The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

57.pdfเศรษฐกิจพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaew kaew, 2021-03-18 05:18:26

57.pdfเศรษฐกิจพอเพียง

57.pdfเศรษฐกิจพอเพียง

หนงั สอื เรยี นรายวชิ า​ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ​
​(ทช 31001)

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

สาระทักษะการด�ำ เนินชีวิต

หลกั สูตรก​ าร​ศกึ ษานอกระบบระดับ​การ​ศึกษา​ขัน้ พ​ ืน้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

สำ�นัก​งาน​สงเสรมิ ก​ าร​ศกึ ษานอกระบบ​และ​การศ​ กึ ษา​ตามอัธยาศยั ​
สำ�นักง​ าน​ปลดั ​กระทรวง​ศกึ ษาธกิ าร
กระทรวง​ศึกษาธิการ​

หนงั สือเรียนส​ าระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ิต

รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง (ทช 31001)

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ISBN : 978-974-232-393-6
พิมพคร้ัง​ท่ ี : 1 / 2553
จำ�นวนพ​ ิมพ  : 5,000 เ​ลม
เอกสาร​ทาง​วิชาการ​หมายเลข 64/2552

ค�ำ น�ำ

สำ�นักงานส​ ง เสริม​การศ​ กึ ษาน​ อก​ระบบ​และก​ ารศ​ ึกษา​ตามอ​ ัธยาศัย ได​ดำ�เนนิ การจ​ ัดทำ�ห​ นงั สือเรยี น​
ชุดใ​ หม​นี​้ขึน้ เพื่อส​ ำ�หรบั ใ​ ช​ใน​การเ​รยี นก​ าร​สอน​ตาม​หลกั สตู รก​ ารศ​ กึ ษาน​ อกร​ ะบบ ระดับ​การศ​ กึ ษา​ขนั้ พ​ น้ื ฐาน
พทุ ธศักราช 2551 ทีม่​ ​ีวตั ถปุ​ ระสงค​ในก​ ารพ​ ฒั นา​ผเู รยี น​ใหม​ ​คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ม​สี ตปิ ญ ญา​และ​ศักยภาพใ​ นก​ าร​
ประกอบอ​ าชีพการศ​ ึกษาตอแ​ ละ​สามารถด​ ำ�รงชวี ิต​อย​ูใน​ครอบครัว ชุมชน สังคมไ​ ดอ​ ยา งม​ คี​ วาม​สุข โดย​ผูเรียน​
สามารถน​ ำ�ห​ นงั สอื เรียน​ไป​ใช​ในก​ ารเ​รยี น​การส​ อนด​ ว ย​วิธกี าร​ศึกษา​คน ควา ​ดว ย​ตนเ​อง ปฏิบัต​ิกิจกรรม รวมทัง้ ​
แบบฝกหดั เ​พื่อท​ ดสอบ​ความ​รูค วาม​เขา ใจ​ใน​สาระ​เนอื้ หา โดย​เม่ือ​ศึกษาแ​ ลว ​ยัง​ไมเ ขา ใจ สามารถก​ ลบั ​ไป​ศึกษา​
ใหม​ได ผเู รยี นอ​ าจจะส​ ามารถ​เพิ่มพูนค​ วามร​หู ลังจาก​ศึกษา​หนงั สือเรียนน​ ้ี โดย​น�ำ ค​ วามรูไ​ ปแ​ ลกเปลยี่ น​กับเ​พื่อน​
ใน​ชน้ั เรยี น ศกึ ษาจ​ ากภ​ ูมปิ ญ ญาท​ องถิ่น จาก​แหลงเ​รยี นร​ูและจ​ าก​ส่อื ​อนื่ ๆ
ในก​ ารด​ ำ�เนินการจ​ ัดท�ำ ​หนงั สอื เรียนต​ ามห​ ลักสตู ร​การศ​ ึกษาน​ อก​ระบบ ระดับ​การศ​ กึ ษาข​ ั้นพ​ ืน้ ฐาน
พุทธศักราช 2551 ไดรบั ​ความ​รว มมือ​ทด​่ี จี​ าก​ผทู รงคุ​วุฒแ​ิ ละผ​ ​ูเกย่ี วของห​ ลายท​ า น​ซ่ึงช​ ว ยกนั ค​ นควา ​และ​เรยี บเรยี ง​
เนื้อหาส​ า​ระ​จากส​ ื่อต​ าง ๆ เพื่อใหไ​ ด​สื่อ​ที่​สอดคลองกับ​หลักสูตรแ​ ละเ​ปนป​ ระโยชนต​ อผ​ ูเรียน​ที่อยูน​ อกร​ ะบบ​
อยาง​แทจริง สำ�นักงานส​ งเสริมก​ ารศ​ ึกษา​นอกร​ ะบบ​และก​ าร​ศึกษาต​ ามอ​ ัธยาศัย ขอข​ อบคุณ​คณะท​ ี่ปรึกษา​
คณะ​ผูเ​รยี บเรยี ง ตลอดจนค​ ณะ​ผูจ ัดทำ�ท​ กุ ทานท​ ไ่ี​ ด​ใ ห​ความ​รวมมอื ​ดวยดี ไว ณ โอกาสน้ี
สำ�นกั งานส​ งเสริม​การศ​ ึกษาน​ อกร​ ะบบ​และก​ าร​ศึกษา​ตามอ​ ธั ยาศยั หวงั ​วาห​ นังสอื เรยี น​ชุด​น​จี้ ะ​เปน​
ประโยชนใ​ น​การจ​ ดั การเ​รยี นก​ ารส​ อน​ตามสมควร หาก​มขี​ อ​เสนอแนะป​ ระการใด สำ�นกั งานส​ งเสรมิ ก​ ารศ​ กึ ษา​
นอกร​ ะบบแ​ ละก​ ารศ​ ึกษาต​ ามอ​ ัธยาศัย ขอ​นอมร​ ับ​ไว​ดว ย​ความข​ อบคุณ​ย่งิ



