The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุมิตรา สำเภาพล, 2019-06-04 03:44:34

ข้อมูลสารสนเทศและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตทางการเกษตร

วิชาหลักการเกษตร

หน่วยที่ 2 ขอ้ มูลสารสนเทศและปัจจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การผลิตทางการเกษตร

นางสาวสุมติ รา สาเภาพล

7

8

บทที่ 2
ขอ้ มลู สารสนเทศและปจั จัยทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การผลิตทางการเกษตร

วัตถุประสงค์ของการเรยี น

ด้านความรู้ 1. นักศึกษามีความรเู้ ก่ียวกบั ข้อมลู สารสนเทศ

2. นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผลผลติ ทางการเกษตร

ด้านทักษะ 1. นักศึกษาค้นคว้าความรู้โดยใช้สื่อและเครื่องคอมพวิ เตอร์ได้

ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม

1. สามารถทางานรว่ มกันเป็นหมู่คณะได้

2. มคี วามรบั ผิดชอบ ตรงต่อเวลา

3. มคี วามคิดริเริ่มสร้างสรรค์ กล้าแสดงออก

4. มสี ัมมาคารวะและสุภาพเรียบร้อย

ภูมิศาสตรก์ ารเกษตร

ประเทศไทย มชี ื่อทางการว่า ราชอาณาจักรไทย ตั้งอยูบ่ นคาบสมทุ รอนิ โดจนี มเี นื้อท่ี 513,115 ตารางกิโลเมตร หรือ

198,457 ตารางไมล์

มพี ิกัดทางภูมิศาสตร์ ดงั นี้

- ทศิ เหนอื จดเสน้ รงุ้ 20 องศา 25 ลิปดา 30 ฟิลปิ ดาเหนอื ที่อาเภอแมส่ าย จงั หวัดเชียงราย

- ทศิ ใต้ จดเส้นรุ้ง 5 องศา 37 ลิปดา ท่ีอาเภอเบตง จงั หวดั ยะลา

- ทิศตะวนั ออก จดเสน้ แวง 105 องศา 37 ลิปดา 30 ฟิลิปดา ทอ่ี าเภอพบิ ูลมงั สาหาร จงั หวัดอุบลราชธานี

- ทิศตะวนั ตก จดเส้นแวง 97 องศา 22 ลปิ ดา ตะวันออก ท่ีอาเภอแมล่ าน้อย จังหวดั แม่ฮอ่ งสอน

ปี พ.ศ. 2543 ประเทศไทยมีประชากร 60,606,742 คน (สานกั งานสถติ ิแห่งชาติ, 2543) และปี พ.ศ. 2553 มีประชากร

เพิ่มข้ึนเป็น 67,354,820 คน (สานกั งานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร, 2553) การใชท้ ีด่ นิ ในของประเทศ

ไทย 320 ลา้ นไร่ พ้ืนทถี่ ือครองการเกษตรทวั่ ประเทศ 130 ลา้ นไร่พนื้ ท่ปี ลูกไม้ผล ประมาณ 10 ล้านไร่

พนื้ ท่ปี ลกู พืชอาหารและพืชพลงั งานทดแทน (ข้าว, ข้าวโพด, มันสาปะหลัง, ออ้ ย, ปาล์มน้ามนั , ยางพารา) ในประเทศไทย ปี 2546

– 2551 หนว่ ย : ลา้ นไร่

พชื 2546 - 2547 2547 – 2548 – 2549 2549 – 2550 -

9

2548 2550 2551
67.61 67.33
ขา้ ว 66.40 66.56 67.67
9.90 10.07 9.91
- ขา้ วนาปรงั 9.43 8.91 57.77 57.54 57.42
6.04 5.98
- ขา้ วนาปี 56.97 57.65 6.63 7.33 7.41
6.93 6.58 6.70
ขา้ วโพด 6.94 7.04 6.03 2.95 3.19
2.75 14.34 15.21
มันสาปะหลงั 6.75 6.52 13.60

ออ้ ย 7.01 6.67

ปาล์มนา้ มัน 2.06 2.41

ยางพารา 12.62 12.93

ที่มา : สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร 2551

ต้นทุนและผลตอบแทนการปลูกพืชอาหารและพลงั งานทดแทน ปี 2551

รายการ ปาลม์ น้ามัน ยางพารา ขา้ ว มันสาปะหลงั อ้อย ข้าวโพด
2,867
ต้นทนุ รวม/ไร่ 5,325 11,614 4,500 3,329 6,658 1,000
9
ผลผลิต (กก./ไร)่ 3,300 286 800 6,000 10,000
9,000
ราคาที่เกษตรกร 5 80 12 2.3 0.8
6,133
ขายได้ (บาท/กก.)

