The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุมิตรา สำเภาพล, 2019-06-04 03:49:36

ประเภท ระบบและรูปแบบการเกษตร

รายวิชาหลักการเกษตร

หน่วยท่ี 3 ประเภท ระบบ และรูปแบบการเกษตร

นางสาวสุมิตรา สาเภาพล

14

15

บทท่ี 3
ประเภท ระบบ และรูปแบบการเกษตร

วตั ถุประสงคข์ องการเรียน
ดา๎ นความร๎ู 1. นกั ศกึ ษาทราบความหมายของประเภทและรปู แบบการเกษตร
2. นักศกึ ษามีความร๎เู บอ้ื งตน๎ เกย่ี วกับพืชศาสตร์และสตั วศาสตร์
3. นักศกึ ษามคี วามร๎ูเบ้อื งตน๎ เกยี่ วกับเทคโนโลยแี ละเครื่องทุนํ แรง
4. นักศึกษามคี วามรเู๎ ก่ียวกับการตดั สนิ ใจทาการเกษตร
ดา๎ นทักษะ 1. นักศึกษาอธิบายประเภทและรปู แบบการเกษตรได๎
2. นักศึกษาสรปุ ความรูเ๎ บ้ืองต๎นเกยี่ วกบั พืชศาสตร์และสตั วศาสตร์ได๎
3. นกั ศึกษาใช๎งานเทคโนโลยแี ละเครื่องทํุนแรงฟารม์ ได๎
4. นักศึกษาตดั สนิ ใจทาการเกษตรทีเ่ หมาะสมได๎
ด๎านคณุ ธรรม จริยธรรม
1. สามารถทางานรํวมกนั เป็นหมํูคณะได๎
2. มีความรบั ผิดชอบ ตรงตอํ เวลา มีความคิดริเรมิ่ สร๎างสรรค์ กล๎าแสดงออก
3. มีสมั มาคารวะและสภุ าพเรียบร๎อย

ประเภทของการเกษตร
ประเภทของการเกษตร แบํงได๎เปน็ 4 ประเภท ดงั น้ี

1. การปลูกพืช มีหลายชนิด โดยลักษณะธรรมชาติของพืชแตํลํะชนิดก็แตกตํางกันไป ซ่ึงนักวิชาการเกษตรได๎แบํงออกเป็น
หลายประเภท เชํน วิธีการปลูก ดูแลรักษา นาไปใช๎ประโยชน์ สาหรับในระดับชั้นน้ีได๎จัดแบํงลักษณะการปลูกและดูแลรักษาเป็น 3
ชนดิ ไดแ๎ กํ

1.1 พืชสวน หมายถึง พืชท่ีปลกู ในเนือ้ ทนี่ ๎อย สามารถให๎ผลตอบแทนสงู ต๎องการดแู ลรกั ษามาก แบํงยํอยได๎เปน็ 3
กลุมํ ใหญๆํ คือ

(1.) ไม๎ดอกไมป๎ ระดบั ลักษณะการปลูก คอื นยิ มปลูกไว๎ในบ๎าน และบริเวณบ๎านหรือในกระถางใช๎พื้นท่ีไมํ
มาก ใช๎ตกแตงํ อาคารสถานทเ่ี พอ่ื ความสวยงาม วธิ ีการดแู ลรักษา รดน้าพรวนดิน ใสํปุ๋ยอยํางงํายๆ อยํางสม่าเสมอ

(2.) พืชผัก ลักษณะการปลูก คือ ปลูกในแปลงเพราะปลูก หรือสวนผักโดยเฉพาะวิธีการดูแลรักษา
นอกจากจะดูแลรดน้า พรวนดิน ใสํปุ๋ยตามปกติแล๎วจะต๎องกาจัดศัตรูพืช และมีการป้องกันแมลงตํางๆ อยํางดี
พชื ผัก เชํน หอม กระเทยี ม มะเขือ คะน๎า แตงกวา และผักกวางตุ๎ง

(3.) ไม๎ผล ลักษณะการปลูก คือ ปลูกในสวนผลไม๎ หรือพื้นที่ท่ีมีบริเวณกว๎างขวาง เพราะต๎นไม๎จะเป็นไม๎
ยืนต๎น อายุการให๎ผลยาวนาน วิธีการดูแลรักษาพิเศษกวําปกติ ต๎องใสํปุ๋ยบารุงดิน ตกแตํงก่ิง และตรวจสอบดู
หนอน แมลง ศตั รูพชื ไมผ๎ ล เชนํ มะมํวง เงาะ ทเุ รียน มังคุด ลาไย ฯลฯ

16

1.2 พชื ไรํ หมายถึง พืชที่ปลูกโดยใช๎เนือ้ ทีม่ าก มกี ารเจริญเติบโตเรว็ ไมตํ ๎องการดูแลรักษามากเหมือนพืชสวน สํวน
ใหญํเป็นพืชล๎มลุก มีอายุต้ังแตํ 2 เดือน ถึง 1 ปี หรือมากกวํา ผลผลิตของพืชไรํมีความสาคัญทางเศรษฐกิจและ
ชีวติ ประจาวันของคนไทย โดยใชบ๎ ริโภคเป็นอาหารหลัก และสํงเป็นสินค๎าออกจัดเป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งสามารถ
นารายไดเ๎ ขา๎ ประเทศเป็นจานวนมากเชนํ ข๎าว ข๎าวโพด ออ๎ ย ถว่ั ตํางๆ ยาสบู ฝ้าย มนั สาปะหลัง เป็นต๎น

2. การเล้ยี งสตั ว์ มีการเล้ียงมานานแลว๎ โดยเฉพาะประชาชนท่ีอยตํู ามชนบท นอกจากประกอบอาชีพทานา ทาไรํแล๎ว
มักจะเล้ยี งสตั วค์ วบคํูไปดว๎ ยเพ่อื ใชเ๎ ป็นอาหาร แรงงาน ในการเพาะปลูก การขนสํง และเพ่ือแกเ๎ หงา ซ่ึงปจั จบุ ันการเล้ียงสัตว์ในแงํ
การใชแ๎ รงงานลดน๎อยลง แตํจะมีบทบาทมากในแงขํ องการเลยี้ งเพือ่ ใช๎เปน็ อาหารเน่ืองจากผูบ๎ รโิ ภคนิยมบริโภคเนอื้ สตั ว์กนั อยาํ ง
แพรํหลาย อกี ทั้งยงั สามารถสํงออกจาหนํายยงั ตํางประเทศอกี ดว๎ ย

วตั ถปุ ระสงค์ของการเลย้ี งสตั ว์ แบํงออกไดด๎ ังน้ี
1. เพื่อไว๎ใชบ๎ รโิ ภค
2. เพ่อื ไวใ๎ ช๎แรงงาน
3. เพื่อประกอบอาชีพ
4. เพื่อเสริมรายได๎
5. เพ่ือใช๎ผลิตภัณฑ์จากสตั วท์ าเครอ่ื งนุงํ หํมของใชแ๎ ละรักษาโรค
6. เพื่อความสวยงามและความเพลดิ เพลิน
7. เพ่ือใช๎ประโยชนใ์ นการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์หรอื ทางการแพทย์
3. การประมง การทาประมงเป็นการเกษตรเกย่ี วกบั การเลี้ยงและการจับสัตว์น้าทุกชนิดของประเทศไทยซึ่งการทาประมงน้ี
สามารถสรา๎ งรายได๎ใหป๎ ระชาชน และประเทศเปน็ จานวนมาก การทาประมงในประเทศไทยสามารถแบํงออกตามลักษณะของแหลํง
น้าได๎ 3 ประเภท คือ
3.1 การทาประมงน้าจืด หมายถึง การทาประมงในแหลํงน้าจืดตามบริเวณที่ตํางๆได๎แกํการจับปลาในแมํน้า ลา
คลอง การเลีย้ งปลานา้ จืดในกระชงั การเลย้ี งปลาสลดิ ในบอํ เปน็ ตน๎
3.2 การทาประมงนา้ เคม็ หรือการทาประมงทะเล หมายถึง การจับก๎ุงทะเล ปลา และปลาหมึก ตลอดจนการเล้ยี ง
หอยทะเลตาํ งๆเชนํ การเลีย้ งหอยแมลงภํู การเล้ยี งหอยนางรม ฯลฯ
3.3 การทาประมงน้ากรอํ ย หมายถงึ การทาประมงในบรเิ วณเช่อื มตํอระหวํางพนื้ ที่นา้ เค็ม และน้าจืด เชนํ การ
เลีย้ งก๎ุงกุลาดา การเล้ียงปลากะพงขาวในกระชงั การเล้ียงปลานวลจนั ทร์เป็นต๎น
4. การเกษตรแบบผสมผสาน การเกษตรผสมผสานเปน็ การจดั ระบบกิจกรรมการเกษตรได๎แกํ ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ ประมง ให๎
มีการผสมผสานและเกือ้ กลู ในการผลิตซง่ึ กันและกัน โดยใช๎ทรัพยากรท่ีมีอยูํอยํางเหมาะสมให๎เกิดประโยชน์สูงสุด มีความสมดุลของ
สภาพแวดล๎อม เพิ่มความสมบูรณ์ของอาหารพืชหรือสัตว์การทาเกษตรหลายๆอยํางรํวมกันทาให๎เกษตรกรมีรายได๎จากผลผลิต
เพิ่มขึ้น ตลอดจนไมํเสี่ยงตํอสภาวะการขาดทุนจากราคาผลผลิตเพียงอยํางเดียวที่มีราคาไมํแนํนอนปัจจุบันรัฐบาลสํงเสริมและ
สนบั สนุนแนวทางในการทาการเกษตรเชนํ

17

4.1 เกษตรทฤษฎีใหมํ คือ แนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํท่ีสํงเสริมสนับสนุนให๎เกษตรกรได๎
บริหาร และจัดการเก่ียวกับดิน น้า ให๎มีประโยชน์สูงสุดเพ่ือบังเกิดผลผลิตและรายได๎มาเล้ียงตบเองและครอบครัวอยําง
เพยี งพอเพ่ือคณุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี ึ้นพร๎อมกับชํวยเหลือซ่งึ กันและกนั ในชุมชน

4.2 การเกษตรแบบยังชพี หมายถึง การเกษตรหรอื การผลิตเพ่ือยังชีพคือ การเพาะปลูกพอยังชีพซึ่งหมายถึง การ
เพาะปลูก แบบดั้งเดิมแบบหน่ึงโดยการปลูกพืชใช๎กินเป็นอาหารภายในครอบครัวไมํได๎ปลูกมากเหลือใช๎พอที่จะสํงไปขาย
นอกท๎องถน่ิ ได๎

4.3 การเกษตรธรรมชาติ การเกษตรแบบนี้เป็นการเกษตรแบบท่ีกลับไปหาธรรมชาติหรือการเกษตรแบบฟื้นฟู
ธรรมชาตใิ หก๎ ลับมาดั้งเดิมนน่ั เอง

4.4 การเกษตรแบบยั่งยืน คือ การเกษตรท่ีเก้ือกูลซ่ึงกันและกันเพื่อรักษาดุลยภาพทางธรรมชาติและปรับปรุง
ส่ิงแวดล๎อมไปพร๎อมๆ กัน ซ่ึงการเกษตรแบบน้ีเป็นการทาการเกษตรเพ่ือต๎องการให๎เกษตรกรสามารถพ่ึงพาตนเองได๎ ท้ัง
การผลิตและการดารงชพี โดยการใช๎ทรัพยากรธรรมชาติอยาํ งประหยดั

4.5 เกษตรอินทรีย์ หลักการ
1. การจัดการพ้ืนทีส่ ัมพันธก์ ัน ระหวาํ ง ดนิ -พชื -สัตว์–ระบบนิเวศน์ ใหส๎ มดุลระยะยาว หมนุ เวียนใช๎

ผลผลิตในฟาร์มเก้ือกลู กันมากท่ีสดุ
2. สงํ เสรมิ ความอดุ มสมบรูณ์ของดนิ และส่งิ มีชีวิตในดิน
3. หลีกเล่ียงการใช๎สารเคมี ปุ๋ย ยากาจดั ศัตรูพืช ศตั รสู ัตว์ สารเรํง หรือฮอรโ์ มน
4. การผลติ ทุกขน้ั ตอนต๎องไมํกระทบตอํ สงิ่ แวดล๎อม
5. ไมใํ ชส๎ ่งิ มชี ีวติ ตดั ตอํ พนั ธกุ รรม และการฉายรังสี
6. ปอ้ งกันมลพษิ จากรอบข๎าง
7. ปฏบิ ตั ิตํอสตั วอ์ ยาํ งรบั ผิดชอบ-สตั ว์อยอูํ ยํางเป็นธรรมชาติ (Animal welfare)
8. สํงเสริมสุขภาพสตั วต์ ามธรรมชาติ ทง้ั ในเรื่องอาหารสัตว์ พฤติกรรมสัตว์
9. รกั ษาความเปน็ อินทรีย์ตลอดหวํ งโซํ พันธ์ุ อาหารสัตว์ การแปรรูป

ระบบการเกษตรของเมืองไทย
1. การเกษตรอาศยั น้าฝน (Rainfed)
2. การเกษตรอาศยั ชลประทาน (Irrigation)
3. การเกษตรทคี่ วบคมุ โดยมนษุ ย์

ระบบการปลูกพืช
1. การปลกู พืชแซม (Inter Cropping)
2. การปลกู พชื เหล่ือมฤดู (Relay Cropping)
3. การปลูกพชื แบบผสม (Mixed Cropping)
4. การปลกู พชื หลายชัน้ (Multistory Cropping)

18

5. การปลูกพชื โดยวิธีควบคุม (Control Cropping)
- Green House
- Soilless Culture
- Hydroponic System
- Substrates Culture System
ระบบเกษตรในประเทศไทย : การเกษตรแผนปจั จุบันหรือเกษตรเคมี (Chemical Agriculture)

การเกษตรแผนปจั จุบัน เปน็ ผลสืบเน่ืองมาจากการปฏิวตั ิเขียวในราว ค.ศ.1960 (พ.ศ. 2503) โดยใช๎ความก๎าวหน๎าทาง
วทิ ยาศาสตร์เกษตรและเทคโนโลยี มาใช๎ในการเพมิ่ ประสิทธภิ าพการผลิตสนิ คา๎ เชนํ การใช๎พันธ์ุพืชและพนั ธุ์สัตว์ท่ีให๎ผลผลติ สูง การ
ใชเ๎ คร่อื งจักรกลทางการเกษตรไถพรวนได๎ลึกมากขน้ึ ทดแทนแรงงานจากสตั ว์ ทัง้ น้เี พ่ือใหส๎ ามารถผลติ ได๎ในทุกชํวงเวลาและมผี ลผลิต
อยํางตํอเนื่อง รวมถึงการใช๎สารเคมีทางการเกษตรจาพวกปยุ๋ เคมี สารเคมีกาจัดศัตรูพืช และฮอรโ์ มนพชื สงั เคราะห์ ฯลฯ โดยมี
วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ใหไ๎ ด๎ผลผลติ ทีส่ งู ขนึ้ ในการลงทนุ ทีเ่ ทาํ เดิม ในระยะเวลาเดมิ เพื่อจะได๎มีวัตถุดิบปอ้ นให๎กบั โรงงานอุตสาหกรรมและ
เปน็ การประหยดั แรงงาน เน่ืองจากแรงงานสํวนใหญํหล่ังไหลไปสูภํ าคอุตสาหกรรมตามท่ีได๎มกี ารปฏิวตั ิอตุ สาหกรรมกํอนหน๎านี้

การปฏิวตั เิ ขยี ว ไดก๎ ลายเป็นนโยบายและแนวทางหลักของการพฒั นาประเทศสํวนใหญํในโลก นโยบายสํงเสรมิ การทา
การเกษตร รวมถึงเทคนคิ การปลกู พชื และเล้ยี งสัตว์ไดถ๎ ูกกาหนดใหใ๎ ช๎แนวทางเดียวกันจนกลายเป็นระบบหลักของทกุ ประเทศรวมถงึ
ประเทศไทย เนื่องจากแนวคิดในเรื่องผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตรท์ ่ีเนน๎ ความสามารถในการเพ่ิมผลผลติ ทางการเกษตรเปน็ จานวน
มากมผี ลตอบแทนสงู กับผ๎ผู ลิตไดก๎ ลายเปน็ แนวทางหลักในการเลือกรปู แบบการผลติ ทางการเกษตร

การปฏิวตั เิ ขยี วได๎เข๎าสูปํ ระเทศในเอเชียต้งั แตสํ งครามโลกครั้งที่ 2 ยตุ ิลง โดยประเทศผ๎ูชนะสงครามไดน๎ าการเกษตรกรรมท่ี
ในยคุ น้ันเรยี กวํา “เกษตรกรรมแผนใหมํ” ทเ่ี น๎นการใชส๎ ารเคมีสงั เคราะหเ์ ข๎ามาสํปู ระเทศญ่ปี นุ่ และได๎แพรํตํอไปยังประเทศ
พนั ธมิตร เชํน เกาหลใี ต๎ และอีกหลายประเทศในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต๎ เชํน ฟลิ ปิ ปนิ ส์ อนิ โดนีเซีย มาเลเซีย และไทย เปน็ ต๎น
รปู แบบการเกษตรแผนใหมํนี้ชวํ ยให๎ประเทศญ่ีปุ่นสามารถผลิตพชื ผลได๎ในปริมาณทีเ่ ทาํ กับการเพาะปลูกแบบพน้ื บา๎ นแบบดั้งเดมิ แตํ
ใชเ๎ วลานอ๎ ยกวํา นอกจากนีย้ ังใชแ๎ รงงานของเกษตรกรน๎อยลงไดม๎ ากกวําครง่ึ หนึ่ง ดังนัน้ จงึ ทาให๎เกิดการยอมรับเทคโนโลยสี มยั ใหมํ
และได๎พฒั นากลายเปน็ แนวทางหลักในการผลิตทางการเกษตรหลกั ของญี่ปุน่ และอีกหลายประเทศในเอเชียไปในท่ีสุด แตอํ ยํางไรก็
ตามได๎มีการตัง้ ข๎อสงั เกตวาํ รปู แบบการผลิตแบบด้งั เดิมของการผลิตทางการเกษตรในญป่ี ุ่นที่เน๎นการปลูกพืชหมนุ เวียนใชป๎ ยุ๋ หมกั
และปุย๋ คอก มีการคลุมดินดังเทคนคิ ท่ีไดป๎ ฏิบตั มิ าหลายร๎อยปที ่ที าให๎ระดับอินทรียวตั ถุในดินมีความคงที่ และสํงผลถึงระดบั ความ
อดุ มสมบรู ณข์ องดนิ ให๎อยํใู นระดับทีใ่ หผ๎ ลผลิตที่สามารถเล้ียงชาวญ่ีปุ่นไดต๎ ลอดมายาวนาน ได๎ถูกละท้งิ ไปภายหลังจากการใชส๎ ารเคมี
ทางการเกษตรและเคร่ืองจักรกลทางการเกษตร ส่งิ น้ีมผี ลใหฮ๎ วิ มสั ในดินถูกทาลายหมดไปภายในชว่ั อายคุ นรํนุ เดยี ว โครงสร๎างของ
ดินเสือ่ มโทรมลง พชื อํอนแอลงและต๎องพ่ึงพาการใชป๎ จั จัยการผลิตจากภายนอกทีเ่ ปน็ สารเคมีสังเคราะห์ชนดิ ตาํ งๆ จานวนมากโดย
จะขาดเสยี ไมํได๎ ซงึ่ ถ๎าขาดปัจจัยการผลิตจากภายนอกเมื่อใด ผลผลิตจะลดลงจนเกดิ ปัญหาความม่ันคงทางด๎านอาหารตามมา
ในทันที

