The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tankwan.3009, 2022-07-15 04:17:40

ไทยยยย1111

ไทยยยย1111

สรุปใจความสาคญั ของเรอื่ ง
“ หวั ใจชายหนุม่ ”

ทีม่ าของเรอ่ื งหวั ใจชายหนุ่ม ผเู้ เต่งหวั ใจชายหน่มุ

เป็นบทพระราชนิพนธใ์ น พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั
(รัชกาลที่ 6) โดยทรงใชพ้ ระนามแฝงวา่ “รามจิตต”ิ

เน้อื เร่อื งของหัวใจชายหนมุ่ สะทอ้ นใหเ้ ห็นแนวพระราชดารใิ นการปรบั
รับเอาอารยธรรมตะวนั ตกเขา้ มาผสมผสานกลมกลนื กับวัฒนธรรมไทย
ในยุคสมยั ของพระองค์ ทรงสรา้ งตวั ละครเอกข้นึ โดยสมมติใหม้ ีตวั ตน
จริง คอื “ประพันธ์ ประยรู สริ ิ” เป็นผู้ถา่ ยทอดความนกึ คิดและสภาพ
ของสงั คมของไทยผ่านมมุ มองของ “ชายหนมุ่ ” (นกั เรียนนอก) ใน
รปู แบบจดหมายทส่ี ง่ ถงึ เพื่อนชอื่ “ประเสรฐิ สวุ ฒั น”์ โดยทรงพระราช
นพิ นธช์ ้ีแจงไว้ในคานานวนิยายเรื่องน้ี

ประวัตผิ เู้ เต่ง ลักษณะคาประพนั ธ์

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัวเปน็ พระมหากษตั รยิ ์รัชกาล 1) หวั จดหมาย ตง้ั แตฉ่ บับที่ 1 วันที่ 23 กนั ยายน พ.ศ. 256-
ที่ ๖ แห่งพระบรมราชวงศ์จกั รี ตลอดระยะเวลา ๑๕ ปีทท่ี รง จนถงึ ฉบบั สดุ ทา้ ย วนั ท่ี 30 มนี าคม พ.ศ.256- จะเห็นวา่ มีการเว้น
ครองราชย์ (พ.ศ. ๒๔๕๓-๒๔๖๘) ทรงประกอบพระราชกรณียกจิ เลขทา้ ยปี พ.ศ. ไว้
เป็นอเนกประการ ทรงพระปรีชาสามารถทัง้ ด้านการทหาร การปกครอง 2) คาขน้ึ ตน้ จดหมาย ท้งั 18 ฉบับ ใช้คาขึ้นตน้ เหมือนกนั หมด คือ
การต่างประเทศ และโดยเฉาะด้านอกั ษรศาสตร์ พระองคท์ รงพระราช “ถงึ พอ่ ประเสรฐิ เพ่ือนรกั ”
นิพนธ์งานประพันธห์ ลายประเภททรงใช้พระราชนิพนธเ์ ป็นส่อื แสดงแนว 3) คาลงทา้ ย จะใชค้ าว่า “จากเพื่อน.....” “แตเ่ พื่อน.....” แล้วตาม
พระราชดารใิ นเรื่องตา่ งๆ ดว้ ยความรูส้ ึกของนายประพันธ์ เชน่ “แต่เพือ่ นผู้ใจคอออกจะยุง่
เหยิง” (ฉบบั ท่ี 10) มเี พยี ง 9 ฉบับเท่าน้นั ท่ีไม่มคี าลงทา้ ย
4) การลงชือ่ ตั้งแต่ฉบับท่ี 14 เปน็ ตน้ ไป ใชบ้ รรดาศักดทิ์ ่ีได้รบั
พระราชทาน คอื “บริบาลบรมศกั ด์ิ” โดยตลอด แตฉ่ บบั ท่ี 1-13 ใช้
ชือ่ “ประพนั ธ์”
5) ความสน้ั ยาวของจดหมาย มเี พียงฉบบั ที่ 14 เท่านนั้ ท่ีมขี นาดส้นั
ทสี่ ุด เพราะเป็นเพยี งจดหมายทแ่ี จง้ ไปยังเพือ่ นวา่ ตนไดร้ ับ
พระราชทานบรรดาศกั ด์ิ

