The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฉบับที่ 3 เม.ย.-มิ.ย.67

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ข่าวสาร สคร.11

ฉบับที่ 3 เม.ย.-มิ.ย.67

การศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา คุณภาพชีวิตและความสุขของผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน และปจจัยที่เกี่ยวของ กลุมตัวอยางดำเนินการศึกษาในกลุม ผูประสบปญหาจากโรคเรื้อนที่ไดรับการสงเคราะห 125 ราย ใน 7 จังหวัดภาคใตตอนบน เก็บรวบรวมขอมูลระหวางวันที่ 1 เมษายน – 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 เครื่องมือเก็บรวบรวม ขอมูลใชเครื่องมือมาตรฐานการประเมินคุณภาพชีวิตของ องคการอนามัยโลกฉบับภาษาไทย (WHOQOL-BREF-THAI 26) ดัชนีความสุขไทย (THI-15) และแบบสอบถามปจจัย การสนับสนุนทางสังคม พัฒนาโดยนักวิจัย ผลการศึกษา : ผูเขารวมการศึกษาสวนใหญมีอายุมากกวา 60 ป (รอยละ 81.60) คุณภาพชีวิตโดยรวมอยูในระดับปานกลาง รอยละ 86.40 เมื่อพิจารณาแยกเปนรายดาน ไดแก รางกาย จิตใจ ความสัมพันธทางสังคมและสิ่งแวดลอมคุณภาพชีวิต อยูในระดับปานกลาง ระดับความสุขและการสนับสนุนทาง สังคมโดยรวมอยูในระดับปานกลาง รอยละ 64.80 และ รอยละ 80.00 ตามลำดับ ปจจัยที่มีผลตอคุณภาพชีวิต ไดแก อายุ < 60 ป (aOR 3.23, 95% CI 1.15-9.04) รายได > 6,000 บาทตอเดือน (aOR 4.22, 95% CI 1.19-16.38) และระยะเวลาที่ไดรับการสงเคราะห > 15 ป (aOR 11.87, สุกาญดา หมื่นราษฎร, ศิวิมล ภูมินิยม, ยุทธพงศ หมื่นราษฎร. (2565), คุณภาพชีวิตและความสุข ของผูประสบปญหาจากโรคเรื้อนในชวง สถานการณการระบาดโรคโควิด 19 พื้นที่ภาคใตตอนบน ประเทศไทย สำนักงานปองกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข คุณภาพชีว�ตและความสุขของผูประสบปญหาจากโรคเร�้อนในชวงสถานการณ การระบาดโรคโคว�ด 19 พ�้นที่ภาคใตตอนบน ประเทศไทย https://ddc.moph.go.th/odpc11 95% CI 3.43-41.06) ความตองการชวยเหลือสวนใหญขอเพิ่ม คาอาหาร ตรวจสุขภาพในชุมชนปละ 1 ครั้ง และอำนวย ความสะดวกในชวงรักษาตัวในโรงพยาบาล ขอเสนอแนะ : เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตและความสุขของผูประสบ ปญหาจากโรคเรื้อนและลดชองวางความไมเทาเทียมกัน ระหวางบุคคลที่ประสบปญหาจากโรคเรื้อนและบุคคลอื่น แนะนำใหมีการฟนฟูสภาพเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม คำสำคัญ : คุณภาพชีวิต ความสุข ผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน การระบาดโรคโควิด 19 เรียบเรียงโดย..