The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Mew. Sit, 2023-01-24 20:49:50

คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3

คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3

คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3 97 ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร งานวิจัย : 1. ฉวีวรรณ เจริญผ่อง ชลาธร จูเจริญ และ สุภาภรณ์ เลิศศิริ. 2565. ปัจจัยการตัดสินใจเข้าร่วม เกษตรแปลงใหญ่โกโก้ ของเกษตรกรในอำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง วารสารแก่นเกษตรจะ ตีพิมพ์บทความของท่านในปีที่ 50 ฉบับที่ 3 (พ.ค.-มิ.ย. 2565) 2. วณัฐญา งอยผาลา ชลาธร จูเจริญ ธานินทร์ คงศิลา และ สุภาภรณ์ เลิศศิริ. 2565. ปัจจัย ความสำเร็จของเกษตรกรผู้ผลิตผ้าครามในอำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนครวารสารแก่นเกษตร จะตีพิมพ์บทความของท่านในปีที่ 50 ฉบับที่ 3 (พ.ค.-มิ.ย. 2565) 3. ชลาธร จูเจริญ พชรธิดา ชมภูทา สุภาภรณ์ เลิศศิริและ สหภาพ ศรีโท. 2564. การผลิตชาตาม เกษตรที่ดีสำหรับใบชาสดของเกษตรกรผู้ผลิตชาในพื้นที่มูลนิธิโครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่ วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 52 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 4. ณัทณลัลน์ เรืองธนอภัยสุข ชลาธร จูเจริญ และ สุภาภรณ์ เลิศศิริ. 2564. ความต้องการความรู้ เรื่องการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของเกษตรกรผู้ปลูกเผือกหอมแปลงใหญ่ อำเภอบ้าน หมอ จังหวัดสระบุรี วารสารวิทยาศาสตร์เกษตรปีที่ 52 ฉบับที่ 2 เดือน พฤษภาคม - สิงหาคม 5. พชรธิดา ชมภูทา ชลาธร จูเจริญ และ สุภาภรณ์ เลิศศิริ. 2563. ความรู้ของเกษตรกรในการ ผลิตชาภายใต้มูลนิธิโครงการหลวงในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ การประชุมวิชาการเกษตรพระจอม เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ครั้งที่ 7 6. มัลลิกา นนท์มุด สุภาภรณ์ เลิศศิริชลาธร จูเจริญ และธวัชชัย พินิจใหม่. 2562. ความคิดเห็นที่ มีต่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร วารสารเกษตรพระจอมเกล้า ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 หน้า 61-68 7. วิษณุ สุขบำเพิง และ สุภาภรณ์ เลิศศิริ. 2559. ความพึงพอใจของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ สงเคราะห์ปลูกแทนของสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช. การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 54


คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3 98 ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร 8. สุภาภรณ์ เลิศศิริ, พิชัย ทองดีเลิศ และ กิตติพันธ์ หันสมร. 2559. การศึกษาความเป็นไปได้ใน การลงทุนทำสวนทุเรียนเมืองนนท์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ปีที่ 35, ฉบับที่ 4, กรกฎาคม - สิงหาคม, หน้า 202-208


คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3 99 ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร ชื่อ - นามสกุล : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฏฐณิชา ณ นคร ตำแหน่งปัจจุบัน : อาจารย์ประจำหลักสูตรเอ็มบีเอ สังกัดบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประวัติการศึกษา : สถาบันการศึกษา วุฒิการศึกษา สาขา ปีการศึกษาที่ จบ มหาวิทยาลัยรังสิต ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต 2538 มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาตรี ศิลปศาสตร์บัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) 2548 มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การเงิน) 2542 มหาวิทยาลัยสยาม ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การจัดการ) 2553 ประวัติการทำงานที่สำคัญ : ปี ชื่อผลงาน/โครงการ 2558 – ปัจจุบัน กรรมการฝ่ายพัฒนามวยไทยหญิงและเยาวชน สมาคมมวยไทยสมัครเล่นแห่ง ประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามบรมราช กุมาร 2556 – ปัจจุบัน อาจารย์ประจำหลักสูตรเอ็มบีเอ สังกัดบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2556 - 2559 ที่ปรึกษาผู้ว่าการ การกีฬาแห่งประเทศไทย ด้านการบริหารสิทธิประโยชน์ กีฬา 2551 - 2556 มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ตำแหน่ง อาจารย์ประจำหลักสูตรมหาบัณฑิต 2539 - 2541 สภามวยไทยโลก ตำแหน่ง ผู้ช่วยกรรมการฝ่ายต่างประเทศ


คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3 100 ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร ความเชี่ยวชาญ : - ผู้ออกแบบหลักสูตรการอบรมการจัดการนวัตกรรมในภาวะวิกฤตเพื่อให้เกิดความ ยั่งยืนทางธุริกจสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) - ที่ปรึกษาประธานคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร (8 กรกฎาคม 2564) - ที่ปรึกษาการจัดทำรายงานกลุ่มหลักสูตรนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับสูง (นบส.) รุ่นที่ 79 - ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกพิจารณาบทความเพื่อการตีพิมพ์ (Peer Review) วารสาร วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม - ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกพิจารณาบทความเพื่อการตีพิมพ์ (Peer Review) วารสารโลจิ สติก มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา - ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกพิจารณาบทความเพื่อการตีพิมพ์ (Peer Review) วารสาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกีฬา สมาคมวิทยาศาสตร์การกีฬาแห่งประเทศไทย - ผู้ทรงคุณวุฒิ วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง - คณะทำงานขับเคลื่อนการปฏิรูปธรรมาภิบาลในระบบการศึกษา ในคณะกรรมาธิการ ขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา (31 สิงหาคม 2559) งานวิจัย : 1. Nathanicha Na Nakorn. (2022). The Strategic Management for Competitive Advantage Improvement of Halal Food Business in Pattani Province. Journal of Arts Management, 6(1, ม.ค.-มี.ค. 65), 33-46. 2. ณัฏฐณิชา ณ นคร. (2565). ประสิทธิผลการจัดการวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวในภาวะ วิกฤติ. วารสารการบริหารและสังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5(1, ม.ค.-ก.พ. 65), 101-110. 3. ณัฏฐณิชา ณ นคร. (2563). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการ สินเชื่อธนาคารของพนักงานเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 7 (1,มกราคม – มิถุนายน, 2563), 294-305.


คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3 101 ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร 4. ณัฏฐณิชา ณ นคร. (2562). สภาพแวดล้อม และแรงจูงใจที่ส่งผลต่อการพัฒนา ประสิทธิภาพในองค์การบริษัทแปรรูปมะพร้าวแห่งหนึ่งในประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 16 (1, มกราคม – มิถุนายน, 2562). หน้า 326-333. 5. ณัฏฐณิชา ณ นคร และอนุสรา รัตนะ. (2560). รูปแบบการจัดการมีผลต่อความสำเร็จใน การแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงอาชีพไทยแลนด์ลีก. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการ จัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 14 (1, มกราคม – มิถุนายน, 2560). หน้า 136-163.


คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3 102 ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร ชื่อ - นามสกุล : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พนามาศ ตรีวรรณกุล ตำแหน่งปัจจุบัน : ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร ประวัติการศึกษา : สถาบันการศึกษา วุฒิการศึกษา สาขา ปีการศึกษา ที่จบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วท.บ.(เกษตรศาสตร์) สาขาส่งเสริมและนิเทศ ศาสตร์การเกษตร 2539 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วท.ม.(เกษตรศาสตร์) สาขาส่งเสริมการเกษตร 2543 Kyushu University, JAPAN Ph.D. (Agricultural Science) Agricultural Resource and Economics (Agricultural and Food Marketing) 2552 ประวัติการทำงานที่สำคัญ : ปี ชื่อผลงาน/โครงการ 24 สิงหาคม 2547 - 22 สิงหาคม 2548 ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการศึกษา 13 พฤศจิกายน 2552 - 17 กรกฎาคม 2553 ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพ 1 ธันวาคม 2553 - 30 กันยายน 2556 รองคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและประชาสัมพันธ์ 1 เมษายน 2557 - 28 ตุลาคม 2560 รองคณบดีฝ่ายส่งเสริมงานวิจัยและบริการวิชาการ 20 พฤศจิกายน 2560 - 29 กรกฎาคม 2564 รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการ


คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3 103 ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร ความเชี่ยวชาญ : - Agriculture and Food Marketing - Agri-business Management Innovation in Extension - Agricultural Extension and Agricultural Development งานวิจัย : 1. ไพบูลย์ สถิรโกศลวงศ์ และ พนามาศ ตรีวรรณกุล.2563. การจัดการการตลาดทุเรียน ของเกษตรกรแปลงใหญ่ทุเรียน จังหวัดจันทบุรี. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (2562) ปีที่ 51 ฉบับที่ 1 2. นันท์นภัส จันทร พนามาศ ตรีวรรณกุล และ เมตตา เร่งขวนขวาย. 2564. การปรับตัว ต่อสถานการณ์ภัยแล้งของเกษตรกรผู้ปลูกผัก ตำบลนาคู อำเภอผักไห่ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (2562) ปีที่ 52 ฉบับที่ 1 3. ทิพวรรณ สะท้าน พนามาศ ตรีวรรณกุล และ เมตตา เร่งขวนขวาย. 2564. การตัดสินใจ ของผู้บริโภคต่อการซื้อสินค้าเกษตรออนไลน์. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (2562) ปีที่ 52 ฉบับที่ 1 4. ไขขวัญ กองจันทร์พนามาศ ตรีวรรณกุล และ เมตตา เร่งขวนขวาย. 2564. การจัดการ ตอซังและฟางข้าวของเกษตรกรในโครงการส่งเสริมการหยุดเผา ในพื้นที่การเกษตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (2562) ปีที่ 52 ฉบับที่ 1 5. Yuichiro Amekawa, Chantalak Tiyayon, Panamas Treewannakul, and Nootchakarn Sawarng. 2022. Mango Growers’ Compliance with Public Good Agricultural Practices Standard: A Comparative Study in Northern Thailand. Asian Journal of Agriculture and Rural Development. 12(4):260-270.


คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3 104 ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร ชื่อ - นามสกุล : รองศาสตราจารย์ ดร. เนตรนภิส เขียวขำ ตำแหน่งปัจจุบัน : หัวหน้าภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัติการศึกษา : สถาบันการศึกษา วุฒิการศึกษา สาขา ปีการศึกษาที่ จบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี วท.บ. จุลชีววิทยา 2538 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี วท.ม. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว 2541 University of Vienna, Austria Dr.rer.nat. Natural Science 2549 ประวัติการทำงานที่สำคัญ : ปี ชื่อผลงาน/โครงการ 2559 – ปัจจุบัน หัวหน้าภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2555 – 2559 รองหัวหน้าภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2557 – 2559 หัวหน้าโครงการวิจัย “การปรับปรุงประสิทธิภาพโรงเก็บข้าวเปลือกระดับ ชุมชนด้วยเทคนิคการลดความชื้นด้วยลมร้อนร่วมกับการเป่าอากาศแวดล้อม” แหล่งทุน: สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) 2559 – 2560 หัวหน้าโครงการวิจัย “อิทธิพลของเชื้อราในโรงเก็บ (storage fungi) บน ข้าวเปลือกและข้าวกล้องต่ออายุการเก็บรักษาและคุณภาพข้าว” แหล่งทุน: ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว 2560 – 2563 หัวหน้าโครงการวิจัย “การใช้สารป้องกันกำจัดเชื้อราควบคุมโรครากเน่าโคน เน่าและโรคผลเน่าหลังการเก็บเกี่ยวของทุเรียนหมอนทอง” แหล่งทุน: บริษัท Adama (Thailand) Ltd และ มูลนิธิโทเร เพื่อการส่งเสริม


คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3 105 ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร ปี ชื่อผลงาน/โครงการ วิทยาศาสตร์ ประเทศไทย ความเชี่ยวชาญ : โรคหลังการเก็บเกี่ยวและการจัดการ สารพิษจากเชื้อรา งานวิจัย : 1. Seidl, B., Rehak, K., Bueschl, C., Parich, A., Buathong, R., Wolf, B., Doppler, M., Mitterbauer, R., Adam, G., Khewkhom, K.,* Wiesenberger, G.,* Schuhmacher, R.* 2022. Gramiketides, novel polyketide derivatives of Fusarium graminearum are produced during the infection of wheat. Journal of Fungi 8(1030): 1-22. 2. Maman, M., Sangchote, S., Piasai, O., Leesutthiphonchai, W., Sukorini, H., Khewkhom, N. 2021. Storage fungi and ochratoxin A associated with arabica coffee bean in postharvest processes in Northern Thailand. Food Control 130: 108351-1-10. 3. Srihom, C., Boonyuen, N, Khewkhom, N., Leesutthiphonchai, W., Nuankaew, S., Suetrong, S., Chuaseeharonnachai, C., Piasai, O. 2021. Potential of herb crude extracts against Thai isolates of Fusarium wilt pathogens. Current Research in Environmental & Applied Mycology 11(1): 570–584. 4. Piasai, R., Chalmers, P., Piasai, O., Khewkhom, N. 2021. Postharvest Fungicide Dips to Control Fruit Rot of ‘Monthong’ Durian (Durio zibethinus). European Journal of Plant Pathology 160: 325–336. 5. Nayyatip, N., Sangchote, S., Piasai, O., Khewkhom, N. 2020. Gummy stem blight disease survey in hybrid cucumber seed production areas in


คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3 106 ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร Northeastern and Northern Thailand and fungicide seed treatment. Sylwan 164 (11): 262–298.


คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3 107 ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร ส่วนที่7 คณะทำงาน


คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3 108 ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร รายชื่อคณะทำงานของมูลนิธิเกษตราธิการ 1. นายอนันต์ สุวรรณรัตน์ ประธานกรรมการ 2. นายชวลิต ชูขจร รองประธานกรรมการ 3. นายทองเปลว กองจันทร์ รองประธานกรรมการ 4. นายโอฬาร พิทักษ์ กรรมการ 5. นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กรรมการ 6. นางจิราวรรณ แย้มประยูร กรรมการ 7. นางพรรณพิมล ชัญญานุวัตร กรรมการ 8. นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส กรรมการ 9. นายมีศักดิ์ ภักดีคง กรรมการ 10. นางสาวเบญจพร ชาครานนท์ กรรมการ 11. นายเข้มแข็ง ยุติธรรมดำรง กรรมการ 12. นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ กรรมการ 13. นายสุรสีห์ กิตติมณฑล กรรมการ 14. นายรัตนะ สวามีชัย กรรมการ 15. นายเทวินทร์ นรินทร์ กรรมการ 16. นางนลินี อ่ำอิ่ม กรรมการและเหรัญญิก 17. นางวราภรณ์ สหภัทรากุล กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก 18. นางสาวพรรณทิพย์ สันติภากรณ์ กรรมการและเลขานุการ 19. นางสาวเอื้องพร นพคุณ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 20. นางสุพิศ พูลคุณานุกูร กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ


คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3 109 ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร รายชื่อคณะทำงานของสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) 1. นางสาวศิริกร วิวรวงษ์ รองผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาการ วิจัยการเกษตร รองผู้อำนวยการหลักสูตร วกส. 2. นางสาวประวีณา อินทร์ยิ้ม ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาบุคลกรวิจัย 3. นางสาวปิยธิดา ถิระรณรงค์ ผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนงานวิจัย 4. นางสาวภาวดี ใจเอื้อ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการใช้ประโยชน์ 5. นางสาววัชรารัศมิ์ ภิรมย์ภักดี นักวิเคราะห์ 6. นางสาวเกษรา อินทร์ศิริ นักวิเคราะห์ 7. นางสาวอุมารินทร์ โฉมเฉิด นักวิเคราะห์ 8. นางสาวทิฑัมพร น้อยกล่ำ นักวิเคราะห์ 9. นางสาวจุฑามาศ คงทัน นักวิเคราะห์ 10. นายคุณากร เนตรสืบสาย นักวิเคราะห์ 11. นางสาวเยาวลักษณ์ ศรีรังสิต นักวิเคราะห์ 12. นางสาวอนงค์ จันดำ นักวิเคราะห์ 13. นางสาวสิตา จิตติวัธน์ เลขานุการ 14. นางสาวนัฐยา ขยันคิด นักจัดการงานทั่วไป 15. นางสาวศิรประภา ภาคีอรรถ นักวิเคราะห์ 16. นางสาวพรวิมล วงค์หาญ เจ้าหน้าที่ สวก. 17. นายทิวากร แซ่เห้ง เจ้าหน้าที่ สวก.


คู่มือหลักสูตร วิทยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 3 110 ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร รายชื่อคณะทำงานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1. ผศ.ดร.ธานินทร์ คงศิลา หัวหน้าโครงการ 2. ผศ.ดร.สุภาภรณ์ เลิศศิริ รองหัวหน้าโครงการ 3. รศ.ดร.พัชราวดี ศรีบุญเรือง รองหัวหน้าโครงการ 4. ผศ.ดร.ชลาธร จูเจริญ รองหัวหน้าโครงการ 5. ดร.นริศรา อินทะสิริ รองหัวหน้าโครงการ 6. รศ.ดร.พิชัย ทองดีเลิศ ผู้ร่วมโครงการ 7. ผศ.ดร.พนามาศ ตรีวรรณกุล ผู้ร่วมโครงการ 8. ผศ.ดร.สุพัตรา ศรีสุวรรณ ผู้ร่วมโครงการ 9. ผศ.ดร.เมตตา เร่งขวนขวาย ผู้ร่วมโครงการ 10. ดร.ปรีดา สามงามยา ผู้ร่วมโครงการ 11. ผศ.ปพิชญา จินตพิทักษ์สกุล ผู้ร่วมโครงการ 12. ดร.นิโลบล วงศ์ภัทรนนท์ ผู้ร่วมโครงการ 13. นายเสถียร แสงแถวทิม ผู้ร่วมโครงการ 14. ว่าที่ร้อยตรีสหภาพ ศรีโท เลขานุการโครงการ 15. นายภคิษฐ์คมณ์ แสงตรีเพชรกล้า เลขานุการโครงการ 16. นางสาวกรรณิกา พุ่มสาหร่าย เลขานุการโครงการ 17. นางสาวมณินทร เดชแห้ว เลขานุการโครงการ 18. นางสาวฤทัย สืบสุทธิ์ เลขานุการโครงการ


Click to View FlipBook Version