The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wasita.kitpreecha, 2018-11-26 07:38:39

Everlasting Economy







EVERLASTING ECONOMY ชัยวัฒน์ โควาวิสารัช
เลขมาตรฐานสากลประจาหนังสอื 978-616-91250-2-0 พิมพ์คร้ังที่ 1 พฤศจิกายน 2561
ข้อมูลบรรณานุกรมของสานักหอสมุดแห่งชาติ
ชัยวัฒน์ โควาวสิ ารัช
Everlasting Economy. - - กรงุ เทพฯ : บางจาก, 2561. 248 หน้า.
• พลังงาน - - รวมเร่อื ง. I. ช่อื เรื่อง.
333.79
ISBN 978-616-91250-2-0
รวบรวมและผลิตโดย
ส่วนประชาสมั พันธ์ ฝ่ายส่อื สารองค์กร บริษัท บางจาก คอร์ปอเรช่ัน จากัด (มหาชน)
จัดพิมพ์โดย บริษัท บางจาก คอร์ปอเรช่นั จากัด (มหาชน)
2098 อาคารเอม็ ทาวเวอร์ ช้นั 8 ถนนสุขุมวทิ แขวงพระโขนงใต้ เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร 10260
โทรศัพท์ 0 2335 8888 โทรสาร 0 2002 5509
Website : www.bangchak.co.th
พิมพ์ที่ บริษัท แกรนด์พ้อยท์ จากัด
74 ซอย บรมราชชนนี 6 แขวงบางบาหรุ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700 โทรศัพท์ 0 2001 9991




สารบญั
8 จากบรรณาธกิาร 10 จากผู้เขียน
SECTION 1 BIO ECONOMY
16 Chapter 01 22 Chapter 02 28 Chapter 03 34 Chapter 04 40 Chapter 05 46 Chapter 06 52 Chapter 07 58 Chapter 08 64 Chapter 09 70 Chapter 10 78 Chapter 11
ฟุตบอลโลกกับเศรษฐกจิเวียนวน จากพลังงานหมนุเวียนสู่เศรษฐกจิวนเวยีน พลาสติก สะดวก ประหยดั ตายยาก
Edible Packaging นวตั กรรมลดขยะพลาสตกิ จากแป้งและน้าตาลสู่อปุกรณ์ช่วยชีวิต Biodegradable สร้างผลติ ภณั ฑ์รักษ์โลก นวัตกรรมไบโอดเีซล ยกระดับเศรษฐกจิ สังคมไทย PCM นวตั กรรมผลิตภัณฑ์ชีวภาพไทยแลนด์ 4.0 Bioeconomy นวตั กรรมภาคเกษตร 4.0 ข้อตกลงปารสีกับหนทางเยยีวยาสิ่งแวดล้อมโลก ทาไมองค์กรใหญ่จงึต้องปรับตวัรบันวัตกรรม?
SECTION 2 ELECTRIFICATION
86 Chapter 12 ประชาธิปไตย พลงั งาน : พลังงาน 4.0
92 Chapter 13 สายส่งไร้สาย (Wireless Transmission) ชวี ิตด๊ีดี


98 Chapter 14 104 Chapter 15 110 Chapter 16 116 Chapter 17 122 Chapter 18 128 Chapter 19 134 Chapter 20 142 Chapter 21 150 Chapter 22 158 Chapter 23 166 Chapter 24
Distributed Generation ระบบไฟฟ้ายคุ 4.0 โครงข่ายไฟฟ้าไร้พรมแดน
แนวคิดใหม่หลงั ปลดระวาง ‘แม่เมาะ’ 1 แนวคิดใหม่หลงั ปลดระวาง ‘แม่เมาะ’ 2 ก้าวคนละก้าว : โครงการฝายทดน้า ไซยะบุรี Corporate Buyer โอกาสพลงั งานหมนุ เวยี นโต Reverse Auction หนนุ ไฟฟ้าเซลล์แสงอาทติ ย์ ไฟฟ้าจากพลงังานหมนุเวียนย่อมดีกว่าวนันี้ น้ามันดิบร่วง พลงั งานหมนุ เวียนรอด โอลิมปิก 2020 ท่โีตเกียว Hydrogen Society โซลาร์หยอดเหรยีญ
SECTION 3 MOBILITY & STORAGE
174 Chapter 25 180 Chapter 26 188 Chapter 27 196 Chapter 28 202 Chapter 29 208 Chapter 30 214 Chapter 31 220 Chapter 32 226 Chapter 33 234 Chapter 34
240 Chapter 35 247 เกี่ยวกับผู้เขยีน
อะไรคือคาตอบของรถยนต์ไฟฟ้า นวัตกรรมแบตเตอร่สีะสมพลังงาน
รถยนต์ไร้คนขบั ..The Next Revolution Begins รถวิ่งได้ล้านไมล์ ความฝัน ความจรงิ เดินทางท่เีป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด้วยรถยนต์ไฟฟ้า เครื่องบินพลงั งานสะอาด นวตั กรรมที่บรรเจดิ ลิเทียม..ดาวรุ่งดวงใหม่แห่งวงการพลงังาน
Startup ระบบเกบ็ สะสมพลังงาน ‘เราทาได้’ จากลิเทียมสู่พลงั งานสะอาด สร้างสงั คมสีเขียว Energy Storage สร้างเสถยี รภาพไฟฟ้า จากพลังงานหมนุเวยีน
รีไซเคิลลิเทยี ม จุดประกายธุรกิจ Startups


8
จาก บรรณาธกิ าร
ในแต่ละวัน มีบทความและข่าวสารจานวนมากมาย ทผี่ า่ นสายตาของผม ในฐานะบรรณาธกิ ารบรหิ ารของหนงั สอื พมิ พ์ กรงุ เทพธรุ กจิ ขณะเดยี วกนั ในยคุ ปฎวิ ตั เิ ทคโนโลยดี า้ นการสอื่ สาร สงั คมจงึ เตม็ ไปดว้ ยขอ้ มลู ทหี่ ลากหลาย หนา้ ทใี่ นฐานะบรรณาธกิ าร พยายามเฟน้ หาขอ้ มลู ขอ้ เขยี นหรอื บทความทคี่ ดิ วา่ เปน็ ประโยชน์ กับสังคมโดยรวมมากท่สี ุด และเป็นข้อมูลท่บี อกกล่าวอนาคตได้
ผมไดเ้ หน็ บทความดา้ นพลงั งานทคี่ ณุ ชยั วฒั น์ โควาวสิ ารชั หรือ CEO บางจากฯ เขียนให้กับกรุงเทพธุรกิจเป็นบทความ ที่เหมาะที่จะบอกกล่าวเรื่องราวในอนาคต แถมอ่านง่าย เนื้อหา กระชับ ใช้คา ศัพท์ง่ายๆ จบเป็นตอน สามารถอ่านและนึกภาพ ตามได้ เหมาะทงั้ การอา่ นเพอื่ หาความรรู้ อบตวั หรอื อา่ นในยามวา่ ง และเมื่อนามารวบรวมเป็นพ็อคเก็ตบุ๊ค รูปแบบทันสมัย ทาให้ บทความมเีสน่ห์ น่าติดตาม
นอกจากเพลิดเพลินในการอ่านแล้วก็ทา ให้ได้ตระหนักถึง ความสาคัญข้อหน่งึว่าพลงังานที่เราใช้กันนี้จะยังคงมอียู่กับเรา ไปตลอดชีวิตของเราหรือไม่ แล้วลูกหลานของเราจะมีใช้อย่าง สะดวกสบายหรอืไม่แล้วเราทกุคนจะมสี่วนช่วยและร่วมมือกนั อยา่ งจรงิ จงั เพอื่ ทา ใหม้ นั มอี ยตู่ ลอดไปไดจ้ รงิ หรอื แคเ่ พยี งรณรงค์ กันไปตามกระแสสงัคมเท่าน้นั


คุณชัยวัฒน์ได้ถ่ายทอดประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆ ด้านพลังงานสมกับที่เป็นผู้นาองค์กรด้านพลังงานชั้นนาของ ประเทศไทย ตลอดจนแนะนา แนวทางบรหิ ารจดั การการใช้ การผลติ การอนุรักษ์พลังงานเพื่อสร้างความตระหนักอย่างรู้คุณค่ารวมถึง เทรนด์ใหม่ของพลังงานที่กาลังมาถึง ทาให้เราอดตื่นเต้นไม่ได้ ทจี่ ะได้สมั ผสั กบั นวตั กรรมใหม่ๆ ทางพลงั งานทกี่ ้าวหน้าจากอดตี ที่เราผ่านกันมาแล้วตั้งแต่ยุคหินเก่า-หินใหม่ สู่ยุคเกษตรกรรม และยคุ อตุ สาหกรรมในปจั จบุ นั กอ่ นทจี่ ะกา้ วสกู่ ารปฏวิ ตั พิ ลงั งาน ครั้งสาคัญที่จะเปลี่ยนโลกใบนี้ไปในรูปแบบใดนั้น...ต้องมาลุ้น ไปด้วยกันครบั...
วีระศักดิ์ พงศ์อักษร
บรรณาธกิารบริหารกรงุเทพธุรกิจ
9


