The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุมิตรา สำเภาพล, 2019-06-05 14:05:35

กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร

รายวิชาหลักการเกษตร

[ปี ]

หน่วยที่ 8 กฎหมายและมาตรฐานท่เี กี่ยวขอ้ งกับการเกษตร

นางสาวสมุ ิตรา สาเภาพล

65

บทที่ 8
กฎหมายและมาตรฐานที่เกย่ี วข้องกบั การเกษตร

วตั ถุประสงค์
ดา้ นความรู้ 1. นกั ศกึ ษามีความรเู้ ก่ียวกับกฎหมายและมาตรฐานการเกษตร
ดา้ นทักษะ 1. นักศกึ ษาสรปุ เก่ียวกบั กฎหมายและมาตรฐานการเกษตรได้
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1. สามารถทางานรว่ มกนั เป็นหมู่คณะได้
2. มคี วามรบั ผิดชอบ ตรงต่อเวลา
3. มคี วามคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ กลา้ แสดงออก
4. มีสัมมาคารวะและสุภาพเรียบร้อย

กฎหมายสิ่งแวดล้อมท่ีเกยี่ วข้องกับการเลยี้ งสัตว์
กฎหมายมไี ว้เพ่อื ให้ประชาชนทุกคนอยอู่ ย่างสงบสุข ไมใ่ ห้ผ้หู นง่ึ ผ้ใู ดเอาเปรียบ เบียดเบียน รบกวนผู้อ่ืน สังคม และ

สิ่งแวดล้อม รวมทั้งป้องกันไม่ให้ส่ิงแวดล้อมเสื่อมทรามลง หากเราประพฤติตามหลักพระพุทธศาสนา กฎระเบียบเหล่าน้ีก็ไม่
จาเป็นต้องมี เนื่องจากพระพุทธศาสนาสอนให้คนเราคิดถึงแต่ผู้อื่นและสังคม รวมทั้งเลิกคิดถึงตัวเองตามหลักไตรลักษณ์ แต่ก็
ยังคงมผี คู้ นอีกจานวนมากที่ดารงชีวิตอยู่โดยไม่เอาใจผู้อื่นมาใส่ใจตน ทาให้ผู้อ่ืนโดยเฉพาะผู้ที่รอบข้างเดือดร้อนดังเห็นจากข่าว
ร้องทุกข์ของชาวบ้านตามส่ือโทรทัศน์อยู่เนือง ๆ รัฐหรือสังคมจึงต้องออกกฎระเบียบเพื่อให้คนเหล่านี้รู้จักเคารพสิทธิของผู้อ่ืน
เน่ืองจากการเลี้ยงสัตว์ในเชิงพาณิชย์ ก่อให้เกิดมลภาวะหลายอย่าง เช่น เสียง กล่ิน มูลสัตว์ น้าเสีย รวมท้ังแมลงวัน ซ่ึงอาจ
ก่อให้เกิดความเดอื ดรอ้ นแกผ่ ทู้ อี่ าศัยอยโู่ ดยรอบ ท้งั อาจทาให้น้าในแมน่ ้า ลาคลอง ลารางสาธารณะเน่าเสีย จึงต้องมีกฎหมายไว้
คุ้มครอง ในชว่ งแรกของการต้งั ฟารม์ ผปู้ ระกอบการอาจจะคิดว่าเราได้ต้ังฟาร์มในที่รกร้าง หรือห่างไกลชุมชน จึงไม่จาเป็นต้องมี
ระบบต่าง ๆ เพื่อป้องกันมลภาวะ ซ่ึงคิดไม่ถึงว่าเวลาผ่านไปไม่ก่ีปีจะมีผู้จับจองผืนดินทาที่อยู่อาศัย จนสุดท้ายกลายเป็นชุมชน
ข้ึนมา กลายเป็นท่านสร้างเหตุราคาญให้กับชุมชนถึงขั้นถูกชุมชนขับไล่ ดังน้ัน ผู้ประกอบการรายใหม่จึงต้องคานึงถึงการสร้าง
โรงเรือนที่ปลอดมลภาวะดว้ ย
กฎหมายส่ิงแวดล้อมทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการเลีย้ งสัตว์ ท่พี อรวบรวมได้ มดี ังน้ี
เกี่ยวกบั การเลี้ยงสุกรโดยเฉพาะ

ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละส่ิงแวดล้อม ประกาศวา่ การเลีย้ งสกุ ร หมายถึง การเลี้ยงสุกรพ่อพนั ธ์ุ
แม่พนั ธุ์ สุกรขุน หรือลกู สกุ ร ชนดิ หนึ่งหรอื ต้ังแต่สองชนิดข้ึนไป

พ.ร.บ.สง่ เสรมิ และรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ใช้ควบคุมมาตรฐานนา้ ทิ้งจากฟาร์มสกุ ร ประเภท
ก (นา้ หนักสุกรรวมท้งั ฟารม์ มากกว่า 300,000 กก.) และประเภท ข (น้าหนักสุกรรวมทงั้ ฟาร์ม 30,000 - 300,000 กก.) โดย
กาหนดมาตรฐานนา้ เสยี ท่ีปล่อยออกจากฟาร์ม ดงั น้ี

ประเภท ก pH 5.5 - 9 BOD 60 มก./ลติ ร COD 300 มก./ลติ ร สารแขวนลอย 150 มก./ลติ ร TKN 120 มก./ลิตร
ประเภท ข pH 5.5 - 9 BOD 100 มก./ลิตร COD 400 มก./ลติ ร สารแขวนลอย 200 มก./ลติ ร TKN 200 มก./ลิตร

66

กฎหมายเกยี่ วกับการเล้ยี งสัตวท์ วั่ ไป
พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กรณีมเี หตุอนั อาจก่อใหเ้ กดิ ความเดือดร้อนแก่ผู้อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียง ให้ถือว่า

เป็นเหตุราคาญ ตรมมาตรา 25 และให้อานาจกับเจ้าพนักงานห้ามการก่องเหตุราคาญและระงับการก่อเหตุตามมาตรา 26 ใน
กรณีมีเหตุราคาญในสถานที่สาธารณะให้เจ้าพนักงานท้องถ่ินออกคาสั่งเป็นหนังสื อให้บุคคลท่ีก่อเหตุระงับและป้องกันเหตุ
ราคาญภายในเวลาทีเ่ หน็ สมควรได้ตามมาตรา 27 หากเกิดเหตุราคาญในสถานที่ส่วนบุคคลให้ใช้มาตรา 28 ส่วนราชการท้องถิ่น
สามารถประกาศใหก้ จิ กรรมบางประเภทอย่ใู นการควบคมุ ภายในทอ้ งถนิ่ และสมารถกาหนดหลกั เกณฑ์และเงื่อนไขการประกอบ
กิจการไดต้ ามมาตรา 32 ผูฝ้ ่าฝืนมโี ทษจาคุกไม่เกนิ 6 เดอื น หรอื ปรับไม่เกนิ 10,000 บาท หรอื ท้งั จาทง้ั ปรับ ตามมาตรา 73

พ.ร.บ.การชลประทานหลวง กรณีห้ามขุดคลอง ทางน้าเช่ือมชลประทานตามมาตรา 26 ห้ามท้ิงขยะมูลฝอย ซากพืช
ซากสัตว์ เถ้าถ่าน ส่ิงปฏิกูล ลงในชลประทานตามมาตรา 28 ห้ามทาให้คันคลอง ทานบ หมุดชลประทานเสียหาย ตามมาตรา
30

พ.ร.บ.การเดนิ เรอื ในนา่ นน้าไทย พ.ศ. 2456 หา้ มทง้ิ หนิ กรวด ดิน โคลน สงิ่ ของปฏิกลู ลงในแม่น้าลาคลอง หนอง บึง
อ่างเกบ็ น้า หรอื ทะเลสาบ ที่ใชส้ ัญจรหรือประชาชนใชร้ ่วมกนั ตามมาตรา 119

