The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุมิตรา สำเภาพล, 2019-06-05 14:02:21

การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รายวิชาหลักการเกษตร

หนว่ ยท่ี 7 การประยกุ ตใ์ ช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
นางสาวสมุ ติ รา สาเภาพล

63

บทท่ี 7
การประยกุ ตใ์ ช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

วตั ถุประสงคข์ องการเรยี น
ด้านความรู้ 1. นกั ศึกษามีความรู้เกีย่ วกับหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. ทราบแนวทางการประยกุ ตใ์ ช้หลกั เศรษฐกิจพอเพียง
3. ทราบแนวทางการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง
4. ทราบแนวทางประกอบอาชีพตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง
ด้านทักษะ 1. นักศึกษาอธิบายเกยี่ วกบั หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งได้
2. อธบิ ายแนวทางการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงได้
3. อธิบายแนวทางการปฏิบตั ิตามหลักเศรษฐกจิ พอเพียงได้
4. นาแนวทางการประกอบอาชีพตามหลักเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชวี ติ จริงได้
ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม
1. สามารถทางานรว่ มกนั เป็นหมู่คณะได้
2. มีความรับผดิ ชอบ ตรงต่อเวลา
3. มีความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ กล้าแสดงออก
4. มสี มั มาคารวะและสุภาพเรียบร้อย

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ทางสายกลาง พอเพียง

64

การประยกุ ต์ใช้เศรษฐกิจพอเพยี งในดา้ นต่างๆ

ดา้ นเศรษฐกจิ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ใชช้ ีวติ อย่างพอควร คดิ และวางแผนอยา่ งรอบคอบ
มีภูมิคมุ้ กนั ไม่เส่ยี งเกินไป การเผ่อื ทางเลอื กสารอง

ดา้ นจิตใจ มีจิตใจเข้มแข็งพ่งึ ตนเองได้ มีจิตสานกึ ทด่ี ี เออื้ อาทรประนีประนอม
มถี ึงผลประโยชนส์ ่วนรวมเปน็ หลกั

ดา้ นสังคม ช่วยเหลือเก้อื กลู กนั รู้รักสามคั คี สรา้ งความเข้มแขง็ ใหค้ รอบครัวและชุมชน

ด้านทรพั ยากร รู้จกั ใช้ทรัพยากรอยา่ งฉลาดและรอบคอบ เลอื กใช้ทรัพยากรท่มี ีอยู่อยา่ งคุม้ คา่
ธรรมชาติและ และเกิดประโยชนส์ ูงสดุ ฟ้ืนฟูทรัพยากรเพอ่ื ให้เกดิ ความย่งั ยนื สงู สดุ
สง่ิ แวดล้อม

ดา้ นเทคโนโลยี รู้จักใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สอดคล้องกบั ความตอ้ งการและสภาพแวดลอ้ ม
(ภูมิสังคม) พฒั นาเทคโนโลยีจากภมู ปิ ญั ญาชาวบ้านเองกอ่ น กอ่ ให้เกดิ ประโยชน์
กับคนหมมู่ าก

ถ้าหากยอ้ นมองดเู ศรษฐกจิ ของประเทศไทยในอดีตท่ีผ่านมา เราจะพบว่าประเทศไทยได้ก้าวข้าม
ผา่ นยุคของการเป็นประเทศเกษตรกรรมด้ังเดิม (ประเทศไทย 1.0) สู่อุตสาหกรรมแบบเบา (ประเทศไทย

65

2.0) และอุตสาหกรรมท่ีมีความซับซอ้ นมากขึ้น (ประเทศไทย 3.0) ตามลาดับ และนั่นก็ทาให้ประเทศไทย
พัฒนาจากประเทศรายได้ต่าสูป่ ระเทศรายได้ปานกลางจนถงึ ทุกวันนี้

กลบั มาในยุคปัจจุบัน โลกมีการเปล่ียนแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว อย่างที่ทุกคนรู้ อินเตอร์เน็ตเข้ามามี
บทบาทสงู เราสามารถเข้าถึงขอ้ มูลความรู้มากมาย และผูค้ นทว่ั โลกกส็ ามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างง่ายดาย
เมื่อรูปแบบการดาเนินชีวิตเปล่ียนไป การลงมือทาในแบบเดิม ๆ จึงอาจไม่ได้ผลลัพธ์แบบเดิมอีกต่อไป
ดังน้ัน ประเทศจึงต้องปรับตัวและมุ่งหน้าสู่การเป็น “ประเทศไทย 4.0” เพื่อขับเคล่ือนสู่ความก้าวหน้า
ใหม่ ๆ ทจี่ ะสรา้ งความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึนของคนในประเทศ แต่ “ประเทศไทย 4.0” ที่ว่านี้คืออะไร แล้วทาไม
เราตอ้ งม่งุ หน้ามาทางนี้ และปรชั ญาแหง่ เศรษฐกจิ พอเพยี งจะเขา้ มามบี ทบาทอยา่ งไร มาดกู นั เลย

