วิทยาลัยอาชีวะศึกษา บทที่10
การใช้กรณีศึกษาและ
เหตุการณ์จริงวิเคราะห์ตัดสินใจเพื่ อ
การจัดการ
รหัสวิชา 30001-1002 PLVC
ดร.สิริมนต์ นฤมลศิริ
ห ลั ก สู ต ร ป ร ะ ก า ศ นี ย บั ต ร วิ ช า ชี พ ชั้ น สู ง ( ป ว ส . ) พ . ศ 2 5 6 3
ศิลปะในยุคโซเชียลมีเดีย
สาระสำคัญ
การสอนโดยใช้กรณีตัวอย่างเป็นวิธีสอนที่ใช้กรณีหรือเรื่องต่าง 1 ที่เกิดขึ้นจริงมาตัตแปลงเพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาวิเคราะห์ ให้เกิดการ
เรียนรู้อย่างกว้างขวาง ทำให้ผู้เรียนได้รู้จักวิธีการคิดและการนำข้อมูลต่าง ๆ มาประกอบการพิจารณาเพื่อตัดสินใจหาทางแก้ปัญหาหรือหาคำตอบ
ในเรื่องหนึ่งเรื่องใด
การประกอบธุรกิจก็เช่นเดียวกันจะต้องมีการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ มากมายหลายเรื่อง หลายครั้งที่การตัดสินใจผิดพลาดอาจนำไปสู่
ความล้มเหลวของธุรกิจ ดังนั้นการตัดสินใจจึงมีความสำคัญต่อการประกอบธุรกิจไม่น้อยเลยทีเดียวเพราะการตัดสินใจหลายเรื่องมีผลต่อความ
อยู่รอดหรือลัมเหลวของธุรกิจ ดังนั้นการศึกษากรณีตัวอย่างต่าง ๆจึงเปรียบเสมือนเป็นการติดอวุธทางปัญญาให้กับผู้ประกอบการเพื่อใช้เป็น
ข้อมูลพื้นฐานในการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ และความผันแปรของปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สมรรถนะประจำหน่วย
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการใช้กรณีศึกษาและเหตุการณ์
จริงในการวิเคราะห์ตัดสินใจเพื่ อการจัดการ
2.ประยุกต์ใช้กรณีศึกษาในการวิเคราะห์ตัดสินใจเพื่ อการ
จัดการตามหลักการ
3. เสริมสร้างเจตคติที่ดีโดยใช้กรณีศึกษาในการวิเคราะห์
ตัดสินใจเพื่ อการจัดการ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของกรณีศึกษาได้
2. อธิบายลักษณะสำคัญของกรณีศึกษาได้
3. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง CASE และ CASE STUDY ได้
4. จำแนกองค์ประกอบของกรณีศึกษาได้
5. แสดงขั้นตอนการจัดกิจกรรมโดยใช้กรณีศึกษาได้
6. อธิบายบทบาทของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนโดยใช้กรณีศึกษาได้
7. นิยามความหมายของการตัดสินใจได้
8. วิเคราะห์องค์ประกอบของการตัดสินใจได้
9. จำแนกของประเภทของการตัดสินใจได้
10. วางแผนกระบวนการตัดสินใจได้
11. ประเมินสถานการณ์ของการตัดสินใจได้
12. ประยุกต์ใช้ตัวอย่างของกรณีศึกษาได้
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของกรณีศึกษา
2. ลักษณะสำคัญของกรณีศึกษา
3. ความแตกต่างระหว่าง CASE และ CASE STUDY
4. องค์ประกอบของกรณีศึกษา
5. ขั้นตอนการจัดกิจกรรมโดยใช้กรณีศึกษา
6. บทบาทของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนโดยใช้กรณีศึกษา
7. ความหมายของการตัดสินใจ
8. องค์ประกอบของการตัดสินใจ
9. ประเภทของการตัดสินใจ
10. กระบวนการตัดสินใจ
11. สถานการณ์ของการตัดสินใจ
12. ตัวอย่างของกรณีศึกษา
1. ความหมายของกรณีศึกษา
กรณีศึกษาเป็นเครื่องมือประเภทหนึ่งที่ใช้สำหรับการเรียนการสอน โตยมีลักษณะเป็นเรื่องสั้นที่
เขียนขึ้นเพื่ อบรรยายสภาพการณ์ของเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องและ
สถานการณ์ที่เป็นปัญหาที่สมควรได้รับการแก้ไข หรือประเต็นสำคัญที่ต้องตัดสินใจภายในช่วงเวลาที่
กำหนด โดยผู้เรียนจะเป็นผู้ระบุปัญหา วิเคราะห์หลักฐาน พิ จารณาอย่างเป็นเหตุเป็นผล ประเมิน
สถานการณ์ และนำเสนอทางแก้ไขปัญหาของกรณีศึกษานั้น " ดังที่มีนักวิซาการได้ให้คำนิยามของกรณี
ศึกษาไว้หลากหลายดังนี้
ซิย์เคสและเบิร์ด (SYKES AND BIRD, 1992)
กล่าวว่า กรณีศึกษา (CASESTUDY) คือ การบอกเล่าสภาพการณ์ของ
ธุรกิจและสถานการณ์ที่ต้องตัดสิ นใจโดยมีจุดมุ่งหมายที่เรียนรู้บทเรียนความ
สำเร็จและความผิดพลาดของธุรกิจต่าง ๆตลอดจนการพั ฒนาระบบการคิด
วิเคราะห์อย่างรอบด้านโดยไม่กระทบความเสี่ ยงที่อาจเกิดขึ้นในสถานการณ์
จ ริ ง
บาร์โรว์สและทัมบลีน (BARROWS AND TAMBLYN, 1980)
ได้ให้ความหมายว่ากรณีศึกษา (CASE STUDY) คือ กรณีเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
จริง ซึ่งได้มีการรวบรวมมาเสนอให้ทราบข้อเท็จจริงพร้อมทั้งข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่ อจะ
ไ ด้ ศึ ก ษ า อ ภิ ป ร า ย แ ล ก เ ป ลี่ ย น ค ว า ม คิ ด เ ห็ น แ ล ะ วิ เ ค ร า ะ ห์ เ รื่ อ ง ร า ว ที่ เ กิ ด ขึ้ น แ ล้ ว ส รุ ป แ น ว ท า ง ก า ร
ตัดสิ นใจหรือวิธีแก้ปัญหาที่เห็นว่าดีที่สุ ดเหมาะสมที่สุ ด และอำนวยประโยชน์มากกว่าแนวทาง
หรือวิธีแก้ปัญหาอื่น ๆ
เฮนรี่ย์ (HENRIED, 1997)
ได้ให้ความหมายว่า กรณีศึกษา (CASE STUDY)คือ "เรื่องราวที่มีข้อความบรรยาย" หรือ
"เรื่องราวที่ใช้สำหรับศึกษา" สาขาแรกที่เริ่มใช้กรณีศึกษามาช่วยในการเรียนการสอน คือ
ก ลุ่ ม ส า ข า ธุ ร กิ จ แ ล ะ ส า ข า ก า ร แ พ ท ย์ ทั้ ง นี้ เ พ ร า ะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก ร ณี ศึ ก ษ า จ ะ มี เ นื้ อ ห า ที่ เ ป็ น ปั ญ ห า
ท้ า ท า ย ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า ก่ อ น ที่ จ ะ ไ ด้ ล ง มื อ ป ฏิ บั ติ นั่ น เ อ ง
สรุป
สรุปกรณีศึกษา (CASE STUDY) คือ เรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง
ซึ่งได้มีการรวบรวมมาเสนอให้ทราบข้อเท็จจริง พร้อมทั้งข้อมูลต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง เพื่ อจะได้ศึกษาอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิเคราะห์เรื่อง
ราวที่เกิดขึ้น แล้วสรุปแนวทางการตัดสิ นใจหรือวิธีแก้ปัญหาที่เห็นว่าดีที่สุ ดเหมาะ
สมที่สุ ด และอำนวยประโยชน์มากกว่าแนวทางหรือวิธีแก้ปัญหาอื่นๆ
2.ลักษณะสำคัญของกรณีศึกษา
กรณีศึกษาที่ใช้เพื่ อการเรียนการสอน มีลักษณะสำคัญคือ เป็นเรื่องสั้นที่เขียนขึ้นเพื่ อ
บรรยายสภาพการณ์ของเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องและ
สถานการณ์คับขันที่สมควรได้รับการแก้ไข หรือประเด็นปัญหาที่ต้องตัดสินใจภายในช่วง
