ศิลาจารึกหลักที่1
ศิ ล า จ า รึ ก พ่ อ ขุ น ร า ม คำ แ พ ง
ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ E - B O O K
ศิลาจารึกหลักที่1
คำนำ
ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ E - B O O K เ รื่ อ ง
ศิ ล า จ า รึ ก ห ลั ก ที่ ๑ ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า
ไ ท ย ร ะ ดั บ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ ๔ เ ป็ น น วั ต ก ร ร ม
ด้ า น สื่ อ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ใ ช้ สำ ห รั บ
ผู้ เ รี ย น รู้ เ รื่ อ ง ศิ ล า จ า รึ ก ห ลั ก ที่ ๑
ข้ า พ เ จ้ า ห วั ง เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ว่ า ห นั ง สื อ
อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ E - B O O K เ ล่ ม นี้ จ ะ เ ป็ น
ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ค รู ผู้ ส อ น แ ล ะ ผู้ ส น ใ จ เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง
ท้ า ย นี้ ข อ ข อ บ คุ ณ ผู้ ที่ ไ ด้ ใ ห้ คำ แ น ะ นำ ชี้ แ น ะ จ น เ ป็ น
ที่ สำ เ ร็ จ เ รี ย บ ร้ อ ย ส ม บู ร ณ์
ค ณ ะ ผู้ จั ด ทำ
สารบัญ
เ รื่ อ ง
ห น้ า
ศิลาจารึกพ่ อหลักที่1 ๑
ผู้แต่ง ความมุ่งหมาย ๒
ลักษณะคำประพันธ์ เนื้อหาสาระสำคัญ ๓-๕
คุณค่าทางวรรณคดี
องค์ประกอบ เนื้อหา ๖
ความน่าสนใจ ๗
๘
ศิลาจารึกหลักที่1
เ ป็ น ศิ ล า จ า รึ ก ที่ บั น ทึ ก เ ห ตุ ก า ร ณ์
ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ส มั ย ก รุ ง สุ โ ข ทั ย ศิ ล า จ า รึ ก นี้ เ จ้ า
ฟ้า ม ง กุ ฎ ฯ ( ต่ อ ม า คื อ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ
พ ร ะ จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว )
ข ณ ะ ผ น ว ช อ ยู่ เ ป็ น ผู้ ท ร ง ค้ น พ บ เ มื่ อ วั น ก า บ
สี ขึ้ น 8 ค่ำ เ ดื อ น 3 จ . ศ . 1 2 1 4 ต ร ง กั บ วั น ศุ ก ร์
ที่ 1 7 ม ก ร า ค ม ค . ศ . 1 8 3 4 ห รื อ พ . ศ . 2 3 7 6 ณ
เ นิ น ป ร า ส า ท เ มื อ ง เ ก่ า สุ โ ข ทั ย อำ เ ภ อ เ มื อ ง
สุ โ ข ทั ย จั ง ห วั ด สุ โ ข ทั ย
มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น ห ลั ก สี่ เ ห ลี่ ย ม ด้ า น เ ท่ า ทรง
ก ร ะ โ จ ม สู ง 1 1 1 เ ซ น ติ เ ม ต ร ห น า 3 5
เ ซ น ติ เ ม ต ร เ ป็ น หิ น ท ร า ย แ ป้ ง เ นื้ อ ล ะ เ อี ย ด มี
จ า รึ ก ทั้ ง สี่ ด้ า น
ปั จ จุ บั น เ ก็ บ อ ยู่ ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห่ ง ช า ติ
พ ร ะ น ค ร ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร
ผู้แต่ง
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช กษัตริย์ผู้ประดิษฐ์อักษรไทย
กษัตริย์ลำดับที่3 ของราชวงศ์พระร่วงแห่งกรุงสุโขทัย
จุดประสงค์ในการแต่ง
เพื่อบันทึกเรื่องราวสำคัญในสมัยกรุงสุโขทัย ลักษณะการปกครอง
วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของราษฎร ตลอดจนบรรยายถึงความเจริญ
รุ่งเรือง และความสมบูรณ์พู นสุขของกรุงสุโขทัย เนื้อความในศิลา
จารึก ทำให้อนุชนรุ่นหลังได้ทราบพระราชประวัติของพ่อขุนรามคำแหง