ผลตอบแทน 16,500 24,880* 9,600 13,800 8,000

(บาท/ไร่)

ผลตอบแทนสุทธิ 11,175 13,266 5,100 10,471 1,342

(บาท/ไร่)

ที่มา : สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร, มนี าคม 2551

โครงสร้างสนิ คา้ ส่งออกของประเทศไทย

หน่วย : พันล้านบาท

รายการ 2547 2548 2549 2550 2551
(ม.ค.-ก.ย.)

สินคา้ รวมท้ังสน้ิ 3,874 4,438 4,938 5,241 4,424

1. อุตสาหกรรม 2,994 3,470 3,809 4,094 3,289

2. เกษตรกรรม 415 418 500 522 525

เปอรเ์ ซน็ ต์ 10.7 9.4 10.1 9.9 11.87

3. อตุ สาหกรรมเกษตร 256 280 303 327 289

เกษตร + อุตสาหกรรมเกษตร % 17.3 15.7 16.3 16.2 18.4

10

4. แรแ่ ละเชอื้ เพลิง 148 207 263 258 321

5. อื่นๆ 61 63 63 40 0.011

ที่มา : สานกั ปลัด กระทรวงพาณิชย์ (2551)

ในปี พ.ศ. 2545 – 2552 เกษตรกรในประเทศไทย ร้อยละ 30 หันมาปลกู ยางพาราเพ่ิมมากขึน้

ในทุกภาคของประเทศไทย เน่ืองจากราคาและความต้องการยางพาราได้ปรับระดับมากขึ้น ทง้ั ในตลาดภายในประเทศและ

ตา่ งประเทศ

ยางพารา : เปรียบเทยี บเนื้อท่ยี นื ตน้ เน้ือที่กรดี ได้ ผลผลิต และผลผลติ ต่อไร่ ปี 2551 กับปี 2552

ภาค/จังหวัด เนอื้ ทย่ี นื ต้น (ไร)่ เนื้อที่กรดี ได้ (ไร่)

ปี 2551 ปี 2552 % + / - ปี 2551 ปี 2552 % + / -

รวมทง้ั ประเทศ 16,716,945 17,254,317 3.21 11,371,889 11,600,447 2.01

ภาคเหนือ 600,578 693,812 15.52 14,841 24,218 63.18

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 2,799,209 2,984,097 6.61 569,668 690,410 21.20

ภาคกลาง 1,977,460 2,063,418 4.35 1,273,204 1,295,560 1.76

ภาคใต้ 11,339,698 11,512,990 1.53 9,514,176 9,590,259 0.80

ท่มี า:

สงั คมวิทยาและการพัฒนาการเกษตร

สังคมวิทยา คือ วชิ าท่ศี ึกษาเกี่ยวกับชีวิตทางสังคมของมนุษย์ กลุ่มคน และสงั คม ส่ิงท่ีสาขาน้ีสนใจคือ กฎเกณฑแ์ ละ
กระบวนการทางสังคมทยี่ ดึ เหนี่ยวหรอื แบ่งแยกผู้คนทัง้ ในสภาวะทีเ่ ปน็ ปัจเจก และในฐานะของสมาชกิ ของสมาคม กลุ่มและสถาบนั

การแบ่งช่วงท่ีมนุษยก์ าเนดิ ข้ึนบนโลกยคุ เก่า
1. ยคุ หนิ (Stone Age)
- ยุคหินเก่า (Paleolithic Period or Old Stone Age) ประมาณ 500,000 ปี ลว่ งมาแลว้
- ยุคหินกลาง (Mesolithic Period or Middle Stone Age)ประมาณ 10,000 – 5,000 ปมี าแล้ว
- ยุคหนิ ใหม่
2. ยุคโลหะ (Metal Age) ยุคทองแดงปนหิน, ยคุ สารดิ , ยุคเหล็ก
3. ยุคสารดิ ประมาณ 5,000 ปี มาแลว้
4. ยคุ เหล็ก ประมาณ 3,200 ปี มาแลว้