ในกรณที ่ีทาใหผ้ ู้อ่ืนเกิดทรพั ยส์ ินเสยี หาย บคุ ลากรในครอบครัวหรอื สัตว์เล้ียงเจ็บป่วย การหาเล้ียงชีพติดขัดเน่ืองจาก
ผลกระทบจากมลภาวะ ผู้เสียหายสามารถฟ้องเรียกค่าสินไหมจากผู้ที่ก่อให้เกิดมลภาวะได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ ให้ทางราชการได้แต่งตั้งเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ เพื่อเข้าไปตรวจสถานท่ีที่คิดว่าเป็นแหล่งก่อให้เกิดมลพิษ เช่น
โรงงานต่าง ๆ อู่ซ่อมรถยนต์ สถานเล้ียงสัตว์ เป็นต้น เจ้าพนักงานจะเข้าไปตรวจหากไม่มีระบบบาบัดน้าเสีย หรือระบบป้องกัน
มลภาวะก็จะส่ังให้ติดตั้ง ในกรณีท่ีมีแล้วก็จะตรวจสิ่งที่ปล่อยออกสู่สาธารณะ เช่น น้าเสีย ว่าได้มาตรฐานหรือไม่ หากไม่ได้
มาตรฐานก็จะสั่งให้ปรับปรุงหรือซ่อมแซมในเวลาที่กาหนดให้ และจะกลับมาตรวจใหม่จนกว่าระบบจะได้มาตรฐาน ดังน้ัน
เพ่ือให้การประกอบกจิ การเลี้ยงสัตว์ท่ยี ั่งยืน ผ้ปู ระกอบการควรจะคานงึ สิง่ เหลา่ นี้ให้รอบคอบก่อนการสร้างฟารม์
แนวทางการขออนุญาตเคลอ่ื นย้ายสตั วป์ ีกและซากสัตว์ปกี
ภายใน เขา้ ในหรอื ออกนอกเขตสงสัยว่ามีโรคระบาด

เคลอื่ นย้ายสัตว์ปกี มชี วี ิตที่มกี ารเล้ียงลักษณะฟารม์ หรือมกี ารเลยี้ งตั้งแต่ 200 ตัวขน้ึ ไป
1. ยื่นแบบคาขออนุญาตเคลื่อนย้ายสัตวป์ กี หรอื ซากสตั ว์ปีกท่ีสานกั งานปศุสตั วจ์ งั หวดั ต้นทาง
2. แหลง่ ที่มาต้องไม่มภี าวะโรคระบาด
3. ต้องเป็นฟาร์มมาตรฐานหรอื ไดร้ บั การข้นึ ทะเบียนกบั กรมปศสุ ตั ว์
4. ต้องให้ผลการตรวจ Cloacal Swap เปน็ ลบ โดยต้องสมุ่ เก็บตวั อย่างอุจจาระสัตวป์ กี ทกุ ครั้งกอ่ นการเคล่ือนยา้ ย
ประมาณ 10 วันเพ่ือให้สอดคลอ้ งกับระยะเวลาการตรวจวเิ คราะหแ์ ละเตรยี มการเคล่ือนย้าย
5. หากเป็นไก่ไขน่ อกจากส่มุ เกบ็ ตัวอยา่ งกอ่ นเคลอื่ นย้ายตามระยะเวลาดังกลา่ วแลว้ ฟาร์มต้องมี Cloacal Swab เป็น
ลบโดยสุ่มตรวจเปน็ ประจาทกุ 60 วนั ดว้ ย
6. สาหรบั ลูกสตั วป์ ีกต้องมาจากฟาร์มพ่อแม่พนั ธุห์ รอื ฟาร์มป่ยู า่ พันธท์ุ ่ีมผี ลการสุม่ ตรวจ Cloacal Swab เปน็ ลบโดย
สมุ่ ตรวจเปน็ ประจาทุก 60 วนั
7. ใบรบั รองผลการตรวจวเิ คราะหต์ ัวอยา่ ง ขอ้ (4) มีอายุ 4 วัน นบั จากวนั ท่เี กษตรกรได้รบั แจ้งผลการตรวจ
8. สัตว์ปกี ทีจ่ ะเคล่ือนย้ายต้องมสี ุขภาพสมบูรณ์

67

9. พืน้ ทีป่ ลายทางต้องไมม่ โี รคระบาด หากเป็นฟาร์มต้องเปน็ ฟาร์มมาตรฐาน หรือผา่ นหลักเกณฑ์การนาสตั ว์ปกี เขา้
เล้ยี งใหม่และมีหนงั สือรบั รองจากปศสุ ตั วจ์ งั หวดั ปลายทางว่าสามารถนาสตั วป์ กี เข้าเลี้ยงใหมไ่ ด้ หากเป็นโรงฆา่ สัตว์ต้องไดร้ ับการ
ขึน้ ทะเบียนกับกรมปศสุ ตั ว์
เคล่อื นย้ายไกช่ นและสัตว์ปีกอน่ื ท่เี ลี้ยงไมเ่ ป็นลักษณะฟาร์ม