ในศตวรรษที่ 21 นี้ สินค้าหลากหลายมากถูกผลิตออกมาสู่ตลาด และผู้บริโภคก็สามารถที่จะ
เลือกซอ้ื ได้งา่ ยดายผ่านอินเตอร์เน็ต การแข่งขันทางด้านราคาจึงไม่ใช่ความยั่งยืนในการทาธุรกิจของยุคน้ี
อกี ต่อไป เพราะการลดราคาของคุณก็ยอ่ มมีขดี จากดั แต่การนาธุรกิจด้วย ความคิด ไอเดีย และนวัตกรรม
ใหม่ ๆ ท่ีสร้างคุณค่าแก่ผู้คน พัฒนาชุมชน และส่ิงแวดล้อม ต่างหากที่จะช่วยให้ธุรกิจแตกต่างและโดด
เด่นในตลาดได้อย่างยั่งยืน ดังนั้น การท่ีประเทศจะมุ่งหน้าสู่ยุค 4.0 ผู้ประกอบการในประเทศไม่ว่าจะใน
ธุรกิจด้านไหน กต็ อ้ งเปลย่ี นแนวคิด เปิดมุมมองใหม่ ใส่ความคิดสร้างสรรค์ และมุ่งมองหาเครือข่ายความ
รว่ มมอื ในการดาเนินธุรกิจ

คราวนี้ เศรษฐกิจพอเพียงจะเข้ามามีบทบาทสาคัญตรงนี้อย่างมากสาหรับผู้ประกอบการ เพราะ
ก่อนที่เราจะรีบร้อนลงมือทาอะไร ฐานหลักของเราต้องมั่นคงก่อน เมื่อน้ัน เราจะทาได้โดยการปรับใช้
เศรษฐกจิ พอเพยี งในการดาเนนิ ธุรกจิ น่ันคอื

รู้จักตวั เอง – การทาธุรกจิ ตอ้ งวิเคราะหส์ ง่ิ ที่ตัวเองมีและทาได้ดี เข้าใจส่งิ ที่ขาดและนา่ ไปปรบั ปรุง
มีเหตุมีผล – มากกว่าจะเดินตามคู่แข่งไปเสียหมด เราต้องคานึงว่าสิ่งที่เราทา ทาเพื่อเปูาหมาย
อะไร และคานงึ ถงึ ผลของการกระทาน้ัน ๆ เสมอ
มีภูมคิ ุม้ กัน – ความเสย่ี งเป็นส่ิงที่คกู่ ับการทาธุรกิจเสมอ แต่หากเรารู้จักบริหารความเสี่ยงได้ เรา
กจ็ ะสามารถเข้าใจแนวทางที่เราเดินได้ดี
นอกจากน้นั ยังต้องมกี ารพัฒนาในด้านความรู้และคานึงถึงคุณธรรมในการทาธุรกิจควบคู่ไปด้วย
เสมอ

66

ทา้ ยท่สี ุด ในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ยุค 4.0 เศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นพ้ืนฐานสาคัญท่ีเราทุก
คนควรที่จะทาความเข้าใจให้ดีเสียก่อนเพื่อความก้าวหน้าได้อย่างย่ังยืน ตามท่ีพระบาทสมเด็จพระ
เจา้ อยู่หวั ฯ รัชกาลที่ 9 ไดเ้ คยพระราชทานพระราชดารัสความตอนหน่ึงว่า

“…อาคารบ้านเรือน ต้ังอยู่ได้อย่างมั่นคง ก็เพราะความแข็งแรงของรากฐาน หรือเสาเข็ม ซ่ึงเรา
มองไม่เห็น และมกั จะลืมไปว่าเราอยไู่ ดบ้ นฐานรากอะไร…”

วันน้ี เราจะพฒั นา ’บา้ นของเรา’ ไปในทศิ ทางไหน สาคัญคือรากฐานเราต้องแข็งแรงมากพอ เรา
ตอ้ งรู้ว่าอะไรคือพื้นฐานสาคัญ เม่ือนั้น เราก็จะก้าวเข้าสู่ประเทศไทย 4.0 ด้วยแนวคิดและนวัตกรรมที่จะ
สร้างความเปน็ อยู่ที่ดขี น้ึ ของคนในประเทศได้อยา่ งมนั่ คง ม่ังค่ัง และย่ังยืน โดยไม่ลืมรากฐานสาคัญในการ
“รู้จกั เติม รจู้ ักพอ และรู้จกั ปัน”

