The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วาระ3.2 คนดี เสนออนุเด็ก (4.4.65)(1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-04-10 21:20:28

วาระ3.2 คนดี เสนออนุเด็ก (4.4.65)(1)

วาระ3.2 คนดี เสนออนุเด็ก (4.4.65)(1)

โครงการ

“วุฒสิ ภา ศรทั ธาความดี”

โดย คณะกรรมาธิการการพฒั นาสงั คม และกจิ การเดก็ เยาวชน สตรี
ผู้สงู อายุ คนพกิ าร และผ้ดู อ้ ยโอกาส วุฒสิ ภา

นายบญั ชา มุแฮ

ผ้นู ากลุ่มเยาวชนแหง่ บ้านดอยชา้ งป่าแป๋ ตาบลปา่ พลู
อาเภอบ้านโฮง่ จังหวัดลาพูน

2

นายบัญชา มุแฮ เกิดท่ี “หมู่บ้านดอยช้างป่าแป๋”
ต.ป่าพลู อ.บ้านโฮ่ง จ.ลาพูน ห่างจากตัวเมืองลาพูน
ประมาณ ๖๐ กม. และต้องขึ้นไปบนดอยประมาณ
๒๐ กม.คนทั่วไปรู้จักชุมชนนี้ในนาม “ดอยจ้ะโข่”
ที่แปลว่า “ดอยหรือภูเขาของช้าง” เป็นหมู่บ้าน
ชาวปกาเกอะญอ มีประชากรประมาณ ๓๐๐ คน
๖๘ ครัวเรือน ส่วนมากประกอบอาชีพรับจ้าง, เล้ียง
สัตว์, ทอผ้า, ปลูกกาแฟ ใช้ชีวิตแบบเรียบง่าย
ท่ามกลางผืนป่าท่ีอุดมสมบูรณ์ แต่พื้นท่ีดังกล่าวกลับ
ได้รับผลกระทบจากนโยบายและกฎหมายการจัดการ
ทรพั ยากรของรฐั อย่างตอ่ เนื่อง

3

ในปี ๒๕๐๗ หลังจากมี พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ ทาให้ชุมชน
ดอยช้างป่าแป๋ถูกประกาศเป็นเขตป่าสงวนแห่งชาติโดยไม่กัน
พ้ืนที่ชุมชนออก ต่อมามี พ.ร.บ สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.
๒๕๖๒ พื้นท่ีชุมชนบ้านดอยช้างป่าแป๋ จานวน ๒๑,๐๒๓ ไร่
ถูกประกาศเปน็ เขตห้ามล่าสัตว์ป่าอกี ด้วย นอกจากนี้ หลังจากมี
นโยบายทวงคืนผืนป่าในปี ๒๕๕๗ ส่งผลให้หน่วยงาน
ทเี่ ก่ียวข้องต้องดาเนนิ การทวงคนื พื้นท่ีทากนิ ของชาวบ้าน แม้ว่า
จะเปน็ พื้นที่ท่ีชุมชนทากนิ มานานแลว้ ผลจากการประสบปัญหา
ด้านท่ีดิน ทาให้ชุมชนเล็งเห็นว่าการขับเคลื่อนเพียงในชุมชน
ด้วยกันเองอาจไม่สามารถแก้ไขปัญหา จึงเข้าร่วมกับสหพันธ์
เกษตรกรภาคเหนือ ในฐานะสมาชิกของขบวนการประชาชน
เพอื่ สงั คมท่ีเปน็ ธรรม (พีมูฟ) ต้ังแตป่ ี ๒๕๖๒ ถึงปจั จุบัน