ผลของการทาการเกษตรแบบใช๎สารเคมสี งั เคราะห์กํอใหเ๎ กิดปญั หาตํางๆ ตามมาอยํางมากมายหลายประการดงั ตํอไปนี้

19

1. ผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ ม
การทาเกษตรแผนใหมทํ าให๎เกิดปัญหาส่ิงแวดล๎อมและความเสอ่ื มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาตติ ามมาที่เหน็ ไดช๎ ัดเจนไดแ๎ กํ

ปัญหาการพังทลายของหน๎าดิน ดนิ เสื่อมความอุดมสมบูรณ์ ปญั หามลพิษในสงิ่ แวดลอ๎ มและปัญหาการระบาดของโรคและแมลง
ตัวอยํางเชํน จากการสารวจในประเทศไทยพบวาํ ในพ้ืนท่ีลาดชันของจังหวดั นาํ นสํวนใหญถํ ูกชะล๎างพังทลายในอัตราทมี่ ากกวํา 16
ตันตอํ ไรตํ ํอปี ซึ่งเปน็ อัตราสูงกวาํ ทย่ี อมใหม๎ ีได๎ถงึ 20 เทาํ และท่จี งั หวัดเพชรบูรณ์ พ้ืนที่ทมี่ ีความลาดชนั 9% มีการสูญเสยี หน๎าดินถงึ
26 ตันตํอไรํตํอปี

เกษตรกรรมแผนใหมํท่ีมุํงเนน๎ เพมิ่ ผลผลติ ทางการเกษตรโดยการใชป๎ ุ๋ยเคมีเป็นจานวนมากและใช๎ติดตํอกันเป็นระยะ
เวลานานจะทาให๎เกิดปญั หาความเสื่อมโทรมของโครงสร๎างดินและดินขาดความอดุ มสมบูรณ์ เน่อื งจากการใชป๎ ุ๋ยเคมไี มํใชํการบารุง
ดิน แตเํ ป็นการอัดแรธํ าตุอาหารให๎แกํพืช โดยไมํมีการเตมิ อินทรยี วัตถุเพ่ิมลงในดนิ และการใชป๎ ยุ๋ เคมียงั เรํงอตั ราการสลายตวั ของ
อินทรยี วัตถุในดิน ทาใหโ๎ ครงสร๎างของดนิ เส่ือมลง ดินจึงกระดา๎ งมีการอดั ตวั แนํน ไมอํ ๎มุ น้าในฤดแู ล๎ง

การใชส๎ ารเคมีกาจดั ศตั รูพชื ทาให๎เกดิ ปัญหาสารพิษตกค๎างในสง่ิ แวดล๎อม ท้งั นเี้ นอ่ื งจากการใชส๎ ารเคมใี นการกาจดั ศัตรูพชื
ในแตลํ ะคร้ังจะใชป๎ ระโยชน์ได๎เพยี ง 25% ที่เหลืออกี 75% จะกระจายสะสมในดิน น้า และอากาศในสิ่งแวดล๎อม ท่ีสาคญั คือ
สารเคมกี าจดั ศตั รพู ืชไมํได๎ทาลายเฉพาะศตั รูพืชเทําน้ัน แตํยงั ทาลายแมลงและจลุ นิ ทรยี ์ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ในธรรมชาตอิ ีกด๎วย ซ่งึ เปน็
การทาลายความสมดลุ ของระบบนเิ วศในธรรมชาติ และผลทตี่ ามมาคอื การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชท่รี ํนุ แรงมากขึ้น
ตวั อยํางเชนํ การระบาดของเพลี้ยกระโดดสนี า้ ตาลทที่ าลายผลผลิตขา๎ มในประเทศไทย เมือ่ ปี 2533-2534 ซึง่ มีพ้ืนท่ีการแพรรํ ะบาด
มากถึง 3.5 ลา๎ นไรํ

การทาเกษตรแผนใหมํได๎นาไปสูํการปลูกพืชเชิงเดยี่ ว และการขยายพนื้ ที่ทาการเกษตร ทาใหเ๎ กดิ ปัญหาการบุกรุกพนื้ ที่ป่า
ธรรมชาติ ทาใหเ๎ กดิ การสูญเสยี พน้ื ท่ปี า่ อันเปน็ ทรัพยากรท่ีสาคัญในโลกและแหลํงต๎นนา้ ทส่ี าคัญลงดว๎ ย
2. ผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ

การทาเกษตรแผนใหมเํ ป็นการทาการเกษตรท่ตี ๎องพ่งึ ปัจจยั ภายนอก เพื่อนามาเพิ่มผลผลติ ใหไ๎ ด๎เป็นจานวนมาก แตํก็มิได๎
หมายความวําเกษตรกรจะประสบความสาเรจ็ ทางเศรษฐกิจเสมอไป ในทางตรงกันข๎ามกลับพบวําเกษตรกรท่ที าการเกษตรแผนใหมํ
จานวนมากประสบปัญหาภาวะขาดทนุ และหน้สี ิน เกิดความล๎มเหลวทางเศรษฐกจิ เนอื่ งมาจากต๎นทุนการผลติ ทสี่ งู และราคา
ผลผลติ ทต่ี กตา่ ในประเทศไทยการพฒั นาการเกษตรแผนใหมกํ ลับเปน็ การผลกั ดันให๎เกษตรกรต๎องตกอยูภํ ายใต๎การครอบงาของ
บรษิ ทั เนื่องจากต๎องพึ่งพาปัจจัยการผลติ และเทคโนโลยตี าํ งๆ จากบริษทั ไมํวาํ จะเปน็ เมลด็ พันธ์ุ ปยุ๋ หรอื สารเคมีกาจัดศตั รูพชื เปน็
การทาการเกษตรทีถ่ ูกผูกขาดจากบรษิ ทั ขนาดใหญํ ดังนัน้ จะเห็นได๎วําการทาเกษตรแผนใหมํเปน็ การสร๎างรายได๎ให๎แกํบริษทั เอกชน
ขนาดใหญํมากกวําเกษตรกรที่แทจ๎ รงิ
3. ผลกระทบต่อสขุ ภาพของเกษตรกรและผ้บู รโิ ภค

การใช๎สารเคมีกาจดั ศัตรูพืชนอกจากจะสํงผลกระทบตํอสิ่งแวดลอ๎ มแลว๎ ยังกํอให๎เกดิ ปัญหาการได๎รับสารพิษเขา๎ สํรู าํ งกาย
ของเกษตรกรผูใ๎ ช๎ และยังมีสารพิษตกค๎างในผลผลติ ทางการเกษตรอีกดว๎ ย การใช๎สารเคมีทางการเกษตรนานๆ จนทาใหพ๎ ืชผกั มพี ิษ
ตกคา๎ งจานวนมาก กํอใหเ๎ กิดปัญหาตอํ สขุ ภาพของผู๎บริโภค จากการตรวจพบสารพษิ ตกค๎างในผลผลิตทางการเกษตรของประเทศ
ไทย พบวํา ผลผลติ มสี ารพิษตกคา๎ งอยูสํ ูงจนในผลผลิตบางชนิดไมผํ าํ นมาตรฐานมผี ลกระทบตํอการสํงออกสนิ ค๎าเกษตรของไทย

20

นอกจากน้กี ารที่คนไทยบริโภคผลผลติ ทม่ี สี ารพิษตกค๎างอยูํทาใหม๎ กี ารสะสมสารพิษในราํ งกายเป็นระยะเวลานาน และเกดิ การ
เจบ็ ป่วย เชํน โรคภูมิแพ๎ โรคเครยี ด โรคมะเรง็ ฯลฯ โดยเฉพาะโรคมะเรง็ ซ่ึงจะเหน็ ได๎จากสถิติคนไทยที่ปา่ ยเป็นโรคมะเร็งมจี านวน
มากขึน้ ทกุ ปี
4. ผลกระทบต่อวิถีชวี ิตและภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ

เกษตรกรรมแผนใหมํทาใหเ๎ กิดความเปลยี่ นแปลงในวถิ ชี ีวติ ของเกษตรกรไทย ทาลายฐานการเกษตรแบบยังชีพของ
เกษตรกร ทาลายระบบสังคมของชมุ ชน และมีผลตํอการเปลยี่ นแปลงความคดิ ท่ีมีตํอภมู ิปัญญาพนื้ บ๎านของไทย ภมู ิปญั ญาทอ๎ งถ่ิน
ถูกละเลย ดว๎ ยเข๎าใจวําเป็นความเชอื่ หรอื วิธีการปฏิบัติที่ไมทํ นั สมัย ไมํเป็นวทิ ยาศาสตร์ และไมํมปี ระสิทธิภาพ โดยลืมไปวําความร๎ู
และภูมปิ ัญญาท่ีถูกถํายทอดตํอๆ กันมาได๎มาจากประสบการณข์ องคนรนํุ กํอนมานานหลายรนุํ ท่ีอยใูํ นพน้ื ท่ที ๎องถ่นิ ที่พวกเขาอาศยั
อยูํ ซงึ่ ความคิดน้ไี ดร๎ ุนแรงมากขึ้นเม่ือเริม่ เขา๎ สูํยคุ ปฏิวตั ิเขียว ความรู๎และแนวทางการพัฒนาการเกษตรจะถูกรวมไปอยํใู นสถาบนั
การเกษตรตํางๆ ของรฐั และบริษัทธุรกจิ การเกษตรขนาดใหญํ การพัฒนาและแก๎ไขปญั หาของเกษตรกรกลายเปน็ บทบาทของ
ผูเ๎ ชี่ยวชาญทางการเกษตรจากหนวํ ยงานของรัฐ หรือบริษัทการเกษตรทเี่ ขา๎ ไปเปล่ียนแปลงความคดิ และวถิ ีชีวติ ของการทา
การเกษตร โดยทเี่ กษตรกรกลายเปน็ เพยี งผูร๎ บั เทําน้นั เอง ซ่ึงหากองค์ความรู๎ทไี่ ดร๎ ับนนั้ ไมํถกู ต๎อง ผ๎ทู ี่ไดร๎ ับความเสียหายคือตัวของ
เกษตรกรเอง

ศนู ย์ขอ๎ มลู เกษตรธรรมแมํโจ๎ ภาควิชาทรพั ยากรดนิ และสงิ่ แวดล๎อม คณะผลติ กรรมเกษตร มหาวิทยาลยั แมํโจ๎

ความรู้เบ้อื งต้นเกี่ยวกบั พชื ศาสตร์

ประโยชนก์ ารปลูกพชื
1. เนน๎ แหลํงอาหาร เครอื่ งนํงุ หมํ ทอี่ ยํูอาศัย ยารกั ษาโรค
2. ชํวยรกั ษาตน๎ น้าลาธาร ปอ้ งกนั การพงั ทลายของดนิ
3. ชวํ ยใหเ๎ กดิ ความรนื่ รมย์

การจาแนกพืชตามชีพจกั ร (Classification on Basis of Growth Habit)

1. พืชล้มลุก (Annuals) เป็นพืชอายุส้ัน จะออกดอกให๎เมล็ดและตายภายในเวลา 1 ปี ธัญพืชสํวนใหญํเป็นพืชล๎มลุก

เชนํ ขา๎ ว ขา๎ วโพด ข๎าวฟ่าง

2. พชื คาบปี (Biennials) เปน็ พชื ที่มอี ายุคาบปี กลาํ วคอื ในปแี รกจะมีการเจริญเฉพาะทางด๎านลาต๎น กิ่ง และใบ และใน

ฤดถู ัดมาของปีท่ี 2 จึงออกดอกให๎เมลด็ และตาย เชนํ บที น้าตาล หอม กระเทยี ม

3. พืชยืนต้น (Perennials) เป็นพืชท่ีมีอายุยาวมากกวํา 2 ปีข้ึนไป อาจจะออกดอกมีผล

ใหเ๎ มล็ดทกุ ปี หรืออาจมีปเี ว๎นปกี ็ได๎ เชนํ แค กระถนิ มะพร๎าว หญ๎าบางชนดิ ขา๎ วไรบํ างชนดิ ไม๎ผล

21

การจาแนกพชื ตามสาขาพืชกรรม
การจาแนกตามสาขาพชื กรรม

ปา่ ไม้ พชื ไร่ พืชสวน
1. ประเภทผลัดใบ 1. ธัญพืช 1. ไม๎ผล
2. พืชตระกูลถ่วั 2. พชื ผัก
- ปา่ เบญจพรรณ 3. พชื อาหารสตั ว์ 3. ไม๎ดอกไมป๎ ระดบั
- ปา่ แดง 4. พืชเสน๎ ใย 4. การตกแตํงสถานที่
2. ประเภทท่ไี มผํ ลัดใบ 5. พืชทใี่ ช๎รากเปน็ ประโยชน์ 5. สาขายอํ ย
- ป่าดงดิบชื้น 6. พืชทีใ่ ช๎หัวเป็นประโยชน์
- ป่าดงดิบเขา 7. พชื ทใ่ี หน๎ ้าตาล - สถานเพาะชา
- ป่าสนเขา 8. พืชที่ใหน๎ า้ มนั - การถนอมอาหาร
- ปา่ โกงกาง 9. พชื ทใ่ี ห๎น้ายาง - พชื สมุนไพร
3. ประเภทอืน่ ๆ 10. พชื ประเภทกระตุน๎ ประสาท - การผลิตเมล็ดพันธุ์
- การเลีย้ งเนอื้ เยอื่

แรธ่ าตอุ าหารพืช
แรํธาตอุ าหารพชื ประกอบดว๎ ย คาร์บอน (C) ออกซเิ จน (O) ไฮโดรเจน (H) ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) ปอแตสเซียม (K)
แคลเซีย (Ca) กามะถนั (S) แมกนีเซยี ม (Mg) และคลอรนี (Cl)
แรํธาตุอาหารพืชท้ัง 16 ชนิดน้ี มีอยูํ 3 ชนิด ท่ีเป็นก๏าซ คือ C O และ H พืชได๎รับแรํธาตุเหลําน้ีในรูปของน้าและ
คารบ์ อนไดออกไซด์ ซ่งึ ไมมํ ีปญั หาในด๎านการผลิตผลไม๎ แตํแรํธาตุอาหารพืชอื่นๆ อีก 13 ชนิด นั้น มีความสาคัญอยํางมากท่ีจะต๎อง
ทราบรายละเอยี ดในแตํละแรธํ าตุ เพราะวําเป็นอาหารของพืชทีม่ ีประโยชน์และโทษโดยตรง โดยเฉพาะในดา๎ นผลผลิตและคุณภาพ
แรธ่ าตไุ นโตรเจน เป็นสวํ นประกอบทสี่ าคัญในการนาไปสรา๎ งโปรตีน เพอ่ื สร๎างใบ ก่ิง ก๎าน และรากของพืช ไมผ๎ ลจะดึง
ไนโตรเจนขน้ึ มาจากดินประมาณ 18-20 กิโลกรัมตํอไรํ ตํอปี ดนิ ท่มี ีแรธํ าตอุ าหารพืชชนิดอ่ืนอยอูํ ยาํ งครบถ๎วน แลว๎ เพ่ิมไนโตรเจนไมํ
เพยี งพอกจ็ ะทาใหผ๎ ลมขี นาดเล็ก และเนือ้ ของผลสวํ นท่ีละลายน้าไดจ๎ ะมปี รมิ าณน๎อยลง แตถํ า๎ มีไนโตรเจนสงู มากเกนิ ไป ก็จะทาให๎
ผลไม๎มคี ุณภาพไมํดีและมรี สเปร้ยี ว แรธํ าตุไนโตรเจนถ๎าขาดหรอื ไมํเพียงพอจะทาให๎พืชโตช๎า ลดจานวนดอกและผล ผลผลิตตา่ และ
ผลแกกํ ํอนกาหนด
แรธ่ าตฟุ อสฟอรสั แรํธาตุอาหารชนดิ นีม้ คี วามจาเป็นในการสร๎างนวิ คลีอคิ แอซคิ (Nucleic acid) โปรตนี บางชนดิ และแปง้
ซึง่ จาเป็นสาหรบั การเจริญเติบโตของรากและเมลด็ ฟอสฟอรสั จะชํวยเรงํ การแกํของผล การขาดฟอสฟอรสั จะทาให๎พืชเติบโตช๎า แคระ
แกรน็ รากงอกออกช๎า ดอกรํวง ผลแกเํ รว็ ผลขนาดเล็ก เปลอื กหนา และคุณภาพผลด๎านรับประทานต่า ถา๎ ฟอสฟอรสั มีมากเกนิ ไปจะ
ไมมํ ีผลกระทบกระเทือนตํอผลผลติ แตํจะทาให๎เน้ือของผลสํวนที่ละลายน้าได๎ และกรดลดต่าลง ซงึ่ ฟอสฟอรัสนม้ี ีความสมั พนั ธก์ นั

