The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุมิตรา สำเภาพล, 2019-06-04 02:59:22

ความหมาย ความสำคัญและการพัฒนาการเกษตรของประเทศไทย

วิชาหลักการเกษตร

หนว่ ยที่ 1
ความหมาย ความสาคัญ และการพฒั นาการเกษตรของประเทศไทย

นางสาวสุมติ รา สาเภาพล

1

2

บทที่ 1
ความหมาย ความสาคัญ และการพฒั นาการเกษตรของประเทศไทย

วตั ถุประสงค์ของการเรียน
ด้านความรู้ 1. นักศกึ ษาแสดงความร้เู ร่ืองความหมายของการเกษตร
2. นักศึกษาแสดงความรูเ้ รื่อง บทบาท และความสาคัญของการเกษตร
3. นักศกึ ษาทราบสถานการณ์การเกษตรของประเทศไทยและตา่ งประเทศ
4. นกั ศกึ ษาทราบแนวทางการพฒั นาการเกษตรของไทย
ดา้ นทกั ษะ 1. นกั ศึกษาอธิบายสถานการณ์การเกษตรไทยและต่างประเทศได้
ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
1. สามารถทางานรว่ มกันเปน็ หมู่คณะได้
2. มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา มคี วามคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ กลา้ แสดงออก
3. มีสมั มาคารวะและสุภาพเรียบรอ้ ย

ความหมายของการเกษตร
การเกษตร (Agricultural) คือ การปฏิบัติกับที่ดินเพ่ือให้เกิดผลผลิตท้ังการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ การทาประมง และ

การเกษตรผสมผสานโดยอาศัยความรู้ ความชานาญ ประสบการณ์ ทรัพยากรธรรมชาติและเงินทุน เพ่ือให้พืชและสัตว์เจริญเติบโต
ใหผ้ ลผลติ ต่างๆ

ในปจั จุบันน้มี ีการจดั การเรยี นการสอนทหี่ ลากหลายมากขนึ้ ซ่ึงไดม้ ีการเปดิ สอนของสาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรป์ ระยุกตบ์ าง

สาขาวิชาที่เกย่ี วข้องกับการเกษตร คือ

- เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology) หมายถงึ วิทยาศาสตร์ประยกุ ต์ในสาขาวชิ าการเกษตรท่ีมงุ่ ให้ความรู้

วิทยาการ เทคนิค วธิ กี าร เครื่องจักรกลการเกษตรและการใช้เทคโนโลยตี า่ งๆ ท่ีเก่ยี วข้องมาเพื่อนามาใช้ปรบั ปรุงหรอื เพ่มิ ผลผลติ ใน

การเกษตรและการเลยี้ งสัตว์

- เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ (Animal Technology) หมายถึง วทิ ยาศาสตรป์ ระยุกต์สาขาวชิ าหนึ่งในสาขาวิชาการเกษตรท่ีมุ่ง
ให้ความรู้ วทิ ยาการ เทคนคิ วธิ ีการเล้ียงและการผลิตสัตว์ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ปรับปรุงกระบวนการการ
เลย้ี งและการผลติ เพ่ือมงุ่ เพ่ิมผลผลิตทีไ่ ดจ้ ากสัตว์

- เทคโนโลยกี ารผลติ พชื (Crop Production Technology) วิทยาศาสตรป์ ระยุกตส์ าขาวิชาหนง่ึ ในสาขาวชิ าการเกษตร ท่ี
สามารถใชแ้ ละพัฒนาเทคโนโลยที ่ีเกี่ยวข้องกับการผลิตพืชเศรษฐกจิ มีความรู้ในการบรหิ ารและจัดการฟาร์มผลติ พชื และมีทักษะ
พ้ืนฐานในการค้นคว้าวจิ ัยทางด้านพชื ศาสตร์และการปรบั ปรุงพันธ์ุพชื

- เทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้า (Fisheries Technology and Aquatic Resources)วิทยาศาสตร์
ประยุกต์สาขาวิชาหนึ่งในสาขาวิชาการเกษตรท่ีมุ่งให้ความรู้ วิทยาการ เทคนิค วิธีการเล้ียงและการผลิตสัตว์ น้า รวมถึงการใช้

3

เทคโนโลยีต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องมาใช้ปรับปรุงกระบวนการการเล้ียงและการผลิต เพ่ือมุ่งเพิ่มผลผลิตที่ได้จากสัตว์น้า รวมทั้งทรัพยากร
ทางนา้

บทบาทและความสาคัญของการเกษตร
การเกษตรมคี วามสาคัญตอ่ การดารงชีวติ ของมนุษย์ตั้งแตด่ กึ ดาบรรพ์ มนษุ ยร์ ู้จกั ใช้ประโยชน์อย่างมากมายจากพืช สัตว์ ทั้ง

ในชีวติ ประจาวันและการดารงชีวิต ตลอดจนในการพฒั นาประเทศใหเ้ จรญิ มั่นคงอีกดว้ ย
การเกษตรเป็นอาชีพหลักของประเทศไทย ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทาให้การเกษตรมี

ความสาคญั เป็นอยา่ งยิง่ ในการพฒั นาเศรษฐกิจและการพฒั นาประเทศเนอื่ งจากรายได้ส่วนใหญ่ของประเทศมาจากสินค้าเกษตรเป็น
สาคัญ

