The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ว PA วิทยาการณคำนวณอนุบาลอ่าวลึก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พิไลวรรณ ผาสุก, 2022-09-20 21:04:14

ว PA วิทยาการณคำนวณอนุบาลอ่าวลึก

ว PA วิทยาการณคำนวณอนุบาลอ่าวลึก

PA 1/ส

PA 1/ส

PA 1/ส

PA 1/ส

แบบข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA)
สำหรบั ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู วิทยฐานะครชู ำนาญการ

(ทกุ สงั กดั )
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ระหว่างวนั ที่ 1 เดอื นตลุ าคม พ.ศ.2564 ถึงวนั ที่ 30 เดอื นกนั ยายน พ.ศ.2565

ผ้จู ดั ทำข้อตกลง ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
ช่ือ นางสาวพิไลวรรณ นามสกลุ ผาสุก
สงั กดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากระบ่ี
สถานศกึ ษา โรงเรียนอนบุ าลอ่าวลกึ อัตราเงินเดอื น 25,790 บาท
รบั เงินเดอื นในอันดับ คศ. 2

ประเภทห้องเรยี นทจ่ี ดั การเรียนรู้ (สามารถระบุไดม้ ากกวา่ 1 ประเภทหอ้ งเรียน ตามสภาพการจัดการเรียนร้จู ริง)

 หอ้ งเรยี นวิชาสามญั หรอื วิชาพืน้ ฐาน

 หอ้ งเรยี นปฐมวยั
 ห้องเรียนการศกึ ษาพเิ ศษ
 ห้องเรียนสายวชิ าชพี
 ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอธั ยาศัย

ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจดั ทำข้อตกลงในการพฒั นางานตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการ

ซึ่งเปน็ ตำแหน่งและวทิ ยฐานะท่ีดำรงอยู่ในปัจจบุ ันกับผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ไว้ดงั ต่อไปน้ี

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหนง่

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

1. ภาระงาน จะมีภาระงานเปน็ ไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด

1.1 ช่วั โมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 23.00 ช่วั โมง/สปั ดาห์ ดังน้ี

กล่มุ สาระการเรยี นรู้/รายวชิ า วทิ ยาการคำนวณ จำนวน 9.00 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ รายวิชา สงั คมศึกษา จำนวน 4.00 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

กลุม่ สาระการเรยี นร/ู้ รายวชิ า เขียนเสรี จำนวน 3.00 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น จำนวน 7.00 ชว่ั โมง/สัปดาห์

- ลูกเสือ จำนวน 1.00 ชั่วโมง/สัปดาห์

- ชุมนุม จำนวน 1.00 ชั่วโมง/สัปดาห์

- แนะแนว จำนวน 1.00 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

- ลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้ จำนวน 4.00 ชว่ั โมง/สัปดาห์

1.2 งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจดั การเรียนรู้ จำนวน 4.50 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ดงั น้ี

- การจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้ จำนวน 2.00 ชว่ั โมง/สัปดาห์

- จนิ คณิต จำนวน 2.50 ช่วั โมง/สัปดาห์

PA 1/ส

1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 10 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ดังนี้

- งานประชาสัมพนั ธ์ จำนวน 4 ชัว่ โมง/สัปดาห์

- โครงการสรา้ งสือ่ การจดั การเรียนรู้ จำนวน 3 ช่วั โมง/สปั ดาห์

-ครูประจำช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 จำนวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์

-ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ จำนวน 1.5 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ดงั น้ี

-วิทยาการคำนวณ /coding จำนวน 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์

- งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน 0.5 ชวั่ โมง/สัปดาห์

รวมทั้งสิ้น จำนวน 39 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

2

PA 1/ส

2. งานทจี่ ะปฏิบตั ิตามมาตรฐานตำแหนง่ ครู (ให้ระบรุ ายละเอียดของงานท่จี ะปฏบิ ัติในแตล่ ะด้านวา่ จะ