นางสาวธัญวลัย หองส่ำ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตสูง คือ ภาวะที่ตรวจพบระดับความดันโลหิตมากกวาหรือเทากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ความดันโลหิตสูงถือวาเปนภัยเงียบ เพราะสวนใหญไมมีอาการ แตเปนสาเหตุ ที่ทำใหเกิดโรคแทรกซอนอื่นที่อันตรายถึงชีวิต เชน โรคอัมพฤกษ อัมพาต โรคหัวใจ ไตวาย หากมี ความดันโลหิตสูงมากๆ มักมีอาการเหลานี้ ไดแก ตาพรามัว เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ หนามืด เหนื่อยงาย ใจสั่น คลื่นไสอาเจียน เปนลมหมดสติ คนไทย 14 ลานคนเปนโรคความดันโลหิตสูง ในจำนวนนี้ 7 ลานคนไมยอมมารักษา อัตราปวย รายใหมและอัตราตายดวยโรคความดันโลหิตสูง ทั้งในภาพรวมประเทศและเขตสุขภาพที่ 11 ในป 2560– 2566 มีแนวโนมเพิ่มขึ้น ปจจัยเสี่ยงที่ทำใหเกิดความดันโลหิตสูง ไดแก ภาวะอวน ทานอาหารหวาน มัน เค็ม ความเครียดเรื้อรัง สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ไมออกกำลังกาย กรรมพันธุ อายุมากกวา 35 ป และฝุน PM 2.5 การปองกันโรคความดันโลหิตสูง ไดแก ผูที่ไดรับการวินิจฉัยจากแพทยวาปวยเปนโรค ความดันโลหิตสูง ควรรับประทานยาอยางตอเนื่อง แมระดับความดันโลหิตอยูในเกณฑปกติแลว ไมควร หยุดรับประทานยาเอง ปจจุบันโรคความดันหิตสูง สามารถปรับลดยาหรือหยุดยาไดแตตองอยูภายใต ความดูแลของแพทยเทานั้น โดยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การรับประทานอาหารและควบคุมน้ำหนักควบคูไปดวย ควบคุมน้ำหนักตัวใหอยูในเกณฑปกติ หรือใกลเคียงปกติ รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ โดยใชหลัก 2 : 1 : 1 คือ ผัก 2 สวน : เนื้อสัตว 1 สวน : ขาว/ แปง 1 สวน และจำกัดโซเดียมใน อาหารนอยกวา 2,000 มิลลิกรัมตอวัน 1 3 ออกกำลังกายสม่ำเสมอ 5 วัดความดันโลหิตสม่ำเสมอ 2 4 งดสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล https://ddc.moph.go.th/odpc11


https://ddc.moph.go.th/odpc11 ฤดูฝนกับการกลับมาของโรคไขเล�อดออก… สาเหตุที่เราควรระวังโรคนี้ในฤดูฝน หลายๆ คนอาจจะรูกัน เปนอยางดีแลว เพราะการที่ฝนตกจะทำใหเกิดน้ำขังตามพื้นที่ ตาง ๆ เปนผลใหยุงลายสามารถวางไขไวในแหลงน้ำขัง จนเกิด การแพรกระจายยุงลาย นั่นเทากับวาในฤดูฝนจะเปนตัวชวย ใหโรคไขเลือดออกแพรกระจายไดงายขึ้น โดยในป 2567 (1 มกราคม – 24 พฤษภาคม) ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 11 พบผูปวยไขเลือดออกจำนวน 4,333 ราย คิดเปนอัตราปวย 96.51/ประชากรแสนคน เสียชีวิต 3 ราย พบผูปวยมากใน กลุมอายุ 5-14 ป โรคไขเล�อดออกเกิดจากเชื้อไวรัสชื่อวา “เดงกี่ (Dengue)” เมื่อเจายุงลายตัวรายไปกัดคนที่มีไวรัสชนิดนี้มันจะนำไวรัสนั้น มาไวกับตัวมันดวย และเมื่อมันไปกัดใครตอจากนั้น เชื้อไวรัส ที่อยูในตัวมันก็จะแพรกระจายสูผูอื่นตอไปจึงนับไดวาโรคนี้ เปนโรคติดตอจากยุงสูคน อาการ หากมีไขสูงลอยเกิน 2 วัน และ เช็ดตัวหรือกินยาลดไขแลวไขไมลดลง รวมกับปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว หนาแดง อาจมีจุดเล็กๆขึ้นตามตัว แขน ขา คลื่นไส อาเจียน ถายเหลว ปวดทองรับประทานอาหารไมได “ขอใหคิดวา อาจปวยดวยโรคไขเลือดออก ใหรีบพบแพทย” ไมควร ซื้อยามารับประทานเอง โดยเฉพาะยาลดไขในกลุมเอ็นเสด (NSAIDs) เชน ไอบูโพรเฟน ไดโครฟแนก แอสไพริน รวมถึง ยาชุด ซึ่งมีผลทำใหเลือดออกในชองทางเดินอาหารและยาก ตอการรักษา