1) เกษตรกับชวี ติ ประจาวัน
ในอดีตมนุษย์ดารงชีวิตอยู่อย่างง่ายๆ โดยการล่าสัตว์ เก็บพืชผักจากป่ามากินเป็นอาหาร อาศัยอยู่ตามถ้าหรือเพิงที่สร้าง
จากกิ่งไม้ ต่อมามนุษย์เริ่มรู้จักเพาะปลูกพืช รู้จักเล้ียงสัตว์ ซึ่งเป็นจุดเริ่ม ต้นของการทาการเกษตร ทาให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
จนถึงปัจจุบัน แม้วิทยาการ ต่างๆ จะเจริญก้าวหน้าข้ึน มนุษย์ก็ยังคงอาศัยผลผลิตท่ีได้จากการเกษตรเป็นพ้ืนฐานในการดารงชีวิต
เชน่ เดิม กลา่ วคือ

1.1 เป็นวัตถุดิบในการผลิตปัจจัย 4 คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค โดยมนุษย์รู้จักเก็บเก่ียว
ผลผลิตทางเกษตร นาไปประกอบอาหารรับประทาน สร้างความเจริญเติบโต แก่ร่างกาย นาส่วนต่างๆ ของพืชเส้นใยไปผลิตสิ่งทอ
หรือใช้หนังสัตว์ทาเครื่องนุ่งห่ม ปลูกป่า เพื่อนาไม้ไปเป็นอุปกรณ์การก่อสร้าง สร้างท่ีพักอาศัย อาคารสถานท่ี ทาเฟอร์นิเจอร์
เคร่ืองใชต้ ่างๆ และปลกู พืชสมนุ ไพร เพ่ือนาไปใช้เป็นยารักษาโรค ซงึ่ ส่งิ เหลา่ นล้ี ้วนมคี วามจาเปน็ ต่อการดารงชวี ติ ของมนษุ ยท์ ้งั สิ้น

1.2 เป็นงานท่ีทารายไดใ้ หแ้ ก่เกษตรกร โดยเกษตรกรสามารถนาผลผลิตทางการเกษตรที่ เหลือจากการบริโภค ใช้
สอยประโยชน์ในครอบครวั ไปจดั จาหนา่ ยแก่ผูอ้ ื่นไดท้ ัง้ ตลาดภายในประเทศ และต่างประเทศซง่ึ จะทาใหเ้ กษตรกรมีรายไดเ้ พ่ิมข้ึน

1.3 เป็นแหล่ง ให้ความร่มรื่นสวยงาม การทาการเกษตรมิได้ให้ประโยชน์ ทางด้านการบริโภค หรือการค้าเท่าน้ัน
แตย่ ังให้ความรม่ ร่ืน ความเพลดิ เพลนิ ความสวยงาม ความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อยอกี ด้วย เพ่ือใหค้ นได้ใช้เป็นที่ผ่อนคลายอารมณ์ เช่น
การไปเทยี่ วสวนธารณะ การเลี้ยงปลาสวยงาม เป็นตน้

1.4 ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ สาหรับผู้ที่มีเวลาว่างจากการประกอบอาชีพหลัก สามารถทา
การเกษตร เช่น ปลูกไมป้ ระดับ พืชผักสวนครัว เลี้ยงไก่ เป็นงานอดิเรก เพื่อไม่ให้เวลาว่างน้ันเปล่าประโยชน์หรือแม้แต่ชาวนา หลัง
เก็บเกี่ยวขา้ วแลว้ อาจปลกู ถว่ั ในทีน่ า กจ็ ะมงี านทาตลอดปี

2) เกษตรกับความเจริญของประเทศ
การเกษตรเปน็ งานทีส่ าคัญมากสาหรับประเทศไทย เพราะเปน็ งานทส่ี ร้างเสรมิ ความสุขสมบูรณ์ใหแ้ กบ่ า้ นเมือง

โดยสว่ นรวม ผลติ ผลทางการเกษตรเป็นปจั จยั สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ สนิ คา้ อาหาร ผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรมทใ่ี ชภ้ ายในประเทศและส่ง
จาหนา่ ยเปน็ สนิ ค้าออก อาจกลา่ วไดว้ ่า การเกษตรมคี วามสาคญั ตอ่ ความเจริญของประเทศ ดงั ตอ่ ไปน้ี

4

2.1 เป็นอาชีพหลักของคนไทย ประเทศไทยเปน็ ประเทศท่ีมีพ้ืนฐานทางการเกษตร แมจ้ ะมีการพฒั นาเศรษฐกจิ
สังคมในหลายๆ ด้าน ประชากรส่วนใหญข่ องประเทศกย็ งั คงประกอบอาชพี ทางเกษตรโดยเฉพาะในตา่ งจงั หวดั ตามลาดับจึงนับได้
ว่า เกษตรกรรมเป็นอาชพี หลักของคนไทย