จุดประสงคใ์ นการแต่ง จดหมายฉบบั ท่ี ๑

๑. เพื่อสะทอ้ นใหผ้ อู้ ่านเห็นภาพ วนั ที่ 23 กนั ยายน พศ.246- (เรือ "โอยามะมาร"ุ เดนิ
สงั คมไทยในขณะน้นั ในทะเลเเดง)นายประพนั ธ์ ประยูรสริ ิไดส้ ง่ จดหมายถงึ
นายประเสริฐสุวัฒน์ซึง่ เปน็ เพ่ือนรกั กัน กลา่ วถงึ การ
๒. เพื่อสะทอ้ นมมุ มองความรสู้ กึ นกึ คิด เดินทางกลบั จากลอนดอนของประพันธ์ มายงั ประเทศ
ของคนรนุ่ ใหม่ (นกั เรยี นนอก) ทมี่ ีต่อ ไทย เเละยังบรรยายถึงความเสยี ใจตอ้ งกลับไปเเถมยงั ดู
วฒั นธรรมและสังคมไทยในด้านต่าง ๆ ถูกบ้านเกดิ เมอื งนอนของตนเอง รวมถงึ ไดเ้ ลา่ ถงึ
เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ระหว่างการเดินทางภายในเรอื คือได้
พบกบั ผูห้ ญิงคนหน่ึงทีต่ นเองสนใจ แตต่ อ้ งผดิ หวงั
เนอ่ื งจากนางมเี เฟนมารอรบั ท่ที ่าอยู่แล้ว

จดหมายฉบบั ท่ี ๔ จดหมายฉบับที่ ๕

วนั ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.246- (ถนนหัวลาโพง) 15 ธนั วาคม พ.ศ.246- (ถนนหวั ลาโพง)
กล่าวถงึ การกลับมาถึงประเทศไทยและการเขา้ รบั ราชการซ่งึ กลา่ วถงึ การได้เขา้ รับราชการของนายประพันธ์ ว่าได้
ใช้เส้น แตไ่ ม่สาเรจ็ ผล นอกจากน้ีคุณพอ่ ของนายประพันธ์ได้ เข้ารบั ราชการในกรมพานชิ และสถติ พิ ยากรณ์ และได้
หาภรรยาไว้ใหน้ ายประพนั ธ์แล้วหล่อนมีชอื่ วา่ "กมิ เน้ย" เปน็ เจอกบั แมก่ มิ เน้ยซ่ึงหน้าตาของหลอ่ นเหมือนนางซนุ ฮู
ลูกสาวของนายอากรเพง้ ซึ่งพอ่ ของนายประพนั ธ์รบั รองวา่ เปน็ หยิน แต่ก็ยงั ไม่เปน็ ท่ถี ูกใจของนายประพนั ธ์
คนดี สมควรแกน่ ายประพนั ธ์ด้วยประการทงั้ ปวง แตด่ ้วยนาย นอกจากนัน้ นายประพันธไ์ ดเ้ ล่าถงึ ผูห้ ญิงทเี่ จอในโรง
ประพนั ธ์เปน็ นักเรยี นนอกจึง ไม่ยอมรับเร่อื งการคลมุ ถงุ ชนจงึ พัฒนากรหลอ่ น ชือ่ นางสาว อไุ ร พรรณโสภณ เป็นลกู
ได้ขอดูตวั แม่กิมเน้ยก่อน นอกจากน้ันในจดหมายไดเ้ ลา่ ถึงการ สาวของพระพิพฐิ พัฒนากร
พบปะกับผ้หู ญิงคนหนงึ่ ทต่ี นถูกใจทโี่ รงพัฒนากรด้วย

จดหมายฉบับที่ ๖ จดหมายฉบับที่ ๙

วนั ที่ 11 มกราคม พ.ศ.246- (ถนนหวั ลาโพง) วนั ที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.246- (หวั หิน)
กล่าวถึงการได้นดั กับแมอ่ ุไร ไปเทีย่ วในระหว่าง กลา่ วถึงการแต่งงานกับแม่อไุ รโดยรีบรดั จากการนดั พบ
งานฤดูหนาวทกุ วันทกุ คืน และไดบ้ รรยายถึง เจอกันบ่อยครั้ง จนทาให้แมอ่ ุไรตั้งครรภข์ ึน้ มา ซึง่ การเเต่ง
รูปร่างลักษณะแมอ่ ุไรว่าเป็นคนสวยนา่ รัก และ งานในคร้งั นี้พอ่ ของประพันท์ไมไ่ ดเ้ ห็นดว้ ยตงั้ เเต่เเรก เเต่ก็
กลา่ วว่า แม่อไุ ร งามทส่ี ดุ ในกรุงสยาม ลกั ษณะ ห้ามไมไ่ ดเ้ เลว้ เพราะเเมอ่ ไุ รได้ต้งั ครรภ์ไปเเลว้ หลงั จาก
เหมอื นฝรั่งมากกวา่ คนไทย มกี ารศึกษาดีโดย แต่งงาน ทั้งคู่ก็ได้ไปฮนั นมี นู ที่หัวหนิ ดว้ ยกัน
สง่ิ ทน่ี ายประพันธ์ชอบมากที่สดุ คอื การเตน้ รา
ซ่งึ แม่อไุ รก็เตน้ ราเปน็ อีกดว้ ย