เวลาที่กำหนด และข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการตัดสินใจนอกจากนี้ลักษณะของกรณีศึกษาเพื่ อ
การเรียนการสอนก็ยังมีประเด็นทีต้องพิ จารณาอีกคือ ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
การเรียนรู้ตามที่ผู้สอนกำหนดและมีขนาดความยาวของเรื่องที่เอื้อต่อการเตรียมตัวเพื่ อ
ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม
ปั จ จุ บั น ก า ร นำ ก ร ณี ศึ ก ษ า เ ข้ า ม า ใ ช้ ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น จั ด เ ป็ น รู ป แ บ บ ก า ร
เรียนรู้ที่เรียกว่าPROBLEM-BASED LEARNING: PBL เป็นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น
ฐาน หรือเป็นวิธีการเรียนรู้ที่เป็นผลมาจากการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้ที่ผู้เรียนทำการสื บ
คันเอง ซึ่งการสอนโดยใช้กรณีศึกษานี้จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แนวคิดทาวิทยาศาสตร์
บริบทของสิ่ งต่าง ๆ หรือสภาพแวดล้อมที่ผู้เรียนรู้แล้ว ทำให้ง่ายต่อการเชื่อมโยแนวคิด
ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นนามธรรมกับสิ่ งต่าง ๆ ที่ผู้เรียนเคยรู้เคยเห็นและเคยใช้ในชีวิต
ประจำวัน ดังนั้นจึงเป็นที่ยอมรับว่ากรณีศึกษาทำให้การเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดขึ้นอย่างมี
ประสิ ทธิภาพด้วยเหตุผลดังนี้
ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองบนพื้ นฐานจากสิ่ งที่รู้อยู่แล้วกับสิ่ งที่ผู้เรียน
สนใจนำมาสั มพั นธ์กับกรณีศึกษา ทำให้พั ฒนาการสร้างคำถามที่มีความหมายทาง
วิทยาศาสตร์และนำไปสู่ การสื บค้นต่อไป
ผู้ เ รี ย น จ ะ ต้ อ ง ทำ ง า น เ ป็ น ก ลุ่ ม อ ย่ า ง ร่ ว ม มื อ ร่ ว ม ใ จ กั น ใ น ร ะ ห ว่ า ง ที่ ผู้ เ รี ย วิ เ ค ร า ะ ห์
กรณีศึกษานั้นเพื่ อหาข้อสรุปของกลุ่มว่าได้รู้อะไรบ้างจากกรณีศึกษาและอยากรู้อะไร
เพิ่ มเติมอีกบ้าง
ผู้เรียนจะได้เรียนรู้การให้เกียรติและการเคารพความคิดซึ่งกันและกัน รวมทั้งมกระ
บ ว น ก า ร ป รั บ แ น ว ค ว า ม คิ ด ที่ ค ล า ด เ ค ลื่ อ น ข อ ง ส ม า ชิ ก ใ น ร ะ ห ว่ า ง ที่ มี ก า ร อ ภิ ป ร า ย ใ น ก ลุ่ ม
ผู้เรียนได้เผชิญและแก้ปัญหาโดยไม่ต้องรอให้เกิดปัญหาจริง อีกทั้งเป็นการเปิด
โอกาสให้ผู้เรียนสควเคราะห์และเรียนรู้ความคิดของผู้อื่น ซึ่งช่วยให้ผู้เรียนมีมุมมองที่
ก ว้ า ง
สรุป
การใช้กรณีศึกษาช่วยให้ผู้เรียนได้พั ฒนาทักษะการคิตขั้นสู งนั้น ควรเป็น
ปัญหาที่ผู้เรียนพบในชีวิตประจำวัน ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนรู้สึ กว่าเป็นสิ่ งใกล้ตัวผู้เรียน
และสามารถนำมาประยุกต่ใช้เพื่ อให้ผู้เรียนได้เข้าใจปัญหาและสามารถแก้ไขปัญหา
นั้นได้อย่างมีเหตุผล ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กรณีศึกษา มีลักษณะ
สำคัญคือ ทำให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง มีการร่วมมือกัน
ทำงานเป็นกลุ่ม ตลอดจนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ความคิดของผู้อื่น
3.ความแตกต่างระหว่าง CASE
และ CASESTUDY
เพื่ อทำความเข้ าใจให้ ตรงกั นระหว่ างคำว่ า CASE และ CASE STUDY ซึ่ งแปลว่ า
กรณี ศึ กษาทั้ งสองคำนั้ น แต่ มี ความหมายในการนำไปใช้ ที่ แตกต่ างกั น (ยาใจ พงษ์
บริ บู รณ์ ,2553) ดั งนี้
CASE คื อ กรณี ศึ กษาที่ ใช้ เพื่ อการเรี ยนการสอนมี ลั กษณะเป็ นเรื่ องสั้ นที่ เขี ยนขึ้ น
เพื่ อบรรยายสภาพการณ์ ของเหตุ การณ์ ใดเหตุ การณ์ หนึ่ ง บทบาทของผู้ ที่ เกี่ ยวข้ อง และ
สถานการณ์ คั บขั นที่ สมควรได้ รั บการแก้ ไข หรื อประเด็ นปั ญหาที่ ต้ องตั ดสิ นใจภายในช่ วง
เวลาที่ กำหนด และข้ อมู ลที่ เกี่ ยวข้ องในการตั ดสิ นใจ เช่ น CASE เกี่ ยวกั บการรั บงานยาก
ที่ ไม่ เคยทำมาก่ อน การได้ รั บงานเยอะและเร่ งด่ วน
CASE STUDY คื อ กรณี ศึ กษาที่ สะท้ อนถึ งเรื่ องราว ปั จจั ยแห่ งผลสำเร็ จ อุ ปสรรค
หรื อเรื่ องราวของเหตุ การณ์ ที่ ผ่ านการวิ เคราะห์ มาอย่ างรอบด้ านและสรุ ปมาเป็ นเรื่ องราว
ให้ ผู้ อ่ านเข้ าใจได้ ง่ ายหรื อเรื่ องราวของการดำเนิ นธุ รกิ จใดธุ รกิ จหนึ่ งที่ ประสบปั ญหาและ
หาแนวทางแก้ ปั ญหานั้ น ๆ ได้ จนประสบความสำเร็ จและมี ชื่ อเสี ยงเป็ นที่ ยอมรั บอย่ าง
กว้ างขวาง ซี่ ง CASE STUDY เหล่ านี้ จะสามารถใช้ เป็ นแนวทางในการศึ กษาของผู้ เรี ยน
ได้ เป็ นอย่ างดี โดยเป็ นการเปิดโอกาสให้ ผู้ เรี ยนได้ ฝึ กทั กษะการคิ ดอย่ างรอบด้ าน ได้ แก่
ร้ านแดงแหนมเนื อง ร้ านไก่ ทอด KFC ร้ านสุ กี้ MK
สรุป
CASE เป็นกรณีศึกษาที่ใช้เพื่ อการเรียนการสอนมีลักษณะเป็นเรื่องสั้นที่บรรยาย
สภาพการณ์ของเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ซึ่งจะช่วยฝึกฝนวิธีการเอาชนะปัญหา
และอุปสรรคที่เจออยู่บ่อย ๆ ส่วนCASE STUDY เป็นกรณีศึกษาที่สะท้อนถึงเรื่อง
ราว ปัจจัยแห่งผลสำเร็จ อุปสรรคหรือเรื่องราวของเหตุการณ์ที่ผ่านการวิเคราะห์
มาอย่างรอบด้านและสรุปมาเป็นเรื่องราวให้ผู้อ่านได้ศึกษาเพื่ อเป็นแนวทางในการ
ประยุกต์ใช้
4.องค์ประกอบของกรณีศึกษา
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ สำ คั ญ ใ น ก า ร ใ ช้ ก ร ณี ศึ ก ษ า สำ ห รั บ ห้ อ ง เ รี ย น นั้ น ค ว ร มี อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ
3 ด้านหลัก ได้แก่กรณีศึกษาที่ใช้ กิจกรรมที่ใช้ และบรรยากาศในห้องเรียน โดยใน
แต่ละองค์ประกอบควรมีลักษณะที่สำคัญ ๆดังต่อไปนี้
กรณีศึกษาที่ใช้ ควรมีลักษณะดังนี้
1. เขียนด้วยข้อความบรรยายที่ชัดเจน ใช้คำสอดคล้องกันและไม่ควรมีความยาวจนเกินไป
2. มีเนื้อหาบนพื้ นฐานของเรื่องจริงและมีความสัมพั นธ์กับชีวิตประจำวันของผู้เรียน
3. มีจุดเน้นที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์ธรรมชาติหรือข้อปัญหา หรือด้านวิทยาศาสตร์
4. กระตุ้นให้ผู้เรียนตั้งคำถามเพื่ อนำไปสู่การสืบเสาะหาความรู้หรือแนวทางแก้ปัญหาต่อไป
5. ส่งเสริมให้มีการบูรณาการทางวิชาการ เช่น มีเนื้อหาเกี่ยวกับเทคโนโลยี สังคมและ
สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
กิจกรรมที่ใช้ ควรมีลักษณะดังนี้
1. สร้างคำถามให้ผู้เรียนที่ส่งเสริมทักษะการคิดหลายด้าน เช่น ความเข้าใจในเนื้อหาต่าง ๆ
การนำความรู้เดิมมาใช้ การคิดวิเคราะห์ข้อมูล การแสดงความคิดเห็นสำหรับการโต้แย้งได้
อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม ก า ร ตั้ ง คำ ถ า ม ห รื อ นำ เ ส น อ แ น ว ท า ง ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ที่ ส ร้ า ง ส ร ร ค์
2.ทำกิจกรรมเพิ่ มเติมอื่น ๆ เช่น การทดลอง การเขียนแผนผังแนวคิด การอภิปรายในชั้น
เรียนการโต้วาที เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น
3.การบูรณาการเพิ่ มเติมด้วยกิจกรรมทางสิ่งแวดล้อม หรือกิจกรรมทางสังคม
บรรยากาศในห้องเรียน ผู้สอนควรจัดให้ห้องเรียนมีลักษณะดังนี้
1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีอิสระในการเรียน
2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
3. จัดให้มีการเรียนแบบร่วมมือในกลุ่มเล็ก ๆ
4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและประเมินตนเอง
สรุป
ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น โ ด ย ใ ช้ ก ร ณี ศึ ก ษ า เ ป็ น วิ ชี ส อ น ที่ ใ ช้ ก ร ณี ห รื อ เ รื่ อ ง
ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจริงมาตัดแปลงเพื่ อให้ผู้เรียนได้ศึกษาวิเคราะห์เพื่ อให้เกิดการ
เรียนรู้อย่างกว้างขวางทำให้ผู้เรียนได้รู้จักวิธีการคิดโดยมวัตถุประสงค์เพื่ อให้
ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วซตนเอง มีการร่วมมือกันทำงานเป็นกลุ่ม
โตยทั่วไปกรณีศึกษาจะประกอบด้วย กรณีศึกษาที่ใช้ กิจกรรมที่ใช้ และ
บ ร ร ย า ก า ศ ใ น ห้ อ ง เ รี ย น
5.ขั้นตอนการจัดกิจกรรมโดยใช้
กรณีศึกษา
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับกรณีศึกษานั้น ควรเป็นเรื่องพั ฒนามาจากเรื่องราวหรือสถานการณ์
ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ ริ ง ค ว ร เ ป็ น ป ร ะ เ ด็ น ห รื อ ปั ญ ห า ม า ก ก ว่ า ก า ร ส อ น ห ลั ก ก า ร ห รื ฮ ท ฤ ษ ฎี ก ร ณี ศึ ก ษ า ที่ ม า เ ป็ น ตั ว อ ย่ า ง
ควรนำเสนอด้วยวิธีการเล่าเรื่อง โดยจะต้องลำดับให้เข้าใจง่ายและมีความกระจ่างของสิ่งที่ต้องการนำเสนอ
นั้ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ด ย ใ ช้ ก ร ณี ศึ ก ษ า มี ขั้ น ต อ น ดั ง นี้
ขั้นเตรียมการ ผู้สอนควรมีการแนะนำวิธีการใช้กรณีศึกษาให้ชัดเจนถึงจุดมุ่งหมายหรือปัญหาที่
รียนจะต้องพิ จารณาการตอบคำถามหลังการอ่าน และแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยตามความ
กลุ่มละ 5-7 คน
ชั้นเสนอกรณีศึกษา ผู้สอนอาจมีการใช้สื่อประกอบ เช่น เอกสารหรือรูปภาพ เพื่ อให้ผู้เรียนได้
ท บ ท ว น ใ น ขั้ น วิ เ ค ร า ะ ห์
ขั้นวิเคราะห์ ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันระดมสมองเพื่ ออภิปราย รวบรวมข้อมูลวิเคราะห์และ
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกรณีศึกษา เพื่ อตัดสินใจหาแนวทางแก้ปัญหาและสรุปผลการอภิปรายของ
สมาชิกกลุ่ม อาจมีตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการอภิปรายหน้าชั้นเรียน
ขั้นสรุป ผู้เรียนทั้งชั้นเรียนร่วมกับผู้สอนอภิปรายหาข้อสรุปเกี่ยวกับสาเหตุของปัญหา และ
แนวทางในการตัดสินใจแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา ซึ่งควรสอดคล้องกับหลักการทางวิทยาศาสตร์
ขั้นประเมิน ผู้สอนสามารถประเมินได้จากการตอบปัญหาและจากการสังเกต การร่วมสนทนา
การรายงาน การตอบคำถาม และการทำงานกลุ่มของผู้เรียน
สรุป
วิ ธี ส อ น โ ด ย ใ ช้ ก ร ณี ศึ ก ษ า เ ป็ น วิ ธี ก า ร ที่ ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ ฝึ ก ฝ น แ ก้ ปั ญ ห า โ ด ย ไ ม่
ต้ อ ง ร อ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า จ ริ ง เ ป็ น ก า ร เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ เ รี ย น รู้
ความคิดของผู้อื่น ช่วยให้ผู้เรียนมีมุมองที่กว้างขึ้นผู้สอนจึงมีหน้าที่เตรียมกรณี
ศึกษาและขั้นตอนการจัดกิจกรรมโดยใช้กรณีศึกษา ซึ่งประกอบด้วยชั้นเตรียม
การ ชั้นเสนอกรณีศึกษา ชั้นวิเคราะห์ ชั้นสรุป และชั้นประเมิน
6.บทบาทของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การเรียนการสอนโดยใช้กรณีศึกษา
เมื่ อกรณี ศึ กษา คื อการบอกเล่ าสภาพการณ์ ของธุ รกิ จและสถานการณ์ ที่ ควรต้ องตั ดสิ นใจ โดยมี
จุ ดมุ่ งหมายที่ เรี ยนรู้ บทเรี ยนความสำเร็ จและความผิ ดพลาดของธุ รกิ จต่ าง ๆ ตลอดจนพั ฒนาระบบการคิ ด
ราะห์ อย่ างรอบด้ านโดยไม่ กระทบกั บความเสี่ ยงที่ อาจเกิ ดขึ้ นในสถานการณ์ จริ งแล้ ว ดั งนั้
ย่ อมเกี่ ยวข้ องกั บบุ คคลหลายส่ วน ได้ แก่
ผู้ เรี ยน การจั ดการเรี ยนการสอนด้ วยกรณี ศึ กษาจะเรี ยกว่ าประสบผลสำเร็ จได้ ก็ ต่ อเมื่ อได้ เห็ น
ผลสั มฤทธิ์ ในตั วผู้ เรี ยน ให้ มี ความพร้ อมรั บมื อกั บสถานการณ์ จริ ง ซึ่ งสุ ดท้ ายการเรี ยนการสอนด้ วยกรณี
ศึ กษาที่ ประสบความสำเร็ จ จะผลิ ตบุ คลากรที่ มี คุ ณภาพพร้ อมใช้ งานเข้ าสู่ ตลาดแรงงานในภาคธุ รกิ จต่ อไป
ผู้ สอน คื อ ฟันเฟืองหลั กในการผลิ ตกรณี ศึ กษาที่ ได้ คุ ณภาพและถ่ ายทอด แนวคิ ดวิ เคราะห์ สั งเคราะห์
โดยการใช้ กรณี ศึ กษาให้ เกิ ดประโยชน์ สู งสุ ดแก่ ผู้ เรี ยน โดยการสร้ างเครื่ องมื อการเรี ยนรู้ ที่ มี ประสิ ทธิ ภาพใน
การฝึ กกระบวนการคิ ดวิ เคราะห์ ของผู้ เรี ยน
สถาบั นการศึ กษาและผู้ วางนโยบายการศึ กษา เป็ นผู้ วางนโยบายกรอบการดำเนิ นงานผลั กดั น
สร้ างแรงจู งใจให้ ผู้ สอนใช้ กรณี ศึ กษาเป็ นเครื่ องมื อในการสอน รวมถึ งการฝึ กอบรมครู ให้ สามารถผลิ ต
กรณี ศึ กษา และมี การจั ดการเรี ยนการสอนด้ วยกรณี ศึ กษาที่ มี ประสิ ทธิ ภาพ
องค์ การต่ าง ๆ ในภาคธุ รกิ จ ในฐานะที่ เป็ นผู้ รั บผลประโยชน์ จากความรู้ ความสามารถของผู้ เรี ยน
ที่ ได้ รั บการพั ฒนาจากสถาบั นการศึ กษา มี ความต้ องการบั ณฑิ ตใหม่ ที่ พร้ อมใช้ งาน และเป็ นแหล่ งข้ อมู ล