1. ผูเ้ ลีย้ งไก่ชนหรอื สัตวป์ ีกอื่นทเี่ ล้ียงไมเ่ ป็นลักษณะฟาร์มจะต้องขน้ึ ทะเบยี นผเู้ ลีย้ งกับกรมปศุสตั วแ์ ละเจา้ หน้าทีก่ รม
ปศสุ ตั ว์จะสุม่ ตรวจ Cloacal Swab สัตวป์ ีกทเี่ ล้ยี งอยู่เปน็ ประจาทุก 60 วนั

2. ไกท่ มี่ ีไว้เพ่ือชนต้องทาสมุดประจาตัวไกช่ นและต้องแสดงสมดุ ประจาตวั ไก่ชนต่อเจ้าหนา้ ที่สตั วแพทย์กรมปศุสัตวใ์ น
ระหว่างทางการเคลื่อนย้ายหรือเม่ือเคล่ือนย้ายถงึ ปลายทาง

3. สัตวป์ กี อื่นท่ีเล้ยี งไมเ่ ปน็ ลกั ษณะฟาร์ม หากมกี ารเคลอ่ื นย้าย เจา้ ของต้องขออนุญาตต่อสตั วแพทย์ประจาท้องทแ่ี ละ
สตั วแพทย์ประจาทอ้ งทจี่ ะตรวจสอบสุขภาพสัตวร์ วมถึงพนื้ ที่ตน้ ทางและปลายทาง
เคลือ่ นยา้ ยซากสตั วป์ ีก

1. รับแบบคาขออนญุ าต
2. ซากสัตว์ไมม่ ีพยาธิสภาพของโรคระบาด
3. ไมใ่ ช่ซากสัตว์ปกี ที่มาจากแหลง่ ทเ่ี กดิ โรคระบาด
4. ซากสตั ว์ปกี นน้ั ต้องมาจากโรงฆา่ สตั ว์ท่ีไดร้ บั การขน้ึ ทะเบียนกบั กรมปศุสตั ว์
5. เมอ่ื ไดต้ รวจสอบตาม 1,2,3 และ 4 สตั วแพทย์ประจาท้องท่หี รือสตั วแพทย์ท่ีได้รบั มอบหมายพจิ ารณาออก
ใบอนุญาต
เคล่อื นย้ายไข่สาหรบั ใช้ทาพันธห์ุ รอื ไข่ฟัก
1. รับแบบคาขออนุญาต
2. แหล่งทม่ี าตอ้ งไม่มีภาวะโรคระบาด
3. พ่อแม่พันธุห์ รือปยู่ า่ พันธต์ุ ้องมีผลการสุ่มตรวจ Cloacal Swab เป็นลบ โดยสมุ่ ตรวจประจาทุก 60 วนั
เคลอื่ นยา้ ยไขส่ าหรบั บริโภค
ควบคุมเคล่ือนย้ายไข่สาหรบั บริโภคเฉพาะในพื้นท่รี ศั มี ๕ กิโลเมตร จากจดุ ทต่ี รวจพบว่าเปน็ โรคระบาด โดยให้ทาลาย
เชื้อโรคท่ไี ขก่ ่อนการเคล่ือนย้ายทุกครัง้ ส่วนพื้นที่ทีไ่ มเ่ กิดโรคใหเ้ คลอ่ื นย้ายได้โดยมิต้องขออนญุ าตแต่อยา่ งใด
วธิ ีการปฏบิ ัตใิ นการออกใบอนญุ าตจากต้นทาง
1. ก่อนการออกใบอนุญาตจะแจ้งการขออนุญาตนาสัตว์ปีกหรือซากสัตว์ปีกไปให้สัตวแพทย์ประจาท้องที่ปลายทางซ่ึง
สตั วป์ ีกหรอื ซากสัตวป์ กี นน้ั จะเคลื่อนยา้ ยไปโดยวธิ ีดว่ นทสี่ ุด โดยวิธี Fax หรือ E-mail
2. กาหนดจานวนวันท่ีให้ใชใ้ บอนุญาตใหเ้ หมาะสมกบั ระยะทางท่ีจะนาสัตวป์ ีกหรือซากสตั ว์ปีกนนั้ ไปถงึ ปลายทาง แต่ไม่
เกินส่ีสิบแปดช่ัวโมงจากวันออกใบอนุญาตเป็นต้นไป และกาหนดเส้นทางในการเคล่ือนย้ายผ่านด่านกักกันสัตว์ และจะแจ้งให้
ด่านกักกนั สตั ว์ และจะแจง้ ให้ดา่ นกักกันสตั ว์ระหว่างทางทราบโดยดว่ น เพอ่ื ตรวจสอบอกี คร้ังหนึ่ง
3. กรณีท่ีต้องใช้ยานพาหนะขอส่งสตั วป์ ีกหรือซากสัตวป์ ีกจานวนหลายคนั จะออกใบอนุญาตเปน็ รายคนั
4.ผอู้ อกใบอนุญาตหรือสัตวแพทย์ทีไ่ ดร้ ับมอบหมายจะไปทาการตรวจโรคระบาดสตั วป์ กี หรอื ซากสตั ว์ปีกที่ได้รับอนุญาต
หากไมพ่ บโรคระบาดให้ควบคุมการนาสัตว์ปีกหรือซากสัตว์ปีกข้ึนยานพาหนะให้เรียบร้อยพร้อมทั้งให้ดาเนินการทาลายเช้ือโรค
ระบาดก่อนที่จะมอบใบอนญุ าตเคลอ่ื นย้ายให้กบั ผ้ขู อรบั ใบอนุญาตพรอ้ มแบบใบตอบรับสตั ว์หรอื ซากสตั ว์
การปฏิบัติของเจา้ หน้าที่ปลายทาง