ดำเนนิ การอยา่ งไร โดยอาจระบรุ ะยะเวลาท่ใี ชใ้ นการดำเนินการดว้ ยก็ได)้

ลกั ษณะงานทีป่ ฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวช้ีวัด (Indicators)

ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทจ่ี ะดำเนินการพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ทจี่ ะเกิดข้นึ กับผเู้ รียน

ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ทค่ี าดหวงั ใหเ้ กดิ ขึ้น ท่แี สดงให้เหน็ ถงึ

การประเมนิ (โปรดระบ)ุ กบั ผเู้ รียน (โปรดระบุ) การเปลีย่ นแปลงไป

ในทางทดี่ ีขึน้ หรือ

มกี ารพัฒนามากข้ึนหรอื

ผลสมั ฤทธิ์สูงขึ้น (โปรดระบุ)

1. ด้า น กา รจัดการ การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 1. นักเรียนสมารถเขยี น - นกั เรียนร้อยละ 80

เรียนรู้ ลักษณะงานที่ เรื่อง การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น โปรแกรมเบอ้ื งต้น ดว้ ย สามารถเขยี นโปรแกรม

เสนอให้ครอบคลุมถึง ด ้ ว ย โ ป ร แ ก ร ม Scratch ว ิ ช า โปรแกรม Scratch ใหต้ ัว เพ่อื ใหต้ วั ละครเคลอ่ื นทไ่ี ด้

การสรา้ งและหรือพฒั นา วทิ ยาการคำนวณ ชัน้ ประถมศึกษา ละครเคลื่อนทไี่ ด้ โดยพิจารณาจากการเขียน

หลักสูตร การออกแบบ ปที ่ี 3 มีกระบวนการและดำเนินงาน โปรแกรมในระหว่างเรียน

การจัดการเรียนรู้ การ ดังนี้ 2. นกั เรยี นสามารถ

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.1 ศกึ ษาและวเิ คราะหห์ ลักสูตร อธิบายการเขยี นโปรแกรม - นกั เรยี นรอ้ ยละ 80

การสร้างและหรอื พัฒนา แกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน เพอื่ ให้ตัวละครเคล่ือนที่ได้ สามมารถอธิบายการเขยี น

สอื่ นวัตกรรม เทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2551 ฉบับปรบั ปรงุ โปรแกรมเพอ่ื ให้ตัวละคร

และแหล่งเรียนรู้ การวดั 2560 และหลกั สูตรสถานศึกษา เคลอื่ นท่ี โดยพจิ ารณาจาก

และ ปร ะ เมินผลการ โรงเรยี นอนบุ าลอ่าวลึก พร้อม จัดทำ การตอบคำถามของนกั เรียน

จัดการเรียนรู้ การศึกษา โครงสร้างรายวิชาและแผนการ

วิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดการเรียนรู้รายวิชา วิทยาการ

เ พ ื ่ อ แ ก ้ ป ั ญ ห า ห รื อ คำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่

พัฒนาการเรียนรู้ การ 3 โดยมีการประยุกต์วิธีการสอน

จัดบรรยากาศที่ส่งเสริม เขยี นโปรแกรมและสอ่ื การสอนเป็น

และพัฒนา ผู้เรียน และ ท้งั ระบบออนไลน์และระบบออนไซต์

การอบรมและพัฒนา เพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์

คุณลักษณะที่ดีของ 1.2 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ให้

ผ้เู รยี น สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา

ข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ฉบบั

ปรับปรงุ 2560 และหลกั สูตร

สถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลอ่าวลึก

จัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้วิชา

วิทยาการคำนวณ เร่อื ง การเขียน

3

PA 1/ส

ลักษณะงานทีป่ ฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวช้ีวัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทีจ่ ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทจ่ี ะเกิดขนึ้ กบั ผูเ้ รยี น
ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ท่ีคาดหวงั ใหเ้ กดิ ข้ึน
ทแ่ี สดงให้เห็นถึง
การประเมนิ (โปรดระบ)ุ กับผูเ้ รยี น (โปรดระบ)ุ
การเปลีย่ นแปลงไป
ในทางท่ีดขี นึ้ หรอื

