั การดูแล รักษา และฟ้ืนฟู
อย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพและมีความสมบูรณ์ยั่งยืน เป็นฐานการพัฒนาประเทศทั้งทางเศรษฐกิจ
สังคม สิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งเกิดความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์ลดความขัดแย้ง
ของการพฒั นาท่ใี ช้ฐานทรพั ยากรธรรมชาติ บรรเทาผลกระทบตอ่ สิง่ แวดล้อมและลดภัยพิบัติทางธรรมชาติ และมี
ระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพบนพ้ืนฐานการมีส่วนร่วมของ
ทุกภาคส่วนตามแนวทางประชารฐั
กจิ กรรม Big Rock ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ประกอบด้วย 4 กิจกรรมปฏริ ูป
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการเก่ยี วขอ้ งกจิ กรรมปฏริ ูปท่ี 2
(1) เพิม่ และพัฒนาพน้ื ที่ปุาไม้ให้ไดต้ ามเปาู หมาย
(2) การบริหารจดั การเขตทางทะเลและชายฝ่ังรายจังหวัด (บรรจุในหลักสตู รการศกึ ษาฯ)
(3) การบริหารจัดการน้าเพื่อสร้างเศรษฐกิจชุมชนในพื้นท่ีนอกเขตชลประทาน
(4) ปฏริ ูประบบการบรหิ ารจดั การเขตควบคมุ มลพษิ กรณเี ขตควบคมุ มลพิษมาบตาพดุ
8) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ด้านส่ือสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ
เป้าประสงค์ เพื่อมุ่งเน้นการสร้างดุลยภาพระหว่างเสรีภาพในการทาหน้าท่ีของส่ือบน
ความรับผิดชอบกบั การกากับที่มีความชอบธรรม และการใช้พื้นท่ีดิจิทัลเพ่ือการส่ือสารอย่างมีจรรยาบรรณ
ดารงรักษาเสรีภาพของการแสดงออก การรับรู้ของประชาชน ด้วยความเช่ือว่าเสรีภาพของการส่ือสารคือ
เสรีภาพของประชาชนตามแนวทางของประชาธิปไตย และมุ่งเน้นให้สื่อเป็นโรงเรียนของสังคมในการให้
ความรู้แกป่ ระชาชน ปลูกฝังวฒั นธรรมของชาติ และปลกู ฝงั ทศั นคติที่ดี
กจิ กรรมBig Rock ด้านสอ่ื สารมวลชน เทคโนโลยสี ารสนเทศ ประกอบด้วย 3 กจิ กรรมปฏิรูป
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเกีย่ วข้องกจิ กรรมปฏริ ปู ท่ี 3
(1) การพัฒนาระบบคลังข้อมูลข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์เชิงรุกและการจดั การ
(2) การกากบั ดูแลสือ่ ออนไลน์

๒๔

รายงานการติดตามการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

(3) การยกระดับการรูเ้ ทา่ ทนั สอ่ื
9) แผนการปฏิรปู ประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ดา้ นสงั คม

เป้าประสงค์ เพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจนและคว ามเหลื่อมล้าในสังคม
การคุ้มครองกลุ่มเปราะบางในสังคม ตลอดจนการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากร
และแหลง่ ทนุ ของประชาชน