ตอนท่ี 1 : โมเดลขับเคลอื่ นประเทศไทยส่คู วามม่ังคั่ง มั่นคง และยั่งยืน ในประวัติศาสตร์ประเทศ
ไทยมกี ารปฏิรปู ขนานใหญ่อย่างเป็นระบบเพียงคร้ังเดียวในสมัยล้นเกล้า รัชกาลที่ 5 ราชอาณาจักรสยาม
หรือประเทศไทยในสมัยรัชกาลที่ 4 สืบเน่ืองถึงรัชกาลท่ี 5 เป็นช่วงเวลาท่ี ประเทศอยู่ในภาวะวิกฤต
ท่ามกลางกระแสภัยคุกคามจากภายนอก อันได้แก่ การล่าอาณานิคมของประเทศ ตะวันตก ด้วยเหตุนี้
พระมหากษัตริย์ไทยทั้งสองรัชกาลจึงต้องทรงดาเนินการปฏิรูปปรับเปล่ียนประเทศให้เกิด ความทันสมัย
และทัดเทียมนานาอารยประเทศ เพ่ือปูองกันมิให้ประเทศไทยต้องถูกยึดครองเป็นดินแดนอาณา นิคม
การดาเนนิ นโยบายดงั กลา่ วไดเ้ รมิ่ ต้นข้ึนในแผ่นดินรัชกาลที่ 4 และได้รับการสานต่ออย่างเป็นรูปธรรม ใน
สมัยรัชกาลที่ 5 ผ่านการปฏิรูประบบการปกครองและระบบราชการของไทยครั้งสาคัญ โดยเปล่ียนจาก
เดมิ ทเ่ี คยปกครองในรปู แบบอาณาจักรโบราณและนครรฐั ซ่งึ ปราศจากศูนย์อานาจท่ีชัดเจนและขาดความ
เป็น เอกภาพ อันไม่ส่งเสริมต่อความมั่นคงของชาติให้เป็นการปกครองรูปแบบใหม่ท่ีมีลักษณะเป็น “รัฐ
ชาติ” โดย การรวมศูนย์อานาจเข้าสู่ส่วนกลางหรือเมืองหลวง เพ่ือให้การบริหารราชการแผ่นดินสามารถ
ดาเนินการได้ อย่างมีประสิทธิภาพและมีเสถียรภาพ เกิดความชัดเจน ส่งเสริมให้เกิดความเป็นปึกแผ่น
และความมั่นคงของ ประเทศได้เป็นอย่างดี ณ ขณะนี้ประเทศไทยอยู่ในระยะ “เปล่ียนผ่าน” วิกฤตทาง
เศรษฐกิจและการเมืองหลายต่อหลาย ครั้ง ควบคู่กับการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างของโลกในศตวรรษท่ี
21 หากประเทศไทยไม่มีการกาหนด วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ตลอดจนไม่ดาเนินการ
เพื่อขับเคล่ือนประเทศผ่านการปฏิรูปและ การปรับเปล่ียนอย่างจริงจัง ประเทศไทยอาจจะประสบกับ
สภาวะเสอื่ มถอยจากประเทศในโลกที ่สองใน ปัจจบุ ันเปน็ ประเทศในโลกท่สี ามในอนาคตก็เป็นได้ แต่หาก
ดาเนินการปฏริ ปู สาเรจ็ จะทาให้ประเทศไทย สามารถกา้ วไปสู่ “ประเทศในโลกท่ีหน่ึง” อันเป็นด่ังพระราช

67

ดารัสของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่พระราชทานไว้ว่า “เราจาต้อง ก้าวไปข้างหน้าเสมอ
เราต้องไม่ถอยหลังเป็นอันขาด แม้ว่าหยุดอยู่กับท่ีก็ไม่ได้ เพราะการหยุดก็เสมอด้วย การถอยหลัง” เมื่อ
โลกไม่ใช่ใบเดิม โลกมีพลวัตอยู่ตลอดเวลา พอจะจาแนกได้เป็น 4 ยุคด้วยกัน ยุคที่ 1 เกิดการปฎิวัติใน
ภาคเกษตร หรือท่ีเรียกกันว่า Green Evolution ยุคที่ 2 เกิดการปรับเปลี่ยนสู่สังคมอุตสาหกรรม ผ่าน
Industrial Revolution คร้งั ที่ 1 และ 2 ยคุ ท่ี 3 เกิด Digital Revolution เป็นระลอกๆ ยุคท่ี 4 คือ The
Fourth Industrial Revolution หรือยุคปัจจุบัน เกิดการรวมตัวและแตกตัวของ เทคโนโลยีและ

นวัตกรรมใน 3 Domains หลัก ดังน้ี  Bio Domain เชน่ Bioprint, Genetic Transformation
 Physical Domain เช่น Autonomous Vehicle (รถท่ีขับเองได้) วัสดุศาสตร์ นาโน

เทคโนโลยี และ 3D/4D Printing  Digital Domain เช่น Internet of Thing (IoT), Digital
Manufacturing จากน้ีไป นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆจะเกิดจากการรวมตัวและแตกตัวของ 3
Domains นี้ โลกในระยะเปล่ียนผ่าน การเคล่ือนจากโลกในศตวรรษที่ 20 มาสู่โลกในศตวรรษที่ 21 เป็น
การเปล่ยี นแปลงเชงิ โครงสร้าง ก่อใหเ้ กดิ ชดุ ของโอกาส ภัยคุกคาม เงื่อนไขและข้อจากัดชุดใหม่ จึงจาเป็น
อย่างย่ิงที่จะต้องมีการพัฒนาชุดของ ขีดความสามารถชุดใหม่ท่ีแตกต่างไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง ใน The
Fourth Industrial Revolution น้ัน Artificial Intelligence (AI) จะมาแทน Knowledge Worker ถ้า
เราตามมันทัน เราจะทางานร่วมกับมันได้ แต่ถ้าเราไม่ทันมัน AI จะทางานแทนเรา เรากาลังอยู่ใน “The
Age of Disruption” ดังนั้น ท่ีมีผู้กล่าวว่า "When Pattern are Broken, New Worlds Emerge" ดู
เหมือนกาลังจะเกิดข้ึน ตอนน้ี โลกเหมือนอยู่ในระยะเปล่ียนผ่าน (Metamorphosis) เปรียบเปรย
เหมอื นกับเป็นตวั หนอน อยดู่ ๆี ก็กลายเปน็ ดกั แด้ ผู้คนอาจจะรู้สึกอึดอัด รู้สึกหวาดกลัวกับการเปลี่ยนผ่าน
ไปสู่ โลกใหม่ (เพราะไมค่ ุ้นเคยมาก่อน) แตจ่ ะรู้สึกดีข้ึน ความเปน็ ปกติสุขเกิดขึ้นอีกครั้งหน่ึง ตอนที่เปลี่ยน