68

เม่ือสตั วแพทยป์ ระจาท้องท่ีปลายทางได้รบั แจ้งการมาถงึ ของสตั วป์ กี หรือซากสตั ว์ปีกแล้วจะรบี เดินทางไปตรวจสอบ
และบันทึกรายการในใบตอบรบั สตั วห์ รือซากสัตว์แล้วส่งคืนตน้ ทางโดยดว่ น
ในกรณีไกเ่ นื้อเพ่ือการส่งออกจะสมุ่ เก็บตวั อยา่ งโดยวิธี Cloacal swab ด้วย โดยสตั วแพทย์ประจาโรงฆา่ สัตวป์ กี เป็นผดู้ าเนนิ การ
การดาเนินงานเมอ่ื ตรวจพบโรคไขห้ วัดนก

1. สัตวแพทย์จะออกคาส่ังเป็นหนังสือให้เจ้าของทาลายสัตว์ปีกและซากสัตว์ปีกทั้งหมดในรัศมี 1 กิโลเมตรจากจุดเกิด
โรค

2. ภายในรัศมี 5 กิโลเมตรจากจุดเกิดโรคให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือสารวัตรหรือสัตวแพทย์จะออกคาส่ังเป็นหนังสือให้
เจ้าของกักสัตว์ปีกให้เลี้ยงอยู่ที่เดิมอย่างน้อย 21 วัน หรือจนกว่าโรคสงบ และสัตวแพทย์เข้าตรวจสอบทุก 3 วัน หากพบการ
ตายผิดปกติใหพ้ จิ ารณาทาลาย