การแบ่งชว่ งท่ีมนษุ ย์กาเนดิ ข้ึนบนโลกยุคใหม่
1. ยุคเริ่มลา่ สัตว์
2. ยคุ ใชเ้ ครือ่ งมอื ล่าสัตวแ์ ละเก็บของปา่
3. ยุคเกษตรกรรม
4. ยคุ อตุ สาหกรรม

11

5. ยคุ เทคโนโลยีการสอื่ สารไร้พรมแดน

การเพิ่มของประชากรและการขยายตัวทางเศรษฐกิจทาให้มนุษย์ใช้ทรัพยากรมากขึน้ เกิดปัญหา
1. ความเส่ือมทราม (Degeneration) ทางสงั คม
2. ภาวะมลพิษ (Pollution)
3. ปญั หาสังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม (Environment & Social Problem)

ทฤษฎีทีใ่ ช้ในการพฒั นาประเทศ
1. ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจตามลาดบั (The Stage of Economic Growth Theory)

โดย Rostow
- ระบบเศรษฐกิจแบบด้งั เดิม (Tradition Society)
- ขนั้ เตรียมการพัฒนา (Precondition for Take – off)
- ข้ันเขา้ ส่กู ระบวนการ (Take – off Stage)
- ขัน้ เขา้ สคู่ วามอุดมสมบูรณ์ (Drive to Maturity Stage)
- ข้ันอดุ มสมบูรณ์ (High Mass Consumption)

2. ทฤษฎฝี นหลน่ จากฟา้ (Trickle Down Effect Theory)
3. ทฤษฎีการกระจายรายได้และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Redistribution with Economic Growth Theory)
เนน้ การกระจายรายได้ไปสู่ชุมชนและชนบท

การเกษตรแบบใหม่ การสอื่ สาร
(ผลติ , แปรรูป, จาหนา่ ย) การปฏิรูปที่ดิน
การวางแผนพฒั นาทอ้ งถิน่
การคมนาคม

4. ทฤษฎีความทนั สมัย (Modernization Theory) เนน้ การเคลอื่ นไหว 3 รูปแบบ
1) ทางกายภาพ 2) ทางสงั คม 3) ทางชีวิต (คา่ นยิ ม, รสนิยม, ความรูส้ ึกนึกคิด)

5. ทฤษฎกี ารด้อยพฒั นาและการพง่ึ พา (Underdevelopment and Dependency Theory)
6. แนวความคิดของการพฒั นาอีกรปู แบบหนึ่ง (The Concept of Another Development)
7. ทฤษฎีความจาเปน็ พ้ืนฐาน (Basic Needs Theory)
สังคมและวฒั นธรรมไทย
1. เป็นสงั คมเกษตร (รอ้ ยละ 40 – 50 ประกอบอาชพี เกษตรกรรม)
2. ยดึ มั่นในสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์
3. เป็นระบบอปุ ถมั ภ์ (ศักดินา)
4. มโี ครงสรา้ งทางสังคมที่อ่อนแอ (ไมป่ ฏิบตั ิตามระเบยี บสงั คมและกฎหมาย)

12

5. งมงายเรือ่ งไสยศาสตร์

6. มพี ทุ ธศาสนาเป็นพ้นื ฐานวฒั นธรรมทางสงั คม มีประเพณีต่างๆ

7. มกี ารแบ่งชนชนั้ ทางสงั คม

สงั คมชนบท ใช้ความอาวโุ ส ตาแหน่งทางสังคม คุณความดี ความสามารถเฉพาะทาง

สังคมเมือง ใช้วฒุ ิการศึกษา อาชพี ฐานะ รสนิยม ตาแหนง่ หนา้ ที่การงาน

วฒั นธรรมในแตล่ ะภมู ิภาค

ภาคเหนือ ตานก๋วยสลาก,แหส่ ลงุ หลวง, ปอยสา่ งลอง, เลยี้ งดง (ผปี ู่แสะยา่ แสะ),

ฟอ้ นผมี ดผเี ม็ง

ภาคกลาง ทาขวัญขา้ ว, เพลงอีแซว, พธิ โี ยนบวั , อ้มุ พระดานา้ , หุน่ กระบอก

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ผีตาโขน, ฮตี สิบสองคลองสิบส่ี, บญุ บ้ังไฟและแหน่ างแมว,