ผ่านจาก ดักแด้กลายเป็นผีเสื้อ มี 5 กระแสท่ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตของผู้คน คือ 
Globalization ท่ีเป็นแรงขับเคล่ือนให้เกิดการเคล่ือนไหลของทุน สินค้าและบริการ ผู้คน อย่างเสรี จน
กลายเป็นโลกที่เชื่อมต่อกันอย่างสนิท (Connected World) เกิดการขยับ ปรับเปล่ียนจาก One

Country, One Destiny เป็น One World, One Destiny  Digitization การติดต่อสื่อสารมีการ
เปล่ียนรูปแบบจากการส่ือสารกับ Someone, Somewhere และ Sometime เป็น Anyone,
Anywhere และ Anytime เราก าลัง ด ารงชีวิตอยู่ใน 2 อารยธรรมไปพร้อมๆ กัน คืออารยธรรมในโลก
จรงิ และอารยธรรมในโลก เสมือน ในโลกของดิจิตอล ก่อให้เกิด Network Externalities ดังนั้น รูปแบบ
การเติบโตจะ ไม่เป็นไปตามหลักเศรษฐศาสตร์เดิมว่าด้วย Diminishing Return to Scale อีกต่อไป แต่

รูปแบบการเติบโตจะเปลี่ยนไปเป็นแบบ Exponential Return to Scale มากขึ้น  Urbanization

68

สัดส่วนของผู้คนในเมืองจะมีมากขึ้น โดยในปี 1995 โลกมีคนในเมืองเพียง ร้อยละ 30 และเพ่ิมขึ้นเป็น
ร้อยละ 54 ในปี 2014 และคาดว่าจะเพ่ิมข้ึนเป็นร้อยละ 66 ใน ปี 2050 ดังน้ัน วิถีชีวิต พฤติกรรม และ
ปฏิสัมพันธ์ของผู้คนจะเปล่ียนแปลงไปจากสังคม ชนบทเป็นสังคมเมือง จะเกิดประเด็นท้าทายชุดใหม่
ครอบคลุมทั้งในมิติพลังงาน การ คมนาคม การศึกษา สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย
อาชญากรรม ยาเสพติด ฯลฯ ซ่ึงหากเตรียมการไว้ได้ไม่ดีพอ เมืองเหล่าน้ีจะกลายเป็น Mega-Slums แต่
หากเตรียมการได้ ดีพอ เมืองเหลา่ นีจ้ ะถกู ปรับเปลี่ยนไปเป็น Smart Cities

 Individualization ผู้คนในศตวรรษที่ 21 จะมีความเป็นปัจเจกมากข้ึน มีความคิดความ อ่าน
เป็นของตัวเองมากข้ึน ต้องการแสดงออกมากข้ึน ความเป็นปัจเจกจะเกิดข้ึนได้ 2 รูปแบบ คือ
Collective Individuals และ Contra-Individuals รูปแบบแรกเป็นรูปแบบ ที่สร้างสรรค์ ท่ีผู้คนอยาก
อยู่ร่วมกันเพ่ือสร้างสรรค์สังคม เกิดเป็นสังคมที่เข้มแข็ง แต่ใน รูปแบบที่สอง เป็นรูปแบบที่ผู้คนต่างคน