สำคั ญในการจั ดทำกรณี ศึ กษาเพื่ อการเรี ยนรู้ จากองค์ การธุ รกิ จ ซึ่ งได้ แก่ ธุ รกิ จ ห้ างหุ้ นส่ วน บริ ษั ทจำกั ด
และแฟรนไชส์ ต่ าง ๆ
สรุป
ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น โ ด ย ใ ช้ ก ร ณี ศึ ก ษ า เ ป็ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ที่ นำ เ ส น อ ก ร ณี
ศึกษาให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ สังเคราะห์ ศึกษาจาก
สถานการณ์จริงหรือที่กำหนดให้ นับเป็นรูปแบบการเรียนที่ใช้การมีปฏิสัมพั นธ์ระหว่างผู้
เรียนกับผู้สอนและองค์การต่างในภาคธุรกิจ การจัดการเรียนการสอนด้วยกรณีศึกษา
จึงมีผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้เรียน ผู้สอน สถาบันการศึกษาและผู้วางนโยบายการศึกษา
และองค์การต่าง ๆ ในภาคธุรกิจ
7.ความหมายของการตัดสินใจ
การตัดสินใจเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นปกติในชีวิตประจำวันของทุกคน บางครั้งก็ส่งผลที่ดีต่อผู้ที่
ตัดสินใจแต่ในบางครั้งก็อาจจะส่งผลที่ไม่ดีต่อผู้ตัดสินใจได้เช่นเดียวกันซึ่งจะใช้คำว่า "ตัดสินใจได้
ถูกต้อง" ในกรณีที่ผลลัพธ์ออกมาดี และในขณะเดียวกันก็ใช้คำว่า "ตัดสินใจผิดพลาด"ในกรณีที่
ผลลัพธ์ออกมาไม่ได้เป็นไปอย่างที่บุคคลต้องการ การตัดสินใจมีความจำเป็นต่อการบริหารงานใน
ทุกองค์การ ผู้บริหารควรมีความเข้าใจในความสำคัญของการตัดสินใจและมีหลักการในการตัดสินใจ
ได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง การตัดสินใจจึงเป็นหน้าที่สำคัญของผู้บริหารอย่างหลีกเสี่ยงไม่ได้ ได้
มี นั ก วิ ช า ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ดั ง นี้
สมคิด บางโม (2548)
กล่าวว่า การตัดสินใจ หมายถึง การตัดสินใจเลือกทางปฏิบัติ ซึ่งมีหลายทางเป็นแนวปฏิบัติไปสู่
เป้าหมายที่วางไว้ การตัดสิอาจเป็นการตัดสินใจที่จะกระทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือหลายสิ่งหลาย
อย่างเพื่ อความสำเร็จตรงตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ในทางปฏิบัติ การตัดสินใจมักเกี่ยวข้องกับปัญหา
ที่ยุ่งยากสลับชับซ้อน และมีวิธีการแก้ปัญหาให้วินิจฉัยมากกว่าหนึ่งทางเสมอ ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่
ข อ ง ผู้ วิ นิ จ ฉั ย ปั ญ ห า ว่ า จ ะ เ ลื อ ก สั่ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ โ ด ย วิ ธี ใ ด จึ ง จ ะ บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย อ ย่ า ง ดี ที่ สุ ด แ ล ะ
บั ง เ กิ ด ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ สู ง สุ ด แ ก่ อ ง ค์ ก า ร นั้ น
บรรยงค์ โตจินดา (2548)
กล่าวว่า การวินิจฉัยสั่งการหรือการตัดสินใจหมายถึง การที่ผู้บริหารหรือผู้บังคับ
บัญชาพิ จารณาตัดสิ่นใจและสั่งการในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การวินิจฉัยสั่งการ หรือการ
ตัดสินใจเป็นเรื่องที่มีความสำคัญมาก เพราะการวินิจฉัยสั่งการจะเป็นการเลือกทาง
เลือกดำเนินการที่ดีที่สุดในบรรดาทางเลือกหลาย ๆ ทาง
จนส์และเบ็ค (JONES & BECK, 1996)
ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ใ น อ ง ค์ ก า ร ว่ า เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ที่ จ ะ แ ก้ ไ ข
ปั ญ ห า ข อ ง อ ง ค์ ก า ร โ ด ย ก า ร ค้ น ห า ท า ง เ ลื อ ก แ ล ะ เ ลื อ ก ท า ง เ ลื อ ก ห รื อ แ น ว ท า ง
ปฏิบัติที่ดีที่สุด เพื่ อบรรลุเป้าหมายขององค์การที่ได้กำหนดไว้
สรุป
การตัดสินใจ (DECISION MAKING) หมายถึง กระบวนการในการคัดเลือกเพื่ อการ
ปฏิบัติที่มีทางเลือกอยู่หลายทาง และผลลัพธ์มีความแตกต่างกัน ในการตัดสินใจนี้จะมี
ขั้นตอนที่เริ่มต้นจากการที่ได้ตระหนักถึงปัญหา และขั้นตอนสุดท้ายจะนำไปสู่การตัดสิน
ใ จ อ ย่ า ง มี เ ห ตุ ผ ล
8.องค์ประกอบของการตัดสินใจ
เนื่ องจากการตั ดสิ นใจนั้ นมี ความยุ่ งยากชั บซ้ อนเกิ นกว่ าที่ จะใช้ อารมณ์ หรื อความรู้ สึ กมา
ช่ วยในการตั ดสิ นใจ ผู้ ตั ดสิ นใจจึ งควรที่ จะเรี ยนรู้ เทคนิ คในการตั ดสิ นใจเพื่ อทำให้ สามารถ
ตั ดสิ นใจได้ "ดี ขึ้ น" คำว่ า"ดี ขึ้ น" นี้ หมายความว่ า เป็ นการตั ดสิ นใจภายใต้ ข้ อมู ลที ถู กต้ องครบ
ถ้ วน แต่ การตั ดสิ นใจที่ ดี ไม่ จำเป็ นจะต้ องได้ ผลลั พธ์ ที่ ดี เสมอไป เพราะไม่ มี ใครยื นยั นว่ าการ
ตั ดสิ นใจนั้ นจะส่ งผลกระทบอย่ างไรในอนาคตอย่ างไรก็ ตามการตั ดสิ นใจที่ ดี นั้ นย่ มทำให้
"โอกาส" ที่ จะได้ รั บผลลั พธ์ ที่ ดี มี สู งกว่ าอย่ างแน่ นอน ในการตั ดสิ นใจนั้ นจะมี องค์ ประกอบที่
สำคั ญดั งนี้
1. ผู้ ตั ดสิ นใจเป็นสำคั ญ ดั งนั้ นผู้ ตั ดสิ นใจจำเป็ นต้ องมี ข้ อมู ล มี เหตุ ผล มี ค่ านิ ยมที่ ถู กต้ อง
สอดคล้ องต่ อการบรรลุ ผู้ ทำการตั ดสิ นใจ เป็ นองค์ ประกอบที่ สำคั ญที่ สุ ดเพราะการตั ดสิ น
ใจจะดี หรื อไม่ นั้ นขึ้ นอยู่ กั บเป้ าหมายองค์ การ แต่ ในบางครั้ งถ้ าผู้ ทำการตั ดสิ นใจขาดข้ อมู ล
ที่ ถู กต้ อง ขาดเหตุ ผล และมี ค่ านิ ยมที่ สอดคล้ องแล้ วจะทำให้ ผลของการตั ดสิ นใจไม่ ดี พอ
2. ทางเลื อกในการตั ดสิ นใจ หากมี เพี ยงทางเลื อกเดี ยวแล้ วการตั ดสิ นใจย่ อมที่ จะไม่ ซั บซ้ อน
เนื่ องจากไม่ จำเป็ นต้ องวิ เคราะห์ เปรี ยบเที ยบแต่ ประการใด แโดยส่ วนใหญ่ แล้ วทางเลื อก
ในการตั ดสิ นใจมั กจะมี มากกว่ า 1 ทางเลื อก เช่ น จะเลื อกสร้ างโรงงานที่ กรุ งเทพ ฯ หรื อ
นครสวรรค์ จะเลื อกเรี ยนในประเทศหรื อต่ างประเทศ
3. ปัจจั ยที่ ใช้ ในการตั ดสิ นใจ เช่ น การเลื อกสร้ างโรงงาน ปั จจั ยที่ อาจใช้ ประกอบการตั ดสิ น
ใจ ได้ แก่ ค่ าแรงในแต่ ละพื้ นที่ ค่ าก่ อสร้ างในแต่ ละพื้ นที่ หรื อความใกล้ -ไกลจากวั ตถุ ดิ บ
เหตุ การณ์ ที่ จะเกิ ดขึ้ นในอนาคต จะเป็ นสิ่ งที่ ผู้ ตั ดสิ นใจไม่ สามารถที่ จะควบคุ มได้ แต่ จะส่ ง
ผลลั พธ์ ต่ อการตั ดสิ นใจ เช่ น ในการสร้ างโรงงานนั้ นเหตุ การณ์ ที่ อาจเกิ ดขึ้ นในอนาคต
ได้ แก่ เศรษฐกิ จจะดี หรื อไม่ ดี
สรุป 2. 3.