2.2 เปน็ แหลง่ วตั ถุดบิ ป้อนโรงงานอตุ สาหกรรมในประเทศ ผลิตผลทางการเกษตรสามารถนาเข้าโรงงาน
อตุ สาหกรรมเพ่ือแปรรปู ออกมาเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ตา่ งๆ เชน่ ออ้ ย ผลิตเพื่อป้อนโรงงานน้าตาลปลาต่างๆ สง่ เขา้ โรงงานปลากระป๋อง
หนอ่ ไม้ฝรัง่ ข้าวโพดฝกั อ่อน สง่ เขา้ โรงงานผกั กระป๋องหรอื ผกั แชแ่ ข็ง เป็นตน้ สนิ คา้ เหล่านี้ ลว้ นสง่ ออกไปขายต่างประเทศ ทาให้
ประเทศมีรายได้เพ่ิมขึน้ ทง้ั สิ้น นอกจากอุตสาหกรรมเกษตรดังกล่าวแลว้ สนิ ค้าเกษตรบางชนิดยังผลติ ขน้ึ เพ่ือปอ้ น อตุ สาหกรรมอนื่ ๆ
เช่น ฝ้าย ผลิตเพอื่ ปอ้ นโรงงานทอผ้า ซึ่งจะนาไปใช้ผลติ เสอื้ ผา้ สาเร็จรูปต่อไป การผลิตพืชสมุนไพรเพ่ือใช้ในอตุ สาหกรรมเคมีและ
เภสชั กรรม เป็นต้น

2.3 เป็นปจั จัยส่งเสรมิ ธุรกจิ และบรกิ าร ผลิตผลทางการเกษตรของประเทศไทย มีหลายประเภท ซึ่งมีคุณภาพดี
และเปน็ ทย่ี อมรบั ของต่างชาติ เช่น ไมด้ อกไมป้ ระดับ รวมทั้งผลไมเ้ มืองร้อน เช่น มะม่วง ทเุ รียน มงั คดุ เป็นต้น ส่ิงเหล่านีม้ สี ว่ นช่วย
ดึงดดู ความสนใจของนักท่องเท่ยี วใหเ้ ข้ามาเท่ยี วเมอื งไทยเพมิ่ ข้นึ ทาใหเ้ กดิ อาชีพด้านธุรกิจการท่องเท่ยี วและการบริการเพ่ิมขนึ้

2.4 ผลติ ผลทางการเกษตรเพ่ิมรายไดใ้ ห้กบั ประเทศ จากรายงานเศรษฐกิจและการเงนิ ปี 2540 ของธนาคารแห่ง
ประเทศไทย พบวา่ ราคาสนิ ค้าเกษตรที่เกษตรกรขาย ได้ สูงขึน้ จากปี 2539 คิดเปน็ ร้อยละ 3.1 โดยเฉพาะสนิ ค้าหมวดปลาและสัตว์
นา้ เพ่ิมถึงร้อยละ 15.3 ทาใหเ้ กษตรกรมี รายได้เพม่ิ สงู ขึน้ ด้วย ท้ังน้ีเนอ่ื งมาจากมีการเพม่ิ ปริมาณการผลิต ขยายพ้ืนท่เี พาะปลูก
เล้ียงสตั ว์ ประมงและผลิตผลที่ได้อยใู่ นเกณฑ์ดี

2.5 เปน็ ปจั จยั สร้างความม่นั คงทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศ การเกษตรมีความสาคญั ในแง่ของการสร้างฐานะทาง
เศรษฐกจิ ดังจะเหน็ ไดจ้ ากการที่เรามผี ลติ ผลทางการเกษตรเพยี งพอต่อการบรโิ ภคภายในประเทศ เกษตรกรมีรายได้ มฐี านะดขี น้ึ
ประชาชนกนิ ดีอยูด่ ี ไม่อดอยาก นอกจากนยี้ ังมผี ลติ ผลเหลือส่งออกไปจาหนา่ ยยงั ต่างประเทศ นารายได้เข้าประเทศ เปน็ จานวนมาก
ซง่ึ เป็นฐานทาใหป้ ระเทศไทยมคี วามมัน่ คงทางดา้ นเศรษฐกิจ

สถานการณ์การเกษตรของประเทศไทยและต่างประเทศ
เศรษฐกิจไทยในปี 2562 มแี นวโน้มทม่ี ีข้อจากัดจากเงอ่ื นไขและปจั จัยเส่ยี งจากความผนั ผวนของระบบเศรษฐกจิ และ

การเงนิ โลกมากขึ้น แตใ่ นกรณีฐานคาดวา่ เศรษฐกิจไทยยงั ขยายตวั ในเกณฑ์ดตี ามแรงขับเคลือ่ นจากการปรบั ตวั ดีขึน้ ของ
อุปสงค์ในประเทศทง้ั ในด้านการใชจ้ า่ ยภาคครวั เรอื น การลงทุนภาคเอกชน และการลงทนุ ภาครฐั รวมทงั้ การปรับตวั ดี
ขึ้นของภาคการทอ่ งเทยี่ วและการเปลยี่ นแปลงในทศิ ทางการค้าและสายพานการผลติ ระหวา่ งประเทศ ซ่ึงจะชว่ ยชดเชย
ผลกระทบจากการชะลอตวั ของเศรษฐกจิ โลกท่คี าดว่าจะทาให้การส่งออกและการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยชะลอตัวลง
อย่างชา้ ๆ จากปี 2561 อย่างไรก็ตาม ความเสยี่ งจากความผนั ผวนในระบบเศรษฐกจิ การเงินโลก รวมทัง้ บรรยากาศ
ทางการเมอื งและทิศทางนโยบายของรฐั บาลหลงั การเลอื กตง้ั ยังเป็นปัจจยั ทจ่ี ะต้องตดิ ตามและประเมินสถานการณ์
อยา่ งใกล้ชดิ