ต่างอยู่ มองแต่ประโยชน์ส่วนตน เกิดสังคมท่ี เปราะบาง โอกาสท่ีจะเกิดความขัดแย้งจะมีอยู่สูง 
Commonization ในโลกที่ยิ่งเช่ือมต่อกันมากข้ึนเท่าไหร่ ผู้คนก็ย่ิงต้องพึ่งพิงอิงอาศัยกัน มากย่ิงข้ึน
เท่านั้น ความเส่ียงและภัยคุกคามมิได้ส่งผลกระทบต่อประเทศใดประเทศหนึ่งเป็น การเฉพาะ หากแต่
ส่งผลกระทบต่อโลกโดยรวม เป็นปัญหาท่ีทุกประเทศต้องเผชิญที่เรียกกัน ว่า “Global Commons”
อาทิ วกิ ฤตการณท์ างเศรษฐกิจ โรคระบาด การก่อการร้าย ภาวะโลกร้อน เป็นต้น น่ันหมายความว่า จาก
นไ้ี ป เวลาสขุ ประชาคมโลกจะสขุ ดว้ ยกัน และ เวลาทุกข์ประชาคมโลกก็จะทุกข์ด้วยกันด้วย ทั้ง 5 กระแส
ดงั กล่าวข้างตน้ กอ่ ให้เกิดการเปล่ียนแปลงใน 4 มิติ 1) การเปล่ียนแปลงในวัฒนธรรมของการดารงอยู่ 2)
การเปล่ียนแปลงในวัฒนธรรมของการดาเนินธุรกิจ 3) การเปลี่ยนแปลงในวัฒนธรรมของการทางาน 4)
การเปล่ียนแปลงในวัฒนธรรมของการเรียนรู้ วัฒนธรรมของการดารงอยู่ชุดใหม่ การดารงชีวิตให้อยู่รอด
ในศตวรรษท่ี 21 จะเกิดจาก Power of Shared Knowledge ไม่ใช่ Power of Knowledge ดังเช่นใน
ศตวรรษท่ีผ่านมา โดยในยุคศตวรรษท่ี 21 การได้มาซ่ึงความรู้ (Producing Knowledge) นั้นไม่เพียงพอ
สิ่งที่สาคัญควบคู่กันไปก็คือ การสร้าง ความหมายและนัยในองค์ความรู้น้ัน (Producing Meaning) ใน
โลกศตวรรษท่ี 20 เรามองเห็น “ข้อเสียในสิ่งที่ดี” (Negative Side of the Good) โลกใน ศตวรรษที่ 21
เราต้องค้นหา “ข้อดีในสิ่งที่ไม่ดี” (Positive Side of the Bad) ตัวอย่างเช่น การปรับตัวให้ เข้ากับ
Climate Change นามาสู่การปรับเปลี่ยนสู่สังคมคาร์บอนต่า และการพัฒนา Green Growth
Industries เป็นต้น วัฒนธรรมของการดาเนนิ ธรุ กิจชดุ ใหม่ ในอดีตการทาธุรกิจ ยึดหลักการ Economies
of Scale กล่าวคือ ยิง่ ผลิตมากเทา่ ไหร่ ต้นทนุ ถูกลงเท่าน้ัน ซ้อื มากเท่าไหร่ได้ราคาถูกมากเท่าน้ัน ณ วันน้ี
โลกได้ เปลี่ยนไปแล้ว โลกของดิจิตอลเอื้อบริษัทเล็กๆ อย่าง SMEs และ Startups มีโอกาสมากขึ้น จาก

69

ปจั จยั ตา่ งๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี  Open Innovation Economy เกดิ กระแสของนวัตกรรมแบบเปิด ผ่านหลักคิด
ว่าด้วย NEA: N : Nobody owns ไม่มีใครเป็นเจ้าของที่แท้จริง E : Everybody can use it ทุกคน
สามารถเข้าถงึ และนาไปใชไ้ ด้

A : Anybody can improve it ใครๆ ก็สามารถเข้าไปแก้ไขปรับปรุงให้ดีข้ึนได้  เกิดธุรกิจ