กจิ กรรม Big Rock ด้านสังคม ประกอบด้วย 5 กิจกรรมปฏิรูป
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเกย่ี วข้องกจิ กรรมปฏิรูปท่ี 2 และ 3
(1) การมีระบบการออมเพ่ือสร้างหลักประกันรายได้หลังวัยเกษียณที่เพียงพอ
และครอบคลุมในกลุ่มแรงงานทงั้ ในและนอกระบบ
(2) ผลักดันให้มีฐานข้อมูลทางสังคมและคลังความรู้ในระดับพื้นที่ เพ่ือให้สามารถจัด
สวัสดกิ ารและสร้างโอกาสในการประกอบอาชพี ทต่ี รงตามความต้องการของกลมุ่ เปูาหมาย
(3) การปฏิรูปการขึ้นทะเบียนคนพิการ เพ่ือให้คนพิการได้รับสิทธิ สวัสดิการ
และความช่วยเหลือได้อยา่ งครอบคลมุ และทั่วถึง
(4) การสร้างกลไกท่ีเออื้ ใหเ้ กิดชมุ ชนเมืองจัดการตนเอง
(5) การสร้างมลู คา่ ใหก้ ับที่ดนิ ท่ีรัฐจัดใหก้ ับประชาชน
11) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ
ประพฤตมิ ชิ อบ
เปา้ ประสงค์ เพื่อแกป้ ญั หาการทุจริตและประพฤติมิชอบ ให้มีการส่งเสริม สนับสนุน และให้
ความร้แู กป่ ระชาชนเก่ยี วกับการทุจรติ ประพฤตมิ ชิ อบ และให้มีมาตรการควบคุม กากับ ติดตามการบริหาร
จัดการของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตของ
บุคลากรใช้ดุลยพินิจโดยสุจริต ภายใต้กรอบธรรมาภิบาลและการกากับกิจการท่ีดีอย่างแท้จริง รวมถึงการ
เปดิ เผยขอ้ มลู ข่าวสารภาครฐั ให้ประชาชนสามารถเข้าถงึ และตรวจสอบได้และสนับสนุนแนวร่วมปฏิบัติของ
ภาคเอกชนในการต่อต้านการทจุ ริตเพ่ือขจดั ปัญหาการทุจริตที่เกี่ยวข้องกบั การติดต่อกับหน่วยงานภาครัฐ
กิจกรรม Big Rock ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ประกอบด้วย 5 กจิ กรรมปฏริ ูป
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารเกย่ี วข้องกิจกรรมปฏริ ูปที่ 4 และ 5
( 1 ) ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ภ า ค ป ร ะ ช า ช น ใ น ก า ร ต่ อ ต้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต
(2) พฒั นาระบบค้มุ ครองผ้แู จง้ เบาะแสการทุจรติ ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ
(3) พัฒนากระบวนการยุติธรรมที่รวดเร็ว โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติในการดาเนินคดีทุจริตทั้ง
ภาครฐั และภาคเอกชน
(4) พฒั นาระบบราชการไทยให้โปร่งใส ไรผ้ ลประโยชน์
(5) พัฒนามาตรการสกดั กัน้ การทจุ รติ เชิงนโยบายในการดาเนนิ โครงการขนาดใหญ่

12) แผนการปฏิรปู ประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ด้านการศึกษา
เป้าประสงค์ เพื่อยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา ลดความเหลื่อมล้าทางการ ศึกษา

มุ่งความเป็นเลิศและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ปรับปรุงระบบการศึกษา
ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพิม่ ความคลอ่ งตัวในการรองรับความหลากหลาย ของการจัดการศึกษาและ
สร้างเสริมธรรมาภบิ าล ซ่ึงครอบคลุมการปฏิรูปการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ

๒๕

รายงานการติดตามการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ความสอดคลอ้ งของการปฏิรูปประเทศดา้ นการศกึ ษากบั ยุทธศาสตรช์ าติ
1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ 4.2 การพัฒนา
ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ข้อ 4.3 ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ในศตวรรษที่ 21
ข้อ 4.4 การตระหนกั ถงึ พหปุ ัญญาของมนษุ ย์ที่หลากหลาย
2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ข้อ 4.1 การลด
ความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ ข้อ 4.2 การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ
สงั คม และเทคโนโลยี ข้อ 4.3 การเสริมสรา้ งพลงั ทางสงั คม
ความสอดคล้องของการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษากับแผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ
1. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
1.1 เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพ มีพัฒนาการสมวัย สามารถเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพมากขึ้น
1.2 วัยเรียน/วัยรุ่น มีความรู้ และทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้
มีสานึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และ
ทางานรว่ มกบั ผู้อนื่ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิผลตลอดชีวิตดขี ้นึ 1.3 แรงงานมีศักยภาพในการเพิ่มผลผลิต มีทักษะ
อาชีพสูง ตระหนักในความสาคัญท่ีจะพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพ สามารถปรับตัวและเรียนรู้ส่ิงใหม่ตาม
พลวัตของโครงสร้างอาชีพและความต้องการของตลาดแรงงานเพิ่มข้ึน 1.4 มีคนไทยท่ีมีความสามารถและ
ผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศเข้ามาทาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในอุตสาหกรรมเปูาหมายเพ่ิมข้ึน
1.5 ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความมั่นคงในชีวิต มีทักษะการดารงชีวิต เรียนรู้พัฒนาตลอดชีวิต มีส่วนร่วม
ในกจิ กรรมสังคม สรา้ งมูลค่าเพม่ิ ใหแ้ กส่ งั คมเพิ่มข้ึน
2. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ 2.1 คนไทยได้รับ
การศึกษาท่มี ีคณุ ภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่จ้าเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถ
เขา้ ถึงการเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชวี ติ ดขี น้ึ
3. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นพลังทางสังคม 3.1 ประชากรไทย
มีการเตรียมการกอ่ นยามสงู อายุเพื่อให้สงู วัยอย่างมีคุณภาพเพ่ิมขึน้