มกี ารพัฒนามากขึ้นหรอื
ผลสมั ฤทธสิ์ ูงข้นึ (โปรดระบ)ุ

โปรแกรมเบอื้ งต้น ระดับช้นั
ประถมศึกษาปที ี่ 3

1.3 จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยเน้น
ผู้เรียนเป็นสำคญั แบบ active
learning โดยใหผ้ เู้ รียนได้ลงมือ

ปฏบิ ตั ิ ผ่านโปรแกรม Scratch
โปรแกรมประเภทอ่นื ๆ ได้

1.4 พฒั นาสื่อประกอบการสอน
powerpoint เร่ืองการเขยี น
โปรแกรมเบ้ืองตน้

1.5 การวดั และประเมินผลการ
เรยี นรู้

(1) แบบประเมินการเขียนโปรแกรม
ใหต้ ัวละครเคลือ่ นที่
(2) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมใฝ่เรยี นรู้

(3) การสอบถาม เรอ่ื ง การเขยี น
โปรแกรมเบอื้ งต้น

1.6 ศึกษาวเิ คราะห์และสงั เคราะห์
เพอ่ื แก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรยี นรู้
โดยนำผลการจดั การเรยี นรู้มา

ศกึ ษา โดยการทำวจิ ยั ในชนั้ เรยี น
เพื่อเพิ่มพูนทักษะและแก้ไขปัญหา

การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นของ
นักเรียน
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3

1 . 7 ม ี ก า ร จ ั ด บ ร ร ย า ก า ศ ท่ี
เหมาะสม สอดคล้องกับ ความ

แตก ต่าง ร ะ หว ่าง ผู้เร ียน เ ป็ น

4

PA 1/ส

ลักษณะงานที่ปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวช้ีวัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ท่จี ะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ท่ีจะเกดิ ข้ึนกบั ผู้เรยี น
ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ทีค่ าดหวังให้เกดิ ข้นึ
ทแี่ สดงให้เหน็ ถึง
การประเมิน (โปรดระบ)ุ กบั ผูเ้ รยี น (โปรดระบุ)
การเปล่ยี นแปลงไป
ในทางที่ดีขนึ้ หรอื

มีการพัฒนามากขนึ้ หรือ
ผลสมั ฤทธ์สิ งู ขนึ้ (โปรดระบ)ุ

รายบุคคล สามารถแกไ้ ขปัญหา การ
เรียนรู้ สร้างแรงจูงใจในการเรียน

เทคโนโลยี ส่งเสริมและพัฒนาผเู้ รยี น
ให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต
ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้

และนวัตกรรม ทักษะด้าน
สารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี

- จัดบรรยากาศห้องเรียนให้ได้
มาตรฐานหอ้ งเรียนคุณภาพ(Onsite)
ตามเกณฑส์ ถานศึกษา

- จดั กระบวนการเรียนรู้ (Online)
เนน้ การมีสว่ นรว่ มในชนั้ เรยี น การใช้

คำถามกระตุ้นความคิด เปิดโอกาส
ใหผ้ เู้ รยี นนำเสนอและแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น สรา้ งแรงจูงในการ

เรียนและเช่อื มโยงเทคโนโลยีกบั
ชวี ติ ประจำวนั เพ่อื ให้ผู้เรยี นเห็น

คุณค่าในการเรยี น และร้สู กึ วา่
เทคโนโลยไี มใ่ ช่สิง่ ทไ่ี กลตวั
1.8 อบรมและพัฒนาคณุ ลกั ษณะที่