สรปุ แนวโน้มการผลิตทางการเกษตรของไทยท่ีผ่านมา

5

การพัฒนาประเทศท่ีผ่านมาได้ตั้งอยู่บนพื้นฐานแห่งความเป็นสังคมเกษตร ดังจะเห็นได้จากการที่ผลผลิตและรายได้จาก
การเกษตรยงั ครองความสาคัญอันดบั สูงสุด คอื เป็นสดั สว่ นถงึ ร้อยละ 25ของผลผลิตรวมท้ังประเทศ การจ้างแรงงานมีถึง 15.6 ล้าน
คน หรือประมาณร้อยละ 70 ของแรงงานทั้งประเทศ และการส่งผลิตผลการเกษตรออกไปจาหน่ายต่างประเทศทารายได้ถึงร้อยละ
60 ของรายได้จากการสง่ ออกของไทยทั้งหมดในปัจจุบัน

แนวโน้มการพัฒนาการเกษตรในช่วง 20 ปีท่ีผ่านมา ปรากฏว่าผลผลิตด้านการเกษตรได้ขยายตัวในอัตราค่อนข้างสูงมาก
โดยเฉล่ียสามารถขยายผลผลิตเพ่ิมข้ึนได้ในอัตราถึงร้อยละ 5 ต่อปี เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการขยายตัวการเกษตรของโลกท่ี
เพ่ิมขึ้นโดยเฉล่ียเพียงร้อยละ 2.5 ถึง 2.8 ต่อปีเท่าน้ัน จึงทาให้ประเทศไทยเป็นประเทศเดียวในเอเซียท่ีคงฐานะเป็นประเทศที่มี
ผลิตผลการเกษตรและอาหาร “เหลือส่งออกสุทธิ” ติดต่อกันมาเกือบ 20 ปีที่ผ่านมา ซึ่งมีส่วนเสริมสร้างฐานะความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจและการเงินของประเทศในระยะท่ีผ่านมา

ภาคเกษตร: ชะลอตัวลงตามการลดลงของผลผลิตสินคา้ สาคญั เน่อื งจากข้าวและอ้อยได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศที่ไม่
เอือ้ อานวยในบางพืน้ ที่ ในขณะที่ผลผลติ สินค้าสาคัญอ่นื ๆ ขยายตัวต่อเนื่อง การชะลอตัวของผลผลิตสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญ
เมอ่ื รวมกับการลดลงของราคาสนิ ค้าสาคญั บางรายการสง่ ผลให้ดชั นรี ายได้เกษตรกรโดยรวมปรับตัวลดลง ในไตรมาสที่สี่ของปี 2561
การผลิตภาคเกษตรขยายตัวร้อยละ 1.4 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 2.7 ในไตรมาสที่สามของปี 2561 สอดคล้องกับการ
ขยายตวั ของดชั นผี ลผลติ สนิ คา้ เกษตรหมวดพชื ผลสาคญั ร้อยละ 0.7 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 2.3 ในไตรมาสก่อนหน้า และ
การกลบั มาขยายตวั ของดัชนผี ลผลิตหมวดประมงร้อยละ 2.6 ในขณะท่ีดชั นีผลผลติ หมวดปศสุ ัตว์ลดลงร้อยละ 4.1 การชะลอตัวของ
การผลิตภาคเกษตรในไตรมาสน้ีมีสาเหตุมาจากการลดลงของผลผลิตสาคัญๆ ประกอบด้วย (1) ไก่เนื้อ ลดลงร้อยละ 9.1 ส่วนหนึ่ง
เป็นผลมาจากราคาท่ีไม่จูงใจในการผลิต (2) อ้อยลดลงร้อยละ 11.2 ตามผลผลิตต่อไร่ท่ีลดลง เน่ืองจากสภาพอากาศที่แห้งแล้งและ
ฝนท้ิงช่วง รวมท้ังการลดลงของราคาอ้อย และ (3) ข้าวเปลือก ลดลงร้อยละ 0.4 โดยเฉพาะข้าวเปลือกเจ้าหอมมะลิ (ลดลงร้อยละ
11.4) เนอ่ื งจากเกิดภาวะฝนทิ้งช่วงและภัยแล้งในพื้นท่ีปลูกข้าวนาปีท่ีสาคัญในช่วงต้นฤดูกาลเพาะปลูก อย่างไรก็ตามผลผลิตสินค้า
เกษตรสาคัญอ่ืนๆ ขยายตัวในเกณฑ์ดี เช่น ยางพารา (ร้อยละ 2.9) กลุ่มไม้ผล (ร้อยละ 3.8) มันสาปะหลัง (ร้อยละ 12.2) กุ้งขาว
แวนนาไม (ร้อยละ 2.6) และ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ร้อยละ 2.5) เป็นต้น ดัชนีราคาสินค้าเกษตรลดลงร้อยละ 1.2 ตามการลดลงของ
ราคาสนิ ค้าเกษตรสาคญั ๆ เช่น (1) ยางพาราเน่อื งจากคาส่งั ซอื้ ของประเทศผใู้ ช้ยางพารารายใหญ่ของโลกปรับตัวลดลงอย่างต่อเน่ือง
โดยเฉพาะจีน มาเลเซียและญ่ีปุ่น ประกอบกับการชะลอการซ้ือขายยางพาราในตลาดล่วงหน้า (2) อ้อย ตามการลดลงของราคา
น้าตาลในตลาดโลกซึ่งมีสาเหตุสาคัญมาจากปริมาณผลผลิตส่วนเกินในตลาดโลกและสต็อกน้าตาลทรายภายในประเทศที่ยังอยู่ใน
ระดับสูง (3) กุ้งขาวแวนนาไม เนื่องจากการลดลงของราคากุ้งขาวแวนนาไมในตลาดโลกซ่ึงได้รับผลกระทบจากการเพิ่มข้ึนของ
ผลผลติ ในหลายประเทศ โดยเฉพาะอินเดีย และอินโดนีเซีย เป็นต้น และ (4) ปาล์มน้ามันสอดคล้องกับทิศทางราคาน้ามันปาล์มดิบ
ในตลาดโลก ประกอบกับสต็อกน้ามันปาล์มดิบของไทยยังคงอยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ตาม ดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญหลาย
รายการปรับตัวเพิ่มข้ึน เช่น ราคาข้าวเปลือก (เพ่ิมขึ้นร้อยละ 13.0) ราคามันสาปะหลัง (เพิ่มข้ึนร้อยละ 45.0) และราคาสุกร
(เพ่ิมข้ึนร้อยละ 13.5) เป็นต้น การลดลงของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรและดัชนีราคาสินค้าเกษตร ส่งผลให้ดัชนีรายได้เกษตรกร
โดยรวมลดลงร้อยละ 1.2 รวมท้ังปี 2561 การผลิตภาคเกษตรเพ่ิมขึ้นร้อยละ 5.0 ปรับตัวดีข้ึนจากการขยายตัวร้อยละ 3.7 ในปี
2560 ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.5 ในขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรลดลงร้อยละ 5.7 ส่งผลให้ดัชนีรายได้เกษตรกร
ลดลงร้อยละ 0.4 อย่างไรก็ตาม การขยายตัวของสาขาการเกษตรไทยท่ีผ่านมามีลักษณะพิเศษ และอาศัยปัจจัยหลักที่เป็น
แรงผลกั ดนั ทาให้การเกษตรได้เจริญเติบโตข้ึนมาโดยลาดบั คอื