จดหมายฉบบั ท่ี ๑๑ จดหมายฉบบั ที่ ๑๒

วันที่ 21 มถิ ุนายน พ.ศ.246- (บ้านเลขท่ี 00 ถนนสี่พระยา) วันท่ี 20 พฤศจกิ ายน พ.ศ.246- (บ้านเลขท่ี 00 ถนนสพี่ ระยา)
-ประพนั ธก์ ลบั กรุงเทพได้ 3 อาทติ ยม์ าอยู่ทบ่ี า้ นใหม่ บ้าน -แม่อุไรไดแ้ ทง้ ลูก และสิ้นรกั ประพันธแ์ ล้ว แต่ประพนั ธก์ ็ยงั ทนอยกู่ บั แม่อไุ ร
ใหมท่ ่เี ขาคดิ ว่าไม่มคี วามสขุ เลย ประพนั ธไ์ ด้เล่าใหป้ ระเสริฐ แมอ่ ุไรชอบไปเทย่ี ว พอประพันธ์ถามวา่ ไปไหน แม่อไุ รกโ็ กรธ นานเข้าหา้ งร้าน
ฟังถึงตอนท่ีอยเู่ พชรบรุ ีวา่ ตนได้ทะเลาะกบั เเม่อุไร เลยกลบั ต่างๆกส็ ง่ ใบทวงเงนิ มาที่ประพันธ์ ประพนั ธ์จงึ เตือนแม่อไุ ร แตแ่ ม่อุไรก็วา่ ด่า
กรุงเทพ มีปากเสียงกันตลอดขากลบั เมอื่ มาถงึ ท่ีบ้านใหม่ ก็ ประพันธ์ ประพันธจ์ ึงต้องไปขอเงนิ พอ่ เพอื่ ใช้หน้ี ต่อมาพ่อของประพนั ธ์จึงลงแจง้
มเี รอ่ื งใหท้ ะเลาะกนั อีก แม่อุไร ไม่อยากจดั บ้านขนของ ความในหนังสือพมิ พ์ เร่อื งจะไม่ชดใช้หนใ้ี ห้แมอ่ ุไร เมื่อแมอ่ ุไรเห็นแจง้ ความ จงึ
เพราะถือวา่ เป็นลกู ผู้ดี เเละไม่ว่าประพันธจ์ ะทาอะไร แม่อุไรก็ ลงยอ้ นกลบั บา้ ง แล้วแมอ่ ุไรก็กลับไปอย่บู า้ นพอ่ ของเธอ คุณหลวงเทพปญั หามา
มองว่าผดิ เสมอ หาประพันธ์คุยเรื่องตา่ งๆกนั รวมถงึ เรือ่ งแมอ่ ไุ รทเ่ี ท่ียวอยู่กบั พระยาตระเวนนคร
ดว้ ยความเป็นห่วงแม่อไุ รจงึ สง่ จดหมายไปกลา่ วเตือนแต่ถกู ฉกี ตอ่ มาหลวงเทพ
ก็มาหาประพันธ์ เพอ่ื บอกว่าแมอ่ ุไรไปค้างบ้านพระยาตระเวนนครแลว้ และหลวง
เทพกร็ ับธุระเร่ืองขอหย่าตอนนป้ี ระพันธ์จงึ กลับมาโสดอกี คร้ัง