กจิ กรรม Big Rock ด้านการศกึ ษา ประกอบด้วย 5 กิจกรรมปฏิรปู
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเกีย่ วข้องกิจกรรมปฏริ ูปท่ี 1 - 3
กิจกรรมปฏิรูปที่ 1 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาต้ังแต่ระดับ
ปฐมวยั (หน่วยรับผดิ ชอบหลกั : กองทนุ เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา)
กิจกรรมปฏิรูปที่ 2 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพ่ือ
ตอบสนองการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 (หนว่ ยรบั ผิดชอบหลกั : กระทรวงศึกษาธกิ าร)
กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐาน (หน่วยรับผิดชอบหลัก : กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรม)
กิจกรรมปฏิรูปที่ 4 การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและระบบอื่น ๆ ที่เน้นการฝึกปฏิบัติ
อย่างเตม็ รปู แบบ นาไปสู่การจา้ งงานและการสร้างงาน (หน่วยรับผิดชอบหลัก : กระทรวง ศึกษาธิการ)

๒๖

รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

กิจกรรมปฏิรูปท่ี 5 การปฏิรูปบทบาทการวิจัยและระบบธรรมาภิบาลของสถาบัน
อุ ด ม ศึ ก ษ า เ พื่ อ ส นั บ ส นุ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย อ อ ก จ า ก กั บ ดั ก ร า ย ไ ด้ ป า น ก ล า ง อ ย่ า ง ย่ั ง ยื น
(หนว่ ยรับผิดชอบหลัก : กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม)

ภ า ร กิ จ ข อง ส า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร มี ส่ ว น เ กี่ ย ว ข้ อง แ ล ะ ส นั บ ส นุ น
ในข้ันตอนของกจิ กรรมปฏริ ปู ที่ 1, 2 และ 3 ดังน้ี

กิจกรรมปฏิรูปท่ี 1 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาต้ังแต่ระดับปฐมวัย
(กองทนุ เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา)

ขั้นตอนการดาเนนิ การปฏิรปู
1. การพฒั นาเคร่ืองมือและระบบบูรณาการทางานเพื่อสนับสนนุ การดาเนนิ การปฏริ ปู
2. การสนับสนุนนวัตกรรมการปูองกัน (Prevention) และการแก้ไข (Correction) ปัญหา
เด็กและเยาวชนออกจากระบบการศกึ ษาตั้งแต่ระดบั ปฐมวยั เพอ่ื ลดความเหล่อื มล้าทางการศกึ ษา
3. การสนับสนนุ กลไกการดาเนินงานในระดบั พน้ื ที่และตน้ สังกัด
4. การตดิ ตามความคืบหน้าและการระดมการมีส่วนรว่ มของสังคม
กิจกรรมปฏิรูปที่ 2 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อ
ตอบสนองการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ 21 (กระทรวงศึกษาธกิ าร)
ข้ันตอนการดาเนนิ การปฏริ ูป
1. ปรบั แนวทางการจัดการเรยี นรทู้ กุ ระดบั
2. พัฒนาครูให้มีศักยภาพในการออกแบบการเรียนรู้
3. ปรบั ปรงุ ระบบการวัดผลและประเมินผล
4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้กับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ
ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
5. คณะกรรมการปฏิรปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา ประชมุ หนว่ ยงานผรู้ บั ผิดชอบ ติดตามความ
คบื หน้าในการดาเนินการ
กจิ กรรมปฏริ ูปที่ 3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐาน (กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม)
ข้นั ตอนการดาเนนิ การปฏิรปู
2) ด้านกลไกและระบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสายสามัญศึกษาและสาย
อาชีวศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพ ประสทิ ธภิ าพและมคี วามกา้ วหน้าในการประกอบอาชีพ

ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาวิเคราะห์และกาหนดสมรรถนะและการพัฒนามาตรฐานและ
ตัวชี้วดั สมรรถนะครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา

ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาวิเคราะห์และกาหนดสมรรถนะและการพัฒนามาตรฐานและ
ตัวชี้วัดสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา และการพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตามความต้องการจาเป็น

ขั้นตอนท่ี 3 การศึกษาและพฒั นาระบบ/รูปแบบการนเิ ทศ การติดตามชว่ ยเหลอื ครู
และการพัฒนาสมรรถนะศึกษานเิ ทศก์ตามความตอ้ งการจาเป็น

๒๗

รายงานการติดตามการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ข้ันตอนที่ 4 การส่งเสริม สนับสนุนระบบกลไกให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการ
พัฒนาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะการติดตามช่วยเหลือครูใหม่ ครูที่ไม่มีวุฒิทางการศึกษา ครูที่มีความรู้
ความสามารถและมีคุณลักษณะไม่เพียงพอกับการปฏิบัติงานในหน้าท่ี ครูและสถานศึกษาในท้องถิ่นยากจน
ห่างไกลและทุรกันดาร อาทิ การร่วมมือกับชุมชน (PLC&CPD: (Professional Learning Community
& Continuous Professional Development) การศึกษาอบรมและแพลตฟอร์มกระบวนการจัดการ
เรียนรกู้ ารบริหารการศกึ ษาและการนิเทศการศึกษา

ขน้ั ตอนที่ 5 การปรับปรงุ ระบบการประเมินการปฏิบตั งิ านและสมรรถนะวิชาชีพครู
ขั้นตอนท่ี 6 การพัฒนาระบบกลไกในการเล่ือนวิทยฐานะที่ได้รับการปรับปรุงใหม่
และการคงวิทยฐานะของครู โดยนาผลการประเมินวิทยฐานะไปเป็นส่วนสาคัญในการประเมินและการ
ปรบั ปรงุ คา่ ตอบแทนทเี่ หมาะสม
13) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน
และการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์
เป้าประสงค์ เพื่อให้ประชาชนมีคุณธรรมจริยธรรม เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ
ฐานวัฒนธรรม ประชาชนออกกาลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่าเสมอ รวมถึงมีความรอบรู้
ด้านสุขภาพเพื่อพัฒนาสุขภาพให้แข็งแรง และเป็นฐานในการพัฒนากีฬาชาติ และกาลังคน
ของประเทศมีทักษะที่เอ้ือต่อการสร้างผลิตภาพแรงงานและคุณภาพชีวิตที่ดี
กจิ กรรม Big Rock ดา้ นวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์
ประกอบดว้ ย 5 กิจกรรมปฏิรูป
สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารเกย่ี วข้องกิจกรรมปฏิรูปท่ี 2 และ 5
(1) การสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมในทุกช่วงวัย ผ่านการปฏิรูปอุตสาหกรรมบันเทิงและการ
ใชก้ ลไกร่วมระหว่างภาครัฐและเอกชนในการขับเคลื่อน
(2) การพัฒนาการเรียนรู้และเศรษฐกิจชุมชนบนฐานวัฒนธรรมแบบบูรณาการ (ข้ันตอนที่
2 สรา้ งความตระหนักและจูงใจให้เด็กและเยาวชนเห็นความสาคัญ และสืบสาน รักษา และต่อยอดทุนทาง
วฒั นธรรมในพื้นที่ของคนแต่ละพนื้ ที่อ่นื ๆ ของประเทศ)
(3) การส่งเสริมประชาชนเป็นศูนย์กลางในการสรา้ งวิถีชีวติ ทางการกีฬาและการออก
กาลงั กายอยา่ งท่วั ถึงและเท่าเทียม และการสรา้ งโอกาสทางการกีฬาและการพัฒนานกั กีฬาอาชีพ
(4) การพฒั นาระบบการบริหารจัดการกาลังคนของประเทศแบบบูรณาการ
(5) การบรหิ ารจดั การศกั ยภาพบุคลากรของประเทศ (ข้ันตอนท่ี 1 พฒั นาทักษะ ดิจิทัลใหก้ ับ
คนทกุ ช่วงวยั อย่างเหมาะสม)

5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564)

จากสถานะของประเทศและบริบทการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่ประเทศกาลังประสบอยู่ ทาให้
การกาหนดวิสัยทัศน์แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยังคงต่อเน่ืองจากวิสัยทัศน์
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 11 และกรอบหลักการของการวางแผนท่ีน้อมนาและ
ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม
การพัฒนาท่ียึดหลักสมดุล ย่ังยืน โดยวิสัยทัศน์ของการพัฒนาในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

๒๘

รายงานการติดตามการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ฉบับท่ี 12 ต้องให้ความสาคัญกับการกาหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปล่ียนผ่านประเทศไทย
จากประเทศทมี่ รี ายได้ปานกลางไปสู่ประเทศท่ีมีรายได้สูง มีความมั่นคง และย่ังยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมี
ความสขุ และนาไปสกู่ ารบรรลวุ ิสัยทัศน์ระยะยาว “มน่ั คง ม่งั คั่ง ย่งั ยืน” ของประเทศ

ยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตร์
สรปุ ได้ ดงั นี้

1. ยุทธศาสตรก์ ารเสริมสร้างและพฒั นาศักยภาพทนุ มนุษย์ พฒั นาคนทุกช่วงวัย เพือ่ ให้คนไทย
เป็นคนดี คนเก่ง มีระเบียบวินัย และมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้
ที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การปูองกันและควบคุมปัจจัยทางสังคม รวมท้ังการเสริมสร้าง
บทบาทของสถาบันทางสงั คม และทนุ ทางวฒั นธรรมในการสง่ เสรมิ คุณธรรมจริยธรรมในสงั คม

2. ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้าในสังคม มุ่งเน้นการลดความเหลื่อมล้า
ในทุกมิติเพ่ือสร้างความปรองดองในสังคม การสร้างโอกาสให้ทุกคนในสังคมไทยสามารถเข้าถึงทรัพยากร
แหล่งทุนในการประกอบอาชีพ เพ่ือยกระดับรายได้และขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานรากการเข้าถึงบริการ
ทางสังคมของรฐั อยา่ งมีคุณภาพทวั่ ถึงและเปน็ ธรรม

3. ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ให้ความสาคัญ
กับการบริหารจัดการนโยบายการเงินและนโยบายการคลัง โดยรวมถึงการปฏิรูปภาษีทั้งระบบ เพ่ือรักษา-
เสถียรภาพ และเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจ พร้อมท้ังวางรากฐานการพัฒนาทุนมนุษย์
องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม พัฒนาปัจจัยพ้ืนฐานเชิงยุทธศาสตร์ทั้งทุนมนุษย์ โครงสร้างพื้นฐาน
การพัฒนาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมการบริหารจดั การ

4. ยุทธศาสตร์ด้านการเติบโตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน มุ่งอนุรักษ์
ฟื้นฟูสร้างความม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และ
การใช้ประโยชน์อยา่ งย่ังยืนและเป็นธรรม บรหิ ารจัดการนา้ ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ ภายใตย้ ุทธศาสตร์การบริหาร
จัดการทรัพยากรน้า แก้ไขปัญหาวิกฤตส่ิงแวดล้อม โดยเร่งรัดแก้ไขปัญหาการจัดการขยะ ลดการปล่อยก๊าซ
เรือนกระจกลงร้อยละ 20 ตามเปูาหมายระยะยาว พัฒนาการผลิตให้มีประสิทธิภาพ ลดการใช้พลังงาน
เพอ่ื ปรับตวั ไปสู่รูปแบบของการผลิตและการบริโภคคาร์บอนต่า และเป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ มมากข้ึน

5. ยทุ ธศาสตร์ด้านความม่ันคง ให้ความสาคัญกับความมั่นคงที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาในทุกมิติ
ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพให้ประเทศสามารถรับมือกับ
ภยั คุกคาม ทุกรูปแบบทจ่ี ะเกดิ ข้นึ ในอนาคต

6. ยุทธศาสตรด์ ้านการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพ และธรรมาภิบาลในภาครัฐ เพื่อให้การบรหิ ารจัดการภาครัฐ
มีความโปร่งใส มีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบและตรวจสอบได้อย่างเป็นธรรม รวมท้ังประชาชน
มีสว่ นร่วม มกี ารกระจายอานาจ

7. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ การพัฒนาโครงสร้าง
พ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 จะมุ่งเน้นการ
พัฒนากายภาพโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการคมนาคมขนส่ง การเชื่อมโยงเครือข่ายโทรคมนาคมและการ
บรกิ ารจดั การโครงสร้างพื้นฐาน เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ พ้ืนที่เมือง การเช่ือมโยง
การเดนิ ทางและขนส่งสนิ คา้ ระหว่างประเทศที่ไดม้ าตรฐาน

8. ยุทธศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม ให้ความสาคัญกับ
การขับเคล่อื นการพัฒนาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรมต่อเนื่องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

๒๙

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ท้ังการเพ่ิมการลงทุน วิจัยและพัฒนา และการปรับปรุงสภาพแวดล้อมของ
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ฯทั้งด้านบุคลากร วิจัยโครงสร้างพ้ืนฐาน และการบริหารจัดการ เพื่อมุ่งให้วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี วจิ ยั และ นวัตกรรมเปน็ เคร่ืองมอื สาคญั ท่ีจะชว่ ยขบั เคล่อื นการพัฒนาในมติ ิต่างๆ

9. ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาภาคเมืองและพื้นทเ่ี ศรษฐกจิ กาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคเมือง
และพ้ืนท่ีเศรษฐกิจสาคัญให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ ศักยภาพ โอกาสและข้อจากัดของ
พ้ืนท่ีรวมท้ังความต้องการของภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง เพื่อรักษาฐานเศรษฐกิจเดิมให้เข้มแข็ง โดยมี
คุณภาพสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล สร้างฐานเศรษฐกิจใหม่รองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เพื่อกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจและความเจริญสู่ภูมิภาค พัฒนาเมืองศูนย์กลางความเจริญในภูมิภาค
ให้เป็นเมืองน่าอยู่และปลอดภัย สนับสนุนการเชื่อมโยงในภูมิภาคเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของพื้นท่แี ละสรา้ งความอยูด่ มี สี ุขให้แกป่ ระชาชนอย่างทัว่ ถงึ

10. ยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศ ประเทศเพ่ือนบ้าน และภูมิภาค กาหนดยุทธศาสตร์
การต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน ภูมิภาค ให้เกิดการประสานงานและพัฒนาความร่วมมือกันระหว่าง
ประเทศ ทงั้ ในเชิงรกุ และรบั อยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยมุง่ เน้นการดแู ลการดาเนินงานตามข้อผูกพันและพันธกรณี
ตลอดจนมาตรฐานต่างๆ ท่ีไทยมีความเก่ียวข้องในฐานะประเทศสมาชิกทั้งในเวทีระดับโลก ระดับภูมิภาค
และระดบั อนุภมู ภิ าค

6. นโยบายและแผนระดับชาตวิ ่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565)

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันท่ี 19 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2562 นโยบายความม่ันคง
แห่งชาติเป็นนโยบายระดับชาติกาหนดข้ึนเพ่ือเป็นกรอบในการดาเนินการด้านความม่ันคงของภาครัฐในระยะ
7 ปี เพ่ือเป็นแผนหลักของชาติท่ีเป็นกรอบทิศทางการดาเนินการปูองกัน แจ้งเตือน แก้ไข หรือระงับยับยั้ง
ภัยคุกคาม เพื่อธารงไว้ซึ่งความม่ันคงแห่งชาติ รวม 7 กรอบแนวคิด 16 นโยบาย 19 แผน โดยได้ประเมิน
สภาวะแวดล้อมทางภูมิรัฐศาสตร์สถานการณ์และความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคง นาไปสู่การ
กาหนดทิศทางหลักในการดาเนินการเพื่อรักษาผลประโยชน์และความมั่นคงของประเทศ ทั้งนี้นโยบาย
ความมั่นคงแห่งชาติฉบับใหม่ได้กาหนดลาดับความสาคัญ โดยพิจารณาความเสี่ยงและผลกระทบต่อ
ความมั่นคงที่เป็นแก่นหลักของชาติ ซึ่งส่งผลต่อความอยู่รอดปลอดภัยของชาติและส่งผลก ระทบต่อ
ความมั่นคงในด้านต่าง ๆ และภูมิคุ้มกันของชาติในภาพรวมเป็น “เกณฑ์สาคัญ” โดยกาหนดความสาคัญ
เป็นสองส่วน คือ ส่วนที่ 1 นโยบายเสริมสร้างความม่ันคงท่ีเป็นแก่นหลักของชาติ และส่วนที่ 2 นโยบาย
ความมน่ั คงแห่งชาติทั่วไป ดังน้ี