22

ระหวาํ งการดึงดูดไนโตรเจน และแรธํ าตสุ งั กะสี การที่พืชจะไดร๎ ับฟอสฟอรสั หรือไมํนั้นยังขึ้นอยํูกับปฏกิ ริ ิยาของดิน ไม๎ผลทีจ่ ะดึง
ฟอสฟอรัสขน้ึ มาใช๎ประมาณ 4 – 9 กโิ ลกรัมตอํ ไรํ ตอํ ปี แรํฟอสฟอรัสนี้ ถ๎าให๎มากเกนิ ไปจะทาให๎ไนโตรเจน สังกะสี และเหลก็ ขาด
แคลน

แร่ธาตุปอแตสเซียม แรํธาตุน้ีมีความจาเป็นในการลดไนโตรเจนในพืช โดยเฉพาะจาเป็นในชํวงการเจริญเติบโตอยําง
รวดเรว็ กบั ชนดิ ของพชื ที่ต๎องสร๎างคาร์โบไฮเดรตเป็นจานวนมาก ตัวอยํางเชํน กล๎วย ซ่ึงต๎องการปอแตสเซียมถึง 33.5 กก. ตํอไรํตํอ
ปี นอกจากนี้ปอแตสเซียมยังชํวยในขบวนการสังเคราะห์คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน ถ๎ามีโปแตสเซียมไมํพอเพียงจะทาให๎
ผลผลติ คํอนข๎างต่า แตถํ า๎ มากเกนิ ไปก็จะทาให๎แรํธาตุ แมกนีเซียม แมงกานีส สังกะสี และแคลเซียม ไมํอยํูในสภาพที่พืชจะทาเอาไป
ใช๎ได๎ ปอแตสเซียม ยังชํวยในด๎านการปรับปรุงคุณภาพของผลไม๎ คือจะชํวยในการเปลี่ยนสภาพแป้งเป็นน้าตาล เพิ่มความหวาน
ให๎กับผลไม๎ โดยเฉพาะองํนุ ปกตพิ ชื จะขาดปอแตสเซียม ในดนิ ท่มี ีสภาพความเป็นกรดและถ๎าขาดปอแตสเซียมจะทาให๎พืชมีลักษณะ
ขอบใบไหม๎ เสน๎ กลางใบเหลอื ง และลดอัตราการเจรญิ เตบิ โต

แร่ธาตแุ คลเซียม มีความจาเปน็ ตอํ การเจรญิ เติบโตและการสร๎างเซลล์ของพืช ถ๎าขาดแคลเซียมจะทาให๎พืชแคระแกร็น ใบเขียว
อมเหลือง และชะงักการเจริญเติบโตของราก นอกจากน้ี แคลเซียมยังชํวยในการปรับสภาพความเปน็ กรดของดินอีกด๎วย

ปัจจัยท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การเจริญเติบโตของพชื
1. พนั ธกุ รรม (Genetic)

- ลกั ษณะท่มี องเห็นภายนอก (Phenotype)
- ลักษณะที่ถํายทอดไปยังลกู หลาน (Genotype) เปน็ ตัวกาหนดสีของดอก ความสูง ผลผลิต การเลือกพืชที่จะปลูกต๎องเลือก
พนั ธุ์ดที ี่ไมํกลายพนั ธุ์
2. ส่งิ แวดลอ้ ม
- ดนิ - นา้
- แสงสวาํ ง - อุณหภมู ิ
- ธาตอุ าหาร
ดนิ (Soil)

คอื สารหรอื เทหะวตั ถุ (Natural Body) เกดิ จากการเนาํ เป่อื ยของ
- หิน (Rock)
- แรธํ าตุ (Minerals)
- อนิ ทรียวัตถุ (Organic Matter)

23

องคป์ ระกอบของดนิ

น้า 25% อนินทรียว์ ตั ถุ 45%
อากาศ 25%
ิอนท ีรย์วัต ุถ 5%
การขยายพนั ธพ์ุ ชื (Plant Propagation)

มี 2 แบบ

1. โดยใชเ๎ พศ (Sexual Propagation) หรือใชเ๎ มล็ด

2. โดยไมํใช๎เพศ (Asexual Propagation) หรือใชส๎ วํ นตาํ งๆ ของพืช

การขยายพนั ธุ์โดยการใช้เมล็ด

ข้อดี ขอ้ เสีย

1. ขยายพันธ์ุได๎รวดเร็ว 1. ใหผ๎ ลผลติ ช๎า

2. ระบบรากแข็งแรง (มรี ากแก๎วมาก) 2. อาจมกี ารกลายพันธุ์

3. การกลายพนั ธเุ์ กิดพันธ์ุใหมํ

4. ลงทุนตา่

5. ให๎ผลผลติ มากกวาํ

ตัวอยา่ งพืชท่ีขยายพนั ธุ์ดว้ ยเมลด็

ผักตํางๆ ไม๎ดอก ถว่ั ขา๎ ว ขา๎ วโพด มะเขอื แตงตาํ งๆ ยาง ขนุน มะขาม เมลด็ ไมผ๎ ล ปาลม์ ตํางๆ

การเพาะเมลด็ อยา่ งงา่ ย

1. เพาะในขเ้ี ถ๎าแกลบ 2. เมื่อเมล็ดงอกย๎ายไปลงถุงพลาสติกหรือ 3. นาไปปลูก

กระถาง

การขยายพนั ธโุ์ ดยไม่ใชเ้ พศหรือใชส้ ่วนต่างๆ ของพชื

24

หัว ราก เหง้า
ใช้หน่อ พืช ตา
ลาต้น
กงิ่ ใบ
ก้าน

1. การตัดชาหรอื ปกั ชา (Cutting)
ขน้ั ตอน
1) ใช๎มดี หรือกรรไกรตดั กิ่งออกเปน็ ทํอน ยาว 4 – 8 น้วิ ให๎เฉียงมีตา 3 – 4 ตา
2) ตัดใบออกใหห๎ มด
3) นาไปชาในกระบะ เอยี ง 60 – 70 องศา ลึก 1 ใน 3 ของก่งิ อาจใชฮ๎ อรโ์ มนชวํ ยโดยแชใํ น
อินโดล อาซตี ิก (IAA), อนิ โดล บวิ ทีรกิ แอซดิ (IBA) แนพทาลี อาซตี ิก เอซิด (NAA)
4) วางกระบะในทร่ี ํม รดนา้ ให๎ชํุมตลอดเวลาจนกวาํ จะออกรากและใบใหมํ
5) ย๎ายไปปลูกในภาชนะปลกู หรือหลมุ ทเ่ี ตรยี มไว๎

กิง่ ชาในกระบะยาว 4 – 6 นิ้ว
2. การตอนกง่ิ และการทบั ก่งิ (Marcotting and Layering)

25

คว่ันก่งิ พอกดนิ

หม๎ุ ดว๎ ยกาบมะพร๎าว เมอ่ื รากออกแกะพลาสตกิ
และพลาสตกิ ตัดจากตน๎ แมแํ ละนาไปเพาะตอํ ไป
มัดเชอื กให๎แนํน

โน๎มกงิ่ ฝังลงดนิ หรือกระบะเพาะ โดยใช๎มดี กรดี หรอื ควัน่ ก่ิงกอํ น เมื่อออกรากแล๎วจงึ ตัดออกจากตน๎ แมนํ าไปขยายพนั ธต์ุ อํ ไป
3. การทาบก่ิง (Inarching)

26

ต๎นพันธ์ุดี ต๎นตอ ตัดยอดต๎นตอปลายเฉียงและบากต๎นพันธุ์ เมื่อเน้ือเยื่อติดกัน ทาการตัดแยกออกมา
ดีให๎เทํากับปลายเฉียงต๎นตอ เสียบเข๎าให๎ นาไปขยายพนั ธุ์
พอดี แลว๎ มัดด๎วยพลาสตกิ ใหแ๎ นนํ

4. การเสียบกิ่ง (Grafting)

ตัดต๎นตอผําเป็นรํองลึก เตรียมกิ่งพันธ์ุดี ปาด พันด๎วยพลาสตกิ ใหแ๎ นนํ เมื่อเนื้อเยือติด แกะพลาสติก
เป็นล่มิ เสียบเข๎ากบั ต๎นตอ ชดิ ด๎านใดดา๎ นหน่ึง ออก

5. การตดิ ตา (Budding)

ผํานตน๎ ตอเป็นรูปตวั T ใชม๎ ดี อา๎ เปลอื กออก เฉือนแผนํ ตาที่เตรียมไว๎

สอดเขา๎ ไป พนั ดว๎ ยพลาสตกิ เมอ่ื เนื้อเยอ่ื ตดิ กัน แกะ
พลาสติกออก

27

- Substrates Culture System

ความรูเ้ บ้อื งต้นเก่ียวกบั สตั ว์ (Animals)

การเลย้ี งสตั ว์ หมายถงึ การปฏบิ ตั ิท่เี ก่ยี วกบั การเลย้ี งดู การให๎อาหาร การบารุงพันธ์แุ ละการสขุ าภบิ าล เพอื่ ให๎ผ๎ูเล้ยี งได๎รบั
ประโยชน์จากสตั ว์ เชนํ การใช๎แรงงานและการใชผ๎ ลผลิตตาํ งๆ การเลีย้ งสตั ว์สามารถแยกได๎ ดงั น้ี

1. สัตวใ์ หญํ ได๎แกํ โค กระบอื ม๎า ลา ฬอํ
2. สัตว์เลก็ ไดแ๎ กํ แพะ แกะ สุกร กระตําย
3. สัตวป์ กี ไดแ๎ กํ ไกํ เป็ด หําน นกตาํ งๆ
4. สตั วน์ ๎า ได๎แกํ ก๎งุ หอย ปลา
5. สัตวอ์ ืน่ ๆ ไดแ๎ กํ จระเข๎ กบ ผ้ึง คร่ัง ไหม

ความเปน็ มาของการเลย้ี งสตั ว์
สนั นิษฐานวาํ สมัยกอํ นประมาณ 16,000 ปี มนษุ ยใ์ นโลกยงั เปน็ คนเถ่ือนยงั ไมํได๎ตงั้ บา๎ นเรือนเปน็ ที่อยํอู ยาํ งถาวร การทามา

หากินกย็ งั เกบ็ อาหารท่ีเกิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ มาจนระยะหลงั ไดม๎ กี ารแสวงหาอาหาร โดยวธิ ีการเพาะปลูก สํวนการเลย้ี งสัตว์ได๎
เรมิ่ ตน๎ มาประมาณ 9,000 ปี มานีเ้ อง โดยการกักสัตว์ไว๎ในทขี่ งั เพอ่ื ไวแ๎ ทนการบรโิ ภคแทนการไปลาํ สตั วช์ นดิ ใดทีเ่ ชื่องก็ขายพันธ์ุ
กลายเป็นสตั วเ์ ลี้ยงไป สํวนสัตวท์ ่ีไมเํ ช่อื งก็สญู พันธุไ์ ป
ในการเรยี นวิชาน้ีจะขอกลําวเฉพาะโคเนือ้ โคนม กระบือ (สตั วใ์ หญํ), แพะ สกุ ร (สัตวเ์ ล็ก), ไกํ เป็ด หาํ น (สตั วป์ ีก)

คาวําประเภทของสัตว์ หมายถึง การแบํงแยกสตั ว์ตามผลผลติ ที่ได๎ เชํน แบงํ ประเภทของไกํออกเป็น ไกไํ ขํ ไกเํ น้ือ แบงํ
ประเภทของโค ออกเปน็ โคนม โคเนอื้ เป็นตน๎ สวํ นคาวํา “พนั ธุ์” นน้ั หมายถึง กลํุมสัตวท์ ่ีมีลักษณะเหมอื นกันมากทางพนั ธุกรรม
เมอื่ เรานาสตั วพ์ วกนี้มาผสมพันธุก์ ันเอง จะใหล๎ ูกที่มลี ักษณะคลา๎ ยคลงึ กับพํอแมํอยํางสม่าเสมอ สัตว์ประเภทเดียวกัน เชํน ไกเํ นือ้
หรอื โคเนือ้ ตํางก็จะมีพนั ธต์ุ าํ งๆ ในแตลํ ะประเภทมากมายหลายพนั ธุ์ ซ่งึ จะได๎กลาํ วถึงในโอกาสตอํ ไป

วัตถุประสงค์ของการเล้ยี งสัตว์
1. เพือ่ ใช๎เปน็ อาหาร เชนํ เนอ้ื นม ไขํ
2. เพอื่ ใช๎เป็นพาหนะ เชนํ วัว ควาย ม๎า ช๎าง
3. เพ่อื ความเพลดิ เพลิน เชํน นก หนู แมว สนุ ขั อิกัวนํา
4. เพือ่ ใช๎เปน็ เครื่องนุงํ หํม เคร่ืองประดับ เชํน กระตําย จระเข๎ งู
5. เพอ่ื ใชป๎ ระโยชน์อนื่ ๆ เชํน สนุ ขั จูงคนตาบอด

แนวทางในการผลิตสัตว์เพ่ือการประกอบอาชพี การเลยี้ งสตั ว์
แบบดัง้ เดมิ

28

การเลี้ยงสตั วแ์ บบใหม่ขนาดเลก็
เสรมิ ในไร่นา, ฟารม์ ขนาดเลก็
การเล้ียงสัตวแ์ ผนใหม่
ฟารม์ ขนาดเลก็ ฟาร์มขนาดกลาง

พนั ธโ์ุ คนม
โคพนั ธุโ์ ฮลสไตน์ (Holstein) เปน็ โคที่มตี ๎นกาเนดิ ในประเทศเนเธอร์แลนด์ โคพนั ธุ์น้ีเป็นโคนนที่ใหญํท่ีสุด และมี

ช่ือเสียงในการให๎นมมากท่สี ุด แตนํ มมีไขมนั ตา่ ทส่ี ดุ (สถิติของโคพนั ธ์ุนี้ ทีเ่ ลยี้ งในประเทศมอี ากาศหนาว ให๎นมปีละ 5,266
กโิ ลกรมั นมมีไขมนั 3.65%) ซง่ึ เหมาะตอํ การใช๎บรโิ ภคสด โคพันธ์ุโฮลสไตน์ เติบโตเร็วมาก ตวั ผใู๎ ชเ๎ ล้ียงเป็นโคเนื้อไดด๎ ีเกือบ
เทาํ โคเนื้อแท๎ มสี ดี าตัดกับสขี าวชดั เจน จึงมีชอื่ เรียกอีกช่อื หนึง่ วํา โคพันธข์ุ าวดา (Black and white) โดยปกตโิ คพนั ธุ์นีท้ น
รอ๎ นไมํได๎ แตํประเทศอสิ ราเอลไดน๎ าเอาโคพันธ์นุ ไ้ี ปปรับปรุงเสียใหมเํ รยี กชือ่ วาํ อิสราเอลฟรเี ซียน หรอื โฮลสไตนฟ์ รเี ซียน
ซ่งึ กลาํ วกนั วาํ เปน็ โคที่ทนร๎อนไดด๎ ีและให๎นมมากดว๎ ย

โคพันธุ์บราวนส์ วสิ (Brown Swiss) โคพันธ์บุ ราวนส์ วิสเปน็ โคทมี่ กี าเนิดในประเทศสวิสเซอร์แลนด์ แตเํ ดิมโค
พันธน์ุ ี้เป็นโคท่ีให๎ประโยชนไ์ ด๎ทั้ง 3 ทาง คือ ใช๎งาน ใช๎รดี นม และใชเ๎ นอ้ื ดว๎ ย ตํอมาโคพนั ธุ์นไ้ี ดถ๎ กู สํงนาไปเลยี้ งใน
สหรัฐอเมรกิ าและได๎รบั การบารุงคดั เลอื กให๎เป็นโคนมโดยเฉพาะ ลกั ษณะของโคพนั ธบุ์ ราวนส์ วสิ เป็นโคขนาดใหญํ ตัวผูห๎ นกั
ถงึ 800 – 900 กิโลกรัม ตัวเมยี หนกั 500 – 600 กิโลกรัม มีสีเหลอื งและน้าตาล โครงกระดูกใหญํ ขาดยู าวเก๎งกา๎ ง ลกั ษณะ
โดยทว่ั ไปไมํสจู๎ ะเรียบสะอาดหมดจดนกั เฉล่ยี การใหน๎ มประมาณ 4,695 กโิ ลกรมั ตํอปี นมมีไขมัน 4% และน้านมสีขาว
เหมาะท่จี ะใช๎บรโิ ภคสด ขอ๎ ท่ีนาํ สนใจสาหรบั โคพนั ธ์นุ ี้ คอื ความทนทานตํออากาศร๎อน ซึ่งได๎เปน็ ทรี่ ับรองกนั วําโคพันธุ์
บราวน์สวิสทนรอ๎ นได๎ดีกวาํ โคพันธอุ์ ื่นๆ

โคพันธุ์เรดเดน (Red Dane) โคพนั ธ์เุ รดเดนเปน็ โคทม่ี ีกาเนิดในประเทศเดนมารก์ เปน็ โคที่มขี นใหญํ ตัวผ๎หู นกั ถงึ
950 กิโลกรมั ตัวเมียหนัก 600 กโิ ลกรัม มีสีแดงเข๎มในลักษณะแดงเลือดหมู อาจมจี ดุ ขาวในบางแหํงของราํ งกาย ผวิ หนงั
คํอนข๎างหลวม หวั คอํ นข๎างยาว เขายนื่ ไปข๎างหน๎าและโค๎งลง ลักษณะของโคพันธ์นุ คี้ ํอนข๎างเจ๎าเน้ือ ฉะนัน้ จงึ ใหเ๎ น้อื ได๎ดี
พอๆ กบั การให๎นม โคตวั เมยี ใหน๎ มเฉล่ียปีละ 4,500 กิโลกรัม และมีไขมนั ในนา้ นม 4.2% ในแงํการเล้ยี งดูในประเทศไทย
ซ่ึงมีอากาศร๎อน การเลี้ยงโคพันธ์ุแทไ๎ มํสจู๎ ะได๎ผลเพราะเหตุวาํ มีการเจบ็ ป่วยมากกวาํ โคอ่ืนๆ แตลํ ูกผสมทเ่ี กิดจากแมพํ ้ืนเมือง
ไดด๎ แี ละให๎นมดีพอสมควร