จดหมายฉบับท่ี ๑๓ จดหมายฉบบั ท่ี ๑๕

วันที่ 22 ธนั วาคม พ.ศ.246- (บ้านเลขที่ 00 ถนนสี่พระยา) วันท่ี 23 มกราคม พ.ศ.246-(ทพี่ ักกรมเสือปา่ มา้ หลวง ร.อ.พระราชวัง
-นายประพนั ธ์เลา่ วา่ ตนนน้ั มีความสขุ มากขน้ึ เมื่อเป็นโสด ท่ี สนามจนั ทร)์ -นายประพันธ์ไดเ้ ล่าถงึ งานเฉลมิ พระชนมพรรษาของปนี ว้ี ่า
หย่ากับนางอุไรทาให้ถกู บางคนนนิ ทาตโิ ทษ แตเ่ ขาถอื วา่ การ คอ่ นขา้ งสนุก พระยาตระเวนกเ็ ห็นดว้ ย เน่อื งจากยังเป็นชายโสดเพราะยัง
แตง่ งานเปน็ เรือ่ งส่วนตวั สว่ นนางอไุ รกอ็ ยกู่ บั พระยาตระเวนที่ ไม่ได้เป็นสามภี รรยากันโดยทางราชการ และในช่วงนนั้ พระยาตระเวนกไ็ ด้
มนี างบาเรอถงึ ๗ นาง และพวกเธอก็ชอบแผลงฤทธใิ์ น ควงกบั ผหู้ ญงิ คนหนง่ึ บอ่ ยๆ เธอชอ่ื นางสร้อย แตน่ างอไุ รก็ทาอะไรไมไ่ ด้มาก
ระหว่างทพ่ี ระยาตระเวนไม่อยบู่ า้ น นางอุไรทนไมไ่ หวจึงหนีไป เพราะถา้ เลกิ กับพระยาตระเวนจะไดร้ ับความลาบากและต้องกลบั ไปง้อพอ่
อยูบ่ ้านพอ่ พระยาตระเวนก็ตามไปงอ้ และใหน้ างอไุ รอย่บู า้ น ซึ่งเธอได้อวดดไี ว้แลว้ วา่ ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งพงึ่ พอ่ อีกต่อไป จงึ ยอมทีจ่ ะอยู่นงิ่ เฉย
อกี หลังนึงท่ีถนนราชประสงค์ และประพันธไ์ ด้เลา่ อกี วา่ ตนได้ นอกจากน้ี ยงั ไดพ้ ูดถงึ สภาพสงั คมฝรง่ั วา่ พวกฝร่งั เห็นว่าการมีภรรยาหลาย
เลือ่ นตัวแหน่งมาเปน็ ผู้ช่วยเจ้ากรมโรงเรยี นในพระบรม คนไม่ทาใหไ้ ดร้ บั ความเสือ่ มเสียเพราะเป็นเรื่องสว่ นตวั ในบ้าน
ราชปู ถัมภ์ สว่ นทางเสือปา่ เขาได้เข้าไปประจาอยใู่ นกรมม้า
หลวงตามทสี่ มปรารถนาและไดเ้ ลือ่ นยศเป็นนายหมเู่ อก

จดหมายฉบับท่ี ๑๗ จดหมายฉบับท่ี ๑๘

วนั ท่ี 3 มนี าคม พ.ศ.246- (บา้ นเลขที่ 00 ถนนสี่พระยา) วันที่ 13 เมษายน พ.ศ.246-(บ้านเลขที่ 00 ถนนส่พี ระยา)
-นายประพันธ์ได้เล่าวา่ ตนน้นั ไดเ้ ล่ือนยศเป็นนายหมูใ่ หญแ่ ลว้ -นายประพันธไ์ ดเ้ ล่าว่า นางอุไรได้ตกลงแต่งงานกับหลวงพิเศษ
และเมอื่ กลบั บ้านไดไ้ ม่กี่วัน นางอไุ รกไ็ ด้มาหาทบี่ ้าน และ ผลพานิชทเ่ี ปน็ พอ่ คา้ แลว้ ประพนั ธ์จึงคลายกงั วล และนาย
ขอให้นายประพันธช์ ว่ ยดูแลตนอกี คร้งั ด้วยเหตวุ า่ พระยา ประพนั ธเ์ องกไ็ ด้รักกบั ผูห้ ญงิ คนหนึง่ เธอชอื่ นางสาวศรีสมาน
ตระเวนต้องการบา้ นทีถ่ นนราชประสงคใ์ ห้นางสรอ้ ย เมียรัก เปน็ ลกู สาวเจา้ พระยาพิสิฐเสวก ทั้งสองฝ่ายคุยจนเป็นทีต่ อ้ งใจ
ของเขาอยู่ เขาจงึ ขอให้นางอไุ รย้ายไปอยูท่ อี่ ่ืน เงินกไ็ มม่ ีใช้ กันแลว้ และนายประพนั ธก์ ็ไดล้ งท้ายไว้ว่า จะให้นายประเสริฐ
สอย จะกลบั ไปอาศยั พ่อกก็ ลัวจะเสยี หน้า เพราะเคยพดู มาเป็นเพอ่ื นเจา้ บ่าว
อวดอ้างไว้ นายประพันธ์แนะนาให้นางอไุ รกลบั ไปงอ้ พ่อของ
เธอ นางจึงไปงอ้ และกลับไปอยกู่ บั พอ่ ของตน