จาก
ผู้เขียน


นับเป็นโอกาสอันดีที่ได้รับการติดต่อจากหนังสือพิมพ์ กรุงเทพธุรกิจให้เขียนบทความถ่ายทอดมุมมอง ประสบการณ์ เกี่ยวกับพลังงาน ผ่านคอลัมน์ Everlasting Economy ที่ตีพิมพ์ ลงในหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ สื่อสิ่งพิมพ์ระดับแนวหน้า ของประเทศ ซงึ่ เปน็ เหมอื นการบา้ นชนิ้ สา คญั ทตี่ อ้ งทา เปน็ ประจา ทกุ เดอื น การคน้ ควา้ ขอ้ มลู การแลกเปลยี่ นความรจู้ ากผทู้ รงคณุ วฒุ ิ การเดินทางไปในต่างประเทศเพื่อศึกษาต่อยอดและนาสิ่งที่ สร้างสรรค์มาแชร์ นับเป็นประโยชน์สองต่อ ทั้งจากการนาสิ่งที่ ตนเองรู้แบ่งปันแก่คนอื่น และการเรียนรู้เพิ่มเติมจากคนอื่น เพื่อส่งต่อบทความดๆี ให้กบัผู้อ่าน
ผมตั้งชื่อคอลมั น์ว่า “Everlasting Economy” เพราะเห็นว่า คานี้สื่อถึงความยั่งยืน เมื่อนามารวมกับคาว่า Economy แล้ว จะสื่อให้เห็นว่า เราจะสร้างเศรษฐกิจ หรือดา เนินธุรกิจพลังงาน อย่างไรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและโลกใบนี้ เพื่อให้มีพลังงาน
11


12
ใชอ้ ยา่ งยงั่ ยนื ถงึ คนรนุ่ ตอ่ ๆ ไป โดยหนงั สอื เลม่ นแี้ บง่ เปน็ 3 หมวด ตามประเภทของกลุ่มเทคโนโลยีคอื Bioeconomy,Electrification และ Mobility & Storage
ทุกวันน้ี เราต่างอยู่ในบทบาทของ “ผู้ใช้พลังงาน” ในชีวิตประจาวันของเรา เช่น การใช้พลังงานจากอุปกรณ์ไฟฟ้า ในการอานวยความสะดวก และการใช้พลังงานเช้ือเพลิงสา หรับ ยานพาหนะ จะดีเพียงใดหากเราสามารถใช้พลังงานอย่างไร้ ขอบเขตเพราะโลกของเราสามารถผลติพลังงานจากแหล่งต่างๆ ได้มากมายจากในธรรมชาติ มีการนานวัตกรรมมาต่อยอด สร้างประโยชน์ได้มหาศาล แต่น่นั ไม่ใช่คาตอบของความย่งั ยืน
ส่ิงสาคัญคือ การตระหนักรู้ว่า ใช้อย่างไรจึงจะพอดีและ พอเพยี ง ใชอ้ ยา่ งไรไมใ่ หเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม และทสี่ า คญั คือ ใช้อย่างไรไม่ให้หมดไปและมีเหลือเพื่อส่งต่อไปยังลูกหลาน ในอนาคต
ในฐานะทเี่ ปน็ ผนู้ า ของบรษิ ทั บางจาก คอรป์ อเรชนั่ จา กดั
(มหาชน) เป็นบริษัทพลังงานไทยที่ดาเนินงานเคียงคู่กับการดูแล
สิ่งแวดล้อมและสังคม วันน้ีบางจากฯ ไม่เพียงแต่ดา เนินกิจการ
ดา้ นโรงกลนั่ นา้ มนั เทา่ นนั้ แตเ่ ราไดข้ ยายกจิ การสธู่ รุ กจิ ผลติ ไฟฟา้
จากเซลล์แสงอาทิตย์ ธุรกิจพลังงานชีวภาพ ธุรกิจสารวจและ
ผลิตปิโตรเลียม โดยใช้นวัตกรรมเป็นเครื่องมือในการต่อยอด
และใหค้ วามสา คญั กบั การพฒั นาทงั้ เศรษฐกจิ สเี ขยี ว และเศรษฐกจิ
ชวี ภาพ (Bioeconomy) และการเขา้ สพู่ ลงั งานไฟฟา้ (Electrification)
ด้วยมีเป้าหมายในการสร้างความม่ันคงให้พลังงานของชาติ
และขยายการลงทุนสู่ธุรกิจใหม่เพื่อสร้างความต่อเนื่องและ
คุณชัยวัฒน์ โควาวิสารัช
ความยั่งยืน ตามวิสัยทัศน์ “มุ่งสู่กลุ่มบริษัทนวัตกรรมสีเขียว
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่
ชนั้ นา ในเอเชยี ทม่ี บี รรษทั ภบิ าลทด่ี แี ละดา เนนิ ธรุ กจิ ดว้ ยแนวทาง
แบบมีส่วนร่วมและย่งัยืน”
อายุ 51 ปี
บริษัท บางจาก คอร์ปอเรช่ัน จากัด (มหาชน)


13
ผมขอขอบคุณทุกท่านท่ีใช้เวลากับพ็อคเก็ตบุ๊คเล่มน้ี เพอื่ รจู้ กั หลากหลายแงม่ มุ ของพลงั งาน และหวงั วา่ จะเปน็ สว่ นหนงึ่ ที่สร้างแรงบันดาลใจให้พวกเราทุกคน ใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่า และยั่งยืน
ขอบคุณครบั
ชัยวัฒน์ โควาวิสารัช


BIO ECON
CHAPTER 01 CHAPTER 02 CHAPTER 03
ฟุตบอลโลก กับเศรษฐกิจเวียนวน
จากพลังงานหมุนเวียน สู่เศรษฐกิจวนเวียน
พลาสติก สะดวก ประหยัด ตายยาก
CHAPTER 04 CHAPTER 05 CHAPTER 06
Edible Packaging นวัตกรรมลดขยะพลาสติก
จากแป้งและน้าตาล สู่อุปกรณ์ช่วยชีวิต
Biodegradable สร้างผลิตภัณฑ์รักษ์โลก


SECTION 01
OMY
CHAPTER 07 CHAPTER 08 CHAPTER 09
นวัตกรรมไบโอดีเซล ยกระดับเศรษฐกิจ สังคมไทย
PCM นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ ชีวภาพไทยแลนด์ 4.0
Bioeconomy นวัตกรรมภาคเกษตร 4.0
CHAPTER 10 CHAPTER 11
ข้อตกลงปารีสกับหนทาง เยียวยาส่ิงแวดล้อมโลก
ทาไมองค์กรใหญ่ จึงต้องปรับตัวรับนวัตกรรม?
N


CHAPTER O1ฟุตบอลโลก กับเศรษฐกิจเวียนวน


17
เผยแพร่คร้ังแรกคอลัมน์ Everlasting Economy หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
ฉบับวันท่ี 27 กรกฎาคม 2561
ฟุตบอลโลกท่ีรัสเซียก็ได้รูดม่านจบไปแล้วเมื่อวันอาทิตย์ท่ีผ่านมา ส่วนแชมป์โลก กเ็ ปน็ ดงั ทที่ ราบกนั นะครบั แมว้ า่ กอ่ นการแขง่ ขนั ทกุ คนมองวา่ ฟตุ บอลโลกจะขาดมนตข์ ลงั แลว้ เนื่องจากมีฟุตบอลแชมเปี้ยนลีกที่แข่งกันอยู่ทุกปี แถมยังเป็นการรวมดารานักเตะชั้นนา ของโลกที่เล่นกันในระดับสโมสร ซง่ึ หมายถงึ ทมี เวริ ค์ ทซี่ อ้ มกนั อยา่ งดี ขณะทฟี่ ตุ บอลทมี ชาติ นานๆ ถงึ จะรวมตวั ซอ้ มกนั แถมสป่ี แี ขง่ กนั ที ทา ใหอ้ าจจะขาดเสนห่ แ์ ละอาจจะไมไ่ ดร้ บั ความสนใจ จากแฟนบอลเท่าที่ควร