6

ประการแรก : การเกษตรของไทยได้มีการกระจายการผลิตไปสู่พืชเศรษฐกิจใหม่ๆ เพิ่มข้ึนหลายชนิด เพื่อสนองความ
ต้องการของตลาดโลกและตลาดภายใน กล่าวคือ ได้กระจายการผลิตจากการปลูกพืชหลักเพียง 2 – 3 ชนิด มาเป็นการปลูกพืช
เศรษฐกิจท่มี ีมลู ค่าเพ่ิมเกินหน่งึ พนั ล้านบาทต่อปี ถงึ 10 ชนิดในปัจจุบัน นอกจากน้ันยังได้มีการพัฒนาด้านปศุสัตว์ การประมง และ
ป่าไม้ ซึ่งมมี ูลคา่ เพิม่ เป็นสดั ส่วนถงึ หน่ึงในส่ีของรายไดจ้ ากการเกษตรทงั้ หมดของประเทศ

ประการที่สอง : อาศัยการขยายพ้ืนที่เพาะปลูกเป็นปัจจัยหลักในการขยายการผลิต โดยการบุกเบิกเปิดพ้ืนท่ีทากินใหม่ใน
อัตราเฉลี่ยเพ่มิ ขึน้ ประมาณรอ้ ยละ 4 ตอ่ ปี จนปจั จบุ นั ได้มีการเปิดท่ีดินมาใช้เพ่ือการเกษตรท้ังหมดถึง 147 ล้านไร่ โดยเป็นท่ีนา 84
ล้านไร่ และเป็นพืชสวนและพืชไร่ 63 ล้านไร่ จะเห็นได้ว่าการเปิดที่ดินทากินใหม่ขึ้นเรื่อยๆ นี้ใกล้จะเข้าจุดอ่ิมตัวในปัจจุบัน เพราะ
ที่ดนิ ที่เหลือไม่เหมาะสมต่อการเกษตร หมายความว่า “ยุคแหง่ การบกุ ปา่ เปิดที่ดินทากิน” ใกลจ้ ะจบแล้ว

ประการที่สาม : การขยายบริการพ้ืนฐานของรัฐ ในช่วง 4 แผนฯ ท่ีผ่านมา มีส่วนช่วยในการขยายผลผลิตด้านการเกษตร
ของประเทศไปพอสมควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาแหล่งน้าและขยายระบบชลประทานท่ีผ่านมาถึง 16 ล้านไร่ การขยาย
โครงข่ายถนนจากแหล่งผลิตสู่ตลาดยาวถึง 60,000 กม. ในเขตเกษตรทั่วประเทศ และการให้บริการส่งเสริมการเกษตรของรัฐได้มี
ส่วนสนับสนนุ ตอ่ การขยายและกระจายการผลิตของภาคเกษตรไปพอสมควร