(นายอ​ ภช​ิ าต ิ จี​ระว​ ฒุ ิ)
เลขาธกิ าร กศน.​



สารบัญ

หนา

คำ�น�ำ

ค�ำ แนะน�ำ ​ในการใ​ ชห​ นงั สอื เรียน

โครงสราง​รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง

บทท​ ่ี 1 ความพ​ อเพียง 1

บทท​ ่ ี 2 ชมุ ชน​พอเพียง 7

บท​ที่ 3 การแ​ กป ญ หาช​ มุ ชน 19

บทท​ ี่ 4 สถานการณข​ องป​ ระเทศ​ไทย​และส​ ถานการณโ​ ลกก​ บั ค​ วาม​พอเพียง 25

ภาค​ผนวก 35

บรรณานุกรม 36

คำ�​แนะนำ�​ในก​ ารใ​ช​หนงั สือเรียน

หนงั สอื ​เรยี น​สาระ​ทกั ษะ​การด​ �ำ เนนิ ช​ วี ติ รายวชิ าเ​ศรษฐกจิ พ​ อเพยี ง ทช 31001 ระดบั ม​ ธั ยมศกึ ษาต​ อนปลาย
เปน ​หนงั สอื เ​รยี นท​ ​่ีจัดท​ �ำ ขึ้น ส�ำ หรบั ​ผเู รียน​ที​เ่ ปน​นักศกึ ษาน​ อกร​ ะบบ
ในก​ ารศ​ กึ ษาห​ นังสือเ​รยี นส​ าระ ผเู รียนค​ วร​ปฏิบัติด​ ังน้ี
1. ศกึ ษา​โครงสราง​รายว​ิขาใ​ ห​เขา ​ในใ​ นห​ วั ขอ​และส​ าระ​ทักษะก​ าร​ด�ำ เนนิ ​ชวี ติ รายวิชา​เศรษฐกิจพ​ อเพยี ง
ส�ำ คัญ ผล​การเ​รยี นรทู​ ค่ี าดหวงั และ​ขอบขา ย​เนื้อหา​ของร​ ายวชิ า​นนั้ ๆ โดย​ละเอยี ด
2. ศึกษา​รายละเอียด​เนื้อหาข​ องแ​ ตละบ​ ท​อยาง​ละเอยี ด และท​ ำ�​กิจกรรมต​ ามท​ี่ก�ำ หนด และ​ทำ�​กจิ กรรม​ตาม
กำ�หนด แลว ​ตรวจสอบ​กับ​แนวต​ อบก​ ิจกรรมต​ ามทก​่ี �ำ หนด ถาผ​ เู รียนต​ อบ​ผิด​ควร​กลับไ​ ป​ศึกษาแ​ ละ​ท�ำ ความ​เขา ใจ​
ใน​เน้ือหา​นั้น​ใหมใ​ ห​เขาใจ กอ นท​ ่ีจะศ​ กึ ษาเ​รอื่ ง​ตอ ๆ ไป
3. ปฏิบัต​ิกิจกรรมท​ า ยเ​รื่อง​ของแ​ ตละ​เรื่อง เพอ่ื ​เปนการส​ รุปค​ วามรู ความเ​ขา ใจ​ของ​เนอื้ หา​ใน​เรอ่ื ง​นนั้ ๆ
อกี ครัง้ และ​การ​ปฏิบัติ​กิจกรรมข​ องแ​ ตล ะเ​นื้อหา แตล ะ​เรื่อง ผเู รยี น​สามารถน​ ำ�ไปต​ รวจสอบ​กบั ค​ รแ​ู ละ​เพื่อน ๆ ท​่ี
รว ม​เรียน​ในร​ ายวชิ าแ​ ละร​ ะดบั เ​ดียวกัน​ได
หนงั สือเ​รยี นเ​ลมน​ ​ี้ม ี 4 บท
บทท​ ี ่ 1 ความพ​ อเพยี ง
บทท​ ่ี 2 ชุมชน​พอเพียง
บทท​ ่ี 3 การแ​ กปญ หาช​ ุมชน
บทท​ ี่ 4 สถานการณโ​ ลก​กับ​ความ​พอเพียง
บทท​ ่ี 5 สถานการณข​ องป​ ระเทศไทย