ท า ง เ ลื อ ก ใ น ปั จ จั ย ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร
ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ( D E C I S I O N M A K I N G ) ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ตั ด สิ น ใ จ
เ ป รี ย บ เ ส มื อ น หั ว ใ จ ข อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า แ ล ะ
บ ริ ห า ร ง า น ทั้ ง นี้ เ พ ร า ะ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ จ ะ มี อ ยู่ ๅ. 4.
ใ น แ ท บ ทุ ก ขั้ น ต อ น แ ล ะ ทุ ก ร ะ บ ว น ก า ร ข อ ง ผู้ ทำ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ เ ห ตุ ก า ร ณ์ ที่ จ ะ เ กิ ด
ก า ร ทำ ง า น แ ม้ แ ต่ บุ ค ค ล ทั่ ว ไ ป ก็ ไ ม่ อ า จ ห ลี ก ขึ้ น ใ น อ น า ค ต
เ ลี่ ย ง เ รื่ อ ง ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ไ ด้ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ
นั้นจะอาศัยองค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ ผู้
ทำ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ท า ง เ ลื อ ก ใ น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ
ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินใจ และเหตุการณ์
ที่ จ ะ เ กิ ด ขึ้ น ใ น อ น า ค ต
9.ประเภทของการตัดสินใจ
ก า ร ตั ด สิ น ใ จ เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ที่ จำ เ ป็ น แ ล ะ มี ค ว า ม สำ คั ญ ต่ อ ภ า ว ะ ผู้ นำ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ง า น เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก จ น ถื อ เ ป็ น
หัวใจสำคัญของการบริหารงานองค์การ การตัดสินใจเป็นการเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดจากทางเลือกหลาย ๆ ทาง
เลือก เพื่ อให้องค์การได้ประโยชน์สูงสุด และไม่มีความเสียหายผิดพลาดหรือมีน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยทั่วไป
การตัดสินใจสามารถแบ่งได้ 3 ประเภท ดังนี้
9.1 การตัตสินใจแบบโครงสร้าง (STRUCTURE DECISION)
การตัดสินใจแบบโครงสร้าง บางครั้งเรียกว่า แบบกำหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว (PROGRAMMED)
เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นประจำ จึงมีมาตรฐานในการตัดสินใจเพื่ อแก้ปัญหาอยู่แล้ว
โดยวิธีการแก้ปัญหาที่ดีที่สุดจะถูกกำหนดไว้อย่างชัดเจนตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ เช่น การหาระดับ
สินค้าคงคลังที่เหมาะสม การเลือกใช้กลยุทธ์ในวิธีการลงทุนที่เหมาะสมที่สุด
9.2 การตัดสินใจแบบไม่เป็นโตรงสร้าง (UNSTRUCTURED DECISION)
การตัดสินใจแบบไม่เป็นโครงสร้าง บางครั้งเรียกว่า แบบไม่เคยกำหนดล่วงหน้ามาก่อน
(NONPROGRAMMED) เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาซึ่งมีรูปแบบไม่ชัดเจนหรือมีความชับซ้อน
จึงไม่มีแนวทางในการแก้ปัญหาแน่นอน เป็นปัญหาที่ไม่มีการระบุวิธีแก้ไว้อย่างชัดเจนว่า ต้องทำอะไรบ้าง
และไม่มีเครื่องมืออะไรมาช่วย มักเป็นปัญหาของผู้บริหารระดับสูงต้องช้สัญชาตญาณ ประสบการณ์ และ
ความรู้ของผู้บริหารในการตัดสินใจ เช่น การวางแผนการบริการใหม่ การว่าจ้างผู้บริหารใหม่เพิ่ ม หรือ
การเลือกกลุ่มของโครงงาน
9.3 การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง (SEMI-STRUCTURE DECISION)
การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง เป็นการตัดสินใจแบบผสมระหว่างแบบโครงสร้างและแบบ
ไม่เป็นโครงสร้าง คือ บางส่วนสามารถตัดสินใจแบบโครงสร้างได้ แต่บางส่วนไม่สามารถทำได้ โดยปัญหา
แบบกึ่งโครงสร้างนี้จะใช้วิธีแก้ปัญหาแบบมาตรฐานและการพิ จารณโดยบุคคลรวมเข้าไว้ด้วยกัน คือ
มีลักษณะเป็นกึ่งโครงสร้างแต่มีความซับซ้อนมากขึ้น
สรุป
การตัดสินใจนั้นเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับทุกคนในองค์การในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ และตัดสินใจ
ว่าจะใช้วิธีการหรือเครื่องมือใดหรือใครมาแก้ไขปัญหานั้น การตัดสินใจก็จะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสภาพ
ของปัญหาและสถานการณ์ในขณะนั้น การตัดสินใจสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
1) การตัดสินใจแบบโครงสร้างใช้กับปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นประจำ 2) การตัดสินใจแบบไม่เป็นโครงสร้าง
ใช้กับปัญหาที่มีรูปแบบไม่ชัดเจนหรือมีความชับซ้อน 3)การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้างจะใช้วิธีแก้ปัญหา
แบบมาตรฐานและการพิ จารณาโดยบุคคลรวมเข้าไว้
10.กระบวนการตัดสินใจ
ในการทำงานสิ่งที่ผู้บริหารหลีกเสี่ยงไม่ได้คือ การเผชิญกับปัญหาที่ต้องตัดสินใจแก้ไข
จุดบอดของหาก็คือ การที่มองปัญหาไม่รอบคอบ คันหาปัญหาไม่เจอ รีบตัดสินใจแก้ไปด้วย
จิตสำนึกที่มีส่งผลให้ผิดพลาดได้ และต้องมาแก้ปัญหาใหม่ที่เกิดขึ้นอีกต่อไปไม่สิ้นสุด ดังนั้น
กระบวนการแก้ปัญหาจึงจำเป็นต้องอาศัยมุมมองที่ละเอียด รอบคอบ และอิงอยู่บนหลักการ
ด้วยกระบวนการตัดสินใจ (PROCESS OF DECISION MAKING) ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน
ดั ง นี้
การระบุปัญหา เริ่มต้นด้วยผู้มีหน้าที่ตัดสิ นใจจะต้องวิเคราะห์และระบุปัญหาอย่างถูกต้องจึงจะ
สามารถดำเนินการตามขั้นตอนได้ ถ้ากำหนดปัญหาผิดพลาดขั้นตอนต่อ ๆ ไปก็ย่อมผิดพลาดตาม
มาด้วยเช่น กรณีที่ยอดขายของบริษัทลดลง ซึ่งมีสาเหตุมาจากคุณภาพสิ นค้าต่ำ จะเห็นว่าการที่
ยอดขายลดลงเป็นอาการแสดง และปัญหาที่ต้องแก้ไข ได้แก่ คุณภาพของสิ นค้าต่ำ
การพั ฒนาทางเลือก ในการตัดสิ นใจที่ดีนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีทางเลือกหลาย
ท า ง ใ น แ ต่ ล ะ ท า ง เ ลื อ ก จ ะ ต้ อ ง มี คุ ณ ภ า พ ที่ ส า ม า ร ถ นำ ม า ป ฏิ บั ติ ใ ห้ เ กิ ด ผ ล ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ไ ด้
เช่น กรณีที่องค์การประสบปัญหาเวลาการผลิตไม่เพี ยงพอ ผู้บริหารอาจพิ จารณาทางเลือก
ดังนี้ 1) เพิ่ มการทำงานกะพิ เศษ 2) เพิ่ มการทำงานล่วงเวลาโดยใช้ตารางปกติ 3) เพิ่ มจำนวน