18
ในเบอ้ื งตน้ มกี ารประเมนิ กนั วา่ ฟตุ บอลโลกครง้ั นน้ี า่ จะเปน็ ฟุตบอลโลกท่ีประสบความสาเร็จสูงท่ีสุดครั้งหน่ึง ไม่ว่าจะเป็น จานวนประตูท่ียงิการแข่งขนัทมี่ีการพลิกกันพอสมควรแต่ยังมี ทมี ใหญอ่ ยา่ งฝรงั่ เศสเขา้ ชงิ กฎกตกิ าทที่ า ใหก้ ารแขง่ ขนั ยตุ ธิ รรมขน้ึ บรรยากาศของการแข่งขนั จา นวนของผ้เู ขา้ รว่ มชม และเข้าเยย่ี ม ประเทศรัสเซียในช่วงห้าสัปดาห์ท่ีมีการแข่งขัน โดยคาดว่า มนี กั ทอ่ งเทยี่ วและแฟนบอลเขา้ รว่ มชมนบั ลา้ นคน ซงึ่ ในสว่ นนม้ี ที งั้ แฟนบอลทเี่ ขา้ ชมในสนามแขง่ ขนั และแฟนทอ้ งถนิ่ ทเ่ี ขา้ รว่ มเฮฮา ในแฟนโซนหรอืแฟนเฟส(FanZoneorFanFest)ซ่ึงในบางนดั ว่ากันว่า มารวมตวั กันกว่า 500,000 คน
ส่ิงท่ีขาดไม่ได้ในการเชยีร์กีฬาทุกประเภทคอือาหารและ เคร่ืองดื่มโดยเฉพาะเคร่อืงด่ืมประเภทที่มีแอลกอฮอล์ผสมเช่น เบียร์ ซ่ึงจะด่ืมกันไม่น้อยเลยทีเดียว บางท่านอาจจะดื่มกันถึง 4-5 แก้วต่อแมทช์การแข่งขัน ซ่ึงย่อมทาให้มีแก้วพลาสติกเหลือ
Chapter 01 ฟุตบอลโลก กับเศรษฐกิจเวียนวน


19
เป็นจานวนมาก อันเป็นขยะพลาสติกที่ยากแก่การทาลายและ สง่ ผลตอ่ มลภาวะตามมา ในการแขง่ ขนั ครงั้ น้ี คาดวา่ จะมแี กว้ ตา่ งๆ ดังกล่าวหลายสิบล้านแก้วซ่ึงทางผู้จดัการแข่งขนัก็มีกุศโลบาย ทแี่ ยบยลทสี่ ดุ และนา่ จะเปน็ ตวั อยา่ งสา หรบั ผจู้ ดั การแขง่ ขนั ใหญๆ่ ในอนาคต เพอื่ นา ไปกา จดั ขยะพลาสตกิ จา นวนมาก สงิ่ ทผี่ จู้ ดั การ แข่งขันทาคือพิมพ์วันท่ีที่แข่งขันและรายละเอยีดของการแข่งขนั ในวนั นนั้ ๆ ลงไปบนแกว้ พลาสตกิ สง่ิ ทตี่ ามมากค็ อื แกว้ เบยี รต์ า่ งๆ ในแต่ละแมทช์กลายเป็นของสะสมที่ผู้เข้าชม หรือเข้าไปใน แฟนโซน ตอ้ งเกบ็ ไว้ ใครๆ กอ็ ยากมแี กว้ เกบ็ ไวเ้ ปน็ ทรี่ ะลกึ วา่ ครงั้ หนงึ่ ได้มาดูบอลโลกในนดัน้ีที่รัสเซยีและมีแก้วเบยีร์เป็นหลักฐานจึง กลายเป็นของหายากไป และเป็นการดูแลขยะที่ดีท่ีสุดวิธีหนึ่ง บางทีการที่แฟนบอลชาวญี่ปุ่นเก็บขยะบนอัฒจันทร์อาจจะเป็น เพราะต้องการสะสมแก้วเบยีร์กเ็ป็นได้
จะเห็นว่าการเพิ่มการลงทุนนิดหน่อย โดยพิมพ์วันที่และ
คน คือจํานวนแฟนบอล ที่ซื้อตั๋วเข้ํามํา ดูการแข่งขันฟุตบอลโลก ครั้งนี้
Everlasting Economy


4,000,
รายละเอียดแมทช์การแข่งขัน ทาให้ขยะกลายเป็นทองไปโดย ปริยาย และน่ีก็คือหลักปรัชญาของเศรษฐกิจเวียนวน (Circular Economy) ที่พยายามนาเอากลับมาใช้ เพ่ือลดมลภาวะต่างๆ ของโลก และในการแข่งขันฟุตบอลโลกคร้ังน้ี แม้แต่ลูกฟุตบอล ก็ได้ใช้ปรชั ญาเศรษฐกจิ เวยี นวนเชน่ กนั โดยลกู ฟตุ บอล ‘เมชทา (Mechta)’ ทห่ี มายถงึ ความฝนั (dream) หรอื ความมงุ่ มนั่ (ambition) ในภาษารสัเซียนั้นกเ็ป็นลูกฟุตบอลท่ีทาจากวสัดุรีไซเคิลและท่ี สา คญั คอื มกี ารฝงั ชบิ NFC ไวใ้ นลกู ฟตุ บอล เพอ่ื ทผี่ บู้ รโิ ภคสามารถ ตดิ ตามการเลน่ ลกู บอลไดจ้ ากมอื ถอื ซงึ่ นอกจากจะเกบ็ ขอ้ มลู การ ใชง้ านหรอื การเลน่ และเตะมนั แลว้ ยงั สามารถทจี่ ะรวู้ า่ ลกู บอลอยู่ ที่ไหน เม่อื ต้องการนาไปรีไซเคลิ ก็จะใช้ได้ง่ายข้นึ
ผู้ผลิตลูกฟุตบอลรายเดียวกันน้ีก็ได้แสดงเจตจานงว่า ตงั้ แตป่ ี 2025 หรอื อกี เจด็ ปจี ากนี้ เสอื้ ผา้ และรองเทา้ ทผ่ี ลติ จะไมใ่ ช้ ใยบรสิ ทุ ธทิ์ ที่ า จากกระบวนการผลติ จากฟอสซลิ เลย แตจ่ ะเปน็ ใย ที่เกิดจากการรีไซเคิลจากขวดพลาสติกหรือขยะพลาสติก และผู้
20
30
Chapter 01 ฟุตบอลโลก กับเศรษฐกิจเวียนวน


00,00
คน คือ จํานวนแฟนบอลทั่วโลก ที่ติดตํามชมกํารถ่ํายทอดสด ฟุตบอลโลกครั้งน้ีในช่องทางต่างๆ
ผลติ เครอื่ งดมื่ รายใหญท่ เี่ ปน็ สปอนเซอรข์ องฟตุ บอลโลกครงั้ นก้ี ไ็ ด้ แสดงเจตจา นงเชน่ กนั วา่ ตงั้ แตป่ ี 2025 ขวดนา้ อดั ลมทกุ ขวดจะถกู รีไซเคิลเช่นกัน ขณะที่ผู้ผลิตรายใหญ่ท้ังเสื้อผ้า และบรรจุภัณฑ์ ต่างก็ปวารณาว่าจะใช้วัสดุท่ีเป็นรีไซเคิลหรือ วัสดุชีวภาพเป็น วัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์ของตนและลดการใช้วัสดุจาก
ฟอสซิลในขณะที่ผู้ผลิตรายใหญ่เร่ิมตระหนักถึงการควบคุมดูแล โลกใบน้ีของเรา ผู้บริโภคน่าจะเป็นแรงผลักดันท่ีสา คัญท่ีสุดท่ีจะ ทาให้เทรนด์น้เีกิดและย่ังยนือยู่ได้เร่ิมจากวนันี้เราใช้ถงุผ้าแทน ถงุ พลาสตกิ เราไมใ่ ชห้ ลอดพลาสตกิ ในการดม่ื นา้ หรอื เราใชแ้ กว้ นา้ ถ้วยนา้ แทนขวดนา้ พลาสตกิ หรอื ถ้าจะใช้กค็ วรจะเป็นพลาสตกิ ที่ ทาจากพลาสตกิชีวภาพหรือplantplasticท่ีสังเกตได้ว่าจะมรีูป ต้นไม้หรือใบไม้อยู่ข้างขวด (label) หรือไม่ก็สัญลักษณ์ลูกศร สามเหล่ียมที่หมายถึงรีไซเคิลน่ันเอง เราก็จะช่วยรักษาโลกใบน้ี ให้น่าอยู่สาหรับลูกหลานอนัเป็นท่ีรักของเราตลอดไป
21
00
Everlasting Economy