สว่ นท่ี 1 นโยบายเสริมสร้างความม่นั คงทีเ่ ปน็ แก่นหลกั ของชาติ
นโยบายที่ 1 เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลกั ของชาติ และการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
นโยบายที่ 2 สรา้ งความเป็นธรรม ความปรองดองและความสมานฉนั ท์ในชาติ
นโยบายที่ 3 ป้องกนั และแกไ้ ขการก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้

สว่ นท่ี 2 นโยบายความมน่ั คงแห่งชาติทั่วไป
นโยบายที่ 4 จดั ระบบการบริหารจัดการชายแดนเพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหาขา้ มพรมแดน

๓๐

รายงานการตดิ ตามการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

นโยบายท่ี 5 สรา้ งเสริมศักยภาพการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาภัยคกุ คามขา้ มชาติ
นโยบายที่ 6 ปกปอ้ ง รักษาผลประโยชนแ์ หง่ ชาตทิ างทะเล
นโยบายที่ 7 จัดระบบ ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาผูห้ ลบหนเี ข้าเมือง
นโยบายท่ี 8 เสริมสรา้ งความเข้มแข็งและภมู คิ ้มุ กันความมนั่ คงภายใน
นโยบายที่ 9 เสรมิ สรา้ งความมนั่ คงของชาติจากภัยการทุจรติ คอร์รปั ชนั
นโยบายท่ี 10 เสรมิ สรา้ งความมัน่ คงทางเทคโนโลยีสารสนเทศและไซเบอร์
นโยบายที่ 11 รักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม
นโยบายท่ี 12 เสริมสร้างความมน่ั คงทางพลงั งานและอาหาร
นโยบายที่ 13 พฒั นาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาตเิ พื่อเสรมิ สร้างความม่ันคงของชาติ
นโยบายที่ 14 เสริมสรา้ งและพฒั นาศกั ยภาพการป้องกันประเทศ
นโยบายท่ี 15 พัฒนาระบบงานข่าวกรองใหม้ ีประสิทธภิ าพ
นโยบายที่ 16 เสริมสรา้ งดลุ ยภาพในการดาเนนิ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งประเทศ

7. เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน (Sustainable Development GoalS : SDGs)

ในปี 2558 ประเทศไทยเข้าร่วมลงนามรับรองวาระการพัฒนาที่ย่ังยืน ค.ศ.2030 ของ
สหประชาชาติ (UN) ซึ่งเป็นกรอบการพัฒนาของโลก เป็นวาระการพัฒนาภายหลังปี 2015 ระยะ 15 ปี
(ค.ศ. 2016 – 2030) ที่ผู้นาประเทศสมาชกิ สหประชาชาติ จานวน 193 ประเทศ ได้ร่วมกันลงนามรับรอง
พันธะสัญญาทางการเมืองระดับผู้นา เพื่อกาหนดทิศทางการพัฒนาท่ียั่งยืนของโลก 15 ปีข้างหน้า ร่วมกัน
บรรลกุ ารพัฒนาทาง สงั คม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยืน โดยไม่ท้ิงใครไว้ข้างหลัง โดยวาระการ
พัฒนา ประกอบด้วย เปูาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (SDGs) 17 เปูาหมาย และ 169 เปูาหมายย่อย ที่มี
ความเป็นสากล เชื่อมโยงและเก้ือหนุนกัน และกาหนดให้มี 247 ตัวชี้วัด ครอบคลุม 3 เสาหลักด้านการ
พัฒนาที่ยั่งยืน คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมท้ังเป็นการสานต่อภารกิจท่ียังไม่บรรลุผลสาเร็จ
ภายใต้เปูาหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) (ค.ศ. 2000 - 2015)
โดยเปูาหมายท้งั 17 ข้อ มีดังนี้