4

อกี ปัญหาสาคัญคือ เมือ่ ถึงฤดูแล้งปญั หาที่ส่งผลกระทบของคนและป่า

ก็คือ “ไฟป่า” ดังน้ัน “นายบัญชา มุแฮ” อายุ ๓๕ ปี จึงได้ผัน

ตัวเองจากการทางานดนตรีมาพัฒนาชุมชนบ้านเกิด โดยในปี ๒๕๕๙

เข้าไปมีบทบาทสาคัญในการดูแลปกป้องพ้ืนท่ี โดยเป็นผู้นากลุ่ม

เยาวชนทาหน้าที่เป็นกระบอกเสียงบอกเล่าเร่ืองราวของชุมชน ผ่าน

การอนุรักษ์ผืนป่าและต้นน้าร่วมกับชาวบ้านและเยาวชนในการดูแล

ป่าต้นน้าดอยช้างอย่างต่อเน่ืองทุก ๆ ปี ท้ังทาแนวกันไฟ (ระยะทาง

๔๐-๖๐ กิโลเมตร) เพื่อดับไฟป่า การเตรียมตัวรับหน้าแล้งดว้ ยการนา

ถังน้าไปติดตั้งไว้ตามจุดต่าง ๆ เพ่ือไว้ดับไฟป่า แม้ว่าการเข้าไปใน

พื้นที่จะยากลาบาก ต้องปีนหน้าผาเสี่ยงอันตราย เพ่ือนาถังน้ามัน

๒๐๐ ลิตรบรรจุน้าฝนไปต้ังไว้และขุดสระน้าที่เป็นตาน้าเล็กๆ เพ่ือใช้

ดับสกดั ไฟป่า 5

“ทาในวันนี้เพื่อหยุดไฟป่าในวัน หน้า”
ถือเป็นแนวคิดสาคัญท่ีกลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่
จิตอาสาบ้านป่าป๋ึยึดถือมาโดยตลอด โดยใน
บางคร้ังชาวบ้านท่ีไปเล้ียงวัวควายจะช่วยกัน
สังเกตว่าเกิดควันไฟบริเวณไหนก็จะรายงานให้
ทราบ และกลุ่มเยาวชนจะทาหน้าที่ม้าเร็ว เข้า
ไปสารวจและดับไฟโดยมีรถมอเตอร์ไซค์เป็น
พาหนะ

6

ลงุ ตี๋-นายจารสั แซ่ลิม้

อดตี พนักงาน ขสมก. ผู้ทางาน “จิตอาสาจราจร” มากวา่
40 ปี พรอ้ มอทุ ิศตัวเอง ทาความดเี พื่อสงั คม

7

“ลุงจารัส แซ่ลิ้ม หรือลุงต๋ี” อดีตพนักงาน
เก็บค่าโดยสารรถเมล์ องค์การขนส่งมวลชน
กรุงเทพ (ขสมก.) กับวัย 64 ปีในวันนี้ แม้จะ
เกษียณจากอาชีพกระเป๋ารถเมล์แล้ว แต่ลุงก็ยัง
มุ่งมั่นทางานจิตอาสามาตลอด 40 ปี ควบคู่กับ
การเป็นกระเป๋ารถเมล์ คือ การอานวยความ
สะดวกให้แก่ผู้ใช้รถใช้ถนนบนเส้นทางจราจรอย่าง
แข็งขันโดยไม่ได้รับค่าตอบแทน สร้างความ
ประทบั ใจให้แก่ผูพ้ บเหน็ เปน็ อยา่ งมาก

8

เร่ิมต้นจากลุงตี๋มีโอกาสใช้เวลาว่างหลังจากการทางาน
ปกติมาโบกรถ เร่ิมต้นท่ีแรกคือหน้าท่าอากาศยาน
ดอนเมือง โดยลุงต๋ีก็จะคอยดูแลชาวต่างชาติโดยใช้
ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร แม้จะไม่เคยเรียน
ภาษาอังกฤษ นอกจากน้ี ยังชว่ ยยกของยกกระเป๋าด้วย
แม้จะมีคนตั้งคาถามหรือสงสัยว่าทาไปทาไม แต่
ความสุขของลุงตี๋คือการได้ช่วยเหลือสังคม ไม่ใช่เป็น
เพียงการสร้างภาพเพื่อให้คนชื่นชม แต่ทาด้วยเพราะ
ใจรัก นอกจากน้ี เวลาเกิดอุบัติเหตุลุงก็ไปช่วยบริการ
ดา้ นจราจร หรือเวลามไี ฟไหม้กไ็ ปชว่ ย

9

สว่ นการแต่งการท่ีคล้ายตารวจจราจรของคณุ ลุง หากเป็น
ที่อ่ืนอาจจะมีปัญหา แต่ว่าลุงกลายเป็นส่วนหน่ึงของ
ชุมชนไปแล้ว ทุกคนรู้จักและให้การยอมรับในการปฏิบัติ
หน้าที่ อีกท้ังการแต่งกายแบบนี้ก็จะทาให้เกิดความ
ปลอดภัยเนื่องจากเป็นเส้ือสะท้อนแสง ทาให้ไม่เกิด
ปัญหาใดๆ และจากการทาความดีของลุงตี๋ ทาให้มโี อกาส
เข้าเฝ้ารับโล่รางวัลจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
โสมสวลี จากการเป็นอาสาจราจร และแม้ปัจจุบัน
จะไมม่ ีรายได้แล้ว แต่ลงุ ยงั พยายามหารายได้ด้วยการเก็บ
ขยะเก็บของเก่าขาย ควบคู่กบั การเป็นจติ อาสาจราจร

10

นางสาวปทั มา สายสะอาด

ผ้อู านวยการหญงิ นักพฒั นาแห่งโรงเรยี นวัดหวายเหนยี วปญุ สริ วิ ทิ ยา
จ.กาญจนบุรี ผอู้ ทุ ิศตนด้วยเช่อื ว่า “เด็ก” สามารถพัฒนาได้