ดีของผู้เรียน
- ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม

จริยธรรม คุณลกั ษณะอนั พึง
ประสงคต์ ามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขนั้ พื้นฐาน และคา่ นยิ ม

ความเปน็ ไทยที่ดีงาม โดยคำนึงถึง
ความแตกต่างของผูเ้ รียนเปน็

5

PA 1/ส

ลักษณะงานทปี่ ฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตวั ช้วี ัด (Indicators)

ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่จี ะดำเนินการพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ทีจ่ ะเกดิ ขึ้นกับผู้เรียน

ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ทค่ี าดหวังใหเ้ กดิ ข้ึน ท่ีแสดงให้เห็นถึง

การประเมนิ (โปรดระบ)ุ กบั ผเู้ รยี น (โปรดระบุ) การเปลย่ี นแปลงไป

ในทางทด่ี ีข้นึ หรอื

มีการพัฒนามากขน้ึ หรือ

ผลสัมฤทธ์ิสงู ขน้ึ (โปรดระบ)ุ

รายบคุ คล และสามารถแกไ้ ขปญั หา

ผูเ้ รียนได้

- จดั กิจกรรมที่สง่ เสริมคุณธรรม

จริยธรรม คณุ ลักษณะอันพงึ

ประสงค์ให้กับผ้เู รียน เช่น

1. โรงเรียนวิถีพุทธ

2. กิจกรรมโฮมรมู

3. กิจกรรมหว้ิ ป่นิ โตเขา้ วดั ทกุ

วนั พระ

2. ด้านการส่งเสรมิ และ 2.1 การจดั ทำขอ้ มลู สารสนเทศของ 2.1 ผู้เรยี นได้รบั การ - นักเรยี นรอ้ ยละ 100 เขา้

สนับสนนุ นกั เรียนและรายวิชา ครูผู้สอนสรปุ วิเคราะห์ผเู้ รียนรายบคุ คล ส่รู ะบบดูแลชว่ ยเหลือ

การจัดการเรยี นรู้ คะแนน เรือ่ งการเขยี นโปรแกรม นักเรยี น

ลักษณะงานทเ่ี สนอให้ โดยใชก้ ารทดสอบ ผา่ น 2.2 ผู้เรียนทราบถงึ

ครอบคลุมถึงการจดั ทำ application google sheet และ ปญั หาทที่ ำให้ผู้เรียนไม่ - นักเรยี นรอ้ ยละ 80 ได้รับ

ข้อมลู สารสนเทศของ เผยแพร่ ใหน้ กั เรยี นรบั ทราบ ผ่านเกณฑ์กอ่ นได้รบั การช่วยเหลอื ในการ

ผู้เรียนและรายวิชาการ 2.2 ดำเนินการตามระบบดแู ล การแก้ไขปัญหา แกป้ ญั หาท่ีเขยี นโปรแกรม

ดำเนินการตามระบบ ช่วยเหลอื นักเรียน วเิ คราะห์ผูเ้ รียน ไมผ่ ่าน

ดแู ลช่วยเหลือผู้เรียน โดยใช้ผลการเรียนของภาคเรียนท่ี 2.3 ผู้เรยี นทไ่ี ม่ผา่ น

การปฏบิ ตั ิงานวชิ าการ 2/2564 จากผลการประเมนิ และ เกณฑ์ไดร้ ับการแก้ไข - นักเรียนรอ้ ยละ 80 ผ่าน

และงานอนื่ ๆ ของ การจดั การเรยี นรู้เร่อื งการเขยี น ปัญหาโดยกระบวนการฝึก เกณฑ์การประเมนิ สรรถนะ

สถานศึกษา และการ โปรแกรมเบ้ืองตน้ หากมผี ู้เรยี นที่ ทักษะการเขียนโปรแกรม ของผู้เรียนด้านการใช้

ประสานความร่วมมอื กบั มีผลการเรียนไม่ผา่ นเกณฑ์ ครผู ู้สอน ผ่านการทำกิจกรรม จาก เทคโนโลยี