๓๑

รายงานการติดตามการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

การขับเคลื่อนของประเทศไทย มีการดาเนินการในรูปแบบคณะกรรมการเพื่อการพัฒนา
ที่ยั่งยืน (กพย.) ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ปลัดกระทรวง ผู้แทนหน่วยงานต่าง ๆ ประกอบด้วย
ตัวแทนจากภาครัฐ เอกชน และวิชาการ เป็นกรรมการการดาเนินการ โดยมีสานักงานสภาพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เป็นหน่วยงานเลขานุการ และเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการ
ขับเคล่ือนเปูาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน ร่วมกับส่วนราชการและหน่วยงานต่าง ๆ ทัง้ น้ี กพย. ไดม้ อบหมาย
ให้แต่ละเปูาหมายมหี น่วยงานหลักและหน่วยงานรองในการดูแลดาเนินการ และจัดทา Roadmap เพื่อการ
บรรลุเปูาหมาย ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในเปูาหมายท่ี 4
สรา้ งหลกั ประกันวา่ ทุกคนมกี ารศกึ ษาท่ีมีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการ
เรยี นรูต้ ลอดชวี ติ ซง่ึ ประกอบด้วย 10 เปาู ประสงค์ ได้แก่

๓๒

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

เป้าประสงค์ที่ 4.1 สร้างหลักประกันว่าเด็กหญิงและเด็กชายทุกคนสาเร็จการศึกษาระดับ
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพ เท่าเทียม และไม่มีค่าใช้จ่าย นาไปสู่ผลลัพธ์ทางการเรียนที่มี
ประสทิ ธิผลภายในปี 2573

เป้าประสงค์ที่ 4.2 สร้างหลักประกันว่าเด็กหญิงและเด็กชายทุกคนเข้าถึงการพัฒนา
การดูแล และการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัยท่ีมีคุณภาพภายในปี 2573
เพอ่ื ให้เดก็ เหล่านั้นมีความพรอ้ มสาหรบั การศึกษาระดบั ประถมศึกษา

เป้าประสงค์ท่ี 4.3 ให้หญิงและชายทุกคนเข้าถึงการศึกษาระดับอาชีวศึกษา อุดมศึกษา
รวมถึงมหาวิทยาลยั ท่มี ีราคาที่สามารถจา่ ยไดแ้ ละมีคุณภาพ ภายในปี 2573

เป้าประสงค์ท่ี 4.4 เพิ่มจานวนเยาวชนและผู้ใหญ่ท่ีมีทักษะท่ีจาเป็น รวมถึงทักษะทางเทคนิค
และอาชีพสาหรบั การจ้างงาน การมงี านทด่ี ีและการเปน็ ผู้ประกอบการ ภายในปี 2573

เปา้ ประสงค์ท่ี 4.5 ขจดั ความเหลือ่ มลา้ ทางเพศในการศึกษา และสร้างหลักประกันว่ากลุ่มที่เปราะบาง ซ่ึง
รวมถงึ ผูพ้ กิ าร ชนพ้ืนเมอื ง และเดก็ เข้าถงึ การศึกษาและการฝึกอาชีพทุกระดับอย่างเท่าเทยี ม ภายในปี 2573

เป้าประสงคท์ ี่ 4.6 สร้างหลกั ประกันว่าเยาวชนทุกคนและผู้ใหญ่ในสัดส่วนท่ีสูง ท้ังหญิงและ
ชายสามารถอ่านออกเขยี นได้ และคานวณได้ ภายในปี 2573

เป้าประสงค์ท่ี 4.7 สร้างหลักประกันว่าผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้และทักษะที่จาเป็นสาหรับ
ส่งเสริมการพัฒนาอย่างย่ังยืน รวมไปถึงการศึกษาสาหรับการพัฒนาอย่างยั่งยืน และการมีวิถีชีวิตท่ีย่ังยืน
ภายในปี 2573

เป้าประสงค์ที่ 4.A สร้างและยกระดับอุปกรณ์และเคร่ืองมือทางการศึกษาท่ีอ่อนไหวต่อเด็ก
ผู้พิการ และเพศภาวะ และให้มีสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ท่ีปลอดภัย ปราศจากความรุนแรง ครอบคลุม
และมีประสทิ ธผิ ลสาหรบั ทกุ คน

เป้าประสงค์ท่ี 4.B ขยายจานวนทุนการศึกษาในทั่วโลกที่ให้สาหรับประเทศกาลังพัฒนา
โดยเฉพาะประเทศที่พัฒนานอ้ ยที่สุด

เป้าประสงค์ที่ 4.C เพิ่มจานวนครูที่มีคุณภาพ รวมถึงการดาเนินการผ่านทางความร่วมมือ
ระหวา่ งประเทศในการฝึกอบรมครูในประเทศกาลงั พัฒนาฯ

ทม่ี า : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ

๓๓


Click to View FlipBook Version