พนักงาน หรือ 41) ไม่ทำอะไรเลย ในการพั ฒนาทางเลือกผู้บริหารอาจขอความคิดเห็นจากนัก
บริหารอื่น 1 ที่ประสบความสำเร็จทั้งภายในและภายนอก
ข อ ง อ ง ค์ ก า ร
การวิเคราะห์ทางเลือก เมื่อมีทางเลือกหลายทางแล้ว ขั้นตอนนี้เป็นการวิเคราะห์ทางเลือก
ที่มีอยู่หลายทาง โดยการใช้เทคนิคต่าง ๆ เข้าช่วย เช่น ข้อมูลที่เกี่ยวข้องด้านต่าง ๆ การ
วิเคราะห์จุดคุ้มทุนEVEN ANALYSIS) ปัจจัยได้รับผลกระทบ ทางเลือกบางทางเลือกอยู่ภาย
ใต้ข้อจำกัดก็อาจทำให้เกิดผลต่อเนื่องที่ไม่พึ่ งประสงค์ตามมา เช่น ทางเลือกหนึ่งของการเพิ่ ม
ผลมลิต ได้แก่การลงทุนติดตั้งระบบคอมพิ วเตอร์ช่วยในการผลิตสิ นค้า แต่อาจมีปัญหาเกี่ยว
กั บ ก า ร ล ด ล ง ข อ ง ข วั ญ กำ ลั ง ใ จ ข อ ง พ นั ก ง า น ใ น ร ะ ย ะ ต่ อ ม า
ทำการตัดสิ นใจ หมายถึง การตัดสิ นใจอย่างเด็ดขาดภายหลังจากได้วิเคราะห์อย่าง
ละเอียดแล้วจึงจะทำการตัดสิ นใจอย่างมีเหตุผลเช่นเดียวกัน ไม่ว่าผู้ตัดสิ นใจจะใช้แนวทางใด
ก็ตาม หากตั้งอยู่บนหลักเหตุผลและความถูกต้องของการวิเคราะห์จะช่วยให้การตัดสิ นใจใน
แต่ละครั้งมีคุณภาหมากขึ้นทางเลือกที่ดีที่สุ ดควรมีผลเสี ยต่อเนื่องในภายหลังน้อยที่สุ ด และให้
ผลประโยชน์มากที่สุ ด
สรุป
การตัดสิ นใจเป็นผลสรุปหรือผลขั้นสุ ดท้ายของกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผลเพื่ อ
เลือกแนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ และสามารถนำไป
ปฏิบัติและทำให้การทำงานบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ตามที่ต้องการ กระบวน
การตัตสิ นใจมีการกำหนดเป็นลำดับขั้นตอนตั้งแต่ขั้นตอนแรกไปจนถึงขั้นตอน
สุ ดท้าย ได้แก่ 1) การระบุปัญหา 2) การพั ฒนาทางเลือก3) การวิเคราะห์ทาง
เลือก และ 4) ทำการตัดสิ นใจ
11.สถานการณ์ของการตัดสินใจ
โ ด ย ป ก ติ แ ล้ ว ผู้ บ ริ ห า ร มั ก จ ะ ต้ อ ง ทำ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ภ า ย ใ ต้ ส ถ า น ก า ร ณ์ ห รื อ ส ภ า ว ก า ร ณ์ ต่ า ง กั น ซึ่ ง เ ป็ น เ ห ตุ ก า ร ณ์ ที่
อยู่นอกเหนือการควบคุมของผู้นำแต่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจอย่างยิ่งจึงต้องนำมาพิ จารณาประกอบการตัดสินใจ
สภาวการณ์หรือสถานการณ์ของการตัดสินใจสามารถแบ่งได้เป็น 3 แบบ ดังนี้
การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน คือ การตัดสินใจที่ทราบผลลัพธ์การตัดสินใจล่วงหน้าอย่างแน่นอนแล้วว่าถ้า
เลือกทางเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งผลลัพธ์จะเป็นอย่างไร ลักษณะของการตัดสินใจประเภทนี้ได้แก่
1) ผู้ตัดสินใจมีข้อมูลอย่างเพี ยงพอและทราบถึงผลลัพธ์ของแต่ละทางเลือก
2) ผลลัพธ์จะเกิดขึ้นแน่นอน คือ เกือบไม่มีการเสี่ยงใด ๆ เลย
3) การตัดสินใจจะเลือกทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนสูงที่สุด
ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ภ า ย ใ ต้ ค ว า ม เ สี่ ย ง คื อ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ที่ ท ร า บ ผ ล ลั พ ธ์ ข อ ง ก า ร ตั ด สิ น ใ จ น้ อ ย ก ว่ า ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ภ า ย ใ ต้
สถานการณ์ที่แน่นอน แต่พอจะคาดคะเนความน่าจะเป็นหรือโอกาสที่น่าจะเกิดขึ้น(PROBABILITY) ลักษณะสำคัญ
ข อ ง ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ป ร ะ เ ภ ท นี้ ไ ด้ แ ก่
1) ผู้ตัดสินใจมีข้อมูลสำหรับการตัดสินใจไม่เพี ยงพอ
2) การตัดสินใจอยู่ภายใต้ความเสี่ยง คือ ผู้ตัดสินใจจะต้องคาดคะเนถึงโอกาสหรือความน่าจะ
เกิดขึ้นโดยอาศัยประสบการณ์ร่วมด้วย
3) การตัดสินใจจะพิ จารณาเลือกทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนสูงสุดและโอกาสที่จะเกิดขึ้นของ
ทางเลือกด้วย
การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน คือ การตัดสินใจที่ไม่สามารถคาดการณ์ผลลัพธ์และโอกาสหรือความน่าจะ
เป็นที่เกิดขึ้นได้เลย การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอนจะมีลักษณะดังนี้
1) ผู้ตัดสินใจไม่ทราบผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นของแต่ละทางเลือก เพราะไม่มีข้อมูลที่จะใช้ประกอบ
ใ น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ
2) ผู้ตัดสินใจไม่ทราบถึงโอกาสที่จะเป็นไปได้
3) มีสภาวะนอกบังคับ (STATE OF NATURE) หรือตัวแปรที่ควบคุมไม่ใด้หรือตัวแปรที่ผู้ตัดสินใจ
ไม่อาจคาดการณ์ได้ แต่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเกิดขึ้น เช่น ภาวะเศรษฐกิจรุ่งเรือง หรือซบเซา ภาวะเงินเฟ้อ
การเมือง วัฒนธรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป
สรุป
การตัดสินใจเป็นการวิเคราะห์เพื่ อตัดสินใจเลือกทางเลือกอย่างเป็นระบบ โดยการใช้
ข้อมูลต่างๆจากแหล่งข้อมูลหลายแหล่งที่มีความน่าเชื่อถือเพื่ อให้การตัดสินใจเป็นไปอย่าง
รอบคอบและครอบคลุมในทุกด้านที่เกี่ยวข้อง การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่ต่างกันนั้น
สามารถแบ่งได้เป็น3แบบ ได้แก่ 1) การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน 2) การตัดสินใจภายใต้
ความเสี่ยง และ3) การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน
12.ตัวอย่างของกรณีศึกษา
กรณีศึกษา ชื่อเรื่อง 5ส
คุณบุญชู เจ้าของโรงงานผลิตกล้วยตากพบว่า ภายใน
โรงงานมีความวุ่นวายในการจัดเก็บเอกสารเกี่ยวกับราย
ชื่อลูกค้า บัญชีการให้เครดิตลูกค้า ก่อให้เกิดความ
วุ่นวายเสียหาย ไม่ได้เก็บเงินลูกค้าหลายราย เพราะหา
เอกสารไม่พบมีต้นทุนเกิดขึ้นจำนวนมาก กำไรลดลง
คำถาม จากสถานการณ์ข้างต้นควรทำอย่างไร
คำตอบ ควรจัดการเอกสารโดยใช้กิจกรรม 5ส คือ
สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย
กรณีศึกษา ชื่อเรื่อง ณ ลานจอดรถ
เช้าวันหนึ่งฝนตกลงมาห่าใหญ่ ทำให้ลานจอดรในอาคารสำนักงานแห่งหนึ่งมีน้ำเสิ่งนองพื้นผู้เช่าอาคารที่มา
ทำงานในเช้าวันนั้น ชับรถยนต์วิ่งผ่านลานจอดรถน้ำกระเซ็นเลอะเทอะ ผู้จัดการอาคารได้รับคำตำหนิจากลูกค้า จึงได้
เรียกหัวหน้ายามดูแลลานจอดรถมาสอบถาม
ผู้จัดการ : "ทำไมถึงปล่อยให้น้ำนองพื้นแบบนี้"