CHAPTER O2จากพลังงานหมุนเวียน สู่เศรษฐกิจวนเวียน


23
เผยแพร่ครั้งแรกคอลัมน์ Everlasting Economy หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
ฉบับวันที่ 22 มิถุนายน 2561
ตั้งแต่คนไทยรู้จักการใช้พลังงานชีวภาพ ไม่ว่าจากกากนา้ ตาล มันสาปะหลัง หรือ ผลปาล์ม โดยมีจุดเริ่มต้นจากล้นเกล้ารัชกาลท่ี 9 ที่ทรงแนะนาและทรงปฏิบัติเป็นตัวอย่าง ให้ปวงชนชาวไทยไดร้ จู้ กั การใชพ้ ลงั งานหมนุ เวยี นตงั้ แตป่ ี ค.ศ.1985 ซงึ่ ตอ่ มา เมอ่ื นา้ มนั ดบิ มีราคาสูงขึ้น ประเทศไทยถือเป็นผู้นาในภูมิภาคอาเซียน ที่เริ่มใช้พลังงานหมุนเวียน และเป็นตัวอย่างให้อีกหลายประเทศในเอเชีย แม้กระทั่งประเทศจีน นาไปปฏิบัติ ซึ่งนอกจาก จะช่วยลดการนาเข้าน้ามันดิบแล้ว ยังช่วยส่งเสริมภาคเกษตรกรรม อันเป็นอาชีพหลัก ของคนไทย นับเป็นศาสตร์พระราชา ที่มีคุณค่ายิ่งสาหรับประชาชนชาวไทย


24
ในช่วงต้น เราเรียกว่า “พลังงานทดแทน” โดยคาดว่าใน อนาคตอาจจะสามารถทดแทนนา้ มนั ได้ทง้ั หมด แต่เมอ่ื เทยี บกบั ปริมาณน้ามันที่เราบริโภคต่อวันกว่า 15,000 ล้านลิตรท่ัวโลก การนา พลงั งานชวี ภาพมาทดแทนนา้ มนั ทง้ั หมดนา่ จะเปน็ ไปไดย้ าก จึงถือเป็นพลังงานทางเลือกอีกทางหนึ่ง ซึ่งในระยะหลัง คาว่า “พลังงานหมุนเวียน” หรือ “Renewable Energy” น่าจะเป็นคา อธบิ ายทช่ี ดั เจน กลา่ วคอื เปน็ การหาพลงั งานจากแหลง่ ธรรมชาติ ท่ีสามารถสร้างใหม่ข้นึได้และไม่หมดไปไม่ว่าจะมาจากพชืพนัธ์ุ ต่างๆ ที่แปลงเป็นของเหลวเพื่อเติมในยานพาหนะ หรือสายลม แสงแดด ท่แี ปลงเป็นพลังงานไฟฟ้า
ในเม่ือพืชพันธ์ุต่างๆสามารถแปลงเป็นของเหลวท่ใีช้เติม แทนน้ามันได้ ก็น่าจะพัฒนาต่อยอดไปแทนพลาสติกหรือใยผ้า ทที่ า จากนา้ มนั ดบิ ได้ด้วยเช่นกนั ซงึ่ ทผ่ี ่านมามกี ารทดลองแล้วว่า สามารถทาได้ แต่อาจมีข้อจากัดในเชิงพาณิชย์ ไม่ว่าจะเป็นใน เร่ืองของต้นทุนที่ค่อนข้างสูง เนื่องจากแต่ละโรงผลิตมีขนาดเล็ก ไม่มี Economy of Scale หรือกระบวนการผลิตท่ีซับซ้อนกว่า
75
ประเทศ คือ จานวนประเทศที่ออก มาตรการลดใช้ ถุงพลาสติก ในระดับที่แตกต่างกันไป
Chapter 02 จากพลังงานหมุนเวียน สู่เศรษฐกิจวนเวียน


12
ใบ คือ ค่าเฉลี่ยต่อเดือน ที่คนอังกฤษใช้ถุงพลาสติก ในปี 2015 ก่อนท่ีจะมี มาตรการบังคับให้ผู้บริโภค เสียเงินค่าถุงพลาสติก
25
การผลิตจากน้ามันดิบ แต่สิ่งที่สาคัญคืออาจส่งผล กระทบตอ่ การจดั สรรทรพั ยากร กลา่ วคอื แทนทจ่ี ะนา พืชพันธุ์ต่างๆ มาเป็นอาหาร กลับนามาผลิตเป็น พลาสติก ซึ่งอาจส่งผลให้มีอาหารไม่เพียงพอกับ ประชากรโลกกว่าเจด็พันล้านคนน่นัเอง
ต่อมามีการพัฒนาสู่เจเนอเรชั่นที่สองของ อตุ สาหกรรมไบโอพลาสตกิ คอื การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ด้วยการใช้วัตถุดิบจากส่วนที่เป็นขยะของพืชพันธุ์ เช่น ก้าน ใบ ชานอ้อย ฟางข้าว กะลาปาล์ม เป็นต้น แทนการใช้ผลของพืชพันธุ์ ซึ่งช่วยตอบโจทย์เร่ือง ผลกระทบต่อการจัดสรรทรัพยากรได้เป็นอย่างดี เน่ืองจากไม่มีการเบียดเบียนห่วงโซ่อาหาร เราจึง สามารถเรยีกว่า“พลาสติกจากพชื”(PlantPlastic) ไดอ้ ยา่ งเตม็ ปากเตม็ คา อยา่ งไรกต็ าม ตน้ ทนุ การผลติ ยังเป็นประเดน็ที่สาคัญทั้งนี้เนื่องจากกระบวนการ ผลิตท่ียังต้องพัฒนาเพิ่มและปริมาณการผลิตที่มี ไม่มาก ถ้าเรายังจากันได้ แผงโซลาร์เซลล์ที่ราคา ถูกลงอย่างมากมายจนถูกกว่าการผลิตไฟฟ้าจาก แหล่งด้ังเดมินั้นเน่อืงจากมกีารผลิตในปรมิาณมาก และใช้กันอย่างแพร่หลาย ทาให้ราคาลดลงกว่า 80% ในระยะ 5-6 ปีท่ผี ่านมา
ในทุกๆปีผู้นาของโลกท้งัภาครัฐและเอกชน จะพบปะกันที่เมืองดาวอส ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพอ่ื หารอื ประเดน็ หลกั ทม่ี ผี ลตอ่ เศรษฐกจิ สงั คม และ การเมืองของโลก เมื่อได้ประเด็นแล้วจะเป็นเร่ืองท่ี ให้ประชาคมโลกช่วยกันผลักดันต่อไป ซ่ึงในต้นปี ทผ่ี า่ นมาประเดน็ ขยะพลาสตกิ เปน็ เรอ่ื งใหญท่ ไี่ ดร้ บั
Everlasting Economy


26
การกลา่ วถงึ และวา่ กนั วา่ ถา้ เราปลอ่ ยไปโดยไมท่ า อะไร ในปี ค.ศ. 2050จะมเีม็ดพลาสติกในมหาสมทุรมากกว่าประชากรปลาและ ปลาซง่ึ กนิ เมด็ พลาสตกิ ตา่ งๆ เหลา่ น้ี กจ็ ะมาเปน็ อาหารของมนษุ ย์ สดุ ทา้ ยเราจะเปน็ ผรู้ บั ประทานขยะพลาสตกิ จา นวนมหาศาลเหลา่ น้ี จึงควรจะมีการบริหารจัดการเพื่อลดการใช้การบริโภคพลาสติก โดยเฉพาะส่วนที่ผลิตจากฟอสซิลที่ไม่สามารถย่อยสลายหรือ ใช้เวลากว่า 500 ปีในการย่อยสลาย
ตงั้ แตเ่ ดอื นมกราคมทผี่ า่ นมา ในประเทศฝรง่ั เศสเรมิ่ ไมใ่ ห้ ใช้พลาสติกที่ใช้คร้ังเดียวทิ้ง เช่น ถุงพลาสติก หรือพลาสติก ท่ีใช้ห่ออาหารเข้าไมโครเวฟ หรือในประเทศอังกฤษ ห้าง ร้านสะดวกซื้อต่างๆ จะเก็บเงินค่าถุงพลาสติก แม้กระทั่งสินค้า แบรนด์ดังท่ัวโลกก็ประกาศจะใช้พลาสติกจากพืชเป็นหลักในปี ค.ศ.2030 เป็นต้น
15,0
พลาสติกจากพืชหรือ Plant Plastic น้ัน หลายประเภท
Chapter 02 จากพลังงานหมุนเวียน สู่เศรษฐกิจวนเวียน