ผู้ปกครองภาคเี ครือขา่ ย จดั กจิ กรรมให้นกั เรียนเขียน Code.org

และหรอื สถาน โปรแกรมเบ้ืองตน้ เพือ่ ซอ่ มเสรมิ

ประกอบการ 2.3 ปฏิบัตงิ านประชาสัมพันธ์ และ

งานอนื่ ๆ ของสถานศกึ ษา ปฏบิ ัติ

งานสารสนเทศสถานศกึ ษา

2.4 ประสานความร่วมมือกับ

6

PA 1/ส

ลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชวี้ ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทีจ่ ะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทีจ่ ะเกดิ ข้นึ กบั ผเู้ รยี น
ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ทค่ี าดหวงั ให้เกดิ ขึ้น
ที่แสดงให้เห็นถึง
การประเมิน (โปรดระบ)ุ กบั ผเู้ รียน (โปรดระบุ) การเปล่ียนแปลงไป
ในทางทดี่ ีขน้ึ หรอื
ครูทีป่ รึกษาและผู้ปกครองของ มีการพฒั นามากขึ้นหรอื
ผลสมั ฤทธ์ิสูงขึ้น (โปรดระบ)ุ
นกั เรยี นที่มีผลการเรยี นไม่ผา่ น
- นกั เรยี นรอ้ ยละ 80
เกณฑ์เร่ืองการเขียนโปรแกรมอยา่ ง ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตาม
ตวั ช้ีวัด
ง่าย โดยใหน้ ักเรียนดังกล่าว

ได้ฝกึ ฝนการเขียนโปรแกรม

3. ด้า น กา รพ ัฒ น า 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ - ผู้เรียนท่ีมีผลการเรยี นรู้

ตนเองและวชิ าชพี และตอ่ เน่อื ง ไม่ผา่ นเกณฑ์ได้รับการ

ลักษณะงานที่เสนอให้ โดยเขา้ ร่วมการประชุม/อบรม/ แก้ไขปัญหาจากการ

ครอบคลุมถึงการพัฒนา สมั มนา ดังนี้ พฒั นาตนเอง

ตนเองอย่างเป็นระบบ - การอบอรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารพฒั นา

และต่อเนื่อง การมีส่วน ครผู ูส้ อนสาระเทคโนโลยี

ร่วมในการแลกเปลี่ยน จำนวน 16 ชวั่ โมง

เรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อ - การตัดตอ่ วดี โี อ จำนวน 8 ช่วั โมง

พัฒนาการจัดการเรียนรู้ - การอบรม Codding

แ ล ะ ก า ร น ำ ค ว า ม รู้ - การอบรมอน่ื ๆ

ความสามารถ ทักษะท่ี 3.2 การมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยน

ได้จากการพัฒนาตนเอง เรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อแก้ปัญหา

และวิชาชีพมาใช้ในการ และพฒั นาการจดั การเรียนรู้

พัฒนาการจัดการเรียนรู้ - เข้าร่วมการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

ก า ร พ ั ฒ น า ค ุ ณ ภ า พ (PLC) ของกลุ่มสาระการเรียนรู้

ผู้เรียน และการพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและผ่าน

นวัตกรรมการจัดการ กจิ กรรมนิเทศการสอน

เรียนรู้ 3.3 นำความรู้ ความสามารถ

ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง

และวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการ

จัดการเรียนรู้ การพัฒนา คุณภาพ

ผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรม

การจดั การเรียนรู้

7

PA 1/ส

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวช้ีวัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทีจ่ ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทีจ่ ะเกดิ ข้ึนกับผูเ้ รียน
ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ท่คี าดหวังใหเ้ กดิ ข้ึน
ทแี่ สดงให้เหน็ ถงึ
การประเมนิ (โปรดระบ)ุ กบั ผเู้ รียน (โปรดระบ)ุ
การเปลย่ี นแปลงไป
ในทางท่ดี ีขนึ้ หรอื