แต่เป็นท่ีน่าสังเกตว่าการเกษตรของไทยในระยะหลังๆ น้ีเริ่มประสบปัญหาและข้อจากัดของทรัพยากรท่ีดิน แหล่งน้า และ
ป่าไม้ที่ถูกนามาใช้ในระยะท่ีผ่านมาในลักษณะที่ไม่ค่อยจะมีประสิทธิภาพ ส้ินเปลืองและขาดการอนุรักษ์ จึงทาให้
ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้มีสภาพเส่ือมโทรมลงโดยลาดับ จนมีปัญหาสิ่งแวดล้อมตามมาหลายด้าน ท้ังน้ี มีผลทาให้อัตราการ
ขยายตวั ของการผลติ ภาคเกษตรของประเทศเรม่ิ ชะลอตวั ลงโดยลาดับเหลือประมาณร้อยละ 3.5 ต่อปี ในช่วงแผนฯ 4 และหากไม่มี
การปรับปรงุ ประสิทธภิ าพการใชท้ ่ดี นิ แหล่งน้า เพอ่ื การเกษตรแลว้ แนวโน้มของอตั ราการขยายตัวของการผลิตในภาคการเกษตรจะ
ลดลงต่ากว่าร้อยละ 3.5 ในช่วงแผนฯ 5 โดยเฉพาะอย่างย่ิงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือตอนบน ซึ่งทรัพยากรที่ดิน
และแหล่งน้ามีจากัด และอยู่ในสภาพเส่ือมโทรมมากในปัจจุบัน อัตราการขยายตัวของภาคเกษตรกรรมจะมีแนวโน้มต่ามาก ซ่ึงจะ
เปน็ อันตรายต่อการรกั ษาเสถียรภาพและความม่ันคงทางเศรษฐกจิ ของประเทศเป็นอย่างยิ่ง จึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องมีการปรับปรุง
การผลิตและการใช้ทรัพยากรท่ีดิน แหล่งน้าและป่าไม้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงขึ้น หากต้องการรักษาฐานะความสาคัญของภาค
การเกษตรไวต้ ่อไปใน 5 –10 ปีขา้ งหนา้

โดยสรุปแล้ว การพัฒนาการเกษตรในระยะที่ผ่านมาปรากฏว่าผลผลิตด้านการเกษตรได้ขยายตัวในอัตราที่สูงและน่าพอใจ
ตลอดมา และมีน้อยประเทศที่จะเทียบได้ นอกจากนั้นการเติบโตของสาขาเกษตรเป็นปัจจัยสาคัญต่อการเพิ่มพูนฐานะและรายได้
ใหแ้ ก่คนในชนบทส่วนใหญ่และมีส่วนสาคัญตอ่ การแก้ปัญหาความยากจนในชนบทให้ลดลงจากร้อยละ 50 ของประชากรท้ังประเทศ
ในปี 2504 เหลือประมาณร้อยละ 25 ในปัจจุบัน แต่ความเหล่ือมล้าในฐานะรายได้ระหว่างภาคเกษตรและภาคเศรษฐกิจอ่ืนๆ และ
ระหว่างในภมู ิภาคส่วนตา่ งๆ ของประเทศยังมีอยู่อกี มาก จึงเป็นประเด็นสาคัญในการปรบั โครงสรา้ งการเกษตรตอ่ ไป

ประเมนิ สถานการณต์ ลาดสนิ คา้ เกษตรของโลก
โดย สานกั งานท่ีปรึกษาการเกษตรต่างประเทศ ประจาสหภาพยโุ รป Tuesday, 12 July 2005 องคก์ ารเพ่อื ความรว่ มมือ

ทางเศรษฐกจิ และการพฒั นา (Organization for Economic Cooperation and Development = OECD) ได้จัดทารายงาน
เกี่ยวกบั การประเมินสถานการณ์สนิ ค้าเกษตรในตลาดโลกระหว่างปี 2548-2557 (Agricultural Outlook: 2005-2014 ) โดยชีว้ ่า
ส่วนแบง่ ตลาดการคา้ สินคา้ เกษตรจะเพ่ิมขนึ้ ในกลุ่มประเทศกาลงั พัฒนาซ่ึงประเด็นทนี่ า่ สนใจสรุปได้ ดงั นี้

7

1. องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา หรือ OECD ได้วิเคราะห์และประเมินผลผลิต การบริโภคและ
การคา้ สนิ คา้ เกษตรของโลก ในชว่ งอีก 10 ปขี ้างหนา้ โดยสรปุ ภาพรวมที่สาคญั ไดแ้ ก่

1.1 การผลิตสินค้าเกษตรของโลกจะเพ่มิ ข้ึนในอตั ราทต่ี ่ากวา่ ในชว่ ง 10 ปที ี่ผา่ นมา อย่างไรก็ดี ปริมาณการบริโภค
สินค้าเกษตรในตลาดโลกจะมแี นวโนม้ ขยายตัวเพมิ่ ขนึ้ อย่างต่อเน่ือง โดยมีเหตุผลสาคัญมาจากการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและการ
เพิ่มจานวนประชากรในประเทศกาลังพฒั นา ซงึ่ จะเป็นการสะท้อนใหเ้ ห็นวา่ ทา่ ทีทางการค้าและประเภทสินค้าของประเทศต่างๆ จะ
เปลี่ยนแปลงไปในช่วงระยะเวลาอีก 10 ปี ขา้ งหน้า

1.2 ขณะทีก่ ารนาเข้าสินคา้ เกษตรในกล่มุ ประเทศกาลังพัฒนามีแนวโน้มที่จะขยายตัวมากขึ้น (ส่วนมากเป็นการค้า
ระหวา่ งกลมุ่ ประเทศกาลังพัฒนาด้วยกนั ) การส่งออกสินคา้ เกษตรมแี นวโน้มทเ่ี พิม่ ขึน้ เชน่ กัน โดยสว่ นใหญ่จะมาจากประเทศผู้ผลิตท่ี
มตี น้ ทนุ ต่าในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนา และคาดว่าผลที่ตามมาในช่วง 5 ปี ข้างหน้า จะทาให้สินค้าเกษตรในตลาดโลกมีการแข่งขัน
กันท่ีเข้มข้นมากขึ้นและเม่ือควบคู่ไปกับการเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตในระดับตลาดโลกจะทาให้ราคาสินค้าเกษตรส่วนมาก
ตกต่าลง (ตามผลวิเคราะห์ของ OECD) ทั้งนี้ ภายใต้การกดดันทางด้านราคา เกษตรกรจะต้องใช้ความพยายามในการปรับปรุง
ประสิทธิภาพของผลผลิตต่อไป