เสี่ยงตอการเสียชีวิต ยาลดไขที่ปลอดภัยคือ ยาพาราเซตามอล การปองกัน การปองกันไมใหปวยเปนโรคไขเลือดออก โรคไข เลือดออกมีสาเหตุมาจากการถูกยุงลายที่มีเชื้อไวรัสเดงกี มากัด ดังนั้น วิธีการปองกันที่ดีที่สุด คือ การปองกันการถูกยุง กัดและการปองกันไมใหยุงเกิด โดยมีวิธีดังตอไปนี้ 1. การปองกันยุงกัด ไดแก ทายา กันยุง นอนในมุง ใสเสื้อแขนยาวและ กางเกงขายาว 2. การจัดการภาชนะหรือสภาพแวดลอมไมใหเปน แหลงเพาะพันธุยุงลาย เชน หมั่นเปลี่ยนน้ำในแจกันทุกสัปดาห ใชทรายกำจัดลูกน้ำในภาชนะน้ำใช ปดฝาภาชนะน้ำกิน/น้ำใชใหมิดชิด คว่ำภาชนะที่ไมใชไมใหน้ำขังได ปลอยปลากินลูกน้ำ เชน ปลาหางนกยูงในอางบัว/ไมน้ำ 3. เก็บบานใหปลอดโปรง ไมใหมีมุมอับ เพื่อปองกันยุงลายมาเกาะพัก 4. ใชสเปรยกระปองฉีดพนกำจัด ยุงลายในบาน “กรมควบคุมโรคหวงใย อยากเห็นคนไทยสุขภาพดี” “โรคไขเลือดออก” ภัยรายที่ไมควรมองขาม เรียบเรียงโดย..นายโกวิทย อนุรัตน นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศตม.11.2 จังหวัดนครศรีธรรมราช


https://ddc.moph.go.th/odpc11 บุหรี่ไฟฟ้า หยุดโกหกได้แล้ว เด็ก เยาวชน ตกเป็นเหยื่อบุหรี่ไฟฟ้า นางสาวกชรดา ศิริผล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุมโรคไมติดตอ บุหรี่ไฟฟ้า หยุดโกหกได้แล้ว เด็ก เยาวชน ตกเป็นเหยื่อบุหรี่ไฟฟ้า ไดกลิ�นตัวหอมติดตัว โดยไมทราบแหลงที่มา เจอผลิตภัณฑที่ไมคุนเคย เชน อุปกรณเคร�่องเข�ยน อุปกรณไฟฟารูปรางแปลกตา พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป เชน แสดงอาการกระวนกระวาย ปลีกตัวออกจากสังคมอารมณฉุนเฉียว เนื่องจากผลจากการติดนิโคติน ตั้งสติ ใชเหตุผล ไมดุดา หร�อลงโทษรุนแรง อธิบายโทษของบุหร�่ไฟฟา ไปพบแพทยเพ�่อเขารับการบำบัด á¹Ð¼ÙŒ»¡¤ÃͧÊѧࡵÅÙ¡ËÅҹ㪌ºØËÃÕèä¿¿‡Ò ประเทศไทยบุหรี่ไฟฟาเริ่มมีการใชในกลุมวัยรุนมากขึ้น จากการโฆษณาวาไมมีนิโคติน ไมเปนอันตรายตอตนเองและคน รอบขาง สูบแลวไมติด กลุมนักสูบหนาใหมจึงเขาไปใชกันมากขึ้น ปจจัยหนึ่งที่สัมพันธกับการเพิ่มขึ้นของนักสูบหนาใหมในกลุมวัยรุน คือ เกิดจากการตลาดที่เยายวน ชวนเชื่อใหกลุมวัยรุนสนใจใน ผลิตภัณฑ การออกแบบทันสมัย สวยงาม มีสีสันและกลิ่นที่ หลากหลาย เชน กลิ่นมิ้นต กลิ่นผลไม กลิ่น ชอกโกแลต วานิลลา โคลา มีผลการศึกษาพบวา รอยละ 90.0 ของผูสูบบุหรี่จะเริ่มสูบ ตั้งแตเปนวัยรุน และพบวาวัยรุนเปนวัยที่เขาสูเทคโนโลยีไดงาย ซึ่งบุหรี่ไฟฟา เปนผลิตภัณฑหนี่งที่มีจำหนายบนโลกออนไลน และ มีวางจำหนายในหางสรรพสินคาทั่วไป สถานการณการสูบบุหรี่ของเยาวชน (อายุ 15-18 ป) ป 2547-2557 มีแนวโนมเพิ่มขึ้น จากรอยละ 6.6 เปนรอยละ 8.2 และในป 2560 รอยละ 7.8 ในป 2564 สำนักงานสถิติแหงชาติ ไดรายงานผลการสำรวจ พบวา ประชากรไทยมีการสูบบุหรี่ไฟฟา จำนวน 78,742 คน คิดเปนรอยละ0.14 ของประชากรอายุ 15 ป ขึ้นไป จากจำนวนทั้งหมด 57 ลานคน แบงเปนคนสูบทุกวัน 40,724 คน และสูบแบบไมทุกวัน 38,018 คน โดยผูที่สูบบุหรี่ไฟฟา จำนวน 24,050 คน