หัวหน้ายาม : "เมื่อเช้านี้ฝนตกหนักกะทันหัน พื้นอาคารออกแบบก่อสร้างไม่ดี ปล่อยไว้สักพักจะแห้งเองครับ"
ผู้จัดการ : "รีบไปกวาดน้ำออกให้หมดเตี๋ยวนี้ ก่อนที่ลูกค้าเขาจะเลิกบ่นแล้วย้ายสำนักงานไปอย่าง
เงียบ ๆ ซึ่งคุณจะตกงานเป็นคนแรก"
ในกรณีนี้มีประเด็นที่น่าสนใจชวนให้ร่วมกันพิจารณา 2 ประการ ดังนี้
1. การสร้างจิตสำนึกให้แก่ยามดูแลลานจอตรถ ให้เข้าใจความสำคัญของการสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า เป็นวิธี
การที่ดีกว่าการคอยติดตามตรวจสอบสั่งการให้แก้ปัญหาอยู่ดลอดเวลา ทั้งยังสามารถป้องกันมีให้เกิดปัญหาทำนอง
เดียวกันซ้ำขึ้นมาอีก
2. ผู้เชี่ยวชาญด้านคุณภาพบางท่านอาจแนะนำวิธีการแก้ไขและป้องกันปัญหานี้โดยเขียนลงในเอกสารมาตรฐานการ
ปฏิบัติงาน เช่น กำหนดเป็นภาระหน้าที่ลงในคำพรรณนาหน้าที่งานก็ได้การออกแบบก่อสร้างอาคารถ้าคำนึงถึงการ
ป้องกันน้ำท่วมขังลานจอดรถเสียตั้งแต่ต้น ก็จะไม่เกิดปัญหา
คำกล่าวว่า "คุณภาพเกิดขึ้นตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบสินค้า" ซึ่งก็เป็นจริงในกรณีนี้เช่นกัน กล่าวคือ
ดังกล่าวขึ้น ตัวอย่างข้างต้นนี้นับว่าเป็นอุทาหรณ์ที่ดีสำหรับนักบริหารคุณภาพมืออาชีพทุกคน
กรณีศึกษา ชื่อเรื่อง การแสดงกิริยาไม่สภาพ
จากสภาพการทำงานในปัจจุบันย่อมต้องมีปัญหาเกิดขึ้นไม่มีใครที่ไม่เคยเจอปัญหา เพียงแต่ว่าปริมาณหรือความ
รุนแรงของปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นจะมากหรือน้อยแตกต่างกันไป พบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นนี้เองจะส่งผลโดยตรงต่อ
ประสิทธิภาพในการทำงานทั้งในระดับบุคคล ระดับหน่วยงาน และระดับองค์การ
ปัญหา : ข้อร้องเรียนของลูกค้ารายใหญ่ถึงการพู ดจาและการแสดงกิริยาไม่สุภาพของผู้จัดการฝ่ายขายทุกคน
คำถาม : จากข้อความดังกล่าว ถ้าผู้เรียนเป็นผู้ประกอบการ ผู้เรียนจะมีแนวคิดอย่างไรในการแก้ไข
ปัญหา
คำตอบ 1. มีความพร้อมที่จะเผชิญหน้ากับปัญหาในทุกรูปแบบ
2.มองที่จุดเริ่มตันของการแก้ใขปัญหาที่ดีที่สุดนั้นอยู่ที่การบริหารจัดการ
3. มีทัศนคติในทางบวกในการมองปัญหาว่าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ทุกเมื่อ ดังนั้นต้องวางแผนป้องกันการเกิด
ปัญหาซ้ำซ้อนขึ้นอีก
กรณีศึกษา ชื่อเรื่อง ไคเซ็นในธุเกิจ : ลดต้นทุน เพิ่ มกำโร เหนือคู่แข่งใน
สงครามราคา
การไคเซ็นร้านเพื่ อทำให้ 7 สิ่งต่อไปนี้มองเห็นได้
1. การทำให้เป้าหมายมองเห็นได้
2. การทำให้กำหนดการปฏิบัติงานของพนักงานแต่ละคนมองเห็นได้
3. การทำให้การพัฒนาขีดความสามารถมองเห็นได้
4. การทำให้การประเมินมองเห็นได้
5. การทำให้สินค้าคงคลังมองเห็นได้
6. การทำให้หลังร้านมองเห็นได้
7. การทำให้การยกย้ายมองเห็นได้
กรณีศึกษา ชื่อเรื่อง กาวแก้ปัญหาและการตัดสินใจ
เรื่อง การพั ฒนาตัวเองให้เป็นนักแก้ปัญหา
การได้ทำงานกับหัวหน้าที่ชอบปล่อยให้แก้ปัญหาเอง เป็นเรื่องที่หลายคนไม่ค่อยชอบ เพราะคิดว่าหัวหน้าต้องช่วย
แก้ปัญหา จะปล่อยให้รับผิดชอบอยู่คนเดียวได้อย่างไร ทั้ง ๆ ที่จริง ๆ แล้วการมีโอกาสแก้ปัญหาด้วยตัวเองบ่อย ๆ และ
กล้าในการตัดสินใจ จะทำให้เกิดการพัฒนาตัวเองมากยิ่งขึ้น
หัวหน้า : จันทร์เพ็ญ งานที่มอบหมายให้ไปทำล่ะ เสร็จรียัง
จันทร์เพ็ญ : พอดีติดปัญหาค่ะ ไม่รู้ว่าจะทำอย่างไรดี
หัวหน้า : คุณลองคิดดูก่อนแล้วกัน แล้วแจ้งให้ผมทราบด้วย
จันทร์เพ็ญ : หัวหน้าช่วยแนะนำให้หน่อยชิคะ ว่าจะมีแนวทางใดบ้าง
หัวหน้า : ผมมั่นใจว่าคุณทำได้......สู้ ๆ นะครับ
จันทร์เพ็ญ : ตายแน่เลย.....หัวหน้าปล่อยให้เรารับผิดชอบคนเดียว
หากผู้เรียนเป็นจันทร์เพ็ญ จะมีแนวทางแก้ไขความคิดตัวเองและกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาอย่างไร
แล้วจะดำเนินการเพื่ อเอาชนะปัญหาได้อย่างไร
กรณีศึกษา ชื่อเรื่อง ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เราจะพบเห็นตัวอย่างนี้ได้บ่อยในการทำงานทั่วไปไม่ประสบความสำเร็จ วิศวกรและนายช่างกลุ่ม 1 เมื่อได้รับมอบหมายให้
ล่องเรือในแม่น้ำเจ้าพระยาจากสะพานพระราม 6 ผ่านสะพานกรุงธน สะพานสมเด็จพระปิ่ นเกล้า สะพานพระพุ ทธยอดฟ้าจนถึง
สะพานสาทร โตยใช้เวลาแห่งละประมาณ 10 นาทีโดยเริ่มออกเรือในเวลาเก้าโมงตรง วิศวกรและนายช่างกลุ่มดังกล่าวได้ใช้วิธีการ
ล่องเรือโดยทำการเช่าเรือที่แล่นเร็วที่สุด (โดยไม่คำนึงว่าจะแพงเท่าไร) จากนั้นจึงทำการล่องเรืโดยสามารถมาถึงสาทรก่อนเวลา
ตามที่กำหนดคือ มาถึงเวลา 11:00 น. เมื่อมาถึงก่อนเวลาวิศวกรและนายช่างกลุ่มดังกล่าวจึงวนเรืออยู่ไปมาเพื่อรอเวลาเทียบท่า
เมื่อได้เวลาใกล้ 12:00 น. จึงแล่นเรือเข้าเทียบท่า การปฏิบัติการดังกล่าวเป็นตัวอย่างของความไม่มีประสิทธิภาพ ไม่รู้ว่าจะไปถึงที่
หมายตามกำหนดหรือไม่ จึงต้องทำให้เสียเงินไปในจำนวนที่มากเกินความจำเป็นจากการเช่าเรือ
สำหรับวิศวกรและนายช่างกลุ่มที่ 2 ได้ประชุมวางแผนเช่นเดียวกัน วิศวกรและนายช่างกลุ่มที่ 2กำหนดให้สะพานแต่ละ
สะพานที่แล่นผ่านเป็นจุดตรวจสอบ โดยคำนวณไว้ว่าควรจะแล่นเรือถึงแต่ละสะพานประมาณเวลาเท่าไร และเมื่อล่องเรือจริงพบ
ว่าไปถึงสะพานแรกช้ากว่ากำหนดจึงเร่งเครื่องเพื่อให้ไปให้ถึงสะพานที่ 2 ตามกำหนดเวลาและไปถึงท่เรือที่สะพานสาทรตาม
กำหนดเวลาพอดี การล่องเรือเช่นนี้เรียกว่าเลือกใช้เรือในขนาดที่เหมาะสมไม่เสียค่าใช้จ่ายมากและมีการปรับปรุงทุกครั้งที่ตรวจ
พบว่าการล่องเรือ
ไม่เป็นไปตามแผนที่กำหนด
คำถาม 1. จากสถานการณ์ของวิศวกรและนายช่างกลุ่มที่ 1 ทำให้องค์การไม่ประสบความสำเร็จในการเพิ่มผลผลิตในเรื่องใด
2. จากสถานการณ์วิศวกรและนายช่างกลุ่มที่ 2 ทำให้องค์การประสบความสำเร็จในการเพิ่มผลผลิตในเรื่องใด
คำตอบ 1. ประสิทธิภาพ
2. ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
กรณีศึกษา ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ
เรื่อง การรับแรงกดดันจากการเป็นคนกลาง
การทำงานที่ต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่ายย่อมต้องมีปัญหาเกิดขึ้นอยู่เสมอ ๆ เพราะแต่ละฝ่ายก็มีข้อจำกัด
และมาตรฐานของตัวเอง ทำให้การเป็นผู้ประสานงานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการจึงเป็นเรื่องยาก