บงั้ ไฟพญานาค, ประเพณีรับขวัญข้าวใหม่

ภาคตะวนั ออก ว่งิ ควาย

ภาคใต้ ประเพณีชักพระ, ประเพณีชงิ เปรต, ราโนราห์และรองเง็ง, เรือกอและ

ปจั จยั ท่เี กี่ยวข้องกบั การผลิตทางการเกษตร
ภาคเหนอื
ภาคเหนือตัง้ อย่บู นท่สี งู จากระดับน้าทะเล ประมาณ 250 – 400 เมตร มีแนวภเู ขาทส่ี าคัญ ดงั นี้
1. ทวิ เขาแดนลาว (ดอยตุง, ดอยสามเสา้ , ดอยชา้ ง, ดอยผา้ ห่มปก, ดอยเชียงดาว)
2. ทวิ เขาถนนธงชัย
3. ทิวเขาดอยอนิ ทนนท์ (ดอยอินทนนท์, ดอยสุเทพ, ดอยก่ิวลม, ดอยปางเกยี๊ ะ)
4. ทิวเขาขนุ ตาล (ดอยผปี ันนา้ หรือดอยนางแกว้ , ดอยผาจ้อ, ดอยสะเกด็ หรอื ดอยขนุ ออน)
5. ทวิ เขาผปี นั นา้ (ดอยหลวงแม่ขนุ , ดอยห้วยมง, ดอยปยุ , ดอยขนุ ยม, ดอยขุนยวม)
แมน่ ้าของภาคเหนือ ได้แก่
1. แม่นา้ สาละวิน (จังหวดั แม่ฮ่องสอนจังหวัดตาก จังหวัดเชยี งใหม)่
2. แม่นา้ ปิง (จงั หวัดเชยี งราย จงั หวดั เชียงใหม่)
3. แม่น้าวัง (จังหวดั ลาปาง)
4. แม่นา้ ยม (จังหวัดสุโขทยั จงั หวัดพิษณโุ ลก จงั หวัดพจิ ติ ร)
5. แมน่ ้านา่ น (จงั หวดั นา่ น จังหวัดพิษณุโลก จังหวดั พิจิตร)
ภาคกลาง
มีลกั ษณะเป็นท่รี าบลุ่ม มีพื้นทปี่ ระมาณ 177,900 ตารางกิโลเมตร มแี นวภูเขาทส่ี าคัญ คือ
1. ทวิ เขาดงพระยาเยน็ (ดงพระยาไฟ ดงพระยากลาง เขาพังเหย)
2. ทวิ เขาใหญ่ หรือเขาแมว่ ง (เขาเปอปรี)
3. ทวิ เขาจันทบุรี (เขาเขยี ว เขาชะเมา เขาพระบาท เขาสระบาป พนมกะบุงปายกะเร็ง พนมตาเด็ด)

13

4. ทวิ เขาบรรทดั (เขาดาบ)

แม่น้าของภาคกลาง

แม่น้าที่ไหลลงสูแ่ มน่ ้าเจา้ พระยา มีดังน้ี

1. แม่น้าเจ้าพระยา

2. แมน่ ้าสะแกกรงั

3. แม่น้าท่าจนี

4. แมน่ ้าปา่ สัก

แมน่ า้ ท่ีไหลลงฝง่ั ตะวันออกของอ่าวไทย มีดังนี้

1. แมน่ า้ บางปะกง (แม่นา้ พระปรง แม่นา้ ปราจนี คลองพระสทึง)