สามารถยอ่ ยสลายไดใ้ นระยะเวลาอนั สนั้ เสมอื นหนงึ่ กระดาษหรอื เปลือกส้ม เปลือกกล้วย ซ่ึงเป็นการคืนรูปสู่ธรรมชาติท่ีดีที่สุด ช่วยรกั ษาสมดลุ ของสง่ิ แวดล้อมและนเิ วศน์วทิ ยา แม้ว่าพลาสตกิ จากพืชบางประเภทจะไม่สามารถย่อยสลายในระยะสั้น ก็ยัง สามารถรไี ซเคลิ ไดท้ ง้ั หมด ในขณะทพี่ ลาสตกิ จากฟอสซลิ เชน่ Wrap สา หรบั ไมโครเวฟ หรอื เมด็ บดี สใ์ นโฟมลา้ งหนา้ ไมส่ ามารถรไี ซเคลิ ได้ เราจงึ เหน็ วา่ การทา พลาสตกิ จากพชื เปน็ อตุ สาหกรรมทสี่ า คญั มาก ที่ทาให้เราสามารถลดการใช้ทรัพยากรท่ีส้ินเปลืองและหมดไป ท่ีฝรั่งเรียกว่า Circular Economy หรือผมแอบเรียกว่า “เศรษฐกจิ วนเวียน”คือใช้แล้ววนเวยีนกลบัมาใช้อีกหรอืไม่ก็วนเวยีนปลูก เพอ่ื นา มาใชอ้ กี ในชวั่ ชวี ติ ของคนคนหนงึ่ โดยไมเ่ ปน็ ภาระใหล้ กู หลาน คอยแก้ปัญหาท่ีเราสร้างไว้ หากเราช่วยกันบริโภคพลาสติกจาก พชื มากขน้ึ กห็ วงั วา่ จะเกดิ ปรากฏการณเ์ หมอื นกบั แผงโซลารเ์ ซลล์ ที่จะผลักดนัให้ต้นทุนราคาถูกลงและแข่งขนัได้ครับ
00
ล้านลิตร
คือ ปริมาณน้ามันที่มี การบริโภคต่อวันทั่วโลก
27
0
Everlasting Economy


CHAPTER O3พลาสติก สะดวก ประหยัด ตายยาก


29
เผยแพร่ครั้งแรกคอลัมน์ Everlasting Economy หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
ฉบับวันที่ 23 มีนาคม 2561
ในวันที่ 22 เมษายนท่ีจะถึงนี้เป็นวัน Earth Day ผมเลยขอคุยถึงส่ิงที่ใกล้ตัว เนื่องในโอกาสที่จะทาให้โลกใบนี้ของเราน่าอยู่ น่าอาศัยสาหรับลูกหลานของเราต่อไป เมื่อเดือนก่อนระหว่างเดินทางไปยุโรปได้เปิดดูหนังเรื่อง The Graduate ซึ่งสร้างข้ึนในปี 1967 จัดว่าเป็นหนังที่แรงมากในสมัยนั้น ได้รับรางวัล Oscar สาขาผู้กากับภาพยนตร์ ยอดเยี่ยมด้วย (เข้าบรรยากาศงาน Oscar ในเดือนนี้) จาได้ว่า ตอน Dustin Hoffman พระเอกของเรื่องจบจากมหาวิทยาลัยใหม่ๆ เคล็ดลับที่คุณลุงของเขาให้ไว้ คือ ให้ไปทาธุรกิจ เกี่ยวกับ “พลาสติก” จะมีชีวิตรุ่งโรจน์ชัชวาลแน่นอน


30
ในปี 2017 ที่ภาวะราคาน้ามันตกต่า และรถยนต์ไฟฟ้า อาจจะมาแทนทรี่ ถเตมิ นา้ มนั ในระยะอนั ใกล้ ลา่ สดุ ทป่ี รกึ ษาธรุ กจิ ในระดบั โลก ตา่ งใหค้ วามเหน็ วา่ โรงกลน่ั ตา่ งๆ ควรพจิ ารณาขยาย และเปลี่ยนกาลังการผลิตจากน้ามันสาเร็จรูปเป็นปิโตรเคมีหรือ ธรุ กจิ ‘พลาสตกิ ’ นนั่ เอง ผา่ นไป 50 ปี กย็ งั เปน็ ธรุ กจิ ดาวรงุ่ ตอ่ ไป จึงเป็นอะไรท่นี่าสนใจจรงิๆ
“พลาสตกิ ” หลกั ๆ ผลติ มาจากนา้ มนั เมอื่ ผา่ นกระบวนการ ผลิตแล้วจะออกมาเป็นผลติภัณฑ์หลายรูปแบบเช่นขวดน้าท่อ ประปาสายไฟเสื้อผ้าเก้าอ้ีโซฟารวมไปถงึล้ินหัวใจเทยีมหรือ อวัยวะสารองต่างๆ พลาสติกจึงเป็นอะไรที่มีประโยชน์และ สามารถต่อยอดได้อีกมาก คาดกันว่าในอนาคต รถท้ังคันหรือ เครื่องบินท้งัลาอาจจะทาจากพลาสตกิ
ในขณะเดียวกัน ขยะท่ีเกิดจากพลาสติกก็มีมากอย่าง คาดไมถ่ งึ มขี อ้ มลู วา่ ตงั้ แตท่ ศวรรษ 1950 จนถงึ ปจั จบุ นั นา่ จะมี ขยะพลาสตกิสะสมอยู่ประมาณ6,500ล้านตันหรือเทยีบเทา่นา้ หนกั คนทง้ั โลก (ประมาณ 7,000 ลา้ นคน) รวมกนั 10 เทา่ ในจา นวน น้ี20%ถูกรีไซเคิลหรือเผาไปจานวนท่เีหลือไม่ถูกฝังกลบกถ็ูก ท้ิงลงทะเล ซึ่งต้องใช้เวลา 500 ปีกว่าจะย่อยสลาย ในแต่ละปีมี พลาสติกกว่า10ล้านตนัถูกท้ิงลงไปในทะเลและคาดกันว่าในปี 2050ขยะพลาสตกิในทะเลจะหนกักว่าน้าหนักของปลาท่วี่ายอยู่ ในทะเลท้งัหมดรวมกัน!
ถงุ พลาสตกิ เมอ่ื โดนนา้ ทะเลและแสงแดด จะถกู กดั กรอ่ น เปน็ เมด็ พลาสตกิ เลก็ ๆ ทเี่ รยี กวา่ Microplastic หรอื อนภุ าคพลาสตกิ ซงึ่ ยอ่ ยสลายไมไ่ ด้ นอกจากน้ี ในทะเลยงั มเี มด็ บดี สส์ ครบั ของโฟม ล้างหน้าที่เราใช้และท้ิงนา้ ลงสู่ทะเล เม่ือรวมกัน คาดวา่ ในทะเล มเี มด็ ตา่ งๆ เหลา่ นกี้ วา่ 50 ลา้ นลา้ นเมด็ ซึ่งบางส่วนก็ถูกปลากิน เข้าไปจากนั้นเรากก็ินปลาซ่ึงเป็นCleanFoodท้ายสุดเมด็บีดส์
Chapter 03 พลาสติก สะดวก ประหยัด ตายยาก


31
คือ น้าหนักของขยะพลาสติก
ท่ีสะสมมาในโลกน้ีตั้งแต่ปี 1950


32
ท่ีเราใช้ล้างหน้ากก็ลับมาอยู่ในตัวเราแทน ล่าสุดมีอีกประเด็นที่น่ากังวล คือ จากผลการศึกษาของ
OrbMediaพบว่าน้าดื่มบรรจขุวดพลาสติกบางย่หี้อก็มีอนุภาค พลาสตกิ ขนาดเลก็ ปนในนา้ ดมื่ ดว้ ย คาดวา่ นา่ จะเกดิ การปนเปอ้ื น ระหว่างการบรรจนุ้าดื่มลงในขวด
มีการประเมนิกันว่าเราใช้ขวดพลาสตกิกว่า110,000ล้าน ขวดตอ่ ปี ซง่ึ เปน็ เพยี งสว่ นเลก็ ๆ ของอตุ สาหกรรมพลาสตกิ บรษิ ทั ผู้ผลิตสินค้าบริโภครายใหญ่ๆ ไม่ว่าจะเป็น โค้ก แมคโดนัล พีแอนด์จี ตอนน้ีต่างก็ปวารณาที่จะ Recycle บรรจุภัณฑ์ให้ครบ 100%ในปี2030หรือบ้างกจ็ะใช้ผลิตภัณฑ์ท่เีป็นPlantPlastic หรอื พลาสตกิ ทมี่ สี ว่ นผสมของพชื หมนุ เวยี น เชน่ ขา้ วโพด ชานออ้ ย
Chapter 03 พลาสติก สะดวก ประหยัด ตายยาก