3. เจา้ หน้าท่ปี ศุสตั วเ์ ขา้ สารวจพนื้ ท่อี าเภอทีเ่ กิดโรคและอาเภอใกล้เคียงเพือ่ ค้นหาโรคไขห้ วดั นกอยา่ งละเอยี ด
4. สตั วแพทย์ประจาท้องทรี่ ะงับการอนุญาตเคลื่อนย้ายสัตว์ปีกและซากสัตว์ปีกภายใน เข้าใน หรือออกนอกเขตรัศมี 5
กโิ ลเมตรรอบจดุ เกดิ โรค
5. เจ้าหน้าที่ด่านกักกันสัตว์ร่วมกับตารวจ ทหาร เข้าตั้งจุดตรวจสกัดกั้นการเคลื่อนย้าย สัตว์ปีกและซากสัตว์ปีกรอบ
รัศมี 5 กโิ ลเมตรรอบจดุ เกดิ โรค
6. สัตวแพทย์ออกประกาศหรือส่ังเป็นหนังสือให้บรรดาเจ้าของต้องแจ้งจานวนสัตว์ปีกท่ีตนเองครอบครองให้ทราบ
ทัง้ หมด
มาตรการควบคุมสัตว์เลี้ยงในเมืองไทย
ในปัจจุบันต้องยอมรับว่ามนุษย์ไม่สามารถอยู่เพียงลาพังคนเดียวได้ จาเป็นต้องอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนหรือไม่ก็หาสัตว์เล้ียง
นา่ รักๆ หลากชนิด ตัวเลก็ ใหญ่ หนง่ึ หรือสองตวั มาเลยี้ งเป็นเพอื่ นแกเ้ หงา หรอื เพือ่ เป็นการพักผ่อนหยอ่ นใจ เป็นงานอดิเรก หรือ
ใช้ประโยชน์จากสัตว์เพื่อไว้ขายหรือการค้า ซึ่งสัตว์แต่ละชนิดแต่ละประเภทก็ย่อมมีข้อแตกต่างกันไปท้ังในเร่ืองของการเลี้ยงดู
สถานที่สาหรับเล้ียงสัตว์ท้ังแบบมีข้อจากัดและแบบมีอิสระได้ เร่ืองของอาหารสัตว์ การเอาใจใส่ดูแลจากผู้เลี้ยง การให้วัคซีน
ฯลฯ ซงึ่ ก็ไม่แตกต่างจากมนษุ ยเ์ ราเท่าไหร่นัก
สัตว์เลี้ยงทุกชนิดที่เรานามาเลี้ยงท้ังแบบกักขังหรือแบบปล่อย อาจจะนาปัญหามาสู่ผู้เล้ียง ชุมชน และสิ่งแวดล้อม โดย
เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นาโรค เป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคจากสัตว์ไปสู่คน ไม่ว่าจะเป็นเชื้อไวรัส โรคเย่ือหุ้มสมองอักเสบ แอน
แทรกซ์ ไข้หวัดนก โรคพิษสุนัขบ้า เป็นต้น รวมทั้งอันตรายท่ีเกิดจากถูกสัตว์ทาร้าย เช่น สุนัขรุมกัดเด็ก ซึ่งเป็นข่าวให้พบเห็น
ประจา นอกจากน้ันอาจกอ่ ใหเ้ กิดเหตุราคาญ ในเรอื่ งของกลนิ่ เหม็นจากมูลสัตว์ เสียงรบกวนจากการร้องของสัตว์ รวมถึงน้าเสีย
จากการลา้ งคอกสตั ว์ หรือตวั สตั วเ์ ปน็ ตน้
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ในหมวด ๖ กาหนดให้มีการควบคุมการเล้ียงสัตว์หรือปล่อยสัตว์ โดยให้
อานาจแก่ราชการส่วนท้องถิ่นในการออกข้อกาหนดท้องถ่ิน เพื่อกาหนดเขตควบคุมการเลี้ยงสัตว์หรือปล่อยสัตว์ ทั้งในเร่ือง
ประเภทของสตั วท์ ห่ี า้ มเลย้ี ง กรรมวธิ กี ารเลย้ี ง การป้องกนั เหตรุ าคาญ และการปลอ่ ยสัตวใ์ นทห่ี รือทางสาธารณะด้วย ข้อกาหนด
ของทอ้ งถ่นิ ทีก่ าหนดเขตควบคุมการเล้ียงหรอื ปล่อยสัตว์สามารถแบ่งได้ ๓ ลักษณะดังนี้
๑. เขตห้ามเล้ียงหรือปล่อยสัตว์บางชนิดโดยเด็ดขาด คือ เขตพ้ืนที่ใดพื้นที่หน่ึงท่ีมีความเจริญ เป็นชุมชนหนาแน่น เป็น
สถานท่หี รอื แหล่งท่องเที่ยว ซ่ึงไม่เหมาะสมที่จะให้มีการเล้ียงหรือปล่อยสัตว์ โดยเฉพาะสัตว์ใหญ่ เช่น ช้าง ม้า โค กระบือ สุกร
เป็นต้น และเม่ือได้มีการกาหนดเขตห้ามเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ชนิดใดในเขตพื้นที่ใดก็ตาม จะมีผลให้ประชาชนแม้มีที่เป็นของ

69

ตนเองก็ไม่อาจเล้ียงสัตว์ที่ถูกกาหนดในพ้ืนท่ีน้ันได้ เช่น กาหนดห้ามเล้ียงหรือปล่อย โค กระบือ ม้า แพะ ในบริเวณรอบหนอง
บงึ ที่เปน็ แหล่งน้าอปุ โภคบรโิ ภคของชมุ ชน เพราะจะทาให้แหล่งน้าสกปรก