2. แม่นา้ จันทบุรี

3. แมน่ ้าตราด

แมน่ ้าท่ีไหลลงสู่ฝ่งั ตะวนั ตกของอ่าวไทย มดี ังน้ี

1. แมน่ ้าแม่กลอง

2. แม่น้าแควน้อย หรอื แม่นา้ ไทรโยค

3. แมน่ ้าเพชรบรุ ี

4. แมน่ ้าปราณ

ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

พน้ื ท่ีส่วนใหญ่เปน็ ทีร่ าบสงู มีแนวภเู ขา ดงั นี้

1. ทิวเขาภูพาน

2. ทิวเขาพนมดงรกั (ภแู ดนเมือง พนมแม่ไก่ พนมตาเหมอื น เขาพระอนิ ทร์ ภูสิงห์ ภวู วั )

แม่นา้ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มดี ังน้ี

1. แม่นา้ โขง

2. แม่นา้ ชี

3. แมน่ า้ มลู

4. ลาตะคอง

5. ลาชี (ลาน้าที่ไหลมาบรรจบ คือ น้าพอง นา้ ปาว และห้วยยาว)

6. นา้ พอง (ลานา้ ท่ีไหลมาบรรจบ คอื น้าพะเนียง น้าพาย นา้ เซนิ )

ส่วนหนองน้าทสี่ าคัญ คือ หนองหาร (จังหวัดสกลนคร) หนองพนั สัก (จงั หวัดมหาสารคาม) และหนองละหาร (จังหวัด

อุดรธาน)ี

ภาคใต้

มีพืน้ ทตี่ ิดกบั อา่ วไทยและทะเลอันดามนั ทวิ เขาท่ีอยู่ในภาคใต้ ได้แก่

1. ทวิ เขาตะนาวศรี 2. ทิวเขานครศรีธรรมราช (เขาพนมเบญจา เปน็ ยอดเขาสงู สดุ )

3. ทิวเขาสนั กาลาคีรี 4. ทวิ เขาสามร้อยยอด

14

แม่น้าและแหล่งนา้ ในภาคใต้ มีดังน้ี

1. แมน่ า้ ตรงั 2. แมน่ ้าหลงั สวน

3. แม่น้าตาปี 4. แมน่ า้ ปัตตานี

5. แม่น้าสายบุรี (สไุ หงตาลบุ ัน) 6. แม่น้าโกลก (สุไหงโกลก)

ทะเลสาบ ได้แก่ ทะเลสาบสงขลา (ทะเลหลวงและทะเลน้อย)

เขอ่ื นเกบ็ นา้ ในประเทศไทย

ภาคเหนอื

1. เขอ่ื นสิริกติ ต์ิ (เขื่อนผาซ่อม) จังหวดั อุตรดติ ถ์ 2. เข่ือนกวิ่ ลม จงั หวดั ลาปาง

3. เขื่อนแม่งดั (สมบรู ณช์ ล) จังหวดั เชยี งใหม่

ภาคใต้

1. เขอื่ นเชย่ี วหลาน (รัชชประภา) จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี 2. เข่ือนบางลาง จังหวดั ยะลา

ภาคตะวนั ตก

1. เขอ่ื นภูมิพล จงั หวดั ตาก 2. เขื่อนศรีนครินทร์ (เข่ือนเจ้าเณร) จงั หวดั กาญจนบุรี

2. เข่ือนแก่งกระจาน จงั หวดั เพชรบุรี

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

1. เขอื่ นอุบลรัตน์ (เข่ือนน้าพอง) จังหวัดขอนแก่น 2. เขอ่ื นสิรินธร (เขื่อนลาโดมนอ้ ย) จงั หวดั อบุ ลราชธานี

3. เข่อื นจุฬาภรณ์ (เขื่อนน้าพรม) จงั หวดั ชัยภูมิ 4. เขือ่ นลาตะคอง จงั หวดั นครราชสีมา

5. เข่ือนปากมูล จังหวัดอุบลราชธานี

ภาคกลาง

1. เข่ือนเจา้ พระยา จงั หวดั ชยั นาท 2. เขื่อนป่าสกั ชลสิทธิ์ (เข่ือนดิน) จงั หวดั ลพบุรี-สระบุรี

3. เขือ่ นขุนด่านปราการชล จังหวัดนครนายก

ววิ ฒั นาการการเกษตร

วิวัฒนาการการเกษตรในประเทศไทย

2,500 – 6,000 ปีมาแล้ว มีการทาการเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง จากหลักฐานการขุดพบเครอื่ งมอื ทา