อายุระหวาง 15-24 ป ในป 2565 สถาบัน ยุวทัศนแหงประเทศไทย พบวา กลุมตัวอยางรอยละ 12.5 เปนเด็ก และเยาวชนที่ใชบุหรี่ไฟฟา รอยละ 72 มีความรูความเขาใจ เกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟาอยูในระดับปานกลาง และไมมีความรูความ เขาใจเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟา รอยละ 19 และผลจากการสำรวจ จังหวัดในพื้นที่ภาคใตบน 7 จังหวัด พบอัตราการบริโภคยาสูบ สูงกวาประเทศ (รอยละ 17.4) ไดแก จังหวัดกระบี่ (รอยละ 29.4) จังหวัดนครศรีธรรมราช (รอยละ 24.6) พังงา (รอยละ 24.6) ระนอง (รอยละ 24.5) สุราษฎรธานี (รอยละ 23.4) ชุมพร (รอยละ 22.9) ภูเก็ต (รอยละ 20.5) จากสวนประกอบที่สำคัญคือ สารนิโคติน ทำใหหลอดเลือด หดตัว สงผลใหเลือดไปเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกายนอยลง กระตุน ระบบประสาทอัตโนมัติ ไอระเหย จากบุหรี่ไฟฟา ยังกระตุนให รางกายผลิต hemoglobin มาเพื่อชวยจับออกซิเจน สงผลใหมี สภาวะเลือดขน และหนืด จับตัวเปนกอนไดงาย เสี่ยงตอการเกิด โรคหลอดเลือด สมองตีบหรือแตกมากขึ้น กลายเปนอัมพฤกษ อัมพาตและพิการ นอกจากนั้นยังกระตุนการอักเสบ (inflammation) และมีอนุมูลอิสระ สารเคมีตางๆ ในบุหรี่ไฟฟา ไมวาจะเปนนิโคติน หรือสารปรุงแตงกลิ่นรส และตัวทำละลายตางๆ ลวนกอใหเกิด ความเสียหายอยางถาวรในระดับดีเอ็นเอ ของเซลลตางๆ ซึ่งเปน การเปลี่ยนแปลงเริ่มตนของการ เกิดโรคมะเร็งตางๆ โดยองคการ อนามัยโลก สรุปวาการใชบุหรี่ไฟฟา เพิ่มความเสี่ยงโรคหัวใจ/ หลอดเลือด โรคระบบทางเดิน หายใจ และกระทบตอสมองตั้งแต เปนทารกในครรภ ผลกระทบเพ�่มความเสี่ยงตอการเกิดโรค àÁ×èÍÃٌNjÒÅÙ¡ËÅҹ㪌ºØËÃÕèä¿¿‡Ò


https://ddc.moph.go.th/odpc11 เรียบเรียงโดย..น.ส.ภัทรพร กลอนสม นักทรัพยากรบุคคล กลุมพัฒนาองคกร CR. : OKMD สํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู (องคการมหาชน) ที่จะชวยใหคุณใชชีว�ตอยางมีความสุขและมี ประสิทธิผลมากข�้น มีความสุข และมีสุขภาพดี เคล็ดลับพัฒนาตนเอง 1. พัฒนาความสนใจของคุณ Develop your Interests คุณควรใชเวลาไปกับกิจกรรมที่ชอบหรือถนัดมากกวา เพราะมันจะทำใหคุณรูสึกดี แถมชวยใหคุณรูสึกมีอิสระในการแสดง อารมณ และกระตุนใหคุณทำงานเพื่อสรางทักษะของคุณตอไป ระมัด ระวังและอยากดดันตัวเองมากเกินไป หากตองไลตามเปาหมาย มิฉะนั้นคุณอาจหมดกำลังใจ หมดความสนใจในเปาหมายเหลานั้นไป ซะกอน!! 2. พัฒนาการกรอบความคิดที่พัฒนาได หร�อการ เติบโตทางความคิด Develop a Growth Mindset ความ สำเร็จและความลมเหลวอาจสงผลตอความคิดของคุณ ซึ่งเปนเหตุผล วาทำไมการพัฒนากรอบความคิดจึงเปนเรื่องสำคัญ นี่คือความเชื่อ ที่วาคุณสามารถพัฒนาปรับปรุงความคิดของคุณได วิธีที่คุณสามารถ เสริมสรางความคิดนี้ไดคือการเอาชนะความทาทาย สิ่งนี้ไมงาย เสมอไป แตสามารถทำใหงายขึ้นได คุณควรพรอมที่จะปรับแผนของ คุณเมื่อมีสิ่งทาทายที่ไมคาดคิดเกิดขึ้น กุญแจสำคัญในการมีกรอบ ความคิดที่พัฒนาแลว คือการขอความชวยเหลือเมื่อถึงคราวจำเปน “จำไววาคุณไมสามารถทำทุกอยางดวยตัวเองได” “คุณสามารถ ตอบแทนน้ำใจของผูอื่นไดโดยการใหความชวยเหลือพวกเขากลับเมื่อ พวกเขาตองการความชวยเหลือนั้นเพื่อเปนการตอบแทน” 3. ตั้งเปาหมายอัน 'ชาญฉลาด' Set ‘smart’ goals การมีเปาหมายไมเพียงแตทำใหคุณเขาใจทิศทางชีวิตที่ชัดเจนเทานั้น แตยังใหความรูสึกถึงความสำเร็จทุกครั้งที่คุณเขาใกลเปาหมายมากขึ้น อีกดวย คุณตองตั้ง “เปาหมายที่ชาญฉลาด” กอน เปาหมายเหลานี้ ควรเปนเปาหมายที่เปนรูปธรรม สมเหตุสมผล และคำนึงถึงเวลา การคิดถึงขั้นตอนที่คุณตองทำเพื่อบรรลุเปาหมายและจดบันทึกจะ ชวยใหคุณบรรลุเปาหมายไดเร็วขึ้น 4. คนหาจ�ดแข็งและใชจ�ดแข็งของคุณ Identify and use your strengths ในขณะที่ตองทำงานที่คุณขาดประสบการณ หรือทักษะในการทำใหสำเร็จ การทำสิ่งที่คุณทำไดดีตามธรรมชาติ สามารถใหความสุขและความพึงพอใจแกคุณได คุณสามารถใชวิธีนี้ เพื่อสรางความมั่นใจในการจัดการกับงานที่คุณประสบปญหา 5. มองความลมเหลวในมุมมองที่ตางกัน Look at failures from different perspectives ความลมเหลว ไมวา จะเปนเรื่องใด ก็มักจะทำใหรูสึกเหมือนถึงจุดจบของโลก หลายคน มักจะมีความคิดที่โทษตัวเองเมื่อพบเจอกับเรื่องลมเหลวทั้งๆ ที่ จริงๆ แลว มีหลายปจจัยที่สงผลใหเราอาจประสบกับความลมเหลวในตอนนี้ หรือ เกิดสถานการณที่ทำใหเกิดเรื่องลมเหลวได “ลองตรวจสอบและ คิดหาวา มีวิธีใหมๆ ในการแกไขความลมเหลวไดหรือไม” หรือชวน เพื่อนมาแบงปนความคิดเห็น นอกจากนี้ยังเปนประโยชนในการเตือน ตัวเองวาคำวา 'ลมเหลว' และ 'จุดจบ' สามารถเปลี่ยนเปนคำวา "ความพยายามในการเรียนรู" และ "ความพยายามไมมีวันตาย" เมื่อ คุณพากเพียรพยายามมากพอ คุณจะไดรับความสำเร็จเปนการตอบแทน 6. ฝกความรูสึกขอบคุณ Practice Gratitude เมื่อคุณ ทำงานติดพันหรือวุนอยูกับงานอะไรก็ตามเปนเวลานาน หลายคนมัก จะหลงลืมในเรื่องการชื่นชมตัวเองไป ขอใหคุณลองชื่นชมตัวเองแบบ งายๆ ในแตละวัน 7. สรางสัมพันธที่กลมกลืนสามัคคี Build Harmonious Relationships ความสัมพันธระหวางบุคคลมักจะเปนตัวกำหนด อารมณของเรา ซึ่งเปนเหตุผลวาทำไมสายสัมพันธที่ดี และแนนแฟน อบอุนภายในครอบครัวและเพื่อนฝูงจึงเปนรากฐานของสุขภาพจิตที่ดี นอกจากการแสดงความรูสึกขอบคุณ การฟงและใหความสนใจผูอื่น มากขึ้น การใชคำพูดที่ไตรตรอง รอบคอบและสรางสรรคยังชวยสราง ความสนิทสนมและสัมพันธที่ดีไดอีกดวย “พยายามมองขามปฏิกิริยา ทางอารมณในแงลบของผูอื่น และพยายามทำความเขาใจพฤติกรรม อารมณ หรือมุมมองของพวกเขาดวยการคิดวา ถาเราตองอยูใน สถานการณที่เลวรายเดียวกันนี้” อยาใหความวิตกกังวลมาบั่นทอน ชีวิตของคุณ 8. คนหาความหมายของชีว�ต Search for the Meaning of Life ชีวิตที่มีความหมาย มีความพอใจในชีวิต หาก ตองการเปนคนที่มีความหมายและเปนประโยชนตอผูอื่น คุณลองถาม ตัวเองวาคุณจะชวยเหลือครอบครัว เพื่อนฝูง และสังคมไดอยางไร “การเปนอาสาสมัครหรือแมกระทั่งการชวยเหลือเพื่อนหรือการดูแล คนรอบขางจะทำใหคุณรูสึกมีคุณคา” คุณสามารถวางแผนเปาหมาย หรือกิจกรรมที่ทำใหคุณรูสึกเปนที่ตองการของผูอื่นไดลวงหนา “คุณ สามารถคิดทบทวนถึงทุกชวงเวลาดีๆ และคนหาวาความสำเร็จและ ประสบการณในอดีตของคุณจะชวยใหคุณสรางอนาคตที่ดี มีคุณคา เพิ่มมากขึ้นอีกไดอยางไร”