๒. เขตให้เลีย้ งสัตวบ์ างชนดิ ไม่เกินจานวนทก่ี าหนด ตอ้ งกาหนดชนดิ และประเภทของสตั ว์ทห่ี ้ามใหช้ ัดเจนดว้ ย เชน่ ในเขต
ชุมชน อาคารพาณิชย์ท่ีมผี อู้ าศัยอยา่ งหนาแน่นไม่สมควรใหม้ ีสุนัขจานวนเกินกว่า ๒ ตัวต่ออาคาร ๑ คูหา เพ่ือเป็นการป้องกันมิ
ให้ก่อเหตุราคาญแก่ผู้อยู่ข้างเคียง หรือการกาหนดให้เขตพ้ืนท่ีของท้องถ่ินน้ันเป็นเขตห้ามเลี้ยงสุกรเกินกว่า ๕๐ ตัว ทั้งน้ีต้อง
ขึ้นอยกู่ บั ข้อเทจ็ จรงิ ของ ปัญหาวา่ ต้องมจี านวนเทา่ ไหร่จงึ จะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของชุมชนน้ันๆ

๓. เขตให้เลี้ยงสัตว์หรือปล่อยสัตว์บางชนิดได้โดยมีมาตรการอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยการนามาตรฐาน หลักเกณฑ์ และ
วธิ ีการทางวชิ าการมากาหนด เพอ่ื มใิ หเ้ กดิ ปัญหาด้านสขุ าภิบาลสงิ่ แวดล้อม สขุ ลกั ษณะหรือก่อใหเ้ กดิ เหตรุ าคาญ เช่น กาหนดวิธี
ปฏิบัติเกี่ยวกับการรักษาความสะอาด อาคารสถานท่ี คอกสัตว์ ตัวสัตว์ การกาจัดมูลสัตว์และสิ่งปฏิกูลต่างๆ การบาบัดน้าเสีย
รวมทั้งการควบคุมโรคติดต่อ โดยการฉีดวัคซีน แล้วแต่กรณี หรือการนาสุนัขออกไปเล้ียงนอกบ้านต้องล่ามโซ่ไปด้วย หรือ
กาหนดใหผ้ เู้ ลี้ยงสุกรต้ังแต่ ๒๐ ตวั ข้นึ ไป ต้องอยู่ห่างจากชุมชนไม่น้อยกวา่ ๑๐๐ เมตร หรอื มแี นวพ้นื ที่ว่างไม่น้อยกว่า ๕๐ เมตร
จากโรงเล้ยี ง และต้องจัดทาระบบกาจัดมูลสกุ รอย่างนอ้ ย ๑ ถัง

เมอ่ื ราชการสว่ นทอ้ งถนิ่ ออกเป็นข้อกาหนดของท้องถิ่นแล้ว ก็จะมีผลบังคับให้ประชาชนในเขตพ้ืนท่ีน้ันๆ ต้องปฏิบัติตาม
หากใครฝ่าฝืนจะมีโทษปรับไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท และในการกาหนดเขตควบคุมดังกล่าวจะต้องกาหนดขอบเขตให้ชัดเจน และ
ตอ้ งขึน้ อยูก่ ับปญั หา และต้องมีเหตุมีผล มขี ้อเทจ็ จริงตามสภาพส่งิ แวดลอ้ มของชมุ ชนน้นั ๆ หากไมม่ เี หตผุ ล ประชาชนย่อมมีสิทธิ
ฟ้องศาลปกครองให้เพิกถอนข้อกาหนดของทอ้ งถิ่นนนั้ ได้

กฎหมายจึงเปน็ เครื่องมือและเปน็ หลักปฏบิ ัตขิ องสงั คม ท่จี ะทาให้ดาเนินไปไดอ้ ยา่ งมรี ะเบียบเกดิ ความเรียบร้อย และเป็น
ปกติสุข และยังเป็นแนวทางให้ชุมชนได้ปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน กฎหมายจึงมีบทบาทสาคัญต่อการอยู่ร่วมกันไม่ว่าจะเป็น
มนษุ ย์หรือสัตว์ซง่ึ อยภู่ ายใตก้ ารดแู ลและรบั ผิดชอบของมนุษย์ และถ้าไม่มีกฎหมายเข้ามาควบคุมดูแลสัตว์เล้ียงเหล่านี้ ลองคิดดู
วา่ จะเกิดปญั หาอะไรตามมา


Click to View FlipBook Version