โครงสรา งรา​ยวิชา​เศรษฐกิจพอเพียง ระดบั มธั ยมศึกษาต​ อนป​ ลาย ทช 31001

สาระส�ำ คัญ

เศรษฐกจิ พ​ อเพียง เปน ป​ รชั ญา​ท​่พี ระบาท​สมเด็จพ​ ระเจาอยหู วั ทรงพ​ ระ​ราชด​ �ำ รสั ​ชีแ​้ นะแนว
ทางก​ าร​ดำ�รงอยูแ​ ละก​ าร​ปฏิบัติตน​ของ​ประชาชน​ใน​ทุกร​ ะดับใ​ ห​ดำ�เนินช​ ีวิต​ไป​ในทางส​ ายกลาง โดย
เฉพาะ​การพ​ ฒั นาเ​ศรษฐกิจเ​พื่อให​กา ว​ทันต​ อ ​โลก​ยคุ โ​ ลกาภวิ ตั น ความพ​ อเพียง หมายถงึ ความพ​ อประมาณ
ความม​ ​ีเหตุผล รวมถงึ ​ความ​จ�ำ เปน ท​ ่จี ะ​ตอ งม​ ร​ี ะบบภ​ มู คิ​ มุ กนั ใ​ น​ตัว​ทีด่​ ​พี อสมควร​ตอ​ผล​กระทบ​ใด ๆ อนั ​
เกดิ ​จากก​ าร​เปล่ยี นแปลงท​ ัง้ ​ภายนอก​และภ​ ายใน ทง้ั นจ​ี้ ะ​ตอ ง​อาศยั ​ความ​รอบรู ความ​รอบคอบ​และ​ความ​
ระมัดระวังอ​ ยางยิ่ง​ในก​ ารนำ�ว​ ิชาการ​ตาง ๆ มาใ​ ชใ​ น​การ​วางแผน​และ​ดำ�เนินการท​ ุก​ขั้นตอน และ​ขณะ​
เดยี วกันจ​ ะ​ตอ งเ​สริมสรา งพ​ ื้นฐานจ​ ิตใจ​ของ​คนในช​ าตใ​ิ หม​ ส​ี �ำ นกึ ใ​ นค​ ุณธรรม ความซ​ ื่อสตั ยส​ จุ รติ แ​ ละ​ให​
มค​ี วามร​ อบร​ูทเ​ี่ หมาะสม​ด�ำ เนนิ ช​ วี ติ ​ดว ยค​ วาม​อดทน ความ​เพียร ม​สี ติปญญา​และ​ความ​รอบคอบ เพอ่ื ให​
สมดลุ แ​ ละพ​ รอ ม​ตอ ก​ ารร​ องรบั ก​ ารเ​ปลย่ี นแปลงอ​ ยา ง​รวดเรว็ แ​ ละ​กวา งขวาง ทง้ั ​ดา นว​ ตั ถุ สงั คม สง่ิ แวดลอ ม​
และ​วฒั นธรรมจ​ ากโ​ ลกภ​ ายนอกไ​ ด​เปน ​อยาง​ดี

ผลก​ ารเ​รียนรท​ู ค่ี าดหวัง

1. อธิบาย​แนวคดิ หลกั การ ความห​ มาย ความ​ส�ำ คญั ​ของป​ รัชญา​เศรษฐกิจพ​ อเพียง​ได
2. บอก​แนวท​ างในก​ ารนำ�ป​ รัชญา​เศรษฐกจิ ​พอเพียง​ไปป​ ระยกุ ตใ​ ชใ​ นก​ าร​ด�ำ เนนิ ช​ วี ิต
3. เหน็ ​คณุ คา​และป​ ฏิบัติ​ตามหลักเ​ศรษฐกจิ พ​ อเพียง
4. ปฏิบตั ​ิตนเ​ปน แบบอยาง​ในการ​ดำ�เนนิ ​ชีวติ ต​ ามห​ ลักปรชั ญา เศรษฐกิจ​พอเพยี ง​ในช​ มุ ชน
5. แนะนำ� สงเสริมใ​ ห​สมาชกิ ใ​ น​ครอบครวั ​เห็น​คณุ คาแ​ ละน​ �ำ ไป​ปฏิบัต​ิในก​ าร​ดำ�เนนิ ช​ วี ติ
6. ม​ีสว นรว มใ​ นชมุ ชนใ​ นการป​ ฏิบัติ​ตนต​ ามห​ ลกั ปรชั ญาเ​ศรษฐกิจ​พอเพียง