คาศัพทส์ าคญั ทป่ี รากฏ ข้อคดิ ของจดหมาย

1. กรมทา่ ซา้ ย : เป็นส่วนราชการในสมยั กอ่ นมหี น้าท่เี ก่ียวกบั ชนชาวจีน ฉบบั 1 การรู้จกั วางตัวต่อบุคคลอ่ืนและควรรักษาประเพณีของไทย
2. ขนมปังคร่งึ กอ้ นยงั ดกี วา่ ไม่มีเลย : แมจ้ ะไม่มีส่งิ ใดอยา่ งครบถว้ นสมบรู ณ์ แตม่ อี ยูบ่ ้างก็ ฉบบั 4 ควรมีความซอื่ สตั ย์สจุ รติ ในการประกอบอาชีพ
ยงั ดกี ว่าไม่มีเลย ฉบบั 5 ไม่ควรที่จะเอาเปรยี บผูอ้ ื่นและไม่ควรดถู ูกบา้ นเกดิ เมอื งนอนว่าหวั โบราณเก่า
3. ขุดอู่ : การเลอื กคู่ครองด้วยตนเอง ครา่ ครึ
4. ครึ : เกา่ ล้าสมยั ฉบบั 6 ไม่ควรดูใครแค่ภายนอกควรท่ีจะศกึ ษากนั ให้นานกวา่ น้ี
5. คลุมถงุ ชน : การแตง่ งานทผ่ี ู้ใหญจ่ ัดการใหโ้ ดยท่ีบา่ วสาวไม่ร้จู กั คุ้นเคยหรอื รกั กนั มากอ่ น ฉบับ 9 ควรที่จะรกั นวลสงวนตวั ไม่ควรปล่อยเนื้อปลอ่ ยตัว
6. เทวดาถอดรปู : มีรูปรา่ งหนา้ ตางดงามราวกบั เทวดา ฉบับ 11 การแต่งงานของหนุม่ สาวทม่ี าจากการชอบพอกนั แค่เพียงเปลือกนอกขาดการ
7. นางง้วิ ตงุ้ แช่ : ตวั ละครหญิงในการแสดงงวิ้ รู้จกั และเข้าใจกนั อย่างแทจ้ ริงย่อมไม่ยั่งยืนและอับปางลงอยา่ งง่ายดาย
8. ไพร่ : คนสามัญ ชาวบ้าน ฉบบั 12 การแต่งงานโดยไม่ศึกษานิสัยใจคอ ทาใหช้ วี ิตคู่ ไม่สามารถใช้ชวี ติ รว่ มกนั
9. เรย่ี ม : สะอาดหมดจด ดีเยีย่ ม ได้ลงท้ายด้วยการหยา่ รา้ ง
10. สิ้นพูด : หมดคาที่จะกล่าว ฉบบั 13 ควรที่จะอยกู่ ับคนทีเ่ ขารักเรา
11. หมอบราบคาบแกว้ : ยอมตามโดยไมข่ ัดขนื ฉบับ 15 ไม่ควรคบหากบั ผู้ชายทีม่ ีหลายเมยี และไมร่ ักความสบายมากเกินไป
12. หวั นอก : คนท่ีมคี วามนยิ มหรอื มคี วามคิดแบบฝรั่ง ฉบับ 17 คนเราควรดาเนินชีวติ ในทางยุติธรรมเชน่ ประพันธ์เขาไมช่ อบการใช้เส้นสาย
13. อทุ ศิ ตวั เปน็ พรหมจรรย์ : ประพฤติตนอยา่ งนกั บวช เวน้ จากการมเี พศสัมพันธ์ แต่ไม่สามารถหางานได้จงึ ตอ้ งยอมรับงานที่ผใู้ หญ่ฝากฝังใหแ้ ต่กไ็ ดใ้ ชค้ วามสามารถ
14. อึง :เ สียงเอะอะ เสยี งดัง ของตนเองทาใหก้ า้ วหน้าในราชการ
ฉบับ 18 การแตง่ ควรเกิดจากความรักไมใ่ ช่เพราะเงินทอง