ภายใต้แนวคิด Sharing Economy อาทิ UBER, Airbnb, Co-Working Space เป็นต้น  เกิดธุรกิจ
ภายใต้ Do It Yourselves Economy (DIY) จากนี้ไป Maker และ Buyer เริ่มแยก ออกจากกันไม่ได้
เด็ดขาดเหมือนในอดีต จึงเกิดคาว่า Prosumer กล่าวคือ ผู้บริโภคสามารถเป็น ท้ัง Producer และ
Consumer ด้วยในเวลาเดียวกัน ดังน้ัน การทาธุรกิจในศตวรรษที่ 21 เร่ิมจากการคิดค้นนวัตกรรมเพ่ือ
สร้างมูลค่า ผ่านนวัตกรรมใน ผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมในกระบวนการผลิต และ นวัตกรรมเชิงธุรกิจ เป็น
สาคัญ กระบวนทัศน์ในการทาธุรกิจ มี การปรับเปลี่ยนจาก “Make & Sell” Paradigm ในยุค
Industrial Revolution เป็น “Sense & Respond” Paradigm ในยุค Digital Revolution และเปลี่ยน
จาก “Sense & Respond” Paradigm ในยุค Digital Revolution เป็น “Care & Share” Paradigm
ในยุค The Forth Industrial Revolution ดังเช่นในปัจจุบัน วัฒนธรรมของการท างานชุดใหม่ การใช้
ชีวิตสมัยก่อน มนุษย์เรามี 4 กิจกรรมหลักคือ ทางาน พักผ่อน จับจ่ายซื้อของ และ ท่องเที่ยว เราจะใช้
เวลาแตล่ ะช่วงเป็นเรื่องๆ ไป แต่ปัจจุบันนี้ ดิจิตอลเทคโนโลยี ทาให้เราสามารถทากิจกรรมหลายๆ อย่าง
ได้ในเวลาเดียวกัน (Multiplexing) การเชื่อมโยงต่อกันเป็นเครือข่ายจะมีมากข้ึน ดังน้ัน จะทางานกันบน
แพลทฟอรม์ ในระบบเปดิ มากขน้ึ ในลักษณะงานท่ีต้องมกี ารประสานและร่วมมือกันมากขึ้น และมีลักษณะ
ของการแชร์หรือแลกเปลี่ยนแบ่งปัน กันมากข้ึน งานในลักษณะ Routine Job จะค่อยๆ ลดน้อยถอยลง
และจะค่อยๆถูกแทนที่ด้วยหุ่นยนต์และ Automation ในทิศทางของกระแส Industry 4.0 งานใน
ลักษณะ Non-Routine Job จะทวีความสาคญั มากข้ึน วัฒนธรรมของการเรียนรู้ชุดใหม่ โลกในศตวรรษ
ที่ 21 มีการเปล่ียนแปลงใน 3 กระแสหลักคือ 1) เกิด Demonopolization of Knowledge ไม่มีการ
ผูกขาดความรู้ 2) เกิด Democratization of Information ไม่มีการผูกขาดข้อมูล และ 3) เกิด
Disruption of Technology & Innovation เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกิดข้ึนใหม่ๆ จากการรวมตัวและ
แตกตัวของเทคโนโลยีและนวัตกรรมเดิมตลอดเวลา เพื่อให้สามารถปรับตัวเข้ากับกระแสดังกล่าว
วัฒนธรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องประกอบไป ด้วย 3 องค์ประกอบสาคัญคือ Learn, Unlearn
และ Relearn “Unlearn” คือการไม่ยึดติดกับสิ่งที่เรียนรู้มา ต้องปรับตัวให้ทันตลอดเวลา ส่วน
“Relearn” น้ันคือ ส่ิงที่เรารู้มามันเปล่ียนไปในบริบทใหม่ๆ ดังนั้น ต้องเรียนรู้สถานการณ์หรือเหตุการณ์
จากมุมมองใหม่ท่ีแตกต่าง ไปจากเดิม สาหรับ "Learn" นั้น โจทย์ท่ีสาคัญในศตวรรษที่ 21 คือ จะเรียนรู้

70

อย่างไรให้มีความสามารถในการ รังสรรค์นวัตกรรม หลายประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศท่ีพัฒนา
แล้ว เร่ิมมกี ารปรบั เปล่ยี นโมเดลเศรษฐกิจใหส้ อดรบั กบั พลวตั ของโลกในศตวรรษท่ี 21 ยกตัวอย่างเช่น

 A Nation of Maker ของสหรัฐอเมริกา  Design in Innovation ของสหราชอาณาจักร 

Made in China 2025 ของสาธารณรัฐประชาชนจีน  Make in India ของอินเดีย  Smart Nation

ของสิงคโปร์  Creative Economy ของเกาหลีใต้ ถึงเวลาของการปรับเปล่ียนโมเดลประเทศไทย ให้
สอดรับกับภูมิทัศน์ใหม่ของโลกในศตวรรษท่ี 21 สามกับดักที่ประเทศไทยกาลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ใน
อดีตจะพบว่าประเทศไทยมีพัฒนาการทางเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง โดยเริ่มต้นจาก Thailand 1.0 ที่เน้น
เกษตรกรรมแบบด้ังเดิม มาสู่ Thailand 2.0 ที่เน้นอุตสาหกรรมเบา และพัฒนาสู่ Thailand 3.0 ที่ เน้น
อุตสาหกรรมท่ีมีความซับซ้อนมากข้ึน จวบจนปัจจุบัน Thailand 3.0 เกิดข้ึนในช่วงเวลาที่กระแสโลกาภิ
วัตน์เปิดกว้าง มีการหล่ังไหลของทุนและเทคโนโลยี จากต่างประเทศเข้ามาลงทุนในประเทศ ทาให้
อุตสาหกรรมไทยมีความซับซ้อนมากข้ึน มีการปรับเปลี่ยน โครงสร้างการผลิต จากการผลิตเพ่ือทดแทน
การนาเข้า มาเป็นการส่งเสริมการผลิตเพ่ือส่งออก ค่านิยมชุดใหม่ ไม่ว่าจะเป็นวัตถุนิยม ปัจเจกนิยม สุข
นยิ ม และสากลนิยม ได้เข้ามาแทนท่ีค่านิยมดั้งเดิมท่ีเน้นการเอื้อเฟ้ือ แบ่งปัน ความเป็นอยู่อย่างพอเพียง
การมีครอบครัวท่ีอบอุ่น และท้องถิ่นนิยม อย่างน่าใจหาย ในช่วงต้นของการขับเคล่ือน Thailand 3.0
อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยอยู่ท่ีร้อยละ 7-8 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่มีการคาดหวังว่า
ประเทศไทยจะก้าวสู่ความเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ เฉก เช่นเดียวกับประเทศเกาหลีใต้ ไต้หวัน
ฮ่องกง และสงิ คโปร์ ซ่งึ ดเู หมอื นวา่ ทุกอยา่ งจะดาเนนิ ไปได้ด้วยดี แต่ใน ความเป็นจริง Thailand 3.0 เป็น
โมเดลการพฒั นาทคี่ ่อนขา้ ง “เปราะบาง” เปน็ การเร่งการเจริญเติบโต เพ่ือ ไล่กวดให้ทันประเทศท่ีพัฒนา
แล้ว จึงใช้วิธีการแบบ “มักง่าย” ด้วยการพัฒนาบน “การปักชา” จึงมีการ เจริญเติบโตแบบรากแขนง
เทคโนโลยีและทนุ ของต่างชาติท่นี าเข้ามาไม่มกี ระบวนการถา่ ยทอดเทคโนโลยี อย่างจริงจัง ขาดการสะสม
ทุน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาทุนมนุษย์ ประเทศไทยจึงถูกมองเป็น “ประเทศที่ ดูเหมือนทันสมัย แต่
ไม่พัฒนา” การท่ีไม่มีฐานรากท่ีแข็งแรงของตนเอง ไม่มีภูมิคุ้มกันท่ีเพียงพอ พ่ึงพิงกับโอกาสของการค้า
และการ ลงทุนจากภายนอก แต่ละเลยการสร้างความเข้มแข็งจากภายใน ในท่ีสุดประเทศไทยจึงต้อง
เผชิญกับวิกฤตต้ม ยากุ้ง ในปี พ.ศ. 2540 ซึ่งหลังจากการเกิดวิกฤตแล้ว อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ
ของประเทศไทยได้ตกลง มาอยู่ที่ระดับร้อยละ 3-4 มาเกือบ 20 ปีจวบจนปัจจุบัน น่ีคือภาวะของการติด
อยใู่ น “กบั ดกั ประเทศรายได้ ปานกลาง” (Middle Income Trap)