ขอบขา ยเ​นอ้ื หา ความพ​ อเพียง
ชมุ ชน​พอเพียง
บทท​ ่ี 1 การแ​ กป ญ หาช​ มุ ชน
บทท​ ี ่ 2 สถานการณโ​ ลกก​ บั ​ความพ​ อเพียง
บทท​ ่ี 3 สถานการณข​ อง​ประเทศไทย
บทท​ ่ี 4
บทท​ ี่ 5



บทท​ ี่ 1

ความ​พอเพยี ง​

สาระส�ำ คญั
เศรษฐกิจพ​ อเพยี งเ​ปน​ปรัชญา​ที่ย​ ึดหลกั ​ทาง​สายกลางท่ีช​ แ​ี้ นวทาง​ดำ�รงอย​ูและ​ปฏบิ ตั ​ิของป​ ระชาชน​

ในท​ ุกร​ ะดบั ตั้งแตค​ รอบครัว​ไป​จนถึงร​ ะดับ​รัฐ ท้ังใ​ นก​ ารพ​ ัฒนาแ​ ละ​บริหาร​ประเทศ ให​ดำ�เนิน​ไป​ในทาง​สาย
กลางม​ ค​ี วาม​พอเพยี ง และ​มี​ความ​พรอ มทีจ่ ะจ​ ดั การ​ตอ​ผลก​ ระทบ​จากก​ าร​เปลย่ี นแปลง​ทง้ั ​ภายนอก​และภ​ ายใน
ซงึ่ จ​ ะ​ตอง​อาศัยค​ วามรู รอบคอบ และร​ ะมัดระวงั ในก​ าร​วางแผน และด​ �ำ เนินการ​ทุก​ข้นั ตอน เศรษฐกจิ พ​ อ
เพยี งไ​ มใชเ​ พื่อ​การ​ประหยัด แตเ​ปนการ​ด�ำ เนนิ ช​ วี ิต​อยางส​ มดุลแ​ ละ​ยัง่ ยนื เพื่อให​สามารถ​อยไ​ู ด​แ มใ​ นโ​ ลก​
โลกา​ภวิ ัฒนท​ ่ีม​ ก​ี ารแ​ ขงขันส​ ูง

ผล​การเ​รียนร​ทู ีค่ าดหวัง

นักศกึ ษาม​ ีความร​ูความ​เขา ใจ และว​ ิเคราะห​แนวคิด​หลกั การ​ปรัชญา​เศรษฐกจิ ​พอเพยี ง​ได

ขอบขายเ​นอื้ หา

เร่ืองท่ี 1 ความ​เปน มา ความ​หมาย หลัก​แนวคดิ
เรือ่ งท่ี 2 ปรัชญา​เศรษฐกจิ ​พอเพียง
เร่ืองท่ี 3 การ​จัดการค​ วามรู


​เรอ่ื งท​ ่ี 1 ความเ​ปน มา ค​ วาม​หมาย ห​ ลกั ​แนวคดิ


พระบาท​สมเด็จ​พระเจา​อยู​หัว​ภูมิ​พล​อดุลย​เดช​ได​พัฒนา​หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​เพ่ือ​ที่​จะ​ให​
พสกน​กิ ร​ชาวไทย​ไดเ​ ขา ​ถงึ ​ทางส​ ายกลางข​ องช​ วี ติ แ​ ละเ​พอ่ื ​คงไวซ​ ง่ึ ​ทฤษฎ​ขี องก​ ารพ​ ฒั นาท​ ย​่ี ง่ั ยนื ​ทฤษฎ​นี ​เ้ี ปน ​พน้ื ฐาน​
ของ​การ​ด�ำ รงชวี ติ ซ​ ่งึ ​อยรู​ ะหวา ง ​สังคม​ระดับท​ อ งถิ่น​และ​ตลาดร​ ะดับ​สากล ​จดุ เดน ​ของแ​ นว​ปรชั ญา​น​ี้คือ ​แนวทาง​
ทสี่​ มดุล ​โดย​ชาตส​ิ ามารถ​ทนั สมยั ​และ​กา วส​ คู​ วาม​เปนส​ ากล​ได  ​โดย​ปราศจาก​การต​ อตาน​กระแ​ สโ​ ลกาภ​ ิวฒั น ​
ปรัชญาเ​ศรษฐกิจ​พอเพียง ​มี​ความ​ส�ำ คัญใ​ น​ชว ง​ป ​พ.​ศ.​ ​25​ ​4​0​ ​เมอื่ ​ปท​ ป​ี่ ระเทศ​ไทยต​ อ งการ​รักษา​ความม​ ่ันคงแ​ ละ​
เสถยี รภาพเ​พอ่ื ​ทจ​่ี ะย​ ืนหยดั ใ​ นก​ ารพ​ ึ่งตนเอง​และพ​ ฒั นาน​ โยบายท​ ส่ี​ �ำ คญั ​เพื่อ​การฟ​ นฟู​เศรษฐกจิ ​ของ​ประเทศ​โดย​
การ​สรางแ​ นวคิด​เศรษฐกิจ​ที่​พึ่งตนเองไ​ ด ​ซึ่งค​ น​ไทย​จะส​ ามารถ​เลี้ยงชีพโ​ ดย​อยู​บน​พื้นฐาน​ของ​ความ​พอเพียง​
พระบาท​สมเด็จพ​ ระเจาอ​ ยห​ู วั ​มพ​ี ระร​ าช​ด�ำ รว​ิ า ​“​มนั ไ​ มไดม​ ีค​ วามจ​ ำ�เปน ​ท​ี่เรา​จะก​ ลายเ​ปนป​ ระเทศ​อุตสาหกรรม​
ใหม  (​​NI​C​ ​)​ “​ ​ ​ พ​ ระองค​ได​ทรง​อธบิ าย​วา ค​ วาม​พอเพียงแ​ ละ​การพ​ ึ่งตนเอง ค​ ือ ท​ างส​ ายกลางท​ จ่ี​ ะป​ อ งก​ นั ​การ​เปล่ยี น​
แปลงค​ วาม​ไมมั่นคงข​ อง​ประเทศ​ได