1.3 อัตราการขยายตัวของผลผลติ สนิ ค้าเกษตรในประเทศกาลังพัฒนาในภาพรวมท่ีเติบโตรวดเร็วมากกว่าประเทศ
ในกลมุ่ OECD ทาให้สว่ นแบ่งการผลิตสินคา้ เกษตรของกล่มุ ประเทศ OECD ในตลาดโลกลดลง ทงั้ นี้ รายได้จากผลผลิตอย่างต่อเน่ือง
เก้ือหนุนให้ปริมาณการผลิตเพ่ิมสูงมากข้ึนในทุกประเทศ แต่การเพ่ิมพื้นท่ีการผลิตก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งในประเทศกาลังพัฒนาที่
เกือ้ หนุนให้เกิดผลผลิตทเ่ี พิม่ ขนึ้

1.4 อุปสงค์ด้านอาหารท่ีเปล่ียนแปลงไปในประเทศกาลังพัฒนาเป็นกุญแจสาคัญในการปรับเปลี่ยนรูปแบบตลาด
สินค้าเกษตรของโลก รวมท้ังรายได้และจานวนประชากรท่ีเพิ่มขึ้นซ่ึงควบคู่ไปกับการขยายเมืองใหญ่และความหลากหลายของ
ประเภทอาหาร คาดว่าจะทาให้เกิดการเพ่ิมข้ึนของอุปสงค์และนาไปสู่การเปล่ียนแปลงสัดส่วนของการบริโภคสินค้าอาหารใน
ตลาดโลก โดยสนิ ค้าที่ผลิตจากสตั วจ์ ะเพมิ่ ส่วนแบ่งตลาดมากขนึ้

1.5 เนื่องจากการเติบโตเต็มที่ของตลาดสินค้าเกษตรในกลุ่มประเทศ OECD คาดว่าอัตราการขยายตัวของอุปสงค์
ของอาหารจะอยูใ่ นระดับปานกลาง ท้งั นี้ การกาหนดอุปสงคด์ า้ นอาหารนนั้ จะขน้ึ อยู่กับลกั ษณะของประเภทสินค้าและกระบวนการ
ผลิตต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับความปลอดภัยทางด้านอาหาร คุณภาพอาหาร ส่ิงแวดล้อม สวัสดิภาพสัตว์ และอ่ืนๆ ซึ่งมีความเกี่ยวข้อง
อยา่ งเดน่ ชดั ตอ่ ความผนั แปรของราคาสนิ ค้าและรายได้

1.6 การควบคุมตลาดโดยกลุ่มบริษัทใหญ่และกระบวนการโลกาภิวัตน์ รวมท้ังการปรับปรุงการควบคุมห่วงโซ่
อาหาร ที่ทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงโครงสร้างในภาคอุตสาหกรรมอาหารจะยังคงดาเนินต่อไปในช่วงอีก 10 ปีข้างหน้า และการ
เปลยี่ นแปลงนโยบายภายในและนโยบายการคา้ จะมีผลทส่ี าคญั ต่อการผลติ และการค้าสนิ ค้าเกษตรในระยะยาว

2. รายงานดังกล่าวได้วเิ คราะห์ว่าราคาต้นทนุ ทตี่ า่ กว่าและการปรับปรงุ ประสิทธิภาพผลผลิต ทาให้ประเทศกาลังพัฒนาเพ่ิม
อัตราการขยายตัวของผลผลิตสินค้าเกษตร และมีผลทาให้สัดส่วนการผลิตสินค้าเกษตรในตลาดโลกของกลุ่มประเทศ OECD ลดลง
สาหรับสินค้าที่มีการเพิ่มผลผลิตที่สาคัญในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนา ได้แก่ น้าตาล (โดยเฉพาะบราซิล การผลิตจะเพ่ิมข้ึนมากก ว่า
30% ในปี 2557) ข้าว (อินโดนีเซียจะเป็นผู้นาเข้าที่สาคัญ) เน้ือสัตว์ (ผลผลิตเน้ือไก่และเน้ือสุกรในประเทศกาลังพัฒนาจะเป็น
ตัวกาหนดแบบแผนการขยายตัวของการค้าเนื้อสัตว์ในตลาดโลก) นม (อินเดีย จีน จะกลายเป็นประเทศผู้ผลิตท่ีสาคัญ) ธัญพืช
(ผลผลิตของกลมุ่ OECD เทา่ กบั คร่งึ หนงึ่ ของกลมุ่ ประเทศกาลังพัฒนา) เป็นตน้