11

“ น า ง ส า ว ปั ท ม า ส า ย ส ะ อ า ด ” เ ป็ น ผู้ อ า น ว ย ก า ร ห ญิ ง
สายลุย บรรจุเข้ารับราชการเป็นครูคร้ังแรกใน ปี 2538 และต่อมา
ในปี 2549 ได้เข้ามาบริหารงานโรงเรียนในตาแหน่งผู้อานวยการ
คร้ังแรกในปี 2549 ที่ รร.บ้านเสาหงส์อ.บ่อพลอย จ.กาญจนบุรี
ปัจจุบันเป็นผู้อานวยการอยู่ท่ีโรงเรียนวัดหวายเหนียวปุญสิริวิทยา
อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี จึงเป็นเวลา 16 ปีแล้ว ที่เธอเป็น
ผู้อานวยการนักพัฒนาผู้เต็มไปด้วยจิตวิญญาณแห่งความเป็นครู
มุ่งมั่นพัฒนาท้ังโรงเรียนและนักเรียนให้มีศักยภาพและคุณภาพชีวิตที่
ดีข้ึนรวมทั้งแก้ไขปัญหาให้เด็ก ซ่ึงส่วนใหญ่มีฐานะยากจนและ
มีพัฒนาการเรียนรู้ช้า (LD) และมีปัญหาเร่ืองยาเสพติด (เน่ืองจาก
โรงเรียนวัดหวายเหนียวปุญสิริวิทยา อยู่ในพ้ืนที่สีชมพูท่ีมีปัญหา
ยาเสพตดิ ) จนสามารถเปลย่ี นโรงเรียนใหด้ ีข้ึน

12

“โรงเรียนวัดหวายเหนียวปุญสิริวิทยา” เป็นโรงเรียน
ขยายโอกาส ที่เปิดสอนในระดับช้ันอนุบาล 1 ถึง
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปัจจุบันมีนักเรียนทั้งสิ้น 528 คน เม่ือ
ครั้งที่เธอเข้ามารับหน้าท่ีผู้บริหารใหม่ๆ พบปัญหาหลาย
ดา้ นที่ต้องเร่งแกไ้ ข คือ เร่ืองสภาพความพรอ้ มใช้ของอาคาร
สถานท่ี ปัญหาอาคารเรียนท่ีทรุดโทรมแต่ไม่มีงบประมาณ
ร้ือถอน สภาพส่ือการเรียนการสอน นอกจากนี้ ผอ.ปัทมา
ยังให้ความสาคัญถึงข้ันไปติดตามรับทราบปัญหาถึงบ้าน
ของเด็กๆ ถึงท่ีบ้าน เม่ือเธอเร่ิมสังเกตเห็นเด็กมาโรงเรียน
สาย บางคนขาดเรียน จึงลงไปติดตาม ทาให้ทราบว่า
ปัญหาความยากจน ปัญหาครอบครัวหย่าร้าง พ่อแม่ไม่มี
เวลาดแู ลลูก ส่งผลกระทบต่อการเรยี นของนกั เรยี น

13

วิธีหน่ึงในการแก้ไขปัญหาในเบ้ืองต้น คือขอทุน

ส นั บ ส นุ น จ า ก ผู้ ใ ห ญ่ ใ จ ดี ห ล า ย ภ า ค ส่ ว น เ พ่ื อ น า ม า

พัฒนาโรงเรียนอีกด้วย รวมท้ังต่อยอดทักษะชีวิตนอก

ห้องเรียน โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะชีวิตให้แก่เด็ก

โดยใช้พ้ืนที่ด้านหลังของโรงเรียน ซึ่งไม่ได้ใช้ประโยชน์

มาทาเศรษฐกิจพอเพียงภายใต้โครงการ “Smart

Farm” คือ การปลูกพืชผักสวนครัว เลี้ยงปลาดุก ปลูก

ผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ ทาสวนหม่อน ปลูกกล้วย ปลูกมะนาว

ตอนน้ีทาโรงเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐาน เพ่ือให้เด็กรู้หน้าที่

ของตัวเองอีกทั้งยังได้ผลผลิตนาไปขายเป็นรายได้ มี

การทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย นอกจากน้ียังมีโครงการ

สรา้ งรายได้ใหน้ ักเรยี นอกี หลายโครงการ เช่น โครงการ

ธนาคารขยะ 14

แม้จะต้องประสบปัญหาท่ียากแก่การ
แก้ไข แต่เธอก็พยายามทาให้ดีท่ีสุด จน
ได้รับรางวัล คุรุเกียรติคุณ ประเภท
ผู้บริหารสถานศึกษาดีเด่น ในปี 2561
จากกระทรวงศึกษาธิการ และรางวัลอ่ืนๆ
อกี มากมาย

15


Click to View FlipBook Version