โคพันธุ์ชอรต์ ฮอรน์ ของออสเตรเลยี (Australian Illawarra Shorthorn = A.I.S.) โคนมพันธุ์น้เี ปน็ โคทผ่ี สมขน้ึ
ที่ประเทศออสเตรเลยี โคมเี ลือดโคหลายพนั ธปุ์ ะปนกัน แตใํ ชโ๎ คพันธ์ุ ชอรต์ ฮอรน์ เปน็ พนั ธ์หุ ลัก โคพนั ธน์ุ ม้ี ชี อ่ื วําหากินอยใูํ น
ทํงุ หญา๎ เกํง ลกั ษณะรปู รํางของโคพนั ธุ์ A.I.S น้ี มีสีแดงจดั ท้ังตวั มีขนาดใหญํ ตัวผู๎หนกั ประมาณ 800 กโิ ลกรมั และตัวเมีย
หนัก 600 กโิ ลกรมั ใหน๎ มได๎ดี กลําวคอื เฉลย่ี 4,500 กิโลกรมั ตํอปี นมมีไขมัน 4% ปจั จุบนั กรมปศุสตั วไ์ ด๎สงํ เสรมิ ใหม๎ ีการ
เล้ียงโคมพนั ธน์ุ ้ี โดยใชเ๎ ช้อื ตัวผู๎ผสมเทียมกบั โคพื้นเมืองของไทย

โคพนั ธุเ์ จอรซ์ ่ี (Jersey) โคนมพันธเุ์ จอร์ซ่ีย์ มีกาเนดิ ในเกาะเจอร์ซย่ี ์ ซง่ึ เป็นเกาะเล็กๆ อยใํู นชอํ งแคบอังกฤษ เป็น
โคท่มี ีขนาดเล็กและใหน๎ มน๎อย นา้ นมของโคพันธ์นุ ี้มีไขมนั มาก (5.26%) จึงเหมาะสาหรับเลยี้ งเพอื่ เอานมมาทาเนย มีสี

29

ตั้งแตํสีเหลอื งจนเกอื บขาว หรือสนี ้าตาลจนเกือบดา มรี ปู ราํ งบอบบาง แตํเต๎นนมงามมาก ปกตถิ า๎ เลี้ยงในประเทศทม่ี ี
อากาศหนาวจะใหน๎ มปลี ะ 3,438 กิโลกรม ขนาดโตเต็มทีต่ ัวผู๎หนกั 450 – 750 กิโลกรมั ตัวเมียหนัก 350 – 450 กิโลกรมั
กลาํ วกันวําเปน็ โคนมท่ีทนรอ๎ นได๎ดี แตพํ สิ ูจนแ์ ลว๎ วําไมํสามารถทนตํออากาศร๎อนของประเทศไทยได๎ ลูกผสมชว่ั แรกระหวําง
โคพันธเ์ุ จอร์ซก่ี ับโคพ้นื เมืองให๎ผลดี สามารถใหน๎ ้านมไดป๎ ระมาณ 2,500 กโิ ลกรัมตอํ ระยะใหน๎ ม 10 เดือน

โคพนั ธุเ์ รดซนิ ดิ (Red Sindhi) โคพันธ์ุเรดซนิ ดิ เป็นโคจากประเทศปากสี ถาน นยิ มเล้ียงกันมากในอินเดียและ
ปากสี ถาน ได๎ช่ือวําเป็นโคนมทีท่ นทานตํออากาศร๎อนมากท่สี ุด และทนโรคและแมลงได๎ดี มีขนาดเล็กวํายโุ รป กลําวคือ ตวั
เมยี หนกั ประมาณ 350 กิโลกรมั ตวั ผหู๎ นกั 450 กิโลกรัม รปู ราํ งโดยทั่วไปของโคเรดซินดิ มีรปู แบบของโคอินเดียอยาํ ง
ชัดเจน มีสีแดงเข๎มเกอื บท้ังตัว บางตัวมีสแี ดงอํอนจนเกือบเป็นสเี หลอื ง อาจมจี ดุ หรือดํางขาวท่ีเหนียงคอและหน๎าผาก โค
เรดซินดสิ ามารถใช๎ทางานเบาๆ ได๎ ตวั เมยี ใหน๎ มเฉลยี่ ประมาณ 3,800 กโิ ลกรมั ตอํ ปี นา้ นมมีไขมัน 4.5% โคพันธุ์น้มี ขี ๎อเสยี
ที่ตอ๎ งให๎ลูกดูดนมกํอนจึงจะให๎นม ถ๎าแยกลูกจากแมโํ ดยเด็ดขาด แมํโคอาจหยุดใหน๎ มเลย

โคพันธซ์ุ าฮวิ าล (Sahiwal) โคพันธุ์ซาฮวิ าล เปน็ โคนมของอินเดียและปากีสถาน รูปราํ งของโคพนั ธน์ุ ี้คลา๎ ยกับ
พนั ธเ์ุ รดซินดิ แตมํ ขี นาดใหญํกวํา ตวั ผ๎หู นักประมาณ 550 กโิ ลกรมั ตวั เมยี หนกั 400 – 500 กโิ ลกรมั แมโํ คใหน๎ มเฉลี่ยปลี ะ
2,500 กิโลกรัม และมีไขมันนม 4.3% จัดวาํ เปน็ โคนม ทดี่ ีทีส่ ดุ ของปากีสถานและอนิ เดีย สามารถเล้ยี งได๎ดีทีม่ ีอากาศรอ๎ น
เชํน ประเทศไทย
โคยโุ รปพนั ธุอ์ ืน่ ๆ ท่ยี งั ไม่เคยนาเข้ามาเล้ียงในประเทศไทย

โคพนั ธเ์ุ กนิ ซยี่ ์ (Guernsey) โคพันธนุ์ ี้คลา๎ ยคลึงกบั พนั ธ์ุเจอร์ซ่ีย์ แตํขนาดใหญํกวาํ และให๎นมมากกวําเล็กน๎อย มสี ี
เหลอื งแกมแดง และมีดาํ งหรอื จดุ ขาวตามบรเิ วณขาและพูหาง

โคพนั ธแ์ุ อรไ์ ซด์ (Ashier) เป็นโคนมของประเทศสก๏อตแลนด์ มีรปู รํางสวยงามมาก มสี ีขาวสลับแดง มีเขาโค๎งงอน
งามมาก ให๎นมปีละ 4,100 กโิ ลกรัม นมมีไขมัน 4.12%
โคพันธ์เุ นือ้ มีมากมายหลายพันธุ์ทัง้ โคยุโรปและโคอนิ เดีย โคเน้อื มีคุณภาพดีมักจะเปน็ โคยโุ รป แตํเปน็ โคทีไ่ มํทนตํออากาศ
รอ๎ นของประเทศไทย แตกํ ระน้นั กม็ ีผพู๎ ยายามนาเข๎ามาเลยี้ ง ในประเทศรอ๎ นกนั อยูบํ ํอยๆ เพราะโคเหลํานี้มีคณุ สมบัตทิ างเนื้อดมี าก
สํวนใหญํใช๎ในการผสมเพื่อบารุงพนั ธใุ์ ห๎โคพืน้ เมืองมีคุณภาพดขี ึ้น มโี คบางพนั ธ์ุเป็นโคพนั ธ์ุใหมํที่ผสมขน้ึ มาเพ่ือจุดประสงค์พิเศษ
สาหรับพันธ์โุ คที่จะกลาํ วถึงตํอไปนี้ บางพันธก์ุ น็ ามาใชผ๎ สมกับโคพนื้ เมืองเพ่ือปรบั ปรงุ พันธพ์ุ นื้ เมืองให๎ดขี ึ้น และบางพันธก์ุ เ็ ป็นพันธ์ทุ ่ี
เล้ยี งไดด๎ ีในตาํ งประเทศ แตไํ มสํ ามารถเจรญิ เติบโตไดด๎ ีในประเทศไทย

โคพันธบุ์ ราห์มัน (American Brahman) โคพันธ์ุบราห์มัน เป็นโคทมี่ ีกาเนดิ ในสหรัฐอเมริกา โคพันธุน์ ีด้ ัง้ เดิมก็
คือ พนั ธุ์ซบี ูของอินเดยี นนั่ เอง โดยสหรฐั ได๎เอาโคพนั ธ์ซุ ีบทู ่ีไดร๎ ับการปรับปรุง ในสหรัฐผสมกบั โคพันธุซ์ บี ูทบ่ี ราซิลสั่งจาก
อนิ เดียไปเล้ียง (Indu Brazil) และมโี คพันธ์อุ ืน่ ๆ อีกหลายพันธ์ุ เชํน พันธก์ุ ีร์ (Gyr) ผสมจนไดพ๎ ันธ์ุอเมริกันบราห์มนั ขึ้นมา
และได๎มีการจัดต้ังสมาคมผ๎ูผสมโคพันธุ์บราห์มัน เมื่อปี พ.ศ.2467 โคพนั ธบ์ุ ราหม์ นั เปน็ โคขนาดใหญํ โคตวั ผูโ๎ ตเต็มที่หนกั
700 – 1,000 กโิ ลกรมั โคตัวเมยี หนัก 450 – 590 กโิ ลกรมั มสี ีแตกตาํ งกันมากคือ มีสีขาว สีเทาอํอนๆ สแี ดง สวํ นมากนยิ ม
เลย้ี งพวกสขี าว และสีเทาปานกลาง ปัจจุบนั มโี คบราห์มนั อีกสายเลอื ดหนง่ึ ซ่ึงมสี แี ดง เรียกวาํ บราห์มันแดงมกี าเนิดเชือ้ สาย
มาจากโคพันธุก์ ีร์ (Gry) แตํในดา๎ นคุณสมบตั ิ โคบราห์มนั ไมํวาํ จะเปน็ สขี าว ดา หรอื แดงก็ตามแทบจะไมํแตกตาํ งกนั เลย

30

ลักษณะรูปรํางโดยทวั่ ไปของโคพันธ์บุ ราห์มัน มโี หนกใหญํ ลาตวั ลึก มีมัดกล๎ามมาก หลังคอํ นข๎างยาว หแู หลมยาวและห๎อย
ช้ปี ลายลง โคพนั ธนุ์ ีไ้ ด๎ถกู นามาเลย้ี งในประเทศไทยต้งั แตปํ ี พ.ศ. 2497 และได๎มีการส่ังโคพนั ธน์ุ จ้ี ากสหรฐั อเมริกาและ
ออสเตรเลยี เขา๎ มาเลี้ยงในประเทศไทยนบั เป็นสบิ ๆ คร้งั จนถงึ ปจั จบุ นั น้ีเกษตรกรของไทยนยิ มเลี้ยงทัง้ ในลกั ษณะพันธ์ุแท๎
และใช๎ผสมกบั โคพ้ืนเมืองใหม๎ ีคุณสมบตั ิดีขึ้น ดว๎ ยคณุ สมบัติอนั ดเี ดนํ ของโคพนั ธุ์น้ี จึงสามารถเลยี้ งไดด๎ ีในประเทศไทย คือ
ทนทานตํออากาศร๎อนและความช้ืนสูงไดด๎ ี ทนทานตอํ โรคบางอยําง เชนํ โรคตาฝ้ามัว (pink eyes) โรคเย่ยี วแดง (red
water fever) มคี วามอดทนตอํ แมลงเกาะกินเลือดไดเ๎ กงํ โดยเฉพาะพวกเหลอื บ ริ้น ยุง เพราะมนั สามารถกระดิกผิวหนงั
เองได๎ ตลอดจนมตี ํอมซบี ั้ม (sebum) สาหรบั ขับนา้ มนั มาไลํแมลงได๎ คณุ สมบตั ิท่ีดอี ื่นๆ ได๎แกํ การมีอายุยาวนาน (โคพนั ธุ์
บรามนั มอี ายุเฉล่ีย 15 ปี) ให๎ลกู สม่าเสมอแมจ๎ ะอากาศร๎อน เล้ยี งลูกเกํง คลอดลูกงําย เดินเกํง แข็งแรง ทรหด สามารถใช๎
งานไดด๎ ีไมแํ พก๎ บั การเล้ยี งไวก๎ ินเน้ือ ปัจจุบนั โคพนั ธุอ์ เมรกิ นั บราหม์ นั มอี ยตูํ ามสถาบันบารุงพันธ์ุสัตว์ และแพรํหลายไปใน
หมูเํ กษตรกรทว่ั ไป

โคพนั ธุ์ซานต้า เกอทรูตีส (Santa Gertrudis) โคพนั ธุน์ ้มี ีรูปรํางใหญํ รปู ราํ งสวย มีสีเลือดหมู ตวั ผู๎โตเตม็ ทีห่ นกั
ประมาณ 817 – 1,134 กิโลกรัม ตัวเมยี หนักประมาณ 544 – 817 กิโลกรมั โคพันธซ์ุ านตา๎ เกอทรดู ีส เป็นโคเนอ้ื พนั ธใุ์ หมํ
ที่ทาการผสมเพื่อเล้ยี งในประเทศรอ๎ นโดยเฉพาะ มกี าเนดิ ท่ี King Ranch ในรัฐเทกซสั ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยใชโ๎ ค
พันธ์บุ ราหม์ นั ผสมกับโคพนั ธ์ชุ อรต์ ฮอร์น โดยมีสดั สํวนของโคบราห์มนั 3/8 และโคพันธุ์ชอรต์ ฮอร์น 5/8 แตํโคพนั ธุ์นจ้ี ะมี
รปู ราํ งแตกตํางจากพนั ธพุ์ ํอและพันธุ์แมโํ คโดยสน้ิ เชงิ กลาํ วคือ โหนกเหลอื เพยี งเล็กน๎อย แนวหลังคํอนข๎างตรง ลาตัวลกึ ยาว
และหนา ทรงคํอนข๎างตา่ หางส้นั ปราดเปรียว ทนความรอ๎ นได๎ดี ทนเห็บและแมลงตํางๆ ได๎ดี เดนิ เกงํ ลกู โคเจริญเติบโตเรว็
หยํานมเม่อื อายุ 6 เดอื น น๎าหนักจะมากกวํา 250 กโิ ลกรมั โคพันธ์นุ สี้ ามารถนามาเลี้ยงในเมอื งไทยไดด๎ กี วําโคเน้ือพันธุ์ยโุ รป
อ่นื ๆ และได๎มีการสง่ั โคพนั ธ์ุน้ีมาเลีย้ งท่ีฟาร์มโชคชัย ปากชํอง จังหวัดนครราชสมี า ผลการเล้ียงดีพอสมควร แตํยังไมดํ ีเทาํ โค
พนั ธุ์อเมริกนั บราหม์ ัน

โคพันธช์ุ าโรเลส์ (Charolais) โคพันธนุ์ มี้ กี าเนดิ ในประเทศฝร่งั เศส เป็นโคขนาดใหญํ รูปราํ งกายาเต็มไปด๎วย
กลา๎ มเน้ือ โดยเฉพาะในบริเวณสขี า๎ งและบัน้ ท๎าย สีเป็นสีขาวท้งั ตัว มีเขาส้ันมีการเจรญิ เติบโตดมี าก กลาํ วกันวําเดิมฝรง่ั เศส
ใชเ๎ ป็นวัวงาน เพงิ่ จะไดร๎ บั การปรบั ปรงุ ให๎เป็นโคเน้อื ทชี่ าแหละแล๎ว พํอโคโตเตม็ ท่มี ีนา้ หนักราว 1,000 กิโลกรมั แมโํ คหนกั
ราว 700 กิโลกรมั จัดวาํ เป็นโคเนอ้ื ทีช่ าแหละแล๎วมเี ปอร์เซ็นต์ซากที่ใชบ๎ รโิ ภคไดส๎ งู กวําโคเน้ือพันธุ์อน่ื ในประเทศไทย มกี าร
ส่ังโคพันธ์ุนเ้ี ข๎ามาผสมกบั โคพันธุ์พ้นื เมือง และได๎ลูกผสมทเี่ จรญิ เตบิ โตดมี าก สํวนใหญแํ ล๎วจะนาไปเล้ยี งตามสถานีบารุง
พันธุ์สัตว์ ของกรมปศุสตั ว์ และท่ี กรป.กลาง อ.พนมสารคาม จังหวดั ฉะเชิงเทรา ไดม๎ ีการเลย้ี งโคพันธชุ์ าโรเลส์ตวั ผู๎ เพอื่ รดี
นา้ เชอื้ มาผสมเทียมกับแมโํ คพันธ์ุพน้ื เมอื ง ซ่ึงใหล๎ ูกไดด๎ มี าก

โคพนั ธุ์ชอร์ตฮอร์น (Short horn) เปน็ โคท่ีกาเนิดในประเทศอังกฤษ โคพนั ธน์ุ ้มี สี ีแดงเข๎มบางตัวมสี ีแดงกระขาว
(roan) โคพันธ์ุชอร์ตฮอรน์ นี้เปน็ โคท่ีมขี นาดใหญมํ าก ตวั ผูโ๎ ตเต็มท่ีหนกั 900 – 1,000 กโิ ลกรัม รํางกายเป็นรูปสี่เหลย่ี มตาม
ลกั ษณะโคเน้ือทั่วไป ลาตวั ลึก แนวหลงั ตรง มเี ขาส้นั หรืออาจจะมกี ารผสมจนไมํมเี ขาในบางสายเลือด อปุ นิสยั เชือ่ ง มีผู๎
นยิ มเลี้ยงกนั ทั่วโลก แตโํ คพนั ธ์นุ เ้ี ปน็ โคเนื้อท่ไี มทํ นตํออากาศร๎อนจงึ ไมํนยิ มเลยี้ งทป่ี ระเทศไทย เพราะเลย้ี งไมํไดผ๎ ล

31

โคพันธุ์เฮยี รฟ์ อร์ด (Hearford) โคพนั ธุ์นมี้ ีกาเนิดในประเทศอังกฤษเชนํ เดียวกบั โคพันธุช์ อร์ตฮอร์น ดัง้ เดิมโค
พนั ธน์ุ ี้เคยใช๎เปน็ โคงาน แตไํ ด๎ถกู ปรับปรงุ ใหเ๎ ป็นโคเนอ้ื รูปทรงทัว่ ไปของโคพันธ์ุนี้ จดั วําเป็นโคเนื้อทีส่ มบูรณ์ทีส่ ดุ มีลาตวั
ส้นั และหนาแนนํ ทรงต่า ขาสั้น หลังกว๎าง ลาตวั ใหญํ มสี ีแดงตลอดตวั สวํ นหนา๎ อกตลอดทอ๎ งเป็นสขี าว สํวนปลายหางขาว
เมื่อโตเต็มทต่ี วั ผ๎ูหนกั ราว 800 กโิ ลกรมั และตวั เมียหนักราว 650 กิโลกรัม เปลยี่ นอาหารเป็นเนือ้ ได๎เกงํ เตบิ โตเร็วและอ๎วน
งาํ ย เปน็ โคทท่ี นตํออากาศหนาวไดด๎ ี ไมเํ หมาะสาหรับนามาเลย้ี งในประเทศไทย