8

3. อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ดังกล่าวในช่วงอีก 10 ปีอาจเปล่ียนแปลงไปได้ หากสถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจและ
นโยบายท่ีเก่ียวข้องแตกต่างไปจากข้อสมมุติฐานท่ีตั้งไว้ โดยเฉพาะผลการเจรจาตกลงการค้าสินค้าเกษตร ขององค์การการค้ าโลก
(รอบโดฮา) อาจจะทาให้แนวโนม้ การคา้ สินคา้ เกษตรดีขน้ึ นอกจากน้ี ปัจจยั อื่นๆ ได้แก่ ปริมาณสินค้าธัญพืชในตลาดโลกท่ีคาดว่าจะ
ลดลงอาจทาให้ราคาธัญพืชไม่มีเสถียรภาพและมีผลต่อความมั่นคงทางด้านอาหารของโลก การขยายตัวของอุปสงค์และอุป าทาน
สินค้าเกษตรในประเทศจีนและอินเดียจะส่งผลกระทบ (small shock ) ต่อประเทศภายนอก และการระบาดของโรคสัตว์จะเป็น
ตวั กาหนดสาคญั ทีท่ าใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงผลการประเมนิ ดังกล่าว

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560–2564)
ได้จัดทาข้ึนในช่วงเวลาของการปฏิรูปประเทศและสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเช่ือมโยงกันใกล้ชิดกัน
มากข้ึนโดยได้น้อมนาหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญานาทางในการพัฒนาประเทศต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ
ฉบับท่ี 9-11 เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและช่วยให้สังคมไทยสามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคงเกิดภูมิคุ้มกัน และมีการบริหารจัดการ
ความเสี่ยงอยา่ งเหมาะสม สง่ ผลให้การพฒั นาประเทศสู่ความสมดุลและย่งั ยืน ในการจัดทาแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ครั้งนี้ สานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้จัดทาบนพ้ืนฐานของกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560 –
2579) ซึ่งเปน็ แผนหลกั ของการพฒั นาประเทศ และเปา้ หมายการพัฒนาทีย่ ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)
รวมท้ังการปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 ตลอดจนประเด็นการปฏิรูปประเทศ นอกจากนั้นได้ให้ความสาคัญกับ
การมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วน ท้ังในระดับกลุ่มอาชีพ ระดับภาค และระดับประเทศในทุกขั้นตอนของแผนฯ อย่าง
กว้างขวางและต่อเน่ือง เพ่ือร่วมกันกาหนดวิสัยทัศน์และทิศทางการพัฒนาประเทศ รวมทั้งร่วมจัดทารายละเอียดยุทธศาสตร์ของ
แผนฯ เพ่อื มงุ่ สู่ “ความม่นั คง มง่ั ค่ังและยงั่ ยนื ”การพฒั นาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จึงเป็นจุดเปล่ียนที่สาคัญในการ
เชอ่ื มตอ่ กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ในลักษณะการแปลงยุทธศาสตร์ระยะยาวสู่การปฏิบัติ โดยในแต่ละยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 12 ได้กาหนดประเด็นการพัฒนา พร้อมท้ังแผนงาน/โครงการสาคัญท่ีต้องดาเนินการให้เห็นผลเป็นรูปธรรมในช่วง 5 ปีแรก
ของการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ เพ่ือเตรียมความพร้อมคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถปรับตัวรองรับ
ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงได้อย่างเหมาะสมขณะเดียวกัน ยังได้กาหนดแนวคิดและกลไกการขับเคลื่อนและติดตามประเมินผล
ที่ชัดเจน เพื่อกากับให้การพัฒนาเป็นไปอย่างมีทิศทางและเกิดประสิทธิภาพ นาไปสู่การพัฒนาเพื่อประโยชน์สุขท่ีย่ังยืนของ
สังคมไทย ) โดยมีสาระสาคัญสรุปได้ ดงั น้ี
สว่ นที่ 1 ภาพรวมการพัฒนาในชว่ งแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12

1.ภาพรวมการพัฒนาในช่วงแผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 12
2.สภาพแวดลอ้ มการพัฒนาและประเด็นการพฒั นาสาคญั ในชว่ งแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12
3.เป้าหมายและแนวทางการพัฒนาในชว่ งแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
ส่วนท่ี 2 การประเมินสภาพแวดล้อมการพฒั นาประเทศ
สถานการณ์และแนวโนม้ ภายนอก
สถานการณ์และแนวโนม้ ภายใน
สว่ นท่ี 3 วตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมายการพัฒนาในช่วงแผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 12
สว่ นท่ี 4 ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 : การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศักยภาพทุนมนุษย์

9

ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การสรา้ งความเป็นธรรมและลดความเหลอื่ มลา้ ในสังคม
ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 : การสรา้ งความเขม้ แข็งทางเศรษฐกจิ และแขง่ ขนั ได้อย่างยงั่ ยนื
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 : การเติบโตทเ่ี ป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ มเพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 : การเสริมสรา้ งความม่นั คงแหง่ ชาติเพอื่ การพฒั นาประเทศ สคู่ วามมั่งค่ังและยั่งยืน
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 : การบริหารจดั การในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤตมิ ิชอบ และธรรมาภิบาลในสังคมไทย
ยุทธศาสตร์ท่ี 7 : การพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐานและระบบโลจสิ ตกิ ส์
ยุทธศาสตร์ที่ 8 : การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย และนวตั กรรม
ยุทธศาสตร์ท่ี 9 : การพฒั นาภาค เมือง และพืน้ ที่เศรษฐกิจ
ยุทธศาสตรท์ ี่ 10 : ความร่วมมือระหว่างประเทศเพ่อื การพัฒนา
สว่ นท่ี 5 การขบั เคลอื่ นและติดตามประเมินผลแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12

เอกสารอา้ งองิ
2555 ความสาคัญของการเกษตร http://www.sunnahstudent.com


Click to View FlipBook Version