การติดอยู่ในกับดักประเทศรายได้ขนาดปานกลาง สะท้อนให้เห็นว่าประเทศไทยกาลังติดอยู่ใน
“Competitive Nutcracker” กล่าวคือ เราไม่สามารถท่ีจะขยับข้ึนไปแข่งขันกับประเทศคู่แข่งขันที่

71

ขับเคลื่อนด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ อาทิ อิตาลี ญี่ปุน หรือ
เกาหลีใต้ ใน ขณะเดียวกัน เราก็ไม่สามารถขยับลงมาแข่งกับประเทศคู่แข่งขันที่ขับเคล่ือนด้วยการผลิต
สินคา้ ต้นทนุ ต่า ดว้ ย แรงงานจานวนมหาศาลและราคาถกู อยา่ งจีนหรือเวียดนามได้ เราตดิ อยู่ตรงกลาง ท่ี
เรียกว่า “Stuck in the Middle” ในโลกของการแข่งขัน เพื่อสร้างความมั่งคั่งให้กับประเทศนั้น จาเป็น
จะต้องยกเคร่ืองกลไกขับเคล่ือน เศรษฐกิจเสียใหม่ เน้นการใช้องค์ความรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
นวัตกรรมและความคิดสรา้ งสรรค์ แทนการ เน้นทรัพยากรพื้นฐาน ที่นับวันจะหมดลงเร่ือยๆ เป็นการเติม
เต็ม”ความไดเ้ ปรยี บในเชิงเปรียบเทียบ” ที่มีอยู่ ด้วย “ความได้เปรียบในการแข่งขัน” เพ่ือ “สร้างมูลค่า”
แทนทจี่ ะเป็นแค่ “เพ่ิมมูลคา่ ” ผลลัพธท์ ่ไี ดจ้ ากการ ขับเคล่ือนกลไกเศรษฐกิจชุดใหม่ จึงเป็นไปในลักษณะ
“ทาน้อยไดม้ าก” ไม่ใช่ในลักษณะ “ทามากได้น้อย” แบบเดิมอีกต่อไป นอกเหนือจากการติดอยู่ในกับดัก
ประเทศรายได้ปานกลาง ภายใต้ Thailand 3.0 ประเทศไทยต้อง เผชิญกับ “กับดักความเหลื่อมล้า”
(Inequality Trap) กล่าวคือ ช่องว่างของรายได้และโอกาสของคนจน และคนรวยถ่างออกมากขึ้น ในปี
พ.ศ. 2552 ประเทศไทยมคี วามเหลอื่ มล้าทางรายไดส้ ูงเปน็ อนั ดบั 2 ของ ทวปี เอเชยี หากพิจารณาสัดส่วน
รายได้ของประชากรและการถือครองทรัพย์สิน ระหว่างปีพ.ศ. 2531-2550 สัดส่วนรายได้ของประชากร
ร้อยละ 20 ทรี่ วยที่สุด มีรายได้รวมกันประมาณร้อยละ 55 ของรายได้รวมท้ัง ประเทศ ในขณะที่กลุ่มที่จน
ที่สุดร้อยละ 20 มีรายได้รวมเพียงร้อยละ 4 ของรายได้รวมท้ังประเทศเท่าน้ัน โดยสัดส่วนรายได้ดังกล่าว
ไมม่ ีการเปล่ียนแปลงอย่างมีนัยสาคัญในระยะเวลากว่า 20 ปีที่ผ่านมา และ ข้อมูล การถือครองทรัพย์สิน
ครัวเรือน แสดงว่า ในปีพ.ศ. 2549 กลุ่มประชากรท่ีรวยท่ีสุดร้อยละ 20 ของประเทศ มี ทรัพย์สิน
ประมาณ 70 เท่าของกลุ่มที่จนท่ีสุดร้อยละ 20 ของประเทศ นอกเหนือจากกับดักประเทศรายได้ปาน
กลางและกับดักความเหล่ือมล้า อีกหนึ่งกับดักที่ประเทศไทย เผชิญคือ “กับดักความไม่สมดุล”
(Imbalance Trap) โดยในหลายทศวรรษท่ีผ่านมา ประเทศไทยเน้น ความม่ังค่ังทางเศรษฐกิจ แต่ละเลย
การรักษส์ ิง่ แวดลอ้ ม การสรา้ งสังคมท่อี ยู่ดมี สี ุข และการยกระดับศักยภาพ และภูมิปัญญามนุษย์ จนส่งผล
กระทบเชิงลบในมิติต่างๆ มากมาย ทั้ง 3 กับดักใน Thailand 3.0 จึงเป็นสาเหตุหลักท่ีทาให้ประเทศไทย
ไม่สามารถสร้างความม่ังค่ัง มี ความมั่งคงในแนวทางท่ียั่งยืนได้มากกว่าน้ี น่ีคือเหตุผลสาคัญของการ
ปรับเปล่ียนโมเดลทางเศรษฐกิจ จาก Thailand 3.0 ไปสู่ Thailand 4.0 โมเดล Thailand 4.0
Thailand 4.0 เปน็ โมเดลเศรษฐกจิ ที่จะนาพาประเทศไทยให้หลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปาน กลาง
กับดักความเหลื่อมล้า และกับดักความไม่สมดุล พร้อมๆ กับเปลี่ยนผ่านประเทศไทยไปสู่ ประเทศในโลก
ท่ีหนง่ึ ทมี่ ีความมั่นคง ม่งั คัง่ และยั่งยืน ในบริบทของโลกยุค The Fourth Industrial Revolution อย่าง
เป็นรูปธรรม ตามแนวทางที่แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีได้วางไว้ ด้วยการสร้างความเข้มแข็งจากภายใน
ควบคู่ ไปกบั การเชื่อมโยงกับประชาคมโลก ตามแนวคิด “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” โดยขับเคลื่อนผ่าน