โคพันธุ์อาเบอดนี แองกัส (Aberdeen Angus) โคพันธ์ุนี้เปน็ โคทม่ี ีกาเนิดในประเทศสกอตแลนด์ ไดร๎ ับการ
รับรองวาํ เป็นโคพนั ธ์ุแทเ๎ ม่ือปี พ.ศ. 2305 โคพันธนุ์ ไี้ มมํ เี ขาและมสี ดี าทั้งตวั เป็นโคทีม่ ีรปู ราํ งสวยงามมาก เนื้อมีคณุ ภาพ
เย่ยี มกวําพันธ์ุอ่นื ๆ โคตัวผู๎โตเต็มท่ีหนัก 900 กิโลกรัม ตัวเมยี หนกั 750 กโิ ลกรัม คณุ สมบัตอิ ื่นๆ คือ ไมํทนอากาศร๎อนและ
ตกใจงําย ไมเํ หมาะทจี่ ะนามาเลย้ี งในประเทศไทย
โคพันธ์ุพ้นื เมืองไทย

โคพันธพุ์ ้นื เมืองไทย จัดอยูํในเผาํ โคอินเดีย (Bos indicus) มีเลย้ี งกันอยทูํ วั่ ไปทุกภาค แตมํ ีมากที่สดุ คือ ภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนอื รองลงมากค็ ือ ภาคกลาง เน่อื งจากยังไมมํ ีการศึกษาลักษณะของโคไทยกันอยํางจรงิ จัง จึงยงั ไมํ
สามารถทราบได๎วาํ โคไทยมอี ยูํก่ีพนั ธุ์และแตลํ ะพนั ธ์มุ ลี กั ษณะและคณุ สมบตั อิ ยํางไรบ๎าง โดยท่ัวๆ ไป โคไทยจดั วาํ เป็นโค
ขนาดเล็ก โคตวั ผ๎โู ตเตม็ ท่ีมีน๎าหนักราว 300 – 350 กิโลกรัม และตัวเมยี มนี ้าหนัก 200 – 250 กโิ ลกรมั โคไทยมีรปู รําง
กะทัดรดั โหนกไมํใหญํ รํางกายแนนํ หนาและคํอนข๎างจะเป็นสีเ่ หลย่ี มเม่อื มองด๎านขา๎ ง ถ๎ามองจากด๎านท๎ายจะเป็นรูปหก
เหลี่ยม สีของหนังเปน็ สีนา้ ตาลหรอื สเี หลือง ตวั ผู๎มีสเี หลืองดา หรือสดี า โคไทยทีม่ เี ลอื ดของโคอินเดียอยูํมาก จะมขี นาดใหญํ
ข้ึน มโี หนกใหญํกวาํ โคไทยปกติ และมสี ีดามากขน้ึ เชนํ โคไทย ในภาคใต๎ โคในภาคเหนอื บางแหงํ จะมีลกั ษณะโคอนิ เดียอยํู
มาก คือมสี ขี าว รูปรํางสูงโปรํง มีโหนกใหญํกวําโคไทยธรรมดา ทงั้ น้ี เพราะได๎รบั เชือ้ สายจากโคอินเดียทีน่ ามาจากประเทศ
พมาํ โคไทยเป็นโคท่เี หมาะตํอการใชท๎ างานมาก มีความอดทนตอํ สภาพดนิ ฟ้าอากาศของประเทศไทยได๎ดี มคี วามอดทนตํอ
การทางานนานๆ การเจรญิ เตบิ โตเต็มวยั ใช๎เวลานานถึง 5 ปี และจะคลอดลกู ท๎องแรกเม่ืออายุราว 3 – 31/2 ปี วธิ กี ารเลยี้ ง
โคในประเทศไทยทาให๎เกิดผลเสยี ตอํ การเลยี้ งโคพนื้ เมือง กลาํ วคอื เกษตรกรมักจะมีการตอนโคตัวผท๎ู สี่ มบรู ณ์ เพอ่ื ใชใ๎ นการ
ทางาน สํวนโคตวั ผ๎ูที่มคี ุณภาพต่า ตัวเล็กไมปํ ราดเปรยี วมักจะไมํตอน เมือ่ มโี ครวมเล้ียงเป็นฝงู ก็ปลํอยใหโ๎ คมีการผสมพันธุ์
กันเองภายในฝงู ซึง่ พํอพนั ธุ์ก็ได๎แกํโคทไ่ี มไํ ดต๎ อนนน่ั เอง ผลปรากฏกค็ ือ ลูกโคท่ีไดจ๎ งึ ขาดคุณภาพ นอกจากนั้น โคพื้นเมือง
ของไทยไมมํ ีการเล้ยี งดูโดยให๎อาหารพิเศษ นอกจากหญ๎ากับฟาง เน้อื โคพนื้ เมืองโดยทั่วไปไดจ๎ ากโคที่ปลดจากการทางาน
จงึ เหนยี วและแห๎งไมํเหมาะแกกํ ารบรโิ ภค

กระบือ (Buffaloes)
กระบือเป็นสตั ว์ในตระกูล Bovidae เชํนเดยี วกบั โค แตกํ ระบอื จดั อยํูในหมํู Bubaline กระบือทม่ี ีอยูใํ นปจั จุบันนี้ มี

ทั้งกระบือเลี้ยงและกระบือปา่ ซึ่งอยํกู ระจดั กระจายกันท่ัวทุกทวีป ยกเวน๎ ทวปี อเมริกา เราเลีย้ งกระบือก็เพ่ือประโยชน์ใน
การทางานให๎ ให๎เนอ้ื หรือให๎นมเทําน้ัน กระบือเลีย้ งมีชอ่ื ทางวิทยาศาสตร์วํา Bubalus bubalis แบงํ ออกเปน็ 3 ประเภท
ใหญํๆ คอื

1. กระบอื ปลักเอเชียตะวันออก (Swamp Buffaloes of Southeast Asia)

32

2. กระบอื แมํนา๎ ของอนิ เดยี และปากีสถาน (River Buffaloes of India and Pakistan)

3. กระบือของประเทศเมดเิ ตอร์เรเนยี น (Buffaloes of Mediteranian)
- กระบอื ปลัก (Swamp Buffaloes) เปน็ กระบอื ทเี่ ลยี้ งกันในประเทศไทย พมํา เขมร มาเลเซยี จนี เวยี ดนาม
อินโดนีเซีย และฟิลิปปนิ ส์ สีทวั่ ไปของกระบือปลักเป็นสดี าเทา คล๎ายหนิ ชนวน นอกจากนีอ้ าจมีสีเผอื ก ซง่ึ ไมํใชํลักษณะ
อลั ไบโน (albino) สีดํางขาวดา (มใี นอินโดนเี ซีย) ขนาดของกระบือปลกั แตกตํางกนั แลว๎ แตํพนั ธุ์ โดยมนี ้าหนักตง้ั แตํ 400 –
600 กโิ ลกรมั กระบือปลักเป็นกระบือสาหรบั ใช๎งานมากกวําทีจ่ ะเลย้ี งไว๎ใชเ๎ น้ือบริโภค ลักษณะเฉพาะของกระบือปลกั พอ
สรปุ ไดด๎ ังน้ี มเี ขายาว สํวนใหญํเขาโค๎งงามเปน็ รูปวงกลม ลาตวั ส้ัน ทอ๎ งกาง หนา๎ ผากเรียบ หนา๎ ส้ัน จมกู ใหญํ คอยาว ขาส้ัน
กบี เทา๎ ใหญํ ใช๎ทานาไดด๎ ี มขี นยาวเปน็ รูปตวั วี (V) ที่ใตค๎ างและหน๎าอก ขอ๎ เท๎ามขี นขาว ลูกอัณฑะเล็กตดิ กับลาตวั ไมํมีรอย
คอด ตัวเมยี มีน้านมน๎อย (1 – 2 ลติ รตํอวนั ) ชอบแชปํ ลกั โคลน และเม่อื ใชเ๎ หล็กเผาประทับตราจะไมตํ ดิ ทน
- กระบือแม่นา้ (River Buffaloes) เปน็ กระบอื ท่มี ีถ่นิ กาเนิดอยูใํ นประเทศอินเดียและปากีสถาน แตใํ นปจั จุบนั
ได๎แพรกํ ระจายไปในหลายประเทศ เชํน ฟลิ ปิ ปินส์ มาเลเซีย กระบอื ในกลํมุ นี้มีสีดาจดั มีเขางอนวนแบบเขาแกะและเปน็
กระบือนมโคแท๎ แบงํ เปน็ พนั ธ์ุตาํ งๆ ได๎ประมาณ 15 – 16 พันธ์ุ มลี ักษณะเฉพาะดังน้ี กบี เทา๎ เล็กไมํมีขนขาวสํวนใดของ
ลาตวั ลูกอัณฑะใหญํกวาํ กระบอื ปลัก สวํ นท่ีตดิ กับลาตัวมรี อยคอด ตัวเมียนา๎ นมมาก (8 – 16 ลติ รตํอวัน) ชอบแชํนา้ ทีไ่ มํมี
โคลน และเมื่อใช๎เหล็กเผาไฟประทับตราบนหนังจะติดเป็นแผลตลอดไป
กระบอื ที่เล้ยี งในประเทศไทย
กระบือไทย เป็นกระบอื ชนดิ ปลกั (Swamp Buffaloes) ตามปกติเกษตรกรจะเลีย้ งไวใ๎ ช๎ทานาและลากเกวยี น
เลีย้ งกนั รายละ 1 – 4 ตวั กระบอื ไทยเป็นสตั ว์ทเ่ี ลย้ี งงาํ ยและเกษตรกรมักไมํคํอยพิถีพิถันในการเลี้ยงดู กลาํ วคือ มักจะสร๎าง
คอกกลางแจ๎ง หรอื ใช๎ใต๎ถนุ บ๎านเปน็ คอก อาหารของกระบือก็มักเป็นหญา๎ หรือฟางขา๎ ว แทบจะไมํมีการใช๎อาหารข๎นเลยี้ ง
กระบือเลย การผสมพันธุ์กระบอื กป็ ลํอยให๎เป็นไปตามธรรมชาติ โดยผ๎เู ลยี้ งไมํมกี ารควบคุม ดังน้ันลูกกระบือทีเ่ กดิ สวํ นใหญํ
จะไมํทราบวาํ เกิดจากพอํ ตวั ไหน และการปลํอยใหม๎ ันมีการผสมพนั ธโ์ุ ดยปราศจากการควบคมุ จึงทาให๎ลูกทไี่ ด๎ขาด
ประสิทธิภาพในการเจริญเตบิ โต เม่ือกระบอื พอเร่ิมใช๎งานได๎แลว๎ เพ่ือให๎กระบือเชื่องใชง๎ านได๎ดี มักจะมีการตอนกระบือตวั
ปราดเปรียว โดยการทุบอัณฑะ จึงทาให๎ขาดกระบือคุณลักษณะท่ีดีท่ีจะใช๎ทาพันธ์ไุ ปอยํางนําเสยี ดาย จากการศึกษากระบอื
ไทย พบวาํ ปัจจุบนั กระบือเพศเมยี โตเต็มทีจ่ ะมีน้าหนักประมาณ 350 กโิ ลกรมั กระบอื ตัวผ๎ูจะมนี า้ หนกั ต้งั แตํ 420 – 554
กโิ ลกรมั และมีอายยุ นื โดยปกติถงึ 20 ปี
กระบือพนั ธ์มุ ูราห์ (Murrah) เปน็ กระบือชนิดกระบอื แมํน้า (River Buffaloes) ประเทศไทยเคยสัง่ กระบือพันธนุ์ ี้
จากมาเลเซียมาเล้ยี งที่มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์เม่ือปี พ.ศ. 2500
ม้าและพันธุ์มา้
ม๎ามีความผูกพนั กับมนุษยต์ ง้ั แตํสมยั โบราณ กอํ นที่มนุษย์จะนาม๎ามาเปน็ สตั ว์เล้ยี งมนุษย์ไดใ๎ ช๎เน้อื ม๎าเปน็ อาหาร
ตํอจากน้ันมนุษย์กไ็ ด๎ใช๎ม๎าเป็นพาหนะในการบรรทุกสัมภาระตํางๆ พร๎อมด๎วยใชข๎ ับขี่ไปในตวั สงครามในสมัยกํอนทย่ี ังไมํมี
พาหนะทม่ี ีประสิทธภิ าพเทาํ ปัจจบุ ันก็ใช๎มา๎ เป็นพาหนะในการขับข่ี ในการบรรทุกยุโธปกรณ์เพ่ือทาสงครามกนั หลงั จากโลก
ได๎เจรญิ ขึ้นได๎มีการผลติ พาหนะและอาวุธตํางๆ ให๎มีประสิทธภิ าพข้นึ การใช๎ม๎าเพื่อทาสงครามไดน๎ ๎อยลง อยาํ งไรก็ดี มา๎ ก็

33

ยงั คงมปี ระโยชน์ในการรบ การปราบปราม โดยเฉพาะในท๎องถน่ิ ทุรกนั ดาร ซง่ึ พาหนะอ่ืนๆ เขา๎ ไปไมถํ ึง ดังนั้นจดุ ประสงค์
ของการเล้ยี งม๎าในปัจจุบนั น้ีก็เพอ่ื การขบั ข่ี เปน็ พาหนะในท๎องที่ทรุ กนั ดารและใช๎เป็นม๎าแขงํ เปน็ สวํ นใหญํ

ม๎าอาจจาแนกออกไดเ๎ ปน็ 3 ประเภท ตามขนาดโครงสรา๎ งของรํางกายและประโยชน์ท่ใี ช๎ ดังนค้ี ือ
1. ม้าลาก (Draf Hores) เปน็ มา๎ ขนาดใหญํ สูงตัง้ แตํ 16 แฮนด์ข้ึนไป (1 แฮนด์เทาํ กบั 4 นวิ้ ) ใช๎ในการลากรถ
หนักและไถไรํ มา๎ ชนิดนม้ี ีกาเนดิ ในยโุ รป และขณะน้เี กือบจะสญู พนั ธ์ุอยํูแลว๎ เพราะไมํมที างใช๎ประโยชน์ พนั ธ์ุม๎าเหลาํ น้ี
เชนํ มา๎ เบลเย่ียม (Belgium) มถี ่ินกาเนิดในเบลเยย่ี ม มา๎ เพอเชอรร์ อน (Percheron) กาเนิดในฝร่งั เศส และม๎าซัพฟอล์ก
(Suffolk) กาเนิดในองั กฤษ
2. ม้าขับข่ี (light Horse) เปน็ ม๎าขนาดกลาง มีขนาดสงู ประมาณ 14 – 16 แฮนด์ ม๎าเหลาํ น้ีประเปรียว มฝี ีเท๎า
เรว็ พนั ธุ์มา๎ เหลํานี้ ไดแ๎ กํ มา๎ อาหรับ (Arabian) มา๎ แอพพาลูซาํ (Appaloosa) กาเนิดในอเมริกา มา๎ โทโรเบรต
(Thoroughbred) กาเนดิ ในอังกฤษ
3. ม้าเลก็ (Ponies) เปน็ ม๎าท่มี ีขนาดเล็กต่ากวาํ 14 แฮนด์ รวมทัง้ มา๎ ไทยและมา๎ แกลบพนั ธุต์ ํางๆ ม๎านเ้ี ลีย้ งไวข๎ ับขี่
หรือเปน็ มา๎ แขงํ ก็ได๎ พันธุ์ม๎าเหลาํ นี้ เชนํ อเมริกนั โปรี่ (American Pony) เชทแลนด์โปนี่ (Shetland Pony)
แพะและพันธ์แุ พะ
แพะเปน็ สตั วท์ ีน่ ยิ มเล้ียงกันมากท้ังเขตรอ๎ นและเขตหนาว สวํ นใหญํเล้ียงไว๎เพ่อื รีดนม สวํ นเน้อื หนงั เป็นผลพลอยได๎
ปจั จุบนั พอจะแบงํ พันธ์แุ พะออกได๎ 3 ประเภท
1. แพะพันธ์นุ ม สํวนมากมีขนาดเล็ก ปราดเปรียว ลาคอบางเลก็ ไมํคํอยมเี นอื้ มนี า้ หนกั มาก ตวั ผตู๎ อนแลว๎ ขนุ เป็น
แพะเน้ือได๎ พนั ธ์ุที่ควรรูจ๎ กั ได๎แกํ ซาเนน (Saanen) และทอกเกนเบอรก์ (Toggenburg) กาเนิดในสวสิ เซอรแ์ ลนด์ เฟรนซ์
แอลไปน์ (French Alpine) กาเนิดในฝร่งั เศส ยมนาปารี (Junna Pari) กาเนดิ ในอนิ เดีย
2. แพะพนั ธเ์ุ นอ้ื แพะประเภทนตี้ ัวโต มีเนอ้ื มาก ใช๎เป็นอาหาร ใหน๎ มน๎อย เพียงพอสาหรบั ลกู ของมนั เทาํ นั้น พันธ์ุ
ที่ควรรู๎จกั มดี ังนี้คือ กทุ ซิ (Cutchi) กาเนิดในอินเดีย ซดู าน (Sudan) กาเนดิ ในซูดาน แองโกล นูเปยี น (Anglo Nubisn)
กาเนดิ ในอังกฤษ และไพรเี นยี น (Pyrenean) กาเนิดในยุโรป
3. แพะพนั ธขุ์ น สํวนมากกาเนิดในบริเวณทอ๎ งถ่ินท่ีเปน็ เทือกเขาหรอื เป็นท่ีๆ มีอากาศหนาวจัด แพะพวกนี้มีขน
ยาวออํ น เหมาะในการใชท๎ าเครื่องนุงํ หํม พันธท์ุ ีค่ วรรู๎จักได๎แกํ พนั ธแุ์ องกอราํ (Angora) กาเนดิ ในเตอร์กี และพนั ธ์ุแคช
เมยี ร์ (Cashmere) กาเนิดในอินเดีย
แกะและพันธุแ์ กะ
แกะเลย้ี งกนั มากในเมืองหนาว เพราะใชข๎ นแกะเป็นเครื่องนุํงหมํ และใช๎เน้ือเป็นอาหาร ในประเทศร๎อนการเล้ยี ง
แกะกม็ ีอยูบํ า๎ ง แตํใชเ๎ นอ้ื เป็นอาหารเทาํ น้ัน แกะแบํงออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. แกะพันธ์ุเน้อื เล้ยี งไว๎เพ่อื ใช๎เน้ือเปน็ อาหาร เชนํ พนั ธอ์ุ นิ เดียนลอไฮ (Indian Lohi) และ เนลเลอรร์ ี่ (Nellore)
ซ่ึงมีถน่ิ กาเนดิ ในอนิ เดยี