การเกษตรบริเวณแม่น้าชี แม่น้ามลู ส่วนในภาคเหนอื พบเครือ่ งมือทาการเกษตรในจงั หวัดอุตรดติ ถ์ สว่ นการปลูกข้าวในประเทศไทย

พบหลกั ฐานวา่ มวี วิ ฒั นาการมาจากเมืองหนานซาง มณฑลเจยี งสี ประเทศจีน โดยมกี ารนาขา้ วมาปลกู และพัฒนามาเป็นขา้ วแกลบท่ี

โนนนกทา จังหวัดขอนแก่น ใน พ.ศ. 11 – 16 มกี ารปลูกข้าวเหนยี วทกุ ภาคของประเทศไทยและพฒั นามาเป็นขา่ วไร่ ขา้ วนาหวา่ น

และนาดา

พ.ศ. 1762 – 1981 การเกษตรในสมัยสโุ ขทัย อาณาจักรลา้ นนามีกฎหมายลงโทษคนขโมยต้นกลา้ ข้าว 1 ตน้ ปรับเปน็ เงิน

เทา่ กับหมู 22 ตวั มีระบบเหมืองฝายเกิดข้นึ โดยมีการขุดคลองตระพงั (สระ) 424 แห่ง ขุดคลองอนุศาสนันทเ์ ช่ือมแม่น้าเจ้าพระยา

และแม่นา้ ป่าสัก 130 กิโลเมตรในอาณาจักรสโุ ขทัย มีศิลาจารึกของพ่อขนุ รามคาแหงบันทึกว่ามกี ารส่งเสรมิ การเกษตรโดยให้

15

ประชาชนมีอิสระ ในการประกอบอาชพี ตามความถนดั โดยเฉพาะการเพาะปลูก โดยขุดเหมอื งฝายฝงั ท่อไขน้าจากลาธารบนภเู ขาสู่
ตวั เมืองสุโขทยั สนับสนนุ ให้มีการปลกู ปา่ ทาสวนโดยทวั่ ไป

พ.ศ. 2310 – 2397 สมัยกรุงธนบุรี มีการพัฒนาการปลูกพืชเศรษฐกจิ มากข้นึ มีการออกกฎหมายเกบ็ ภาษีอากร ทาการเกษตร
การผลติ ขา้ วเพ่ือการสง่ ออก ออกกฎหมายกาหนดราคาขา้ ว

พ.ศ. 2395 – 2493 หลงั สนธสิ ญั ญาเบาว์ริง่ (รชั กาลที่ 5) มกี ารนาเอาเทคโนโลยี เคร่ืองจักรเครอ่ื งมือด้านการเกษตร
สมยั ใหม่เข้ามาใช้ในประเทศไทย ยกเลกิ การควบคุมการส่งออกขา้ ว
พืชสาคัญท่ีปลูกในแตล่ ะภาคของประเทศไทย

ภาคเหนอื
อดตี มกี ารปลกู ข้าว ถั่วเหลือง ยาสูบ ไม้สัก พืชเมืองหนาว
ปัจจุบัน ข้าว ลาไย ล้นิ จี่ ผักเมืองหนาว ดอกไม้เมืองหนาว ยางพารา การเลย้ี งปลาเทราท์ โคนม

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
อดีต ข้าว หมอ่ นไหม ขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว์ ฝา้ ย
ปจั จบุ นั ไม้ผล ยางพารา
ภาคกลาง
อดีต ข้าว ไม้ผล พชื ผกั ตา่ งๆ
ปจั จบุ นั ขา้ ว ไมผ้ ล พืชผกั ตา่ งๆ
ภาคใต้
อดตี เงาะ ลางสาด ลองกอง ทเุ รียน
ปจั จบุ นั ยางพารา ไม้ผล
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 1 – 8 เน้นการพฒั นาการเกษตรโดยเนน้ โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure)
ส่วนแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 – 10 เนน้ ในเร่ืองการนาเอาปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกตป์ รบั ใช้กบั การ
พัฒนาในระดับครัวเรือน ชุมชน และระดับประเทศ


Click to View FlipBook Version