เรียบเรียงโดย..นางสาวธัญวลัย หองส่ำ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตสูง คือ ภาวะที่ตรวจพบระดับความดันโลหิตมากกวาหรือเทากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ความดันโลหิตสูงถือวาเปนภัยเงียบ เพราะสวนใหญไมมีอาการ แตเปนสาเหตุ ที่ทำใหเกิดโรคแทรกซอนอื่นที่อันตรายถึงชีวิต เชน โรคอัมพฤกษ อัมพาต โรคหัวใจ ไตวาย หากมี ความดันโลหิตสูงมากๆ มักมีอาการเหลานี้ ไดแก ตาพรามัว เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ หนามืด เหนื่อยงาย ใจสั่น คลื่นไสอาเจียน เปนลมหมดสติ คนไทย 14 ลานคนเปนโรคความดันโลหิตสูง ในจำนวนนี้ 7 ลานคนไมยอมมารักษา อัตราปวย รายใหมและอัตราตายดวยโรคความดันโลหิตสูง ทั้งในภาพรวมประเทศและเขตสุขภาพที่ 11 ในป 2560– 2566 มีแนวโนมเพิ่มขึ้น ปจจัยเสี่ยงที่ทำใหเกิดความดันโลหิตสูง ไดแก ภาวะอวน ทานอาหารหวาน มัน เค็ม ความเครียดเรื้อรัง สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ไมออกกำลังกาย กรรมพันธุ อายุมากกวา 35 ป และฝุน PM 2.5 การปองกันโรคความดันโลหิตสูง ไดแก ผูที่ไดรับการวินิจฉัยจากแพทยวาปวยเปนโรค ความดันโลหิตสูง ควรรับประทานยาอยางตอเนื่อง แมระดับความดันโลหิตอยูในเกณฑปกติแลว ไมควร หยุดรับประทานยาเอง ปจจุบันโรคความดันหิตสูง สามารถปรับลดยาหรือหยุดยาไดแตตองอยูภายใต ความดูแลของแพทยเทานั้น โดยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การรับประทานอาหารและควบคุมน้ำหนักควบคูไปดวย ควบคุมน้ำหนักตัวใหอยูในเกณฑปกติ หรือใกลเคียงปกติ รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ โดยใชหลัก 2 : 1 : 1 คือ ผัก 2 สวน : เนื้อสัตว 1 สวน : ขาว/ แปง 1 สวน และจำกัดโซเดียมใน อาหารนอยกวา 2,000 มิลลิกรัมตอวัน 1 3 ออกกำลังกายสม่ำเสมอ 5 วัดความดันโลหิตสม่ำเสมอ 2 4 งดสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล https://ddc.moph.go.th/odpc11


https://ddc.moph.go.th/odpc11 เรียบเรียงโดย..นายอมรเทพ เยาวยอด นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุมสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ ที่มา : พศิน อินทรวงค 1. คนเราทอกันได ไมใชเรื่องแปลก แตอยาทอนานเกินไป ยิ่งทอจะยิ่งจม พลังชีวิตหดหาย จงลุกขึ้นมาทำสิ่งใหม เพื่อให ชีวิตไดเริ่มใหม คนเราเริ่มใหมไดเสมอ อยาเอาแตกังวล ขี้เกียจ และหวาดกลัว ใหโอกาสตัวเอง ไดทำบางสิ่ง เพื่อเปลี่ยนชีวิตของตัวเอง 2. ความหวังเปนสิ่งสำคัญ เมื่อคิดหวังสิ่งใด ตองรูจักบูรณาการใหสิ่งนั้นจับตองได เพื่อทำลงในชีวิตประจำวัน ไมเชนนั้น จะเขาขายฝนไปเรื่อยเปอย มีคนจำนวนมากเอาแตคิดฝน แตไมยอมลงมือทำ ฝนแลวไมทำ คือการบมเพาะความซ้ำซากจำเจใหชีวิต แบบไมรูตัว มันคือความเคยชินที่ทำใหชีวิตสูญเสียพลังงาน 3. เดินชา เดินเร็ว ไมสำคัญ สำคัญที่ตองเดินทุกวัน และไมหยุดเดิน ลองวาดภาพกวาง ๆ วาเราจะไปไหน เมื่อเห็นภาพใหญ แลว ใหกลับมาดูวา เราจะไปไดอยางไรแบบกาวตอกาว คิดรูปแบบใหงาย การมองภาพใหงาย จะทำใหไมเสียกำลังใจในการกาวจาก จุดเริ่มตน 4. เรารูวา เราจะไปเชียงใหม นั่นคือเปาหมาย แตสิ่งสำคัญกวาคือตรงนี้ที่นี่ อยาฝากความสุขไวกับปลายทาง เพราะนั่น เทากับเราฝากความสุขไวกับอนาคต จงมีความสุขในทุกกาวยางที่เดิน พูดใหนอย ทำใหมาก พูดมากจะกลายเปนคนขี้โม ยิ่งทำจะยิ่ง เขาใกลความฝน 5. ถานึกไมออกวา จะเริ่มตนเปลี่ยนแปลงชีวิตไดอยางไรใหทำสองสิ่ง หนึ่ง ตื่นนอนแตเชาตรูแลวออกวิ่งระยะทางหากิโลเมตร เปนอยางนอย ถาวิ่งไมไหว ใหเดิน ถาเดินไมไหว ใหเดินใหชาลง เชื่อเถอะ คุณทำมันได มันไมไดยากอะไรขนาดนั้น สอง ลองหาเวลา สักวันอยูเงียบ ๆ คนเดียว นานกวานั้นไดก็ยิ่งดี หยิบสมุดเปลาไปสักเลมก็ได คอย ๆ คิดทบทวนชีวิตไปเรื่อย ๆ นาแปลกที่เราใชชีวิต มานาน แตเราแทบไมเคยมีเวลานั่งทบทวนชีวิตเลย เชื่อเถอะวา การอยูคนเดียวลำพัง กับความเงียบ จะชวยใหเราคิดอะไรออกได หลายอยาง แลวชีวิตจะเริ่มคลีคลายจากตรงนั้น 6. บางครั้งชีวิตนาเบื่อเพราะคิด พูด ทำแตสิ่งเดิม ๆ ลองนึกถึงหอง ๆ หนึ่ง หากเราปดหอง ไมเปดประตู ไมเปดหนาตาง ปดตายไวอยางนั้นเปนป ๆ หลาย ๆป หองจะมีกลิ่นอับ อับเพราะไมมีการเคลื่อนไหว ไหลเวียน การถายเทเปนสิ่งสำคัญ คนเราจำเปน ตองไดยิน ไดฟง อะไรใหมๆ พบเจอผูคนใหมๆ ลองกินอาหารใหม ๆ ฟงเรื่องที่ไมเคยไดยิน อานหนังสือเลมใหม ไปในสถานที่แหงใหม ทั้งหมดนั้นเราตองทำเพื่อถายเทตนเอง ทำใหชีวิตมีการเคลื่อนไหว การปดตนเอง นำมาซึ่งความอับทึบของชีวิต 7. บนไปไมไดอะไร ใจทอได แตบนใหพอประมาณ เอาพอดี ๆ พอไดระบาย แตอยาใหมากมายจนกลายเปนความฟูมฟาย ของชีวิต นึกอะไรไมออก ยิ้มใหทองฟา พูดจาดี ๆ พูดใหกำลังใจคน พูดในสิ่งที่เปนความสวาง อยาเอาแตพูดพนพิษใหดอกไมเหี่ยวเฉา 8. ลองคบเพื่อนหลาย ๆ แบบ คบคนที่คิดแบบเรา คบคนที่คิดตางกับเรา ลองกลับดานคิด สิ่งใดที่ชอบ ลองหาขอไมดี สิ่งใด ที่ไมชอบ ลองหาขอดีจากมัน อยาสั่งแตอาหารคุนลิ้น ลองชิมสิ่งใหมที่ไมเคยสัมผัส ตรวจสอบความคิดของตนอยูตลอดเวลา ผิดถูก บางครั้งพูดกันยาก บางครั้งขึ้นอยูที่เรามองสิ่งนั้นจากมุมใด 9. หากทุกข ทอเพราะคน ขอใหตระหนักวา เรามาถูกทางแลว ที่จริงเปนเรื่องธรรมดาของโลก ที่บางครั้งเราจะพบเจอกับ คนที่ไมเขาใจเราบาง พอแมยังไมเขาใจลูก ลูกยังไมเขาใจพอแม สิ่งนี้เกิดกับแทบทุกครอบครัวเปนสวนใหญ ปญหาความคิดตาง ระหวางคนตอคน ดำเนินมายาวนาน เปนเรื่องอยูคูโลกในทุกยุคทุกสมัย ที่จริงเราทุกข ผิดหวังเพราะใคร เกิดจากเราเอาใจไปยึดมั่น ถือมั่นในบุคคลนั้น ไมยึดวาเขาตองเขาใจ เราก็จะไมทุกข ของอยางนี้ตองคอย ๆ ฝก จะเอาวันนี้เห็นผลทันที เปนไปไมได 10. โลกจะแคบถาใจแคบ โลกจะกวางถาใจกวาง ความเปลี่ยนแปลงคือของจริง