แต่เพียงคร่าวๆ ไม่ได้บ่งบอกถึงรายละเอียดชัดเจนนักว่า ทรงพระราช
สมภพแต่เมื่อปีพุ ทธศักราชใดแน่ชัด บอกแต่เพียงว่าพระองค์ทรงมีพี่
น้อง ๕ คน โดยพ่อขุนรามคำแหงเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ ๓ ของ
พ่อขุนศรีอินทราทิตย์กับนางเสือง พระองค์มีพระเชษฐา ๒ พระองค์
และพระขนิษฐา ๒ พระองค์ พระเชษฐาพระองค์แรกสิ้นพระชนม์ตั้งแต่
พ่อขุนรามคำแหงยังทรงพระเยาว์ พระเชษฐาพระองค์ที่สองทรง
พระนามตามศิลาจารึกว่า "พระยาบานเมือง" ซึ่งได้เสวยราชสมบัติต่อ
จากพระราชบิดา และเมื่อพ่อขุนบานเมืองได้เสด็จสวรรคตแล้ว พ่อขุน
รามคำแหงจึงเสวยราชสมบัติต่อมา
ลักษณะคำประพั นธ์
แต่งเป็นร้อยแก้ว ส่วนใหญ่เป็นประโยคความเดียวที่สื่อความหมาย
ตรงตัว เข้าใจง่าย อีกทั้งบางตอนมีเสียงสัมผัสคล้องจอง เช่น
ในนํ้ามีปลา ในนามีข้าว ทำให้เกิดความไพเราะ
เนื้อหา
สาระสำคัญจารึกพ่อขุนรามคำแหง หรือ จารึกหลักที่ 1 เป็นศิลาจารึกที่บันทึกเหตุการณ์
ประวัติศาสตร์สมัยกรุงสุโขทัย ศิลาจารึกนี้ เจ้าฟ้ามงกุฎฯ (ต่อมาคือพระบาท
สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)
ขณะผนวชอยู่เป็นผู้ทรงค้นพบเมื่อวันกาบสี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 3 จ.ศ.1214
ตรงกับวันศุกร์ที่ 17 มกราคม ค.ศ. 1834 หรือ พ.ศ. 2376
ณ เนินปราสาทเมืองเก่าสุโขทัย อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย
มีลักษณะเป็นหลักสี่เหลี่ยมด้านเท่า ทรงกระโจม สูง 111 เซนติเมตร หนา 35
เซนติเมตร
เป็นหินทรายแป้งเนื้อละเอียดมีจารึกทั้งสี่ด้าน ปัจจุบัน
เก็บอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร
เนื้อหาของจารึกแบ่งได้เป็นสามตอน ตอนที่หนึ่ง บรรทัดที่ 1 ถึง 18 เป็นการ
เล่าพระราชประวัติพ่ อขุนรามคำแหงมหาราชตั้งแต่ประสูติจนเสวยราชย์
ใช้คำว่า "กู" เป็นหลัก ตอนที่ 2 ไม่ใช้คำว่า "กู" แต่ใช้ว่า "พ่อขุนรามคำแหง"
เล่าถึงเหตุการณ์และธรรมเนียมในกรุงสุโขทัย และตอนที่สาม ตั้งแต่ด้านที่ 4
บรรทัดที่ 12 ถึงบรรทัดสุดท้าย มีตัวหนังสือต่างจากตอนที่ 1 และ 2 จึงน่า
จะจารึกขึ้นภายหลัง เป็นการสรรเสริญและยอพระเกียรติพ่อขุนรามคำแหง
และกล่าวถึงอาณาเขตราชอาณาจักรสุโขทัย
จารึกได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น มรดกความทรงจำแห่งโลก เมื่อ
ปี พ.ศ. 2546 โดย ยูเนสโก บรรยายว่า "[จารึกนี้] นับเป็น
มรดกเอกสารชิ้นหลักซึ่งมีความสำคัญระดับโลก เพราะให้
ข้อมูลอันทรงค่าว่าด้วยแก่นหลักหลายประการเกี่ยวกับ
ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมโลก ไม่เพียงแต่บันทึกการ
ประดิษฐ์อักษรไทยซึ่งเป็นรากฐานแห่งอักษรที่ผู้คนหกสิบล้าน
คนใช้อยู่ในประเทศไทยปัจจุบัน การพรรณนาสุโขทัยรัฐไทย
สมัยศตวรรษที่ 13 ไว้โดยละเอียดและหาได้ยากนั้นยังสะท้อน
ถึงคุณค่าสากลที่รัฐทั้งหลายในโลกทุกวันนี้ร่วมยึดถือ"
มีการตั้งคำถามเกี่ยวกับความเชื่อถือได้ของบางส่วนหรือ
ทั้งหมดของศิลาจารึกดังกล่าว พิริยะ ไกรฤกษ์ นักวิชาการที่
สถาบันไทยคดีศึกษา ออกความเห็นว่า การใช้สระในศิลาจารึกนี้
แนะว่าผู้สร้างได้รับอิทธิพลมาจากระบบพยัญชนะยุโรป เขา