มกี ารพัฒนามากขึ้นหรือ
ผลสมั ฤทธ์สิ ูงข้ึน (โปรดระบุ)

- นำความร้ทู ่ีไดจ้ ากการจัดทำ PLC
การประชุม และการอบรม มาแก้ไข

พัฒนาการจดั การเรยี นรู้รายวชิ า
วิทยาการคำนวณ

หมายเหตุ

1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพ

การจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร7่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครู
ผูจ้ ัดทำขอ้ ตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒน1าง2านต้องเป็นงานในหน้าท่ีความรับผิดชอบหลัก

ที่ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม

ของรายวิชาหลักท่ีทำการสอนทุกระดับช้ัน ในกรณีท่ีสอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้

โดยจะต้องแสดงใหเ้ ห็นถงึ การปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมนิ ผลการพฒั นางาน

ตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมนิ PA 2

3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน

(Outcomes) และตวั ชว้ี ัด (Indicators) ทีเ่ ปน็ รูปธรรม และการประเมนิ ของคณะกรรมการประเมนิ ผลการพัฒนางาน

ตามขอ้ ตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏบิ ัตงิ านจริง สภาพการจัดการเรียนรู้

ในบรบิ ทของแต่ละสถานศกึ ษา และผลลัพธ์การเรยี นรู้ของผูเ้ รียนท่ีเกิดจากการพัฒนางาน ตามขอ้ ตกลงเป็นสำคัญ

โดยไมเ่ นน้ การประเมนิ จากเอกสาร

8

PA 1/ส

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานทีเ่ ป็นประเด็นท้าทายในการพฒั นาผลลพั ธ์การเรยี นรู้ของผเู้ รียน
ประเดน็ ทท่ี า้ ทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนร้ขู องผ้เู รยี นของผู้จดั ทำขอ้ ตกลง ซ่ึงปจั จุบัน

คดำือรงกตาำรแแหกน้ไ่งขคปรูัญวิทหยาฐกานาระจคัดรูชกำานราเรญียกนารรู้แตลอ้ ะงกแาสรดพงใัฒหน้เหาน็คถุณึง8ภระาดพับกกาารรเรปียฏนิบรัตู้ขิทอ่ีคงาผดู้เหรยีวังนขใอหงว้เกิทิดยกฐาานรเะปคลรี่ยูชนำนแปาญลงกไาปร
ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง
ในวทิ ยฐานะทีส่ งู กว่าได)้

ประเดน็ ท้าทาย เรือ่ ง การพฒั นาทักษะการเขยี นโปรแกรม Scratch ให้ตวั ละครเคล่อื นทข่ี องนกั เรยี น
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓ ในรายวชิ าวทิ ยาการคำนวณ ด้วยรูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบ 5 STEPs”

1. สภาพปญั หาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผเู้ รียน
จากการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการคำนวณ ในปีการศึกษา 2564 เรื่อง การเขียนโปรแกรมด้วย

Scratch ให้ตัวละครสามารถเคลอื่ นทไ่ี ด้ ของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ โรงเรยี นอนุบาลอ่าวลกึ ยงั ไม่บรรลุผล
การเรยี นรทู้ ่คี าดหวัง จากประสบการณ์ท่ีผ่านมา นกั เรียนไม่สามารถทำแบบทดสอบไดค้ ล่อง และมผี ลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนที่ไมเ่ ป็นที่น่าพอใจ ทำให้คุณครูผู้สอน มีความสนใจเพื่อเพ่ิมทักษะและผลสัมฤทธิ์ในการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การ
เขยี นโปรแกรม ด้วย Scratch ให้ตวั ละครเคล่ือนท่ี ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ โรงเรยี นอนบุ าลอ่าวลึก ด้วย
รูปแบบ เรยี นรู้ 5 ขัน้ ตอน หรือ 5 STEPs”