วิจารณต์ วั ละคร พระพินฐิ
ถึงจะไม่ได้รูปงามแต่เป็นพ่อคา้ ทีม่ งั่ มี แต่มีความจริงใจ จึงนบั วา่ เปน็ บุญ
นายประพนั ธ์ ของแม่อไุ รทีไ่ ด้พบคนทด่ี ี
นยิ มวัฒนธรรมตะวนั ตก ดถู ูกวฒั นธรรมไทย วา่ คนไทยไมท่ ันสมยั ผู้หญงิ ไทยชอบเก็บตวั แมก่ มิ เน้ย
ซงึ่ ที่จริงแลว้ เปน็ ธรรมเนยี มที่ดขี องไทย ที่กลุ สตรีทดี่ งี ามมักจะเก็บตัวอยแู่ ต่ในบ้าน เพอ่ื ฝึก เปน็ ชาวจนี ถูกคลุมถุงชนใหแ้ ตง่ กับนายประพันธ์ หน้าเหมอื นซนุ ฮหู ยนิ
การบ้านการเรอื น เม่อื พบอไุ รสาวไทยผู้ทันสมยั มีแนวคดิ และมคี ่านิยมแบบ ตะวนั ตกเต็มที่ ชอบแต่งตัวอลงั การใส่เครอ่ื งประดบั เยอะๆ
ประพนั ธจ์ งึ ดูจะมีความสขุ มากขน้ึ ใกล้ชิดกันอยา่ งเปดิ เผยจนอไุ รทอ้ งและแต่งงานกนั แตก่ ็ ประเสรฐิ
พึ่งคดิ ได้ว่าไม่ใชผ่ ู้หญงิ ทีจ่ ะอย่คู รองเรือนดว้ ย จึงได้แต่งงานใหม่กบั ศรสี มานซ่งึ มีทั้งความ เพ่อื นของนายประพนั ธท์ ่ียงั ศกึ ษาอยูท่ ่อี งั กฤษ
เป็นตะวันตกและความเป็นไทยในตัว
แมอ่ ไุ ร
บุคลิกดูเป็นคนมัน่ ใจในตวั เอง กล้าคิดกล้าพูดแบบคนตะวนั ตก แตห่ ากกาลเวลา
เปลี่ยนแปลงไปทาใหเ้ ห็นว่าคนเราสามารถเปล่ียนพฤติกรรมกันได้ตลอดเวลาตราบใดทย่ี งั
ไม่หมดลมหายใจ กริ ยิ าดูหยาบกระดา้ ง ดแู คลน เห็นผดิ เปน็ ชอบ และแสดงใหเ้ ห็นถงึ
กริ ยิ ามารยาทท่ไี มใ่ ชแ่ บบแผนทสี่ ุภาพเรยี บรอ้ ยของคนไทย อกี สงิ่ หนึ่งคอื การทไ่ี ม่รู้จกั รกั
นวลสงวนตัว ยอมทอดกายใหช้ ายถึงสองคน คอื นายประพนั ธ์ ทาให้ทอ้ งกอ่ นแต่ง และ
พระยาตระเวนนคร ท่ีมีนางบาเรออยูแ่ ล้วถึง ๗ คน ทาให้ผดิ หวังในความรักซ้าแล้วซา้ เล่า
พระยาตระเวนนคร
เป็นคนเจา้ ชู้ประเภท เสือผหู้ ญงิ ท้งั ยงั มีปญั ญาท่ีเฉลยี วฉลาด จากการที่ ยังไมย่ อมตกลง
เปน็ ผวั เมยี โดยราชการกับแม่อุไร ทาใหไ้ มต่ อ้ งคอยพาแมอ่ ุไรไปออกงานสงั คมมากนัก จงึ มี
โอกาสท่จี ะพบปะกบั หญงิ ใหมๆ่ ได้ตลอดเวลา

คาทบั ศพั ท์ท่ปี รากฏ บรรดาศักด์ิขุนนางไทยในอดีต

- เร็สตอรงั ค์ (Restaurant) หมายถงึ รา้ นอาหาร ขา้ ราชการระดับ 1 เทยี บ “นาย”
- ศวิ ิไลซ์ (Civilize) หมายถึง ความเจรญิ ขา้ ราชการระดับ 2 เทียบ “พนั ” หรือ “หม่ืน”
- อนั ศวิ ไิ ลซ์ (Uncivilize) หมายถงึ ไม่มความเจรญิ ขา้ ราชการระดับ 3,4 เทยี บ “ขุน” (เพราะระดับ 3 ถอื เป็น
- แบซะเลอร์ (Bachelor) หมายถึง ชายโสด ข้าราชการสญั ญาบตั ร)
- ฟรี (Free) หมายถงึ เป็นอสิ ระจากการควบคมุ ขา้ ราชการระดับ 5,6 เทยี บ “หลวง”
- แฟเช่น (Fashion) หมายถึง สมยั นยิ มหรือความนิยมของคนสว่ นใหญท่ เี่ กดิ ขนึ้ ใน ขา้ ราชการระดับ 7,8 เทียบ “พระ”
ช่วงเวลานงึ ขา้ ราชการระดับ 9,10 เทยี บ “พระยา” (โดยระดบั 10 อาจ
- โฮเต็ล (Hotel) หมายถงึ โรงแรม เทยี บพระยานาหมืน่ คอื ศกั ดนิ า 10,000 ไร่ สว่ นระดับ 9 เทียบ
- ปอปูลา่ ร์ (Popular) หมายถึง เป็นทน่ี ิยม พระยาศกั ดินาตา่ ลงมาคอื 5,000 ไร)่
- สัปเปอ้ ร์ (Supper) หมายถงึ อาหารมื้อเยน็ ขา้ ราชการระดบั 11 เทียบ “เจา้ พระยา”
- เอดเู คชน่ั (Education) หมายถงึ การศกึ ษา
- โช (Show) หมายถงึ แสดง
- ฮนั นีมูน (Honeymoon) หมายถงึ ช่วงเวลาแหง่ การเดนิ ทางไปพักผ่อนตามลาพงั ของ
คู่แต่งงานใหม่
- อนิ เตอเร็สต์ (Interest) หมายถึง ความสนใจ
- อ๊อกฟอรด์ (Oxford) หมายถึง รองเท้าหนงั แบบมเี ชอื กผูกด้วยหนา้ ,เมืองออ็ กฟอรด์
- เลก็ เชอร์ (Lecture) หมายถึง บรรยาย