​ เรอ่ื งท​ ี่ 2 ปรชั ญาเ​ศรษฐกจิ ​พอเพียง

​“​ ​การ​พฒั นาป​ ระเทศ​จ�ำ เปน​ตอง​ท�ำ ตามล​ ำ�ดบั ข้ัน ​ตองส​ รา ง​พน้ื ฐาน ​คอื ​ความ​พอมพี อกิน ​พอ​ใชข​ อง​
ประชาชน​สว นใ​ หญ​เ ปน​เบอ้ื งตน​กอน ​โดย​ใช​วธิ ีการ​และ​ใชอ​ ุปกรณ​ท่ีป​ ระหยัด ​แต​ถ กู ตอง​ตามหลักว​ ชิ า​เมอ่ื ​ไดพ​ ื้น
ฐาน​มั่นคง​พรอม​พอควร​และ​ปฏิบัติ​ได​แลว​จึง​คอย​สราง​คอย​เสริม​ความ​เจริญ​และ​ฐานะ​เศรษฐกิจ​ข้ัน​ท่ี​สูงขึ้น​โดย​
ล�ำ ดับตอไป ห​ าก​มงุ ​แตจ​ ะ​ทมุ เท​สรางค​ วามเ​จริญ ย​ ก​เศรษฐกิจ​ขนึ้ ใ​ หร​ วดเรว็ ​แต​ป ระการ​เดียว โ​ ดย​ไมใ​ หแ​ ผน​ปฏิบตั ​ิ
การส​ ัมพนั ธกบั ส​ ภาวะ​ของป​ ระเทศ​และ​ของ​ประชาชนโ​ ดย​สอดคลอ ง​ดวย ​กจ​็ ะเ​กิด​ความ​ไมส​ มดลุ ​ใน​เร่อื ง​ตา งๆ​ ​
ขึ้น ซ​ ่งึ อ​ าจก​ ลาย​เปนความย​ งุ ยาก​ลมเหลว​ได​ในท​ ่สี ดุ ”

พระ​บรม​ราโชวาท ​ใน​พธิ พ​ี ระราชทานป​ ริญญาบัตรข​ อง ​มหาวิทยาลยั เ​กษตรศาสตร  ​ณ ​หอประชมุ ม​ หาวทิ ยาลยั ​เกษตรศาสตร ​
วนั พฤหสั บดี​ที ่ ​18​ ​ ก​ รกฎาคม พ​ .ศ​ .​ 2​ ​51​ 7​ ​ ​


“​ ​ ​ ​คนอ​ ่นื จ​ ะว​ า​อยางไร​ก็ชา ง​เขา​จะว​ า​เมอื งไทยล​ า สมยั ​วาเ​มืองไทย​เชย ​วา​เมอื งไทยไ​ มมสี​ ่ิงใ​ หมแ​ ตเ​ รา​
อย ู ​อยา งพ​ อมีพอกิน ​และข​ อใ​ ห​ทุกคน​มคี​ วาม​ปรารถนา​ท่​ีจะใ​ ห​เ มืองไทย​พอ​อย​ูพอ​กนิ ​มีค​ วามส​ งบช​ ว ย​กนั ร​ ักษา​
สว นรว ม ​ใหอ​ ยู​ท ​ีพอสมควร ข​ อย​ ำ�้ ​พอควร ​พอ​อยพ​ู อ​กนิ ม​ คี​ วามส​ งบไ​ มใ​ ห​คนอ​ น่ื ​มา​แยง ค​ ณุ สมบัต​ไิ ป​จากเ​รา​ได”​
พ​ ระ​ราชก​ ระแ​ สร​ บั สัง่ ใ​ น​เร่ืองเ​ศรษฐกิจพ​ อเพียง​แกผ​ ู​เขา เฝา ​ถวายพระพรช​ ัยม​ งคล เ​น่ืองใ​ น​วนั ​เฉลิม​พระ​ชนมพรรษาแ​ ตพ​ ุทธศักราช ​