สรุปว่าศิลาจารึกนี้ถูกบางคนแต่งขึ้นในรัชกาลที่ 4 หรือไม่นาน
ก่อนหน้านั้น นักวิชาการเห็นต่างกันในประเด็นว่าด้วยความน่า
เชื่อถือของศิลาจารึกนี้ ผู้ประพันธ์บางคนอ้างว่ารอยจารึกนั้น
เป็นการแต่งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ทั้งหมด บ้างอ้างว่า 17
บรรทัดแรกนั้นเป็นจริง บ้างอ้างว่ารอยจารึกนั้น พระยาลือไทย
ทรงแต่งขึ้น
นักวิชาการไทยส่วนใหญ่ยังยึดถือความน่าเชื่อถือ
ของศิลาจารึกนี้ รอยจารึกดังกล่าวและภาพลักษณ์
ของสังคมสุโขทัยในจินตนาการยังเป็นหัวใจของ
ชาตินิยมไทย และ ไมเคิล ไรท์ นักวิชาการชาว
อังกฤษ เสนอแนะว่าศิลาจารึกดังกล่าวอาจถูกปลอม
ขึ้น ทำให้เขาถูกขู่ด้วยการเนรเทศภายใต้ กฎหมาย
หมิ่นพระบรมเดชานุภาพของไทย
ส่วนจิราภรณ์ อรัณยะนาค เขียนบทความแสดง
ทัศนะว่า ศิลาจารึกหลักที่ 1 ได้ผ่านกระบวนการสึก
กร่อนผุสลายมาเป็นเวลานานหลายร้อยปี ใกล้เคียง
กับศิลาจารึกหลักที่ 3 หลักที่ 45 และหลักที่กล่าวถึง
ชีผ้าขาวเพสสันดร ไม่ได้ทำขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4
คุณค่าทางวรรณคดี
ด้านวรรณศิลป์
ใช้คำไทยแท้ในการแต่ง
ใช้ภาษาง่ายๆ อ่านแล้วเข้าใจได้ในทันที ประโยคความ
เดียว ไม่ซับซ้อน
เป็นร้อยแก้วที่มีคำสัมผัสคล้องจองโดดเด่นทั้งสัมผัส
พยัญชนะ และสระ
ใช้คำซ้ำ ให้เกิดจังหวะในการอ่าน เน้นย้ำความ
ใช้อุปมาโวหาร ''ดั่ง''
ด้านเนื้อหา
เป็นวรรณคดีลายลักษ์อักษรเรื่องแรกของไทย
สะท้อนสภาพบ้านเมืองสมัยสุโขทัยในทุกด้าน
องค์ประกอบ
ลักษณะของศิลาจารึก
หินชนวนสี่เหลี่ยม ยอดแหลมปลายมนสูง 1 เมตร 11
เซนติเมตร
มีข้อความ 4 ด้าน
ด้านที่ 1 และ 2 มี35 บรรทัด
ด้านที่ 3 และ 4 มี 21 บรรทัด
เนื้อหาบนศิลาจารึก
ศิลาจารึกหลักที่ 1 แบ่งออกเป็น 3 ตอน
ตอนที่ 1 ด้านที่ 1 บรรทัดที่ 1-18
พระราชประวัติพ่อขุนรามคำแหง วีรกรรมการสู้รบกับขุน
สามชน
ตอนที่ 2 ด้านที่ 1 ตั้งแต่บรรทัดที่ 18 จนจบด้านที่ 2
สภาพบ้านเมือง ขนบธรรมเนียม ประเพณีและเหตุการณ์
สำคัญๆในสมัยพ่ อขุนรามคำแหง
ตอนที่ 3 ตั้งแต่ด้านที่ 3 บรรทัดที่ 10 จนจบด้านที่ 4
เป็นการสรรเสริญ ยอพระเกียรติพ่อขุนรามคำแหง
ความน่าสนใจ
ลายสือไทย
ศิลาจารึกบันทึกด้วยลายสือไทยซึ่งเป็นตัวอัก
ณรที่ดัดแปลงมากจากอักษรขอมโดยมีลักษณะ
และการใช้ที่แตกต่างจากอักษรไทยปัจจุบันดังนี้
ลักษณะตัวอักษรต่างกับปัจจุบัน มีตัว
อักษรไม่ครบ44ตัว
เขียนสระและพยัญชนะอยู่บรรทัดเดียวกัน
สระอยู่หน้าพยัญชนะอยู่บรรทัดเดียวกัน
สระอยู่หน้าพยัญชนะ เว้นสระอา
มีวรรณยุกต์2 รูปคือ เอง( ่) เเละโท( ้)
ใช้การซ้อนตัวสะกดเเทนไม้หันอากาศ
สระอือ สระออไม่ใช้ อ เช่น พ่อ >พ่
ใช้ • (นฤคหิต) เเทนสระอำ เเละใช้เเทน ม
เมื่อเป็นตัวสะกด เช่น พนม>พนิ
ใช้ไม้เอก( ่) เเทนไม้ไต่คู้
คณะผู้จัดทำ
1.นายธนพงษ์เขมะปัญญาเลขที่ ๑๔
2.นายพรรยชญ์ สาระพันธ์ เลขที่ ๑๖
3.ด.ญ.ขวัญข้าว โสมณวัตร์ เลขที่ ๑๙
4.น.ส.ภคมน สนณกุล เลขที่ ๒๘
5.น.ส.กัญญารัตน์ แก้วธรรมมา เลขที่ ๓๓
6.น.ส.ณุภัทรณีย์ จันทร์น้อย เลขที่ ๔๐
7.น.ส.อภิชญา เพียรทอง เลขที่ ๔๑
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔/๑๓