ข้อคดิ ทไี่ ดจ้ ากเร่ือง คุณค่าดา้ นวรรณศิลป์
มกี ารเริม่ ตน้ เร่อื งได้อยา่ งหลงใหลและน่าตดิ ตาม อีกทงั้ การดาเนนิ เร่ืองกช็ วนให้
1. พฤติกรรมของนายประพันธเ์ ปน็ พฤตกิ รรมทีเ่ ลียนแบบพฤตกิ รรมของปถุ ชุ นท่มี ที ้ังขอ้ ดีและ ตดิ ตามไปจนจบเรื่อง สานวนภาษาในการเขียนจดหมายและการเลอื กใช้คาทับ
ข้อเสยี ทง้ั ความถูกต้องและผดิ พลาด เปรียบเสมอื นกับมนษุ ย์ท่ีสามารถผดิ พลาดได้ ศพั ท์ภาษาองั กฤษ รวมท้งั คาแสลงมากมายสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะของประพันธผ์ ยู้ ัง
ตลอดเวลา แต่อยา่ ลืมนาความผดิ พลาดน้ันมาใชใ้ นการแก้ไขตนเอง และปรับทศั นคติที่ผิดอยู่ อย่ใู นวยั หนุ่มและเพง่ิ กลับมาจากตา่ งประเทศใหม่ๆ
ใหด้ ขี ้ึน จนสามารถอยู่รว่ มกับผูอ้ ืน่ ในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุขตอ่ ไป คุณคา่ ดา้ นเน้อื หา
2. อย่าหลงวฒั นธรรมตะวนั ตกจนลมื จติ สานึกแห่งความเป็นไทย ควรเก็บสิ่งทดี่ มี าปฏิบตั ิ มกี ารสร้างตวั ละครได้อยา่ งสมจรงิ แสดงใหเ้ ห็นถึงพฤตกิ รรมของปุถชุ นทม่ี ที ้ังสงิ่ ที่
แลว้ เกบ็ สิ่งทไ่ี ม่ดีไว้เป็นอุทาหรณ์ ขณะเดยี วกนั ก็อย่าดูถกู บา้ นเกดิ เมอื งนอนว่าหวั โบราณ เกา่ ถูกต้องและผิดพลาด และมีทั้งความสมควรและไมส่ มควร โดยมลี กั ษณะทสี่ มจรงิ
ครา่ ครึ เพราะวฒั นธรรมที่ดงี ามของไทยนแ้ี ลจึงสามารถจรรโลงประเทศให้อยูไ่ ดม้ าสืบทกุ สมเหตุสมผล โดยประพนั ธ์ถอื เป็นคนที่มีแนวคิดสมยั ใหมซ่ ง่ึ บางครั้งตรงกนั ขา้ มกับ
วนั นี้ ความเปน็ ไทยที่เหมาะสม แตย่ ังสามารถกลบั ตวั กลับใจมาเปลย่ี นแปลงพฤติกรรม
3. การแต่งงานของหนมุ่ สาวทม่ี าจากการชอบพอกนั แค่เพียงเปลือกนอก ขาดการรจู้ ักและ ได้ จึงมคี วามสมบรู ณท์ ง้ั ตวั ละคร และเน้ือหาของตัวละครด้วย
เข้าใจกนั อย่างแทจ้ รงิ ยอ่ มไมย่ งั่ ยนื และอับปางลงอยา่ งงา่ ยดาย เชน่ กรณีของประพนั ธ์ และ คุณคา่ ดา้ นสงั คม
แม่อุไรท่ีรกั เร็วใจเรว็ ทาใหค้ วามรกั น้ันจบลงในเวลาอนั สั้น บทกวีย่อมสะทอ้ นสภาพสงั คมของกวตี ามมมุ มองของกวี ซงึ่ สามารถเขา้ ถงึ
4. การใชเ้ สรีภาพในทางท่ผี ดิ โดยปลอ่ ยเน้อื ปล่อยตวั จนกระท่งั พลาดพลั้งชงิ สกุ กอ่ นหา่ ม สังคมไทยในสมัยรัชกาลที่ ๖ ซ่งึ แตกต่างกับสังคมยคุ ปจั จุบันอย่างมาก ทง้ั ในด้าน
จะต้องประสบชะตากรรมอันเลวร้าย ดงั แมอ่ ไุ รท่ปี ลอ่ ยตัวได้เสียกบั ประพันธ์ทาให้ไมเ่ ป็นท่ี ของการปกครองที่กลา่ วไว้ในเรอ่ื งวา่ “ทา่ นวา่ ขายของได้ดอี ยา่ งไรๆ กจ็ ะเปน็ อะไร
พอใจของผูใ้ หญข่ องทั้งสองฝา่ ย นาไปสู่การหยา่ รา้ งกนั วันข้างหน้า ไม่ได้ นอกจากขนุ นางกรมทา่ ซ้าย ทั้งกว่าจะได้เปน็ หลวงกอ็ ีกหลาย แล้วอาจจะ
5. คนเราควรดาเนินชีวิตในทางยตุ ธิ รรม ดังเชน่ ประพนั ธ์ เขาไมช่ อบการใช้เสน้ สาย แตไ่ ม่ เป็นหลวงตงั้ แต่อายุ ๓๐ เมอื่ อายุ ๔๕ จงึ ไดเ้ ปน็ พระ แล้วกย็ ังเป็นพระจนทกุ วนั น้ี
สามารถหางานไดด้ ว้ ยตนเอง จงึ ตอ้ งยอมรบั งานท่ผี ใู้ หญฝ่ ากฝังให้ แต่ก็ไดใ้ ช้ความสามารถ และไมแ่ ลเห็นทางทจี่ ะเป็นพระยาด้วย” แสดงให้เห็นวา่ บา้ นเมอื งในอดตี กับปัจจบุ นั
ของตนเองทาใหม้ ีความกา้ วหนา้ ในราชการ ไดร้ ับพระราชทานบรรดาศกั ด์เิ ป็นหลวงบรบิ าล มีการเปล่ียนแปลงไปมาก
บรมศักดิใ์ นที่สดุ ประโยชน์