33
ล้าน คือ จานวนขวดพลาสติก
ที่มีการใช้งานทั่วโลกในแต่ละปี
หรือมันสาปะหลัง เป็นต้น เหมือนกับท่ีเราเติมเอทานอลท่ีผลิต จากพืชในน้ามันเพื่อเป็นแก๊สโซฮอล์ อันเป็นการลดการบริโภค พลาสติกจากฟอสซลิ
ขยะพลาสติกในปัจจุบันอาจจะไม่เป็นปัญหาที่ใหญ่ท่ีสุด เมื่อเทียบกับ Climate Change แต่เป็นปัญหาที่สะสม และจะเป็น เรอื่ งใหญใ่ นอนาคตอนั ใกล้ การใชพ้ ลาสตกิ ชวี ภาพทยี่ อ่ ยสลายได้ หรือ Biodegradable Plastic จึงน่าจะเป็นทางเลือกที่สาคัญ เพื่อที่ ขยะดังกล่าวจะไม่กลับมาทาร้ายตัวเราเอง ดังนั้นพวกเราควร ช่วยกันลดการบริโภคพลาสติก ด้วยการ Reduce Re-use และ Recycleเช่นใช้ถุงผ้าแก้วนา้ ชามกระดาษเพื่ออนุรักษ์สัตว์นา้ และทรัพยากรในท้องทะเลให้อยู่คู่กบัโลกใบนี้ไปอกีนาน
Everlasting Economy


CHAPTER O4Edible Packaging นวัตกรรมลดขยะพลาสติก


35
เผยแพร่ครั้งแรกคอลัมน์ Everlasting Economy หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
ฉบับวันที่ 28 กรกฎาคม 2560
การใช้ชีวิตประจาวันของผู้คนในยุคนี้มักจะชอบดื่มน้าจากขวดพลาสติกเพราะว่า มีน้าหนักเบา กะทดั รดั พกพาสะดวก เมอื่ ใชแ้ ลว้ เรากท็ ง้ิ ขวดลงถงั ขยะ ขวดพลาสตกิ ทอี่ ยู่ ในมือพวกเราไม่นาน ท่านทราบหรือไม่ครับว่าหลังจากเราท้ิงขวดพลาสติกแต่ละขวดไป ขวดพลาสติกเหล่านั้นต้องใช้เวลาย่อยสลายนานถึงห้าร้อยปีถึงจะย่อยสลายได้หมด


36
นอกจากขวดแล้วยังมีสิ่งของอ่นืๆอีกมากมายที่ทาจาก พลาสตกิ ไมว่ า่ จะเปน็ ถงุ แกว้ นา้ หรอื กลอ่ งอาหาร ทเ่ี ราใชไ้ มก่ ค่ี รง้ั แล้วท้ิงไป ลองไปดูในทะเลทั่วโลก ตอนนี้มีขยะพลาสติกปนอยู่ เป็นจานวนมาก สมมุติว่าท่านเห็นปลาว่ายน้า 5 ตัวจะพบขยะ พลาสตกิ 1 ชนิ้ ทน่ี า่ เปน็ หว่ งคอื หากเราไมห่ าทางลดขยะพลาสตกิ เหล่าน้ี ตามรายงาน The New Plastics Economy: Rethink the Future of Plastics ของ World Economic Forum คาดว่าในปี 2050 จะมีขยะพลาสติกเยอะพอๆ กับน้าหนักของปลาในมหาสมุทร รวมกนั และพลาสตกิ เหลา่ นนั้ กค็ งไมไ่ ดไ้ ปไหน บางชนิ้ ทมี่ ขี นาดเลก็ ก็คาดว่าจะถูกปลากินแล้วสะสมในตัวปลา เมื่อคนรับประทาน ปลาก็จะได้พลาสตกิแถมให้ด้วยแล้วท้ายท่สีุดลูกหลานเราน่เีอง ที่จะต้องกนิ สารพิษต่างๆ เหล่าน้ี
โชคดที ป่ี ญั หาเหลา่ นไี้ มไ่ ดถ้ กู เพกิ เฉย มหี ลายทมี วจิ ยั และ หลายบริษัทท่ีให้ความสนใจ พยายามช่วยกันหาทางออก เช่น การเปล่ียนมาใช้แก้วไบโอพลาสติกที่ย่อยสลายได้เองตาม ธรรมชาติซ่ึงบรษิัทบางจากคอปอร์เรชั่นจากัด(มหาชน)ได้นา มาใช้แล้วในร้าน Inthanin Garden ซึ่งเป็นร้านกาแฟท่ีให้ความ สาคัญกับส่ิงแวดล้อมและสงัคม
นอกจากไบโอพลาสติกแล้ว ในขณะนี้มีนวัตกรรมที่ สามารถช่วยลดพลาสติกท่ีได้รับความสนใจมากขนึ้เรอื่ยๆกค็อื บรรจภุ ณั ฑก์ นิ ได้ (Edible Packaging) จากสาหร่าย ท่ีเริ่มมีการผลติ ทดลองใช้แล้วอย่างOohoWaterซ่ึงเป็นตัวอย่างของบรรจภุณัฑ์ กินได้โดยเน้นใช้บรรจอุาหารประเภทเคร่อืงดื่มได้รับการพัฒนา ขึ้นโดยทีม Skipping Rocks Lab ในวิทยาลัย Imperial College กรงุ ลอนดอน ประเทศองั กฤษ โดย Ooho ผลติ ขนึ้ จากสารสกดั ทไ่ี ด้ จากสาหร่ายสนี า้ ตาลผสมกบั สารประกอบแคลเซยี ม รปู รา่ งหนา้ ตา ของ Ooho มีลักษณะเป็นทรงกลมใสขนาดเท่าผลส้ม ด้านใน
Chapter 04 Edible Packaging นวัตกรรมลดขยะพลาสติก


คือ มูลค่าของตลาดสินค้า บรรจุภัณฑ์กินได้ในปี 2559
37
บรรจุเครื่องดื่ม เช่น น้าเปล่าหรือน้าหวาน หลายท่าน ทไี่ ดต้ ดิ ตามโลกโซเชยี ลคงจะเคยไดเ้ หน็ คลปิ ไวรลั และเคย ไดเ้ หน็ หนา้ ตาของ Ooho Water นมี้ าบา้ งแลว้ โดยผบู้ รโิ ภค สามารถกิน Ooho ท้ังคาหรือกัดเปลือกให้เป็นรูเล็กๆ ดดู นา้ แลว้ ทง้ิ เปลอื กกไ็ ด้ ซงึ่ เปลอื กของ Ooho นนั้ สามารถ ยอ่ ยสลายไดเ้องตามธรรมชาตเิหมอื นเปลอื กสม้ ทเี่ราปอก แล้วท้ิงไป
Ooho ที่ว่าน้ียังอยู่ในช่วงเริ่มต้นของการพัฒนา กลมุ่ เปา้ หมายทพี่ วกเขาตอ้ งการขยายผลคอื ผเู้ ขา้ ชมงาน นิทรรศการ Expo ใหญ่ๆ งานมหกรรมกีฬา เช่น งาน ฟตุ บอล งานวงิ่ มาราธอน ทมี่ คี นมารวมตวั กนั เยอะๆ และ ต้องการเครื่องดื่มสาหรับดับกระหายเป็นจานวนหลาย ร้อยหลายพันถึงหลายหมื่นแก้วต่อหน่ึงงาน คาดว่า นวตั กรรมของพวกเคา้ จะชว่ ยลดขยะจา พวกขวดและแกว้ พลาสติกจากบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วทิ้งรวมทั้งหลอดดูดลงได้ อย่างมหาศาล
ซ่ึงในวนั ท่ี 7 กันยายนน้ี ทางบางจากฯ จะจัดงาน เปิดตัวสถาบันนวัตกรรมและบ่มเพาะธุรกิจ Bangchak InitiativeandInnovationCenter(BIIC)คาดว่าจะมผีู้ร่วม งานหลายร้อยคนซ่งึบรษิัทบางจากฯได้เชิญทีมOoho
Everlasting Economy


38
Ooho Water
Chapter 04 Edible Packaging นวัตกรรมลดขยะพลาสติก


คือ มูลค่าของตลาดบรรจุภัณฑ์กินได้ ที่คาดการว่าจะเติบโตขยายตัวในปี 2566
39
มาออกงานพร้อมกับโชว์ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ของพวกเขา เพื่อเป็นแรงบันดาลใจให้พวกเราคิดค้นนวัตกรรมลดขยะ พลาสติกที่น่าสนใจนี้ พร้อมพูดคุยแลกเปลี่ยนไอเดีย นวัตกรรมกนั
ในเบ้ืองต้นทมี Skipping Rocks Lab เล่าว่ากาลัง พยายามพัฒนา Ooho ของพวกเขาให้สามารถใช้กับ เครื่องด่ืมประเภทอื่น เช่น เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ด้วย และทางทีมคาดว่าจะผลิต Ooho ในเชิงพาณิชย์และ สามารถพัฒนาเครื่องผลิต Ooho ให้สามารถจาหน่าย ผลิตภัณฑ์ของพวกเขาตามร้านสะดวกซ้ือหรือ ซเูปอรม์ ารเ์กต็ ทั่วไปได้ในปีหน้า
ท ง้ ั น ี ้ จ า ก ก า ร ป ร ะ เ ม นิ ข อ ง ส ถ า บ นั S t r a t i s t i c s M a r k e t Research Consulting ประเทศสหรัฐอเมริกาคาดว่าตลาด บรรจุภัณฑ์กินได้ทั่วโลกในปี 2559 จะมีขนาดประมาณ 715ล้านดอลลาร์สหรฐัซึ่งน่าจะเติบโตได้อย่างต่อเน่อืง คาดว่าจะขยายตัวด้านการตลาดได้ปีละประมาณ 8.2 เปอรเ์ซน็ต์เปน็ 1.25พนัลา้นดอลลารส์หรฐัภายในปี2566
นับเป็นอีกหนึ่งนวัตกรรมทางเลือกที่จะสามารถ ช่วยลดปัญหาขยะบรรจภุ ณั ฑ์พลาสตกิ ในอนาคตได้ครบั
Everlasting Economy