72

กลไก “ประชารฐั ” ส่งิ ทค่ี นไทยคาดว่าจะได้รบั จาก Thailand 4.0 (ดังรูปที่ 1.1) คือ 1. อยู่ใน “สังคมไทย
4.0” ท่ีเป็นสังคมท่ีมีความหวัง (Hope) เป็นสังคมที่เปี่ยมสุข (Happiness) และเป็นสังคมท่ีมีความ
สมานฉันท์ (Harmony) เป็นสังคมท่ีมีความพอเพียง โดยมีคนชนชั้นกลาง เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ
เกิดความเท่าเทียมในสังคม ความเหล่ือมล้าอยู่ในระดับต่า มี ส่ิงแวดล้อมและสุขภาพท่ีดี 2. เป็น คนไทย
4.0 ทไี่ ด้รบั โอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพดีและได้รับสวัสดิการทางสังคมท่ี เหมาะสมตลอดทุกช่วงชีวิต
เป็นคนทันโลก ทันเทคโนโลยีสามารถอยู่บนเวทีโลกได้อย่าง ภาคภูมิใจ และสามารถมีส่วนร่วมกับ
นานาชาติเพ่ือทาให้โลกดีขึ้น น่าอยู่ข้ึน 3. เป็นเกษตรกร 4.0 ท่ีหลุดพ้นจากกับดักความยากจน โดยผัน
ตัวเองจากเกษตรกรผู้ผลติ มาเปน็ ผ้ปู ระกอบการทางการเกษตรสมัยใหม่ (Smart Farmers) มีการบริหาร
จัดการทด่ี ี มตี ้นทุนการ ผลิตตา่ สามารถเพ่ิมมูลค่าสินค้าทางการเกษตรจากการแปรรูป 4. เป็น SME 4.0
ท่สี ามารถสรา้ งหรือใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ ในการสร้างมูลค่า ในสินค้าและบริการ มี
ความสามารถทางการค้าขาย สามารถเข้าถึงตลาดในประเทศ ตลาด อาเซียน และตลาดโลก ทาให้มี
รายไดส้ ูงขนึ้ มีชีวิตความเปน็ อยดู่ ขี ึน้ และมอี นาคตท่ีสดใส 5. เกดิ จังหวัด 4.0 ที่มีการกระจายความเจริญ
ทั่วประเทศ เศรษฐกิจขยายตัว สามารถทางานในถิ่น ฐานบ้านเกิดได้โดยไม่จาเป็นต้องเข้ามาทางานใน
กรุงเทพฯหรือเมืองใหญ่ เน่ืองจากมลี ู่ทาง โอกาส และงานทดี่ ีกระจายอยู่ในทกุ จังหวัดท่ัวประเทศ


Click to View FlipBook Version