คุณวิโรจน์พนักงานขายของบริษัทก็ประสบปัญหาเช่นเดียวกัน เพราะลูกค้ามักต้องการสินค้าเร่งด่วนอยู่เป็นประจำ
ในขณะที่ฝ่ายผลิตก็ทำให้ไม่ทัน โดยที่ลูกค้ามักจะบอกว่า "ถ้าไม่ได้ก็จะไปซื้อที่อื่น" ฝ่ายผลิตก็มักอ้างว่า "คงทำให้ไม่ทัน
เพราะต้องรอวัตถุดิบ"
คุณวิโรจน์มักปวดหัวกับเรื่องเหล่านี้ ถ้าคุณเป็นคุณวิโรจน์คุณคิดว่าจะหาวิธีแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร และตัดสิน
ใจดำเนินการต่อไปอย่างไร
กรณีศึกษา ชื่อเรื่อง การให้บริการคุณภาพ
เรื่อง ลูกค้าต่อว่าอย่างรุนแรง
การเป็นผู้ให้บริการต้องเผชิญ
กับคำต่อว่าจากลูกค้าอย่างหลีกเลี่ยง
ไม่ได้เลย สุมามาลย์ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ให้
บริการลูกค้าก็เจอเหตุการณ์เช่นนี้เป็น
ประจำ เช่น
กรณีศึกษา ชื่อเรื่อง การมอบหมายงานอย่างมีประสิทธิภาพ
เรื่อง การพั ฒนาทีมงานให้กล้าตัดสินใจ
ลูกน้องส่วนใหญ่จะกลัวงานที่หัวหน้ามอบหมายให้ทำ ชอบคิดว่าเป็นงานที่ยากและกลัวทำไม่ได้ไม่ดี
อีกทั้งยังกังวลกับผลลัพธ์ว่าหัวหน้าจะพอใจหรือไม่ ทำให้หลายคนหลีกเสี่ยงการรับงานจากหัวหน้าทั้ง ๆ ที่
รู้ว่าสำคัญ สุดาพรเป็นอีกคนหนึ่งจะกังวลเสมอเวลาหัวหน้ามอบหมายงานให้ทำ
คุณในฐานะหัวหน้าจะจูงใจให้สุดาพรเห็นความสำคัญของการฝึกฝนและตัดสินใจในการทำงาน
อย่างไรเพื่ อให้สุดาพรก้าวข้ามอุปสรรคที่เธอจินตนาการขึ้นมาเองผ่านพ้ นไปได้
กรณีศึกษา ชื่อเรื่อง ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
เรื่อง การประกาศลดพนักงาน
ผู้จัดการโดยส่วนใหญ่จะมีโอกาสได้เผชิญกับช่วงเวลาที่ต้องบริหารงาน ภายหลังที่ได้ประกาศลด
พนักงานของทีมตัวเองลงไปแล้ว ซึ่งจะเป็นสถานการณ์ที่ค่อนข้างยากลำบาก เพราะทุกคนกำลังขาดขวัญ
และกำลังใจและไม่แนใจในอนาคตของตัวเอง
คุณชาญชัยเป็นผู้จัดการฝ่าย SUPPLY CHAIN ที่ดูแลทีมงานค่อนข้างมากตั้งแต่จัดซื้อ สโตร์ ผลิต
จัดส่ง ได้ประกาศลดพนักงานลง 20 คน จากทั้งหมด 150 คน ทำให้คนที่เคยทำงานอยู่ต้องทำงานหนัก
ขึ้นโดยรวมแล้วพนักงานที่เหลืออยู่จะรู้สึกดังนี้
คุณชาญชัยพยายามกอบกู้สถานการณ์นี้
ให้ได้ และเชื่อมั่นว่าจะทำให้ทีมงานกลับมาร่วม
แรงร่วมใจในการทำงานกันอีกครั้งหนึ่ง เพื่อ
ให้สามารถผ่านวิกฤติในครั้งนี้ไปให้ได้ คุณจะ
ช่วยคุณชาญชัยอย่างไร
กรณีศึกษา ชื่อเรื่อง การตัดสินใจ
เรื่อง การเลือกสถานที่ขุดเจาะน้ำมัน
คณะกรรมการบริษัทน้ำมันแห่งหนึ่งจะตัดสินใจขุดน้ำมันที่จังหวัดระยองหรือชลบุรีหรือจันทบุรีที่ใด
ที่หนึ่งเพียงที่เดียว ซึ่งเมื่อตัดสินใจขุดเจาะที่ใดที่หนึ่ง ผลของการขุดเจาะอาจเป็น ไม่พบน้ำมันเลยหรือพบ
น้ำมันปริมาณน้อย หรือพบน้ำมันปริมาณปานกลาง หรือพบน้ำมันปริมาณมาก
จากข้อความดังกล่าวจะต้องพิ จารณาถึงองค์ประกอบในการตัดสินใจอย่างไรบ้าง
องค์ประกอบในการตัดสินใจ ได้แก่
1. ผู้ตัดสินใจ คือ คณะกรรมการบริษัทน้ำมัน
2. ทางเลือก มี 3 ทางเลือก คือ ขุดน้ำมันที่จังหวัด 1) ระยอง 2) ซลบุรี 3)
จันทบุรี
3. เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นมี 4 เหตุการณ์ คือ 1 ไม่พบน้ำมัน 2) พบน้ำมันปริมาณ
น้อย 3) พบน้ำมันปริมาณปานกลาง 4) พบน้ำมันปริมาณมากและถ้าขุดพบ
น้ำมัน ปริมาณที่ได้ จะ ต้องนำคำนวณเป็นกำไร ขาดทุนและจุดคุ้มทุน
4. ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินใจ ได้แก่ ค่าแรง และค่าติดตั้งเครื่องจักรในแต่ละพื้นที่
แบบฝึกหัด
จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. กรณีศึกษาคืออะไร
.........................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................
2. กรณีศึกษามีลักษณะสำคัญอย่างไร
.........................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................
3. การนำกรณีศึกษาเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานมีลักษณะอย่างไร
.........................................................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................................................
4. กรณีศึกษามีองค์ประกอบที่สำคัญอย่างไรบ้าง
.........................................................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................................................
5. การจัดกิจกรรมโดยใช้กรณีศึกษามีขั้นตอนอย่างไรบ้าง
.........................................................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................................................
6.การเรียนการสอนด้วยกรณีศึกษามีส่วนเกี่ยวข้องกับใครบ้าง
.........................................................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................................................
7. CASE และCASE STUDY มีลักษณะแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
.........................................................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................................................
8.การตัดสินใจมีองค์ประกอบอย่างไรบ้าง
.........................................................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................................................
9.จงอธิบายประเภทของการตัดสินใจ
.........................................................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................................................
. 10.กระบวนการตัดสินใจประกอบด้วยอะไรบ้าง
.........................................................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................................................
introduction of
สมาชิกผู้จัดทำ
นางสาวชลธิชา แสนเมือง นางสาวพิรินทร์รัตน์ ศรีสัมฤทธิ์ นาวสาววิยะดา โฮกชาวนา
64302040002 64302040028 64302040039
องค์การและ ชมวิดีโอนำเสนอ
การจัดการสมัยใหม่
ติดต่อ Tel.0839291316 [email protected]