CHAPTER O5จากแป้งและน้าตาลสู่อุปกรณ์ช่วยชีวิต


41
เผยแพร่ครั้งแรกคอลัมน์ Everlasting Economy หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
ฉบับวันที่ 23 มิถุนายน 2560
ข่าวอุบัติเหตุจากการขับข่ีรถยนต์ หรือแม้กระทั่งอุบัติเหตุจากการออกกาลังกาย ในบางครั้งอาจถึงข้ันกระดูกหักหรือพิการ ซึ่งวิวัฒนาการทางการแพทย์ในปัจจุบันทา ให้เรา สามารถเชอื่ มกระดกู ทหี่ กั ไปใหก้ ลบั มาไดเ้ หมอื นเดมิ แตใ่ นผปู้ ว่ ยบางรายอาจตอ้ งผา่ ตดั ซา้ ๆ หลายครงั้ จนร่างกายบอบช้ากระทบต่อเนื้อเย่ือ


42
วันน้ีผมเลยอยากจะเล่าถึงการบรรจบกันของเทคโนโลยี ชีวภาพและเทคโนโลยสีิ่งพิมพ์สามมติิหรือ3DPrintingที่จะช่วย รักษาฟื้นฟูผู้ป่วยได้ง่ายข้นึและลดขั้นตอนการผ่าตดัลง
ทา่ นผอู้ า่ นคงจะรจู้ กั พลาสตกิ ชวี ภาพทเี่ รยี กวา่ พลาสติก PLA(PolylacticAcid)กันดอียู่แล้วซ่ึงพลาสติกPLAส่วนมากจะ ใช้ในการผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วท้ิงอย่างเช่น แก้วพลาสติก หรอื กลอ่ งบรรจอุ าหารพลาสตกิ เพราะพลาสตกิ PLA มคี ณุ สมบตั ิ สาคัญ คือ สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติเม่ืออยู่ใน สภาวะเหมาะสม ช่วยลดขยะท่จี ะต้องกาจัดลงได้
ท่ีสาคัญอีกประเดน็คือพลาสติกPLAถูกพัฒนาข้นึมา เพ่ือใช้ทดแทนพลาสตกิที่ผลิตจากน้ามันปิโตรเลยีมซ่ึงก่อให้เกดิ มลพิษโดยเฉพาะก๊าซเรือนกระจกจากกระบวนการผลิต โดย พลาสติกPLAผลิตได้จากผลผลติทางการเกษตรในบ้านเราเช่น แป้งจากมันสาปะหลังและน้าตาลจากอ้อย นาไปผ่านการหมัก และกระบวนการเคมใีห้กลายเป็นพลาสตกิขึ้นมา
และอกี เทคโนโลยหี นงึ่ ทท่ี า่ นผอู้ า่ นนา่ จะรจู้ กั อกี เชน่ กนั คอื เทคโนโลยกีารพิมพ์แบบสามมิติหรือ3DPrintingซึ่งคาดกันว่า จะเป็นเทคโนโลยีแห่งยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม Industry 4.0 โดย 3DPrintingน้ีถูกพัฒนาข้นึเพ่ือช่วยวงการอตุสาหกรรมการผลติ ให้สามารถสร้างช้นิงานต้นแบบ(Prototype)ได้รวดเรว็ก่อนท่จีะ นาไปผลิตเป็นสินค้าล็อตใหญ่ๆ ต่อไป ซึ่งหากต้องการปรับแก้ ช้ินงานต้นแบบก็สามารถปร๊ินท์ใหม่ได้โดยใช้เวลาน้อยกว่า การสร้างแม่พิมพ์และการหล่อช้ินงานขึ้นมาใหม่ ประหยัดได้ท้ัง เวลาและต้นทุน ลดความส้ินเปลืองลงได้ จากข้อดีในจุดน้ีเอง จึงทาให้มีการนา 3D Printing ไปประยุกต์ใช้ในวงการอ่ืนๆ อีกมากมายหลายแขนง
นับว่านวัตกรรมทั้งสองต่างก็มีประโยชน์กันคนละด้าน
Chapter 05 จากแป้งและน้าตาลสู่อุปกรณ์ช่วยชีวิต


3D Print-
ing
หรือ เทคโนโลยี การพิมพ์แบบสามมิติ คือเทคโนโลยีแห่งยุค ปฏิวัติอุตสาหกรรม Industry 4.0 เนื่องจาก สามารถสร้างชิ้นงาน ต้นแบบ (Prototype) ได้รวดเร็ว ก่อนที่จะ นาไปผลิตเป็นสินค้า ล็อตใหญ่ๆ ต่อไป
43
Everlasting Economy


44
ซึ่งตอนน้ีได้มีการนาท้ังสองนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้งานร่วมกัน โดยพลาสติก PLA ได้รับความนิยมในการนามาใช้เป็นวัสดุการ พิมพ์สาหรับ 3D Printing เน่ืองจากมีจุดหลอมเหลวไม่สูงมาก สามารถนา มาหลอมผา่ นหวั ฉดี เพอื่ พมิ พเ์ ปน็ ชนิ้ งานสามมติ ไิ ดง้ า่ ย และเนอ่ื งจาก PLA ผลติ มาจากนา้ ตาลหรอื แปง้ เวลาทา การหลอม พลาสตกิ เพอื่ ฉดี ผา่ นหวั ฉดี จงึ มกี ลน่ิ คลา้ ยนา้ ตาลละลาย ตา่ งจาก พลาสติกท่ีผลิตจากปิโตรเลียมที่มักเกิดกล่ินและละอองควันที่มี อันตรายต่อผู้ใช้งานสูงกว่า
ในวงการแพทย์มกีารนาพลาสติกPLAมาใช้ในการผลติ ช้ินงานต่างๆด้วย3DPrintingเช่นช้ินส่วนของน้วิมอื แขนเทยีม และขาเทยี ม ทสี่ ามารถออกแบบใหม้ รี ปู รา่ งและขนาดทเ่ี หมาะสม
1986
คือ ปี ค.ศ. ท่ีเคร่ืองพิมพ์ 3 มิติ เคร่ืองแรก ถูกประดิษฐ์ขึ้นมา โดยชายชาวอเมริกันท่ีชื่อ Charles Hull ซ่ึงเป็นการต่อยอด เทคโนโลยี Rapid Prototyping และ Stereolithography ท่ีมีผู้คิดค้นไว้
Chapter 05 จากแป้งและน้าตาลสู่อุปกรณ์ช่วยชีวิต


45
เฉพาะเจาะจงกับผู้ป่วยท่ีพิการในแต่ละราย และยังถูกนาไปใช้ พมิ พเ์ ปน็ วสั ดเุ ฝอื กทมี่ ขี อ้ ดกี วา่ เฝอื กทวั่ ไป คอื นา้ หนกั เบาสามารถ ออกแบบใหม้ ลี กั ษณะโปรง่ เพอ่ื ใหอ้ ากาศถา่ ยเท มชี อ่ งวา่ งให้ล้าง ทาความสะอาดผวิหนงัของผู้ป่วยได้ง่ายกว่า
พลาสติก PLA ยังถูกนา ไปพิมพ์เป็นข้อต่อช่วยสมานหรอื สกรสู า หรบั ฝงั ในรา่ งกายผปู้ ว่ ย (Surgical screw) เพอ่ื ชว่ ยซอ่ มแซม อวยั วะทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากอบุ ตั เิ หตทุ างรา่ งกาย โดยชน้ิ งานจาก พลาสตกิ PLA มคี ณุ สมบตั ทิ ด่ี ี คอื สามารถยอ่ ยสลายไดใ้ นรา่ งกาย ทา ใหไ้ มต่ อ้ งผา่ ตดั ผปู้ ว่ ยซ้าเพอื่ เอาขอ้ ตอ่ หรอื สกรนู นั้ ออก ชว่ ยลด การบาดเจบ็ลงได้
นอกจากน้พีลาสติกPLAยังถูกนาไปใช้ในการผลติสินค้า อ่ืนๆ อีกมากมายหลายประเภท เช่น โมเดลหุ่นโชว์ เคร่ืองประดบั ของตกแต่งบ้านเคสสาหรับใส่มอืถือซึ่งสินค้าเหล่าน้บีางช้นิอาจ ถูกท้ิงหลังใช้งานได้ไม่นาน การใช้พลาสตกิ PLA ท่ีย่อยสลายได้ มาเป็นวสัดุในการผลิตก็จะช่วยลดปรมิาณขยะลงได้มาก
มติ ใิ หมใ่ นยคุ รทู้ นั เทคโนโลยจี งึ มกี ารนา นวตั กรรมพลาสตกิ ชวี ภาพและความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี 3D Printing มาประยกุ ต์ ใช้ร่วมกนันอกจากจะช่วยลดโลกร้อนแล้วยงัช่วยให้เรามชีีวติท่ีดี ขนึ้ จากอบุ ตั เิ หตตุ า่ งๆ โดยไมต่ อ้ งเจบ็ ตวั เพม่ิ จากการผา่ ตดั ซ้าดว้ ย
เร่ืองนี้เป็นโอกาสของประเทศไทยที่ควรได้รับการพัฒนา และสนับสนุนจากทกุภาคส่วนครบั
Everlasting Economy