2​5​17​ ​


“​ ​ ​การ​จะ​เปน ​เสือ​นน้ั ​มนั ไ​ ม​ส�ำ คัญ ​ส�ำ คญั อ​ ยู​ทเี​่ รา​พอ​อย​พู อ​กิน ​และม​ เ​ี ศรษฐกจิ ก​ ารเ​ปนอ​ ยแู​ บบ​พอมีพอ
กิน แ​ บบ​พอมีพอกิน ห​ มายความวา ​อมุ ชต​ู ัวเอง​ได ​ให​มพี​ อเพียง​กบั ต​ วั เอง ”​

พระ​ราชำ�​ดำ�รัส ​“เ​ศรษฐกิจแ​ บบพ​ อเพียง”​ พ​ ระบาท​สมเด็จพระปรม​ ินทรม​ หาภ​ มู ิ​พล​อดลุ ยเ​ดช ​พระราชทาน​ เมอื่ ​วันท​ ี่​

4​ ​ ธันวาคม พ.ศ​ .​ 2​ 5​ ​40​ ​

​​​​​​​

2 หนังสอื เรียนส​ าระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับมธั ยมศึกษาต​ อน​ปลาย (ทช 31001)​

​ ปรัชญาข​ อง​เศรษฐกจิ พ​ อเพยี ง​ท​ที่ รง​ปรับปรงุ ​พระราชทานเ​ปน​ท่มี า​ของ​นิยาม ​“3​ ​ ​หวง ​2​ ​เง่ือนไข”​ ​ท่​ี
คณะ​อนกุ รรมการข​ บั ​เคลอื่ น​เศรษฐกจิ พ​ อเพยี ง ​สำ�นกั งานค​ ณะกรรมการ​พฒั นาการ​เศรษฐกจิ แ​ ละ​สงั คมแ​ หงชาต ิ​
น�ำ มา​ใชใ​ นก​ ารร​ ณรงคเ​ ผย​แพร ​ปรชั ญาข​ องเ​ศรษฐกิจ​พอเพียง ​ผา นช​ อ งทาง​ตา งๆ​ อ​ ยใ​ู น​ปจจุบนั ​ซง่ึ ป​ ระกอบดวย​
ความ ​“​ พ​ อประมาณ ​ ม​ เี​หตผุ ล ​ ม​ ภี​ ูมคิ​ มุ ​กนั ​”​ บ​ น​เงอ่ื นไข ​“ค​ วามรู  ​และ ​คณุ ธรรม”​
​ อภิชยั ​พนั ​ธเสน ​ผ​ูอ�ำ นวยการส​ ถาบนั ก​ ารจ​ ัดการ​เพื่อ​ชนบท​และ​สังคม ​ได​จัดแ​ นวคิด​เศรษฐกจิ ​พอเ​พยี ง
วาเ​ปน ​“​ขอเสนอ​ในก​ ารด​ ำ�เนนิ ก​ จิ กรรมท​ าง​เศรษฐกจิ ต​ ามแ​ นวทาง​ของพ​ ทุ ธธรรม​อยางแ​ ทจรงิ ”​ ท​ ้งั น้เี​นอ่ื งจาก​ใน​
พระ​ราชด​ ำ�รสั ​หน่ึง ​ได​ให​ค�ำ ​อธิบาย​ถงึ ​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียงวา ​“​คือ​ความพ​ อประมาณ ​ซ่อื ตรง ​ไมโ​ ลภมาก ​และต​ อง​
ไม​เ บียดเบียนผ​ อู ่ืน”​ ​
​ ระบบเ​ศรษฐกจิ พ​ อเพียง ​มุงเนน ใ​ ห​บุคคลส​ ามารถป​ ระกอบ​อาชีพ​ได​อยา ง​ยั่งยนื ​และ​ใชจ​ า ยเงนิ ใ​ หไ​ ด​ม า​
อยางพ​ อเพยี งแ​ ละป​ ระหยดั ​ตามกำ�ลงั ข​ อง​เงิน​ของบ​ คุ คล​นั้น ​โดย​ปราศจากก​ ารก​ ู​หนย​้ี ืม​สนิ ​และถ​ า ​มีเ​งนิ เ​หลือ ​ก​็
แบง​เก็บอ​ อมไว​บางสว น ​ชวยเหลอื ​ผูอืน่ บ​ างสวน ​และ​อาจ​จะใ​ ชจ ายม​ า​เพื่อ​ปจ จยั ​เสรมิ อ​ กี บ​ างสวน ​(​ปจ จยั เ​สรมิ ​ใน​
ทน่ี ​เี้ ชน ​ทองเท​ ยี่ ว ​ความ​บันเทงิ ​เปน ตน )​ ส​ าเหตุ​ที​่แนวทาง​การ​ด�ำ รงชีวิตอ​ ยางพ​ อเพยี ง ​ได​ถูก​กลา ว​ถงึ อ​ ยา ง​กวา ง
ขวาง​ใน​ขณะน​เ้ี พราะ​สภาพก​ าร​ดำ�รงชีวติ ข​ อง​สงั คมท​ ุนนิยมใ​ น​ปจจุบันไ​ ด​ถ กู ​ปลูกฝง ​สราง ​หรือ​กระตนุ ​ให​เ กิด​
การใ​ ชจ าย​อยางเ​กนิ ตัว​ใน​เรอื่ งท​ ่​ีไม​เ กี่ยวขอ ง​หรือ​เกนิ ก​ วา ป​ จ จยั ​ในก​ าร​ดำ�รงชีวิต ​เชน ​การบ​ ริโภค​เกนิ ตวั ​ความ​
บนั เทงิ ห​ ลากหลาย​รูป​แบบ​ความส​ วย​ความ​งาม ​การ​แตง ตัว​ตาม​แฟชน่ั ​การ​พนนั ​หรอื ​เสีย่ งโชค ​เปน ตน ​จน​ทำ�​ให​
ไมม เี งนิ เ​พียงพอเ​พ่อื ​ตอบสนองค​ วาม​ตอ งการเ​หลา ​นั้น ​สงผลใ​ หเ​ กดิ ก​ ารก​ ูห​ น้​ียืมส​ นิ ​เกิดเ​ปน ว​ ัฏจกั รท​ ​่ีบุคคลห​ นงึ่ ​
ไม​สามารถ​หลดุ ​ออกมา​ได  ถ​ า ไ​ มเ​ปลยี่ น​แนวทางใ​ นก​ าร​ด�ำ รงชีวติ