34

2. แกะพนั ธขุ์ น เล้ยี งไว๎เพอื่ นาขนมาทาเป็นเคร่ืองนํุมหํม ในขณะเดียวกันก็สามารถเปล่ียนเปน็ แกะพนั ธุเ์ นอื้ ได๎ ถา๎
หากปริมาณการให๎ขนตา่ ลงไป แกะพนั ธุ์ทค่ี วรร๎จู ักมีพนั ธ์ุมารโิ น (Marino) ซงึ่ มถี นิ่ กาเนิดในสเปน และเลี้ยงกนั ในประเทศ
ยุโรปทุกประเทศ พนั ธแ์ุ รมโบเลห์ (Rambouillet) กาเนิดในฝรัง่ เศส
สุกรและพนั ธส์ุ ุกร

สุกรอยํูในตระกูลซดู ิอิ (Suidae) ซ่งึ รวมสุกรเลย้ี งและสุกรป่า สุกรเลย้ี งในปัจจบุ ันเป็นที่ยอมรบั กันโดยท่วั ไปวาํ สบื
มาจากสุกรปา่ ยโุ รป ผสมกับสกุ รจีนและสุกรป่าของอิตาลี ซง่ึ เราสามารถแบํงเผาํ ของสกุ รออกเป็น 3 เผํา ได๎ดังน้ี

1. สุกรป่ายโุ รป (Sus scrofa) พบในทวปี ยโุ รป แอฟรกิ า และเอเชยี สุกรเผาํ นีม้ อี ยํเู กือบทุกทวปี ยกเวน๎
ออสเตรเลยี และอเมริกา สกุ รป่าเป็นสตั วท์ ่แี ข็งแรง ดุรา๎ ย ให๎ลูกดก และตา๎ นทานโรคตํางๆ ไดด๎ ี เนอ้ื มีแตํเนื้อแดง ไมมํ ีมัน
แตหํ นงั หนาหุ๎มด๎วยขนแข็ง

2. สุกรเอเชยี (Sus indica) ไดแ๎ กํ สุกรไหหลา สุกรไทย สกุ รพืน้ เมืองญป่ี ุ่น สกุ รพวกน้ี มขี นาดเล็ก ขาสนั้ หลงั มกั
แอนํ มไี ขมันหนา ใหล๎ ูกดก

3. สุกรนีอาโพลิทัน (Sus wadituaneus) เปน็ สกุ รสดี าเทาของประเทศอิตาลี ซึ่งถูกนาเขา๎ ไปในประเทศอังกฤษ
ราวๆ คริสตศ์ ตวรรษท่ี 12 เพื่อปรับปรุงสุกรอังกฤษ เข๎าใจวําสุกรเผาํ นมี้ เี ลือดสุกรปา่ ยโุ รป และสกุ รเอเชยี อยไูํ มนํ อ๎ ย
เหมือนกนั ได๎กลําวมาแลว๎ วาํ เราแบํงสกุ รออกเปน็ 3 ประเภท ตามลกั ษณะการใช๎ประโยชน์ คอื

ก. สุกรประเภทมนั (Lerd Type)
ข. สุกรประเภทเบคอน (Bacon Type)
ค. สกุ รประเภทเนอื้ (Meat Type)

สกุ รพันธุ์ลารจ์ ไวท์ (Large White) สุกรพนั ธ์นุ มี้ ถี ่ินกาเนิดในประเทศอังกฤษ มีช่ือเรยี ก ในองั กฤษวํา พนั ธุ์
ลารจ์ ไวท์ ได๎ถูกนามาเล้ียงในประเทศไทยต้ังแตํปี พ.ศ.2482 แตํนามาเลี้ยงกนั อยาํ งจรงิ จังเมอ่ื ปี พ.ศ.2500 และแพรหํ ลาย
ไปอยํางกว๎างขวาง เพราะสามารถปรับตวั เข๎ากับสภาพแวดล๎อมและอากาศในประเทศไทยได๎ดมี าก สหรฐั อเมรกิ าไดน๎ าสกุ ร
พันธลุ์ าร์จไวท์ไปปรับปรุงพนั ธสุ์ ายใหมํ โดยผสมกบั พันธุ์ไลเคสเตอร์ แลว๎ เรยี กชือ่ ใหมํวํา พนั ธย์ุ อร์คไชร์ สุกรพนั ธลุ์ าร์จไวท์นี้
เปน็ สกุ รประเภทเบคอน ลกั ษณะโดยท่ัวไปเป็นสุกรขนาดใหญํ หูตงั้ ลาตัวยาว แตํบางกวําพนั ธ์เุ น้อื ไหลํหนา หนงั และขนสี
ขาวตลอดลาตวั อาจมจี ุดดาบ๎างแตํไมํถือเปน็ ข๎อตาหนิ มเี นอื้ มากแตมํ นั ใตผ๎ ิวบาง ลารจ์ ไวทเ์ ป็นสกุ รท่ีเติบโตเรว็ สามารถ
เตบิ โตจนถึง 100 กิโลกรมั ในระยะเวลาเพยี ง 5 – 6 เดือน เพม่ิ นา๎ หนักหรอื เติบโตไดว๎ ันละ 700 – 750 กรมั คณุ ภาพของ
ซากดีมาก มีเนื้อมากมนั น๎อย และเน้ือสามชนั้ เหมาะแกํการทาเบคอน จุดเดํนอีกประการหนง่ึ ก็คือ ตวั เมยี มลี ูกดก (10 – 15
ตวั ) เล้ียงลูกเกํงและมีนา้ นมมาก ตัวผูโ๎ ตเต็มทหี่ นกั 200 – 300 กิโลกรมั ตัวเมียโตเตม็ ท่ีหนกั 180 – 220 กโิ ลกรัม เหมาะท่ี
จะใช๎สุกรพนั ธน์ุ ผี้ สมพันธ์ขุ ๎ามระหวํางพันธ์ุ

สุกรพนั ธ์ุแลนด์เรซ (Landrace) สุกรพนั ธ์ุนี้มถี ่ินกาเนดิ ในประเทศเดนมารก์ โดยในขนั้ แรก มกี ารนาเอาสกุ รพนั ธุ์
ลารจ์ ไวท์ผสมกบั สกุ รพันธุพ์ ้นื เมอื งของเดนมาร์กได๎สุกรพันธ์ใุ หมํชอื่ เดนนสิ แลนด์เรซ (Dennish Landrace) ซ่ึงทางรฐั บาล
เดนมาร์กไดจ๎ ดทะเบยี นรับรองการเป็นพนั ธแ์ุ ท๎ เมือ่ ปี พ.ศ. 2438 ตํอมาในปี พ.ศ.2477 ทางสหรัฐอเมรกิ าได๎สัง่ สุกรพันธ์ุ
เดนนสิ แลนดเ์ รซ เดนมารก์ เพ่ือใช๎ในการปรับปรุงพนั ธุ์สกุ รเทาํ นน้ั หา๎ มไมใํ หน๎ ามาผสมเพื่อจาหนํายพันธุ์แท๎แกํราษฎร จวบ

35

จนปี พ.ศ. 2493 ข๎อตกลงนจ้ี ึงยกเลิกไป ตํอมาทางสหรัฐอเมรกิ าไดส๎ ั่งสกุ รพันธ์แุ ลนดเ์ รซสายเลือดตาํ งๆ จากนอร์เวย์ ที่
เรยี กวาํ นอร์เวเยยี นแลนดเ์ รซ จากสวีเดน เรียกวํา สวีดิซแลนด์เรซ รวมทัง้ แลนดเ์ รซ จากเดนมาร์กที่มีอยูเํ ดิมดว๎ ย เอามา
ปรบั ปรุงและสร๎างพันธใุ์ หมขํ ้ึนมา และให๎ชอ่ื วํา “อเมริกนั แลนด์เรซ” สกุ รพันธุแ์ ลนด์เรซเปน็ สกุ รท่มี คี ุณภาพซากดมี าก
เหมาะทจ่ี ะทาเบคอน ลกั ษณะของสุกรพนั ธ์นุ ี้ มสี ขี าว อาจมจี ุดดํางดาบ๎างถือเปน็ เรอื่ งธรรมดา รปู ราํ งคํอนขา๎ งลึก (มีซีโ่ ครง
16 – 17 คูํ) สะโพกใหญํเดนํ ชดั หลังคํอนขา๎ งตรง ขาส้นั เตีย้ กวําพันธ์ุลารจ์ ไวท์ หัวเลก็ เรียวเรยี งรับกับคอ ไมมํ รี อยยนํ หู
ใหญํปรกลงข๎างหนา๎ ขอ๎ เท๎ามักอํอนมีมันน๎อย และมนั บริเวณสันหลังบาง เป็นพนั ธทุ์ ี่ให๎ลูกดกพอสมควร ประมาณ 9 – 12
ตวั เลีย้ งลกู เกํงพอใช๎ มีประสิทธิภาพในการใช๎อาหารเพือ่ เปลี่ยนเป็นเนอื้ ดีมาก สุกรพนั ธุ์นี้เป็นพนั ธท์ุ ี่
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตรน์ าเข๎ามาเล้ยี งในประเทศไทยเม่ือวนั ท่ี 20 ธันวาคม พ.ศ.2506 และด๎วยลกั ษณะทีด่ ีหลายอยําง
ของสุกรพันธนุ์ ้ี จึงได๎มีผ๎ูใชส๎ กุ รพันธุน์ ี้เปน็ พํอพันธห์ุ รือแมํพันธ์ุ สร๎างสกุ รพันธ์ุใหมขํ ึ้นมาอีกหลายพันธ์ุ

สกุ รพันธ์ดุ รู อ็ คเจอรซ์ ี่ (Duroc Jersey) เป็นสุกรประเภทเนอื้ มีถ่นิ กาเนดิ ในภาคตะวันออกของคอรน์ เบลท์
สหรัฐอเมริกา สุกรพันธดุ์ รู อ็ คประกอบขนึ้ จากสุกร 3 สายเลือดด๎วยกัน คอื ดรู อ็ คเจอร์ซีเ่ รดของรฐั นิวเจอร์ซยี่ ์ เป็นสุกรสแี ดง
ขนาดใหญํ แข็งแรง และมีลกู ดก อีกสายหนึ่งเป็นสุกรดรู ็อคของนวิ ยอร์ก ซึ่งเปน็ สกุ รขนาดกลาง รูปราํ งสนั ทัด มลี กั ษณะ
และคุณสมบตั ิดีพอสมควร และสายเลอื ดทส่ี ามเป็นสกุ รดูร็อคท่ีมเี ลือดสุกรพนั ธ์ุเบอรก์ เซียร์สแี ดงจากรัฐคอนแนทติคัท สุกร
พนั ธด์ุ ูร็อคเจอร์ซี่ไดร๎ บั การรบั รองให๎สกุ รพันธแ์ุ ทข๎ องสหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ.2428 ปัจจุบนั สกุ รพันธุ์นเ้ี ป็นสกุ รท่ีนิยมเลย้ี ง
กนั มากทีส่ ุดในอเมรกิ า สุกรพันธุ์ดูร็อคเป็นสุกรขนาดใหญํ มรี ูปราํ งหนาและลึกความยาวของลาตัวส้ันกวําสุกรสองพันธ์ุที่
กลําวมาแลว๎ สะโพกใหญโํ ตเดํนชัด หลังโคง๎ คล๎ายธนู หน๎ายาวปานกลาง หปู รกเลก็ น๎อย สแี ดงเข๎มท้ังตัวหรือเป็นสีอิฐ บาง
ตวั มีสีเจอื จางหรือเกอื บเปน็ สที อง ลักษณะบางอยาํ งทผ่ี เ๎ู ลี้ยงไมํชอบ คือ การมีจดุ ขาวหรือดาทล่ี าตวั ท่ตี ัวและขา ขนหยิก มี
ขนสีแดงอํอนเกินไป และหูที่ตง้ั ตรง สาหรับผลของการเล้ียงสกุ รพนั ธุ์น้ีในประเทศไทย พบวํา มีความเหมาะสมกับการเล้ียง
ดใู นสภาพแวดลอ๎ มตํางๆ ดมี าก คุณภาพซากดี อัตราการเจริญเติบโตแบบประสทิ ธิภาพของการใช๎อาหารหลงั จากการหยํา
นมแลว๎ ดมี าก สกุ รตัวผทู๎ ม่ี ีอายุ 1 ปี จะมนี า้ หนกั ราว 150 กโิ ลกรัม ตวั เมยี จะหนักราว 110 – 120 กิโลกรัม ข๎อเสียของสกุ ร
พนั ธุด์ รู อ็ คเจอรซ์ ่ที ่ีพบในประเทศไทยคือ ให๎ลูกดกไมํมากนัก และเล้ียงลูกไมเํ กํงเหมือนสุกรสองพนั ธุ์ท่ีไดก๎ ลาํ วมาแลว๎

สุกรพนั ธุ์แฮมเชยี ร์ (Hamshire) สุกรพันธ์นุ มี้ ีกาเนดิ ในสหรัฐอเมรกิ า กรมปศสุ ตั วเ์ คยส่งั สกุ รพนั ธ์ุนเ้ี ข๎ามาทดลอง
เล้ียงในประเทศไทย เม่ือปี พ.ศ.2497 และได๎หายสาบสญู ไปจนกระทั่งมผี ูน๎ ามาเลยี้ งอกี คร้งั หน่งึ ในปี พ.ศ.2519 – 2520
บรรพบรุ ษุ ของสุกรพันธ์แุ ฮมเชยี ร์ คอื สกุ รพนั ธุ์ เวสเส็กซ์แซด็ เดลิ แบ็ค (Wessex Saddle back) ซ่ึงอยํูในภาคใต๎ของ
ประเทศองั กฤษ และได๎ถูกปรับปรุงและสรา๎ งเป็นสกุ รพันธแ์ุ ทข๎ ึ้นท่ีมลรัฐเคนตก๊ั กี้ของสหรฐั อเมรกิ า และได๎รบั รองให๎เป็นสุกร
พนั ธแุ์ ทเ๎ ม่ือปี พ.ศ.2436 ปจั จุบันพันธแุ์ ฮมเชยี รเ์ ป็นพนั ธทุ์ ี่ไดร๎ ับความนยิ มเลยี้ งกนั มากในสหรัฐอเมรกิ า เป็นอนั ดับทส่ี อง
รองจากสุกรพันธ์ดุ ูร็อค รปู ราํ งลกั ษณะและคณุ สมบตั โิ ดยท่ัวไปของสุกรพันธนุ์ ี้ เป็นสกุ รประเภทพนั ธุเ์ นื้อเชํนเดยี วกบั พันธ์ุ
ดูร็อค มีสีดาและมีคาดขาวเฉพาะบรเิ วณหวั ไหลจํ รดขาหน๎าทงั้ สองเทาํ นั้น จมกู ยาว หัวคํอนข๎างเล็ก หูตงั้ ขนาดของลาตวั
เลก็ กวาํ สุกรพนั ธ์ุดรู ็อค คุณสมบตั ิเดนํ อื่นๆ คอื ใหล๎ ูกดกพอสมควร คณุ ภาพซากคํอนข๎างดี เหมาะท่จี ะใช๎ผสมข๎ามพันธ์อุ ่นื ๆ
เพอ่ื ผลติ ลกู ผสม เชนํ ผสมกับพนั ธ์แุ ลนดเ์ รซ และลารจ์ ไวท์ คณุ สมบตั ิพิเศษอีกอยาํ งหนึง่ ทส่ี ุกรพันธ์แุ ฮมเชียรด์ ีเดํนกวําสกุ ร
พันธ์อุ ่ืนก็คือ การใช๎แปลงหญ๎าเป็นอาหารได๎มาก ทาให๎เปลืองอาหารเขม๎ ข๎นน๎อย

36

สุกรพันธ์ุพน้ื เมอื งของไทย โดยทว่ั ไปแล๎ว สุกรพันธ์พุ ้ืนเมอื งของไทยมีอัตราการเจรญิ เตบิ โตชา๎ มาก ถา๎ เทยี บกบั
สุกรพนั ธตุ์ าํ งประเทศ กลําวคือ สุกรพนั ธ์ุพ้นื เมืองสวํ นใหญํมีอัตราการเจรญิ เตบิ โตคํอนข๎างต่าราว 180 – 350 กรมั ตํอวัน
ประสทิ ธิภาพของการเปลี่ยนแปลงอาหารเปน็ เนื้อต่ามาก ระหวาํ ง 5 – 7 กิโลกรมั /1 กโิ ลกรัม คุณสมบัตทิ ีด่ เี ดํนของสุกร
พันธพุ์ ื้นเมืองกค็ ือ กินอาหารงํายและกนิ ไมเํ ลือก ขอ๎ ดีอนื่ ๆ ท่ีควรกลาํ วถงึ ก็คือ การมลี ูกดก หาอาหารกนิ เองเกงํ และมีความ
ทนทานตํอสภาพแวดลอ๎ มดีกวําสกุ รพันธ์ตุ ํางประเทศ สุกรพนั ธุ์พ้ืนเมืองของไทยท่มี ีอยํูในขณะนี้ ไดแ๎ กํ พันธไ์ุ หหลา พันธ์ุ
ควาย พันธร์ุ าด พันธ์ุพวง ฯลฯ สาหรับพันธท์ุ นี่ ําจะกลําวถงึ ก็คอื พันธ์ไุ หหลา ซึง่ เลยี้ งกนั แพรํหลายกวําพนั ธุอ์ ่ืนๆ

สกุ รพันธ์ุไหหลา เป็นสกุ รพ้นื เมอื งทมี่ ีขนาดโตกวําพนั ธุ์อื่นๆ สุกรพันธน์ุ ้ีมกั พบในภาคกลางและภาคใต๎ของประเทศ
ไทย โดยเฉพาะยาํ นทช่ี าวจีนอาศยั อยูํ ลักษณะโดยท่ัวไปจะมสี ีดาและสขี าวปะปนกนั โดยจะมสี ดี าอยทูํ ัว่ ลาตวั สํวนพ้ืนทอง
จะมสี ีขาว หัวของสกุ รพนั ธ์ุนจ้ี ะดูงดงาม จมูกยาวและแอนํ เลก็ นอ๎ ย คางยอ๎ ย และไหลํใหญํ ลาตวั ยาวปานกลาง สะโพกเลก็
ขาและข๎อเหนือกีบไมํคอํ ยแข็งแรง พํอสุกรโตเต็มท่หี นัก 100 – 125 กโิ ลกรมั น้าหนกั ทเ่ี หมาะจะสงํ ตลาดคือ 80 กโิ ลกรัม
เพราะถา๎ ปลํอยให๎โตกวาํ นี้จะมีมันมากและเปลืองอาหาร คุณสมบตั ทิ ีด่ ีเดนํ อีกประการหน่งึ กค็ ือ กนิ เกํง ลกู ดก หาอาหารใน
ท่สี กปรกได๎ดี

ในปจั จุบนั น้ี เรมิ่ มีเอกชนรายใหญํและบรษิ ัทผผู๎ ลิตพันธ์สุ ตั วแ์ ละค๎าอาหารสตั วใ์ นประเทศหลายแหํง ได๎สง่ั สกุ ร
ลกู ผสมจากฟาร์มใหญๆํ ในตาํ งประเทศเขา๎ มาเลี้ยงสุกรขุน หรือส่งั พํอพันธุ์ แมพํ ันธุ์ ทเ่ี ป็นลกู ผสมหรอื ตาํ งสายเลือดกันเข๎า
มาใช๎ในการผลติ ลกู สุกรขนึ้ อีกทหี นง่ึ แตยํ ังไมแํ พรํหลายหรอื ได๎รบั ความนิยมอยาํ งการผลิตไกํไขํ ทงั้ นี้ เพราะการผลิตสกุ ร
ลกู ผสมนนั้ มขี ั้นตอน ไมํยุํงยากเหมือนกับการผสมพนั ธุไ์ กํซึ่งตอ๎ งใชเ๎ ทคนิคสงู และเกษตรกรเองกส็ ามารถผสมพันธุส์ ุกรเองได๎
โดยงําย จึงไมํสมควรทจี่ ะส่ังสุกรลกู ผสมจากตาํ งประเทศมาเพ่ือทาใหเ๎ สยี ดุลการคา๎ ของประเทศโดยใชเํ หตุ
ไก่และพนั ธไ์ุ ข่

เชื่อกนั วํามนุษย์ไดน๎ าไกํมาเป็นสัตว์เล้ยี งไมตํ า่ กวาํ 5,000 ปีมาแลว๎ เพ่อื ใช๎เน้ือเป็นอาหารและเปน็ สัตว์เกมกีฬา ไกํ
เปน็ สตั วท์ อ่ี ยใูํ นแถบร๎อนของเอเชีย มีอยูํมากมายหลายพนั ธ์ุ และได๎กระจัดกระจายเข๎าไปอยํูในแถบอาหรับ แอฟรกิ า และ
อนิ เดียตะวนั ออก ไกํในปัจจบุ ันซง่ึ เลีย้ งไว๎เปน็ ไกํเนื้อและไกํไขํนนั้ เชื่อกนั วําสบื เชอ้ื สายมาจากไกปํ า่ 4 สปีซีส์ คือ

1. ไกํปา่ สแี ดง (Red jungle fowl) Gallus gellus
2. ไกํปา่ สีลอน (Ceylon jungle fowl) G lafayetter
3. ไกํป่าสีเทา (Grey jungle fowl) G sonnerati
4. ไกปํ า่ ชะวา (Java jungle fowl) G varius

เน่ืองจากไกํป่าหรอื ต๎นตระกูลเดมิ ของไกํปจั จบุ ันมีสสี นั หลายอยาํ ง ประกอบกับความกา๎ วหนา๎ ในด๎านการผสมพนั ธุ์ จงึ เปน็
ผลใหเ๎ กดิ ไกํพนั ธุใ์ หมํๆ ซึ่งมสี ีสันมากมายหลายชนดิ ที่แตกตํางไปจากตระกลู เดมิ ของมนั ลกั ษณะใหมํๆ ท่ปี รากฏมีหลายอยําง เชํน
การมสี ขี าวบรสิ ทุ ธิท์ งั้ ตัว มีจกุ บนหัว มเี ครา ลักษณะหงอนไกกํ ็มหี ลายอยําง เชนํ หงอนจัก หงอนแฉก และหงอนเมลด็ ถว่ั หน๎าแข๎งมี
ขน หรอื ไขํเป็นฟา้ เป็นต๎น การทไี่ กเํ กิดลักษณะรปู รํางแตกตํางกันไปตามท๎องถ่ินตาํ งๆ เปน็ ผลสืบเนอื่ งมาจากการผสมขา๎ มพันธ์บุ า๎ ง
การผสมเพ่ือใหไ๎ ดไ๎ กํทีม่ ีรูปราํ งลกั ษณะตามความประสงคข์ องผ๎ผู สม หรือตามความเหมาะสมของท๎องถน่ิ นัน้ ๆ กลําวโดยสรปุ เรา
สามารถแบงํ พนั ธุไ์ กํออกเปน็ 4 ประเภท คอื

37

1. ไกปํ ระเภทไขํ เชนํ ไกพํ ันธ์เุ ลก็ ฮอรน์
2. ไกํประเภทเน้ือ เชนํ พันธุค์ อรน์ ชิ
3. ไกปํ ระเภทกง่ึ เน้ือก่งึ ไขํ เชํน ไกพํ นั ธ์ุโรดไอรแ์ ลนด์แดง
4. ไกปํ ระเภทสวยงาม เชนํ ไกแํ จ๎ ไกํงวง

แตํเดิมเรานิยมเลี้ยงไกพํ นั ธ์ุแท๎ เพราะต๎องการสีสันและลักษณะทส่ี มา่ เสมอกันเป็นหลัก ตํอมาผลจากการศึกษาทางพันธุ
ศาสตร์ได๎พสิ ูจน์ใหเ๎ ห็นวาํ ไกํลูกผสม (Hybrid) ระหวํางพันธุ์หรอื ระหวาํ งสายเลอื ดท่คี ัดไว๎โดยเฉพาะนัน้ ดกี วําไกํพนั ธ์ุแท๎ เพราะ
แข็งแรงทนทานและใหผ๎ ลที่ดีกวาํ ฉะน้ัน ในการคดั เลือกพันธไ์ุ กํสมัยนี้ไมํวาํ จะทางไขํหรือเนือ้ ยอํ มถือลักษณะที่มีคาํ ทางเศรษฐกิจ
เป็นสาคัญ ผ๎เู ลี้ยงไกํแบบเปน็ อุตสาหกรรมจึงหันมาเล้ียงไกํลูกผสมกันมากขึ้น สิง่ หนงึ่ ท่ีพอจะกลําวไดใ๎ นท่ีน้คี ือ การเลย้ี งไกํพันธ์ุแทจ๎ ะ
ได๎ผลผลติ สงู เป็นรายตวั แตํการเลย้ี งไกํไฮบริดผลผลติ สงู เปน็ สวํ นรวมไมํใชเํ ฉพาะตัว

ไกพ่ ันธ์ุแทท้ น่ี ิยมเลีย้ งในประเทศไทย มดี งั นี้
1. ไกเ่ ล็กฮอรน์ ขาว (White leghon) ต๎นกาเนิดของไกํพันธ์ุเลก็ ฮอร์นด้งั เดมิ มาจากประเทศอติ าลี แตไํ ดม๎ ีการ

ปรบั ปรุงพันธกุ์ นั ไปมากมายในอังกฤษ เดนมาร์ก อเมริกา ไกํเลก็ ฮอรน์ ไดร๎ ับการจดทะเบียนวาํ เปน็ ไกํพันธแ์ุ ท๎ท่สี มบรู ณ์อีก
พันธ์ุหนึง่ เม่อื ปี ค.ศ.1874 ลกั ษณะประจาพันธุข์ องไกํพันธน์ุ ค้ี ือ มีน้าหนักตัวประมาณ 4.5 – 6 ปอนด์ สีของผวิ หนังสี
เหลือง ขนขาว สีของแขง๎ เหลือง ไมมํ ีขนแข๎ง หงอนมี 2 ชนิด คอื หงอนจักและหงอนกุหลาบ ตุ๎มหูสีขาว ฟองไขํสีขาว ไกเํ ลก็
ฮอร์นขาวหงอนจัก เปน็ ไกํพันธท์ุ ี่สาคญั ที่สุดในแทบทุกประเทศ ไกํพนั ธน์ุ ้มี ีลกั ษณะปราดเปรียว ชอบบินให๎ไขเํ ร็ว ฟองไขํมี
ขนาดเลก็ เปลอื กไขสํ นี า้ ตาลอํอน ไมํกกไขํ ลกู ไกขํ นงอกและโตเรว็ การท่มี ีตวั เลก็ จงึ ใช๎อาหารประหยดั แตกํ ลายเปน็ ข๎อเสีย
ถ๎าจะทาเปน็ ไกเํ นอ้ื เม่อื หยดุ ไขํไกํเล็กฮอรน์ เร่มิ ให๎ไขเํ ม่ืออายุ 5 เดือน

2. ไกโ่ รดไอรแ์ ลนด์แดง (Rhode Island Red) ตน๎ กาเนิดของไกํพนั ธน์ุ ี้มีมากกวํา 90 ปีแลว๎ ท่ีเมืองนิวอิงแลนด์
(New England) ไกํโรดไอร์แลนด์เกดิ จากการผสมพันธุ์ระหวาํ งไกชํ นพนั ธม์ุ าลายู สแี ดง (Red Malay Game) ไกํเลก็ ฮอรน์
(Leghorn) และไกํพันธพ์ุ ้ืนเมืองของเอเชีย (Asiatic native) ลกั ษณะประจาพนั ธจุ์ ะมีน้าหนักตวั ประมาณ 6.5 – 8.5 ปอนด์
สขี องผวิ หนงั ท่วั ไปเหลือง สขี องแข๎งเหลืองปนแดง ขนแข๎งไมํมี ลักษณะของหงอนมี 2 แบบ คือ หงอนจักกับหงอนกหุ ลาบ
ตม๎ุ หูสแี ดง เปลือกไขสํ นี า้ ตาล ไกพํ ันธุ์โรดไอรแ์ ลนดแ์ ดงเปน็ ไกกํ ่ึงเน้ือก่ึงไขํ ได๎รบั ความนิยมจากผเ๎ู ล้ยี งในประเทศไทย เพราะ
เหมาะสมกับสภาพดนิ ฟา้ อากาศของเมืองไทย ไขไํ กํโรดไอร์แลนดแ์ ดงฟองโต น้าหนกั ดี สีสวย สขี องเปลือกไขเํ ป็นสีน้าตาล
ซ่ึงตลาดชอบ คณุ สมบัตทิ ด่ี เี ดํนอกี อยํางหนงึ่ ของโรดไอรแ์ ลนดแ์ ดงคือ เป็นไกกํ ง่ึ เนื้อก่งึ ไขํ ซงึ่ เม่อื ไกแํ กํหรืออัตราการไขํลดลง
มากๆ จะคดั ขายเปน็ ไกเํ น้อื ก็งําย ทง้ั น้าหนักตวั ก็มากลายได๎ราคาสงู

3. ไก่บาร์พลมี ธั ร็อค (Barred Plymouth Rock) เปน็ ไกํกงึ่ เนื้อกงึ่ ไขทํ ่ีมีขนลายขาวสลบั ดา ไกํพันธไุ์ ด๎รบั การจด
ทะเบียนรับรองวาํ เป็นไกํพันธ์ุแท๎ของสหรฐั อเมริกา เมอื่ ปี ค.ศ. 1874 ลกั ษณะประจาพนั ธ์ขุ องไกพํ นั ธุ์พลมี ธั ร็อค คือมี
น้าหนกั ตัวประมาณ 7.5 – 9.5 ปอนด์ สขี องหนังสีแดงปนเหลอื ง แขง๎ สีเหลอื ง ขนแขง๎ ไมํมี หงอนจัก ตุ๎มหสู ีแดง เปลอื กไขสํ ี
น๎าตาล ไกํพนั ธุน์ เี้ ปน็ ทนี่ ิยมมากในสหรฐั อเมริกา เพราะให๎ไขดํ ก และให๎เนื้อดี เตบิ โตเรว็ บางตระกลู ใช๎ในการผสมทาไกํ
กระทงโดยเฉพาะ

38

4. ไก่นวิ แฮมเชียร์ (New Hamshires) เป็นไกํที่ไดร๎ ับการผสมพันธ์ุมาเม่ือประมาณ 45 ปีมาน้เี อง โดยมากจาก
เชอื้ สายไกํพนั ธุโ์ รดไอร์แลนด์แดง ไกํพนั ธแ์ุ ฮมเชยี ร์ได๎รับการจดทะเบยี นเป็นไกํพันธแุ์ ท๎ของสหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ. 1935
ลักษณะประจาพันธุ์ของไกํพนั ธน์ุ ค้ี ือมีน้าหนักตัวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 6.5 – 8.0 ปอนด์ ผวิ หนังสเี หลอื ง เปลอื กไขสํ ีน๎าตาล
สขี องหน๎าแข๎งเหลือง ขนแข๎งไมํมี หงอนจัก ต๎ูหสู ีแดง ขนสีแดง เหมอื นไกํพนั ธ์ุโรดไอรแ์ ลนด์แตจํ างกวาํ มคี ุณสมบตั ิทางให๎
ไขเํ ร็ว ขนงอกเร็ว และเติบโตเรว็ บางตระกลู ใชเ๎ ป็นไกํกระทง

5. ไก่คอรน์ ชิ (Cornish) เป็นไกํประเภทพนั ธ์ุเนื้อ หนา๎ อกใหญํ ใช๎เป็นไกผํ สมขา๎ มพันธุ์ เพ่ือผลติ ไกกํ ระทงใน
ปัจจุบันเป็นสวํ นใหญํ

6. ไกพ่ ลมี ธั ร็อคขาว (White Plymouth Rock) เป็นไกทํ ่ีเลีย้ งไว๎เพ่ือใหเ๎ นื้อโดยเฉพาะ เตบิ โตเรว็ และนา้ หนัก
มาก แตไํ ขํไมดํ ก ได๎กลาํ วมาแลว๎ วาํ การเล้ยี งไกํเพื่อเป็นอุตสาหกรรมในปัจจบุ นั นัน้ ไมนํ ิยมใชล๎ ูกไกํพันธ์ุแท๎เล้ยี งกนั อกี ตํอไป
เน่ืองจากไมํคมุ๎ คําทางเศรษฐกิจ ฟาร์มไกอํ าชีพทั่วไปหันมานิยมใช๎ไกํลูกผสม เพราะให๎ผลดีกวําไกํพันธุแ์ ท๎ และจะมีช่อื เรียก
ตํางๆ กัน ตามช่อื ฟาร์ม หรือชื่อผ๎ูเปน็ เจ๎าของ อาทิ

ก. พนั ธุไ์ ก่ไข่ ไดแ๎ กํ อาร์เบอร์เอเคอร์ บับคอค ไฮไลน์ คมิ เบอร์ โกโต๎ ซปุ เปอร์ฮาร์โก๎ เชเวอร์ ดีคาลบ์ ฯลฯ
ข. พนั ธ์ุไก่เน้ือ ได๎แกํ อาร์เบอรเ์ อเคอร์ คอบป์ ฮับบารด์ แวนเตรส พิลท์ ฯลฯ
ไกํสายพนั ธุ์ตํางๆ เหลาํ นีส้ ํวนใหญอํ ยํใู นสหรัฐอเมริกา
เป็ดและพันธเุ์ ป็ด
พนั ธุ์เปด็ เปด็ มี 3 จาพวกดว๎ ยกันคอื
1. จาพวกพันธ์ไุ ขํ (The egg class) ไดแ๎ กํ เปด็ กากแี คมพเ์ บลล์ เปด็ อนิ เดียนรนั เนอร์
2. จาพวกเน้อื (The meat class) ไดแ๎ กํ เปด็ มสั โควี เป็ดปักกงิ่ ฯลฯ
3. จาพวกเป็ดสวยงาม (The ornamental class) ไดแ๎ กํ เป็ดแมนดารนิ เปด็ จุด เป็ดคอลล์

ในที่นจ้ี ะไดก๎ ลาํ วถึงเปด็ พันธุ์ไขแํ ละพนั ธ์เุ นื้อเทําน้นั
1. เปด็ กากีแคมพ์เบลล์ (Khaki Campbell) เปน็ เปด็ ไขํพันธแ์ุ ทท๎ ่สี ามารถให๎ไขดํ กท่ีสุด เปด็ กากีแคมพ์เบลล์เปน็ เป็ดทีม่ สิ

ซิสแคมพ์เบลล์ ภริยานายแพทย์ผหู๎ นึง่ ในอังกฤษ เปน็ ผู๎ผสมพันธุ์เม่ือ 70 กวาํ ปีมาแลว๎ โดยใช๎เป็ดอนิ เดยี นรันเนอรผ์ สมกับเป็ดพันธ์รุ ู
แอง แลว๎ ผสมซ๎าด๎วยเป็ดปา่ เพอื่ ให๎มคี วามแข็งแรง ทนทาน เป็ดทไี่ ด๎มีขนสกี ากี จึงไดม๎ ีการต้งั ชื่อเป็ดพนั ธ์ุนเ้ี พอ่ื เปด็ อนุสรณแ์ กํผผู๎ สม
โดยช่อื วาํ เปด็ กากีแคมพเ์ บลล์ เปด็ กากแี คมพเ์ บลล์ทัง้ ตวั ผู๎และตวั เมยี มรี ูปราํ งลักษณะทั่วๆ ไปคือ หัวคํอนข๎างสงู คอยาวปานกลาง
อกกลมได๎ขนาด หลงั ลาดเล็กน๎อย ตากลมเดํนชัด หน๎าเกล้ียง ตวั เมียมีขนสกี ากี ขนท่ีหลงั และปีกสีกากีอํอน ปากสเี ขยี วดา ขาและ
เท๎ามสี กี ากเี หมือนขนที่ตัว นา๎ หนกั โตเตม็ ที่ประมาณ 4.5 ปอนด์ เป็ดกากตี ัวผ๎มู ีขนท่หี วั คอ ปลายหาง ปลายปกี สีเขียวแกมเหลอื งแกํ
หรือนา๎ ตาลอํอน หนา๎ อกและลาตัวสกี ากี ปากสเี ขยี วแกํ ขาและเทา๎ สีส๎ม นา๎ หนักตวั ทโ่ี ตเตม็ ที่ประมาณ 5 ปอนด์
2. เปด็ พันธอ์ุ นิ เดียนรนั เนอร์ (Indian Runner) เป็นเป็ดทถี่ กู คดั เลอื กทาพันธจ์ุ ากเปด็ พนั ธพุ์ ืน้ เมืองของเบลเยย่ี มและฮอลแลนด์
เปน็ เปด็ ท่มี ีอัตราการไขํทีด่ ก มี 3 ชนิดดว๎ ยกันคอื เปด็ อนิ เดียนรนั เนอร์สนี า๎ ตาลอํอนและขาว (brown and white) เป็ดอนิ เดียนรนั