ความมั่นคงนาน ๆ ครั้งเกิดขึ้น และทาย ที่สุดยอมไมใชสิ่งจีรัง ที่จริงความทุกข ทอแทก็คือสวนหนึ่งของชีวิตที่มนุษยไมอาจปฏิเสธ ที่จริง ในความทุกขทอแท ก็มีความสวยงาม ซอนอยู ที่จริงความทุกขชวยใหเราเขาใจโลกมากขึ้น ความทุกขทำใหเราเกิดปญญาไดมากกวาความสุข เพราะเห็นทุกข จึงเห็นธรรม ความทุกขทำใหคนเขาใจชีวิต หรือจะทำลายชีวิตก็ไดทั้งนั้น อยูที่เราจะใชมันไปในทิศทางไหน อยูที่กำลังใจ กำลังสติ หากวันนี้กำลัง มีความทุกข ก็อยาใหเสียเปลา เติมเต็มความหวัง และกำลังใจ 10 ขอคิด


“Save ทุกดวงใจไทย ” ภายใต “โครงการราชทัณฑปนสุข ทําความดี เพื่อชาติ ศาสน กษัตริย ” สคร.11 รณรงคฉีดวัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญ ฟรี วันที่ 14 – 15 พฤษภาคม 2567 สํานักงานปองกันควบคุมโรคที ้่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช เข้าร่วมกิจกรรม “Sav� ทุกดวงใจไทย” ภายใต้ “โครงการราชทัณฑ์ปันสุข ทําความดี เพื่อชาติ ศาสน กษัตริย์” ณ ศูนย์ฝ ์ ึกและ อบรมเด็กและเยาวชนเขต 8 สุราษฎร์ธานี โดยได้รับเกียรติจาก พลอากาศเอก สุบิน ชิวปรีชา กรมวังผู้ใหญ่ ในพระองค์กรรมการมูลนิธิราชทัณฑ์ ปันสุข ทําความ ดี เพื่อชาติ ศาสน กษัตริย์ เป ์ ็นประธานในพิธี วันที่ 14 – 15 พฤษภาคม 2567 สํานักงานปองกันควบคุมโรคที ้่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช เข้าร่วมกิจกรรม “Sav� ทุกดวงใจไทย” ภายใต้ “โครงการราชทัณฑ์ปันสุข ทําความดี เพื่อชาติ ศาสน กษัตริย์” ณ ศูนย์ฝ ์ ึกและ อบรมเด็กและเยาวชนเขต 8 สุราษฎร์ธานี โดยได้รับเกียรติจาก พลอากาศเอก สุบิน ชิวปรีชา กรมวังผู้ใหญ่ ในพระองค์กรรมการมูลนิธิราชทัณฑ์ ปันสุข ทําความ ดี เพื่อชาติ ศาสน กษัตริย์ เป ์ ็นประธานในพิธี วันที่ 9 พ.ค 67 สํานักงานปองกันควบคุมโรคที ้่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมกับ หน่วยงานสาธารณสุขใน พื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดกิจกรรมรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเสี่ยง พื้นที่ตําบลนาพรุ อําเภอ พระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช ณ ศาลาประชาคม อําเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยกิจกรรม รณรงค์ในครั้งนี้ มีประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการฉีดวัคซีนปองกันโรคไข้หวัดใหญ่ จํานวน 820 คน ้ ที่ปรึกษา : แพทยหญิงดารินดา รอซะ ผูอำนวยการ สคร.11 นครศรีฯ นายคณพศ ทองขาว รองผูอำนวยการ สคร.11 นครศรีฯ กองบรรณาธิการ : นายอมรเทพ เยาวยอด และคณะทำงานเสริมสรางความรอบรู ดานการปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ พิมพที่ : ก.พลการพิมพ โทร : 09 8269 8997, 08 4241 7262 ขาวสาร สคร.11 : กำหนดออกราย 3 เดือน วัตถุประสงค : เพื่อเผยแพรขอมูลขาวสารทางวิชาการ เพื่อเผยแพรสาระความรูในการสรางเสริมสุขภาพ เพื่อสรางภาพลักษณที่ดีแกองคกร


Click to View FlipBook Version