​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​
​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​ ทางสายกลาง



​ พอประมาณ

มีเหตุผล มีภมู คิ ุม กนั

เง่ือนไขค​ วามรู เงอื่ นไข คุณธรรม
(รอบรู รอบคอบ ระมดั ระวัง) (ซ่อื สตั ย สจุ ริต ขยนั อดทน แบง ​เปน)

ชีวติ เศรษฐกจิ สงั คม
สมดลุ มั่นคง ยั่งยนื

​หนังสอื เรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มัธยมศกึ ษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​ 3

เ​ศรษฐกิจพ​ อเพยี ง ​ ค​ ือ​การย​ ดึ หลัก 5​ ​ ป​ ระการ ท​ ่ี​สำ�คญั ใ​ นก​ าร​ด�ำ เนินการไ​ ดแ​ ก

​ 1.​​ ท​ างส​ ายกลาง​ในก​ าร​ด�ำ เนนิ ​ชวี ติ ต​ ง้ั แ​ ตร​ ะดบั ​ครอบครวั ช​ มุ ชน แ​ ละร​ ะดบั ร​ ฐั ร​ วม​ถงึ เ​ศรษฐกจิ ​ใน​ทกุ ​ระดบั
2.​​ มคี​ วาม​สมดลุ ​ม​ีความ​สมดุล​ระหวา งค​ น ​สังคม ​สิง่ แ​ วดลอ ม ​และ​เศรษฐกิจ ​มี​ความ​สมดลุ ใ​ น​การผ​ ลติ ​
ทหี่​ ลากหลาย ใ​ ช​ทรัพยากรท​ ​มี่ ​ีอยอ​ู ยางม​ ปี​ ระสิทธิภาพ
3.​​ ม​ ​ีความ​พอประมาณ ค​ วามพ​ อเพียงใ​ นก​ าร​ผลติ แ​ ละ​การบ​ รโิ ภค บ​ น​พน้ื ฐานข​ อง​ความพ​ อประมาณ​
อยางม​ ​ีเหตุผล ไ​ ม​ข ัดสน ไ​ มฟ​ ุม เฟอย ใ​ นก​ ารใ​ ช​ท รพั ยากร​ธรรมชาติแ​ ละ​เทคโนโลยท​ี ่​ีมีค​ วามพ​ อเพยี ง
​ 4.​​ ​ม​ีระบบ​ภมู ิ​คุมก​ นั ​มภี​ มู ​คิ มุ ก​ นั ใ​ นก​ ารด​ �ำ รงชวี ติ ​มส​ี ุขภาพด​ ี ​มศ​ี กั ยภาพ ​ม​ีทกั ษะใ​ น​การแ​ กไ ขป​ ญ หา​
และ​มี​ความ​รอบรู​อยาง​เหมาะสม​พรอม​รับ​ผล​กระทบ​ของ​การ​เปล่ียน​แปลง​ทั้ง​จาก​ภายนอก​และ
ภาย​ในประเทศ
​ 5.​​ ร​ เู ทา ​ทนั โลก ม​ ีความรู ม​ ​ีสตปิ ญญา ค​ วามร​ อบคอบ ม​ คี​ วามอ​ ดทน ​ มี​ความ​เพยี ร ม​ ี​จติ ส​ �ำ นักใ​ น​คุณธรรม ​
และ​ความ​ซือ่ สัตย