2. วธิ ีการดำเนนิ การใหบ้ รรลผุ ล
ข้นั ที่ 1 การวางแผน (Plan)
1. วเิ คราะห์หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุงพุทธศักราช

2561) และหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นอนุบาลอา่ วลกึ ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2563 ในเรอื่ งของมาตรฐาน
การเรียนรู้ และตัวชว้ี ดั รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ยี วข้องกบั รูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบ 5 STEPs เพอื่ หาแนวทาง
การจดั การเรยี นรู้

3. นำจดุ ประสงค์การเรียนรูแ้ ละเน้ือหามาสรา้ งรูปแบบการจดั การเรยี นรู้แบบ 5 STEPs ซ่งึ
ประกอบดว้ ย หนว่ ยการจัดการเรยี นรแู้ ละแผนการจดั การเรียนรู้ เขียนแผนการสอนที่มอี งคป์ ระกอบครบถ้วน ดังนี้

- มาตรฐานการเรียนรู้
- ตวั ช้วี ดั
- สาระสำคญั
- จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
- สาระการเรียนร้แู กนกลาง
- กิจกรรมการเรียนรู้
- ส่อื การสอน
- การวดั ผลประเมนิ ผล
- บันทึกหลังสอน

9

PA 1/ส

4. หาคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ โดยให้คุณครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี พจิ ารณาประเมนิ คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ โดยพิจารณาจากความเหมาะสมภาษา และเวลา
ทใ่ี ช้ในการเรยี น เพ่ือนำมาปรบั ปรงุ และแกไ้ ข

ขั้นที่ 2 การปฏิบัติ (Do)
นำแผนการจัดการเรียนรู้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ 5 STEPs ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้

กับนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ ทั้งในรูปแบบ ONLINE หรือ ONSITE โดยปรับกิจกรรมให้เหมาะสมกับบริบท
และสถานการณใ์ นปจั จบุ ัน

ขน้ั ท่ี 3 การตรวจสอบ (Check)
1. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนที่เกิดขึ้นจากการกิจกรรมการเรียนรู้ ในโปรแกรม

Microsoft Excel
2. วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ของนกั เรียนที่เกิดขึ้นจากการกิจกรรมการเรยี นรู้ และสะท้อนผลการเรยี นรู้

ให้นักเรยี นทราบเปน็ ระยะ
ขน้ั ที่ 4 การปรบั ปรุงแกไ้ ข (Act)
1.รวบรวมข้อมูลของแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ เพื่อนำมา

วิเคราะห์และปรับปรงุ แกไ้ ขในประเดน็ ต่าง ๆ
2. นำผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ เข้าร่วมชมุ ชนการเรยี นรู้

ทางวิชาชีพของกลมุ่ สาระ เพ่อื แลกเปลีย่ นข้อมลู และหาแนวทางการพฒั นา
3. ผลลัพธ์การพฒั นาท่คี าดหวงั
3.1 เชงิ ปริมาณ
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ร้อยละ 80 มีความรู้ เรื่อง การโปรแกรมด้วย Scracth ผ่าน

เกณฑท์ ่ีกำหนด
3.2 เชงิ คณุ ภาพ
- นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ มีความรู้ เรือ่ ง การโปรแกรมดว้ ย Scracth ในระดับดี
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนาน ผ่านกิจกรรมการจัดการ

เรยี นรแู้ บบ Active learning ดว้ ยรปู แบบการจัดการเรยี นร้แู บบ 5 steps

ลงชื่อ
(นางสาวพไิ ลวรรณ ผาสกุ )

ตำแหน่ง ครูโรงเรียนอนบุ าลอา่ วลึก
ผจู้ ัดทำขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน
..17/พฤษภาคม/2565

PA 1/ส

PA 1/ส


Click to View FlipBook Version