บรรณานกุ รม ผลงานนี้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการเรยี นรู้รายวิชา ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑
เสนอ
ข้อคดิ และประโยชน์. สืบค้นเม่อื 9 กรกฎาคม 2565. จาก
http://thn21921-001.blogspot.com/p/blog-page_1490.html ครูสชุ าติ พบิ ลู ยว์ รศักด์ิ
ประวตั คิ วามเปน็ มาและจุดประสงค์ของการแต่งเรอื่ งหัวใจชายหนุ่ม. สืบค้นเม่ือ จัดทาโดย
9 กรกฎาคม 2565. จาก
https://sites.google.com/site/akanimart123/wrrnkhdi-laea- นาย นนั ทภพ บุญพนั ธ์ เลขที่ ๑
wrrnkrrm-2/10-prawati-khwam-pen-ma-laea-cud-prasngkh- นาย ภัทรพล คงกะทรพั ย์ เลขท่ี ๓
khxng-kar-taeng-reuxng-hawci-chay-hnum นางสาว กนกภรณ์ รักษาพล เลขที่ ๓๓
บรรดาศกั ดข์ิ นุ นางไทย โบราณ-ปัจจุบัน. สืบคน้ เมอื่ 10 กรกฎาคม 2565. นางสาว แทนขวัญ การชัด เลขที่ ๓๕
จาก https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/106367.html นางสาว ภราวณัฐ จนั ทรี เลขที่ ๓๖
สรปุ ใจความสาคัญของจดหมาย. สืบค้นเม่อื 11 กรกฎาคม 2565. จาก นางสาว ณัฏฐณิชา เนตเิ ลขที่ ๓๘
https://online.pubhtml5.com/xvvo/kovp/#p=14 นางสาว นันทยิ า สว่างศรี เลขท่ี ๓๙
คาศัพท์น่าสนใจ. สบื คน้ เมอ่ื 10 กรกฎาคม 2565. จาก นางสาว อกั ษราภคั เกิดเเยม้ เลขที่ ๔๑
http://thn21679-01.blogspot.com/p/blog-page_2581.html?m=1 นางสาว บษุ บัน เฉลิมพักตร์ เลขที่ ๔๕

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔/๔

จบการนาเสนอ
ขอขอบคณุ ทร่ี บั ชมนะคะ/นะครบั


Click to View FlipBook Version