CHAPTER O6Biodegradable สร้างผลิตภัณฑ์รักษ์โลก


47
เผยแพร่ครั้งแรกคอลัมน์ Everlasting Economy หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
ฉบับวันที่ 26 พฤษภาคม 2560
ผลิตภัณฑ์​หลากหลายชนิดในชีวิตประจาวันของเราทุกวันนี้ล้วนแต่มีพลาสติก​ เป็นส่วนประกอบ


48
ท่านผู้อ่านครบั จากรายงาน The New Plastic Economy ของสถาบันEllenMacarthurFoundationระบุว่าในแต่ละปีมกีาร ผลิตพลาสติกท่วัโลกกว่า300ล้านตันและประเภทของพลาสตกิ ท่ีมีการใช้งานมากท่สี ดุ คือ บรรจุภัณฑ์
และพลาสติกประเภทบรรจุภัณฑ์กลายเป็นขยะเกลื่อน เมอืงเพราะคนทวั่ไปใชเ้พยีงครงั้เดยีวกท็ง้ิ จะมเีพยีงแค่2%เทา่นนั้ ท่ีถูกนามารีไซเคลิ ต่อเนื่อง ท่ีเหลอื เป็นขยะต้องกาจัดทาลาย
ท่ีประเทศอังกฤษพบว่าในแต่ละปีมีการใช้แก้วกาแฟ พลาสติกแบบใช้แล้วท้ิงสูงถึง 2,500 ล้านใบ มีอัตราการรีไซเคิล ไม่ถึง1%กลายเป็นขยะท่ตี้องกาจัดมากมายมหาศาลและกาลัง กลายเปน็ ปญั หาเรอื้ รงั เพราะพลาสตกิ ตอ้ งใชเ้ วลายอ่ ยสลายนาน ถึง 500 ปี
ขณะนี้มีนักชีววิทยาพยายามใช้ตัวหนอนกัดกินและ ยอ่ ยสลายพลาสตกิ มาชว่ ยแกไ้ ขปญั หาซง่ึ อยใู่ นระยะศกึ ษาทดลอง และพฒั นา
Chapter 06 Biodegradable สร้างผลิตภัณฑ์รักษ์โลก


ล้านตัน คือปริมาณ การผลิตพลาสติกทั่วโลก ในแต่ละปี ในจานวนนั้น มีบรรจุภัณฑ์พลาสติก รวมเกือบ 80 ล้านตัน
49
จากปัญหาดงั กล่าวจงึ มกี ารพฒั นาพลาสตกิ ชีวภาพ (Biodegradable Plastic) ที่สามารถย่อยสลาย ได้เป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์กับน้า เม่ือนาไป ฝังกลบภายหลังการใช้งาน โดยใช้เวลาในการย่อย สลายสั้นลงกว่าพลาสตกิปกติเหลอืไม่ถึง5ปีหรือ ใช้เวลาเพยีงไม่กี่เดือนจะย่งิดี
พลาสติกชีวภาพน้ีสามารถผลิตได้จากพืช จาพวกแป้งและน้าตาล ในต่างประเทศนิยมใช้ ข้าวโพดหรือหัวบีท สาหรับประเทศไทยสามารถใช้ มนั สา ปะหลงั หรอื นา้ ตาลจากออ้ ยเปน็ วตั ถดุ บิ ในการ
ผลิตได้ พลาสติกชีวภาพท่ีผลิตจากพืชเหล่าน้ีส่วน ใหญ่มักจะเป็นสารพอลิเมอร์ (Polymer) ในกลุ่ม พอลิแลกติกแอซิดหรือ PLA (Polylactic Acid) และ พอลบิ วิ ธลิ นี ซคั ซเิ นต หรอื PBS (Polybutylene Succinate) ที่นามาใช้ในการผลิตเป็นแก้วสาหรับเคร่ืองด่ืม กล่องอาหารขวดบรรจขุองเหลวถุงหูห้วิส่วนใหญ่ ใช้คร้ังเดียวก็ท้ิง จึงเหมะสมท่ีจะนามาใช้เพราะ ย่อยสลายได้เรว็ ขยะพลาสติกกจ็ะลดลงเร็ว
ปัจจุบันผู้ผลิตและผู้ใช้ที่มีหัวใจสีเขียว รักษ์ส่ิงแวดล้อมนาพอลิเมอร์ที่ย่อยสลายได้มาผลิต เป็นผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ ท่ีมีระยะเวลาใช้งานส้ันและ ถกู ทงิ้ หลงั หมดอายกุ ารใชง้ านเพมิ่ มากขนึ้ เรอื่ ยๆ เชน่ รองเท้าว่งิ
ล่าสุดได้ข่าวว่าบริษัท Adidas ได้ริเริ่มนา นวัตกรรมในการใช้วัสดุธรรมชาติมาผลิตเป็นเส้นใย ที่มีความเหนียวแบบเส้นไหมมาใช้ในการผลิตเป็น
Everlasting Economy


50
รองเท้าว่งิท่ีมีความคงทนเหมือนรองเท้าว่งิท่วัๆไป แต่สามารถย่อยสลายได้ภายใน 36 ชว่ั โมงเมอ่ื อย่ใู น สภาวะท่ีเหมาะสมและมีเอนไซม์ช่วยย่อย และ อกี หนง่ึ ในความพยายามของผผู้ ลติ ทรี่ กั ษโ์ ลก หวงั จะ ชว่ ยลดขยะคอื ผลติ ผา้ อนามยั ทย่ี อ่ ยสลายไดเ้ องตาม ธรรมชาติ
การคดิ คน้ ของกลมุ่ นกั วจิ ยั University of Utah ได้พัฒนาการผลิตผ้าอนามัยยี่ห้อ SHERO จากวัตถดุิบธรรมชาติ100%ท่ีสกัดและสงัเคราะห์ ได้จากข้าวโพด เปลือกฝ้าย และสาหร่ายสีน้าตาล ที่ย่อยสลายได้ในสภาวะที่เหมาะสม ซ่ึงใช้เวลา ประมาณ 45 วนั ถงึ 6 เดอื น คาดวา่ จะผลติ ออกขาย ไดภ้ายในหน่ึงปีจากน้ี
อยา่ งไรกต็ าม จากขอ้ มลู โดยสมาคม Eurpean Bioplastic พบว่าพลาสติกประเภทนี้ ณ ปี 2560 มีกาลังผลิตรวมทั่วโลกเพียง 964,000 ตันเท่าน้ัน ไม่ถึง 1% ของกาลังผลิตพลาสติกท่ัวโลก คาดว่า กา ลงั ผลติ พลาสตกิ ชวี ภาพประเภทย่อยสลายได้เอง ตามธรรมชาติจะเติบโตเพ่ิมขึ้นอีกประมาณ 30% ทง้ั จากแรงกระตนุ้ ดา้ นปญั หาการกา จดั ขยะ และจาก ความต้องการลดการพึ่งพาฟอสซิลซึ่งเป็นวัตถุดิบ หลักของการผลติพลาสติกท่ีใช้อยู่ในปัจจบุัน
ผมคดิ วา่ เปน็ โอกาสดที ป่ี ระเทศไทยจะสง่ เสรมิ ให้เกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ เรามีศักยภาพและความพร้อมในส่วนต้นน้าด้าน วัตถุดิบทางการเกษตร เรามีท้ังมันสาปะหลังและ นา้ ตาลจากออ้ ยทสี่ ามารถผลติ และสง่ ออกไดเ้ ปน็ อนั ดบั
2%
คือ สัดส่วนของ พลาสติก ที่ได้รับการ นากลับมา รีไซเคิล
Chapter 06 Biodegradable สร้างผลิตภัณฑ์รักษ์โลก


Click to View FlipBook Version