39

เนอรส์ ขี าว (white) เปด็ อินเดียนรันเนอร์สีลาย (penciled) เป็ดอนิ เดียนรนั เนอร์ทกุ ชนิดเมื่อโตเตม็ ที่ตัวผจู๎ ะหนกั 4.5 ปอนด์ ซ่ึงมี
ขนาดเลก็ กวําเป็ดเน้ือมาก เปด็ พันธุ์นจ้ี ะให๎ไขํฟองโต สขี าวใหญํกวาํ ไกํ
3. เป็ดพันธป์ุ ักกิง่ (Pekin) เปน็ เป็ดพันธ์เุ นอ้ื ทม่ี ีตน๎ กาเนิดในประเทศจนี รปู ราํ งใหญโํ ตมาก เม่ือโตเต็มที่ตัวเมยี จะหนักถึง 8 ปอนด์
ตวั ผู๎หนกั ราว 9 ปอนด์ ลาตวั กวา๎ ง ลึกหนา ขนสขี าวหรอื ครมี หนงั สเี หลือง ขาและเท๎าสีหมากสุก จะงอยปากสเี หลอื ง รปู รําง
สวยงามพอใช๎ ไขดํ กพอประมาณ แตํไมํฟักไขํ มีคุณสมบตั ทิ ี่ดีคอื โตวัย แตํขีต้ กใจ รอ๎ งเสียงดัง บนิ ไมํได๎ เปน็ เป็ดที่ทนรอ๎ นจัดและ
หนาวจัดไดด๎ ี
4. เปด็ พันธมุ์ ัสโควี (Muscovy) มีชือ่ เรียกกันในประเทศไทยวาํ เปด็ เทศ มี 2 ชนิด คอื ชนิดสีขาวและชนดิ สีดา ถนิ่ กาเนดิ ดั้งเดิมอยํู
ในอเมริกาใต๎ เปน็ เป็ดลกู ผสมทีไ่ ดจ๎ ากการผสมข๎ามพันธุ์ มักจะเปน็ หมัน ลกั ษณะรปู รํางโดยทวั่ ไป หน๎าเป็นสีแดงจดั ผวิ ทห่ี นา๎ ขรขุ ระ
มีหงอนท่หี ัว ลาตวั ยาวกวา๎ ง หน๎าอกไมํลึก เป็ดตัวผ๎ูตัวใหญํกวาํ ตวั เมยี ไมนํ ๎อยกวาํ 1 ใน 3 เทําของเปด็ ตวั เมีย เปด็ ตัวผ๎ูโตเต็มท่จี ะ
หนักถึง 10 ปอนด์ ตัวเมียโตเตม็ ที่หนัก 7 ปอนด์ ข๎อเสยี ของเปด็ พันธนุ์ ี้คือ บินเกงํ มาก เกษตรกรของไทยมักจะเอาเป็ดพนั ธมุ์ ัสโควตี ัว
ผม๎ู าผสมกับเป็ดตัวเมยี พันธพ์ุ ื้นเมอื ง ซึ่งจะให๎ลกู ผสมทเี่ รียกวํา “เป็ดปั้วไฉํ” เอาไวเ๎ ล้ยี งกินเน้ือโดยเฉพาะ

เป็ดพันธุ์พื้นเมอื ง
เป็นพนั ธุ์พ้นื เมืองทเี่ ลี้ยงกนั อยํูตามทีต่ าํ งๆ ในประเทศไทย พอจะแยกออกได๎เปน็ 2 พนั ธุ์ คอื
1. เปด็ ปากนา้ เป็นเปด็ พนั ธไ์ุ ขํ ตวั เลก็ กวําเปน็ พนั ธน์ุ ครปฐม ขนตวั สีดา อกสีขาว ปากดา เทา๎ ดา ไขํได๎ดีพอใชแ๎ ละไขํไดเ๎ ร็ว ไขดํ ก
กวาํ เป็ดนครปฐม แตํใหฟ๎ องท่ีเล็กกวาํ นยิ มเล้ียงกันในแถบจังหวัดสมุทรปราการ ชลบุรี และตามจงั หวดั ชายทะเลทว่ั ไป เป็ดตัวผู๎จะมี
สีเดยี วกับเปด็ ตัวเมยี แตขํ นท่ีหัวมสี ีเขยี วบรอนซ์
2. เป็ดนครปฐม เป็นเป็ดไขํเชนํ เดียวกับเปด็ ปากน๎า ตัวใหญํ อกกว๎าง ออกไขํช๎า แตไํ ขํฟองโต ตัวเมยี มขี นสลี ายกาบอ๎อย ตัวผ๎หู วั สี
เขยี ว คอคว่ันขาว อกสแี ดง ลาตวั สีเทาเหมอื นเป็ดปา่ ปากสเี ทา เทา๎ สีส๎ม นยิ มเล้ยี งกันมากท่ีจังหวดั นครปฐม เพชรบรุ ี ราชบุรี และ
จังหวัดใกลเ๎ คียง เปด็ พันธน์ุ ครปฐมเมื่อหยดุ ไขํแล๎วขายเป็นเนอื้ เปด็ ได๎ราคาดี เพราะตวั โตมีนา๎ หนกั ดี

พนั ธห์ุ ่าน
พนั ธุห์ ํานที่เลยี้ งในประเทศไทย สํวนใหญํหรือเกือบทง้ั หมดเปน็ หาํ นพนั ธ์จุ นี แบํงออกเป็น 2 ชนิด คอื
1. หํานสีขาว
2. หํานสเี ทาหรือสนี ๎าตาล

หาํ นพันธุ์จนี ที่เลี้ยงในบ๎านเรา จัดได๎วาํ เปน็ หํานขนาดเล็ก เมือ่ เปรียบเทียบกบั หํานของตํางประเทศ ตวั ผูเ๎ ม่ือโตเต็มทแี่ ล๎วจะมีนา๎ หนัก
ตวั เฉล่ียประมาณ 5.4 กิโลกรัม สวํ นตวั เมียจะหนักประมาณ 4.5 กิโลกรัม เปรยี บเทียบกับหํานพันธ์ตุ าํ งประเทศ จะมีน๎าหนกั ตวั
เฉลีย่ 9 กิโลกรัม ในตวั เมยี

40

ทางเลอื กผลิตผลทางการเกษตร

ภาคการเกษตรเป็นภาคท่ีรัฐบาลให๎ความสาคัญเป็นอยํางมากในการท่ีจะแก๎ไขปัญหาความยากจน เนื่องจากประชากรสํวน
ใหญํของประเทศประกอบอาชีพทางการเกษตร และมีฐานะยากจน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได๎กาหนดวิสัยทัศน์ และ
เป้าหมาย ที่จะพัฒนาให๎ประชาชนที่อยํูมนภาคการเกษตรเพิ่มสัดสํวนในรายได๎ ประชาชาติ ให๎ประเทศไทยเป็น ครัวโลก และ
เกษตรกรผู๎ผลิต มีความม่ันคงทางรายได๎ โดยการปรับโรงสร๎างการผลิตในพ้ืนที่ไมํเมาะสมและมีปัญหาทางด๎านราคาไปสํูกิจกรรม
การเกษตรอ่ืนๆ ที่ให๎ผลตอบแทนสูงกวํา เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ควบคํู ไปกับการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต การตลาด
รวมทั้งการอนุรักษ์และ พัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติทางการเกษตร ดังนั้นเกษตรกรจะต๎องเข๎าใจและร๎ูจักใช๎ข๎อมูลขําวสารเศรษฐกิจ
การเกษตรในการประกอบอาชีพทางการเกษตร มีความคิดริเริ่มและตัดสินใจวงแผนการผลิตด๎วยตนเอง โดยมีเจ๎าหน๎าท่ีของรัฐคอย
ใหค๎ าแนะนาและเปน็ ทป่ี รกึ ษาอยํางใกล๎ชิด

การทาการเกษตรให๎ประสบผลสาเร็จ เป็นเรื่องที่ยากลาบากมาก เนื่องจากการประกอบอาชีพอื่นๆ จะทากับคนอยํางเดียว
แตํการทาการเกษตรจะต๎องทากับคน และธรรมชาติไปพร๎อมๆ กัน ซึ่งธรรมชาติไมํสามารถควบคุมได๎ นอกจากจะต๎องเส่ียงกับภัย
ธรรมชาติแล๎วราคาและปริมาณผลผลิตยังไมํแนํนอน มีความผันผวนอยูํตลอดเวลา เพื่อลดความเส่ียงในการประกอบอาชีพทางการ
เกษตรให๎เหลือน๎อยท่ีสุด เกษตรกรจาเป็นต๎องอาศัยข๎อมูลสํวนประกอบที่สาคัญมาประกอบในการตัดสินใจ ซ่ึงข๎อมูลหรือความร๎ูที่
เกษตรกรควรทราบในการประกอบอาชีพการเกษตร คือ

1. ศักยภาพของพื้นท่ีและคุณสมบัติของสินค๎าที่จะผลิต ได๎แกํ สภาพท่ีดิน ลักษณะการถือครองท่ีดิน ชนิดของดิน ปริมาณ
น้าฝนและการกระจายตวั ของฝน แหลํงนา้ เน้อื ท่เี พาะปลกู และผลผลติ เทคโนโลยที ใ่ี ชใ๎ นการผลิต คุณสมบัติของพชื และสัตว์ เป็นต๎น

2. ความพรอ๎ มของเกษตรกร ได๎แกํ เงินทุน แรงงาน มพี ร๎อมหรือไมํ ถ๎าขาด จะหาได๎จากไหนเมื่อตดั สินใจผลิตอะไรจะต๎องร๎ู
ข๎อมูลเกี่ยวกับสินคา๎ ชนิดนนั้ เปน็ อยาํ งดี

3. ข๎อมูลด๎านการตลาดและราคา ต๎อง รู๎ วําตลาดต๎องการสินค๎าอะไร ปริมาณเทําไร คุณภาพที่ต๎องการเป็นอยํางไร
ต๎องการสนิ ค๎าในชวํ งไหน ตลาดไหนให๎ราคาดที สี่ ุด รวมทัง้ การหาขอ๎ มลู เพอ่ื ขยายตลาดตํอไป

4. การวิเคราะหต์ ๎นทุนและผลตอบแทน เมื่อเกษตรกรมขี ๎อมูลตําง ๆ พร๎อม แล๎ว การตดั สินใจทีจ่ ะผลติ สินคา๎ ชนิดนั้นๆ
ควรจะตอ๎ งวิเคราะห์ต๎นทุนและผลตอบแทนเสยี กํอน วํามีผลกาไรคุ๎มกบั การลงทนุ หรือไมํ

5. กระบวนการตัดสินใจ เม่ือรวบรวมข๎อมูลท่ีต๎องการได๎แล๎ว การตัดสินใจ ข้ันสุดท๎ายท่ีจะดาเนินการเพาะปลูก หรือเล้ียง
สัตว์ หรือทากิจกรรมเกษตรอนื่ ๆ เกษตรกรจะต๎องเปรียบเทียบการลงทุนหรือต๎นทุน รา ย จําย และผลตอบแทนท่ไี ด๎รับวําเหมาะสม
เพยี งใด สมควรท่ีจะดาเนินการในกิจกรรมนัน้ หรือไมํ

ตน้ ทุน
เกษตรกรจะต๎องประมวลต๎นทุนตํอไรํในข้ันต๎นสาหรับ สินค๎าเดิม ควรจะเป็นต๎นทุนจากการผลิตในแปลงที่เกษตรกร
ดาเนนิ การ สวํ นสินค๎าใหมหํ รอื สนิ คา๎ ทีม่ ศี กั ยภาพทางด๎านการตลาดทเ่ี กษตรกรยังไมํเคยผลิตมากํอน ควรจะหาต๎นทุนจากแหลํงผลิต
ที่อยํูใกล๎แปลงผลิตของเกษตรกรมากท่ีสุด ถ๎าหากหาไมํได๎จึงจะต๎องใช๎ต๎นทุนจาก แหลํงอื่น ๆ เชํน ในพ้ืนท่ีตาบลเดียวกัน อาเภอ
จังหวดั ภาค หรอื ภายในประเทศตามลาดบั

41

ผลตอบแทน
จะเป็นยอดรวมจากการผลติ ทีไ่ ด๎รบั เฉลีย่ ตํอไร สาหรับ สินคา๎ เดิม ผลตอบแทนก็คือผลผลิตที่เกษตรกรได๎รับทั้งหมดคูณด๎วย
ราคาที่เกษตรกรขายได๎ สํวนสินคา๎ ใหมหํ รือสนิ คา๎ ท่มี ีศกั ยภาพทางดา๎ นการตลาด ผลผลติ ท่ีได๎รับเฉลี่ยตํอไรํ และราคาที่เกษตรกรขาย
ได๎ ก็ควรจะเปน็ ข๎อมลู จากแหลงํ ผลติ ที่อยํใู กลแ๎ ปลงผลติ ของเกษตรกรมากท่สี ุด เชนํ ในพนื้ ทตี่ าบลเดียวกัน อาเภอ จังหวัด ภาค หรือ
ระดบั ประเทศตามลาดบั
วธิ กี ารประเมนิ ผลตอบแทน สามารถประเมนิ ได้ 2 วิธี

วิธีที่ 1 จะใช๎วิธีการพิจารณาจากผลตอบแทนการลงทุนท่ีได๎จัด ทาไว๎ในข๎อ 5.1 ต๎นทุน และข๎อ 5.2 ผลตอบแทน
นอกจากน้นั เกษตรกรควรจะต๎องพิจารณาในเรอ่ื งของกระแสเงนิ สดสุทธิหรือการใช๎วิธีการหา สํวน ลด (Discounting) เพ่ือ
หาข๎อมลู คําปจั จุบนั สุทธิ (Net Present Value : NPV) เปรียบเทียบระหวํางรายรบั และรายจาํ ย สาหรับการตดั สินใจด๎วย

มลู ค่าปัจจบุ ันสุทธิ (NPV) = มลู ค่าปัจจุบันของรายได้ – มูลคา่ ปจั จบุ นั ของรายจ่าย
ดังน้ัน กํอนที่เกษตรกรจะตัดสินใจดาเนินการผลิต เกษตรกรจะต๎องรวบรวมข๎อมูลที่เกี่ยวข๎องและจาเป็นมาใช๎
ประกอบในการตัดสินใจ ซึ่งข๎อมูลท่ีใช๎จะมีข๎อมูลท่ีเกษตรกรดาเนินการในแปลงผลิตของตนเองและใช๎ข๎อมูลจากแหลํงผลิต
อื่นๆ มาประกอบในการตัดสินใจ ทั้งด๎านข๎อมูลที่จะเป็นรายรับและข๎อมูลที่เป็นรายจําย เพื่อให๎ทราบวําการลงทุนน้ันจะ
ได๎ผลกาไรหรือผลตอบแทนเทําใด ซ่ึงข๎อมูลสํวนใหญํเป็นการ ประมาณการและจะต๎องมีความไมํแนํนอนอยูํด๎วย ถ๎าเป็นไป
ได๎เกษตรกรควรจะประมาณการในหลายระดับ เชํน ระดับดีที่สุด ระดับท่ีเป็นไปได๎มากท่ีสุด และระดับที่เลวร๎ายท่ีสุด
เพ่ือให๎ไดข๎ อ๎ มลู ที่ ชัดเจนในการตัดสนิ ใจ นัน้ กค็ ือการประมาณการในเรือ่ ง ของปรมิ าณผลผลติ ท่ีได๎รับหรือการประมาณการ
ราคาที่จะขายได๎ เมอ่ื มกี ารเปล่ยี นแปลง
วิธีท่ี 2 จะใช๎วิธีการพิจารณาสัดสํวนของรายได๎ กับ การลงทุนหรือต๎นทุนการผลิต ซ่ึงอัตราผลตอบแทนจะ
พจิ ารณาใน 2 ประเด็น คอื ถ๎าอัตราผลตอบแทนเทํากับ 1 หรอื ราคา ณ จุดค๎ุมทุน ซ่ึงจะเป็นระดับราคาทีให๎มูลคําผลผลิตที่
ค๎มุ กับตน๎ ทนุ พอดีหรอื เปน็ ราคาข้ันต่าแล๎ว ถ๎าระดับราคาตา่ กวําน้จี ะขาดทุน นั่นกค็ อื ราคาที่คาดคะเนหรือคาดการณ์ไว๎หรือ
ราคาท่ขี ายได๎ เทาํ กบั ราคาต๎นทุน หรอื อัตราผลตอบแทนเทํากับ 1 เกษตรกรจะสูญเปลําในการผลิตและถ๎าราคาท่ีคาดไว๎ต่า
กวําราคาทุน หรืออัตราผลตอบแทนน๎อยกวํา 1 ข๎อเสนอแนะคือ ไมํควรให๎เกษตรกรทากิจกรรมน้ัน และ ถ๎าอัตรา
ผลตอบแทนมากกวํา 1 หรือราคาสูงกวําจุดค๎ุมทุน เกษตรกรก็จะมีกาไร อน่ึง สาหรับอัตราผลตอบแทนโดยทั่วไปของ
กจิ กรรมทีเ่ กษตรกรจะเลือกดาเนินการควรมากกวํา 1.2 ทั้งน้ี เนื่องจากการลงทุนใดๆ ก็ตาม ผ๎ู ลงทุนควรมีกาไรอยํางน๎อย
20 เปอร์เซ็นต์ ของการลงทุน หรือเทํากบั อัตราดอกเบยี้ เงินฝาก รอ๎ ยละ 12.5 จึงเสนอแนะใหเ๎ กษตรกรทากิจกรรมนัน้ ๆ


Click to View FlipBook Version