น​ ายแ​ พทย​ปราชญ  ​ ​บุญย​วงศว​ โิ รจน  ​ ​ปลัดก​ ระทรวงส​ าธารณสุขบ​ รรยายเ​ร่ือง ​การ​ขับ​เคลอ่ื น​เศรษฐกจิ พ​ อเพยี งร​ ะดบั ​
ชมุ ชนในล​ ักษณะ​บูรณาการ



เรอ่ื งท​ ่ี 3 ก​ ารจ​ ดั การค​ วามรู ​

​​​​​
​แม​วาการอ​ ธิบาย ​ถงึ ​คณุ ลักษณะแ​ ละเ​งอื่ นไข​ในป​ รชั ญาเ​ศรษฐกจิ ​พอเพยี ง ​ จ​ ะ​ใชค​ �ำ ​วา ค​ วามรู ​อันเปน ท​ ี่​
ตกลงแ​ ละ​เขาใ​ จ​กนั ท​ ั่วไป ​ แ​ ต​หากพ​ ิจารณาป​ รชั ญา​ของ​เศรษฐกจิ พ​ อเพียง​ที​ไ่ ดท​ รง​พระ​กรุณา​ปรับปรุง​แกไข ​ แ​ ละ​
พระราชทานพ​ ระบรมราชานญุ าต ​ ​ใหน​ ำ�ไป​เผย​แพร​อยา งล​ ะเอยี ด​นั้น ​กลบั พ​ บ​คำ�​วา ​“ค​ วาม​รอบรู” ​ซ่ึงก​ นิ ค​ วาม​
มากกวา ค​ �ำ ​วา ​“​ ​ความร ู ​“​ ​คอื น​ อกจากจ​ ะอ​ าศยั ค​ วามร​ใู น​เชิงล​ กึ เ​ก่ียวกับง​ านท​ จ​่ี ะท​ ำ�​แลว ​ ​ยงั จ​ �ำ เปน ต​ องม​ คี วามร​ู
ใน​เชงิ ก​ วา ง ​ ​ ไ​ ดแ​ กค​ วามร​ คู วาม​เขา ​ใจ​ในข​ อ​เท็จ​เก่ยี วกบั ส​ ภาวะแ​ วดลอม ​ แ​ ละ​สถานการณ​ทีเ่​กยี่ วพัน​กบั ง​ านท​ ่ีจ​ ะ​
ทำ�​ทัง้ หมด ​ ​โดยเฉพาะท​ ่​ีพระองคท​ าน​ทรงเ​นน ​คือ​ระบบ​ชวี ติ ข​ องค​ นไ​ ทยอ​ นั ไ​ ด​แ ก​ค วามเ​ปน​อยู ​ความต​ องการ ​
วฒั นธรรม ​และค​ วามร​ ูสำ�นึกค​ ิด​โดยเ​บด็ เสรจ็ ​ จ​ งึ ​จะท​ �ำ งานใ​ ห​บรรลเุ​ปาหมายไ​ ด
​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ การน�ำ ​องคป ระกอบ​ดา นค​ วามรูไ​ ป​ใช​ใน​ปรชั ญา​เศรษฐกจิ พ​ อเพียง​ไปป​ ระยกุ ตใ​ ชใ​ นทางธ​ ุรกจิ ​ จ​ งึ ม​ ิได
​จ�ำ กดั ​อย​เู พียงค​ วามรู ​ ​ท่ีเ​ก่ียวของ​กบั ​มติ ิท​ าง​เศรษฐกจิ ​ทคี่​ �ำ นึงถ​ ึง​ความ​อยรู อด ​ ​ก�ำ ไร ​หรอื ​การเ​จริญ​เติบโต​ของ​
กิจการ​แตเ พยี ง​อยา งเดยี ว ​ ​แต​รวมถ​ ึง​ความรู​ท เี่​ก่ยี วของ​กบั ม​ ติ ​ทิ าง​สงั คม ​สง่ิ แ​ วดลอม ​และว​ ฒั นธรรม​ของค​ น​ใน​
ทองถ่นิ น​ ั้นๆ​ ส​ อดคลอ ง​ตามหลัก ก​ ารไ​ มต ดิ ต​ ำ�รา ​ เ​ชน ไ​ มค​ วรน​ ำ�​เอา​ความรู​จากภ​ ายนอก ห​ รือ​จากต​ างประเทศ ​ ม​ า​
ใชกับ​ประเทศไ​ ทยโ​ ดย​ไมพ​ ิจารณาถ​ ึง​ความ​แตกตา ง ​ ​ในดาน​ตา งๆอ​ ยาง​รอบคอบ​ระมัดระวัง ​ ​หรอื ​ไมค​ วร​ผูกมดั ​
กบั ​วชิ าการ​ทฤษฎ ี แ​ ละเ​ทคโนโลย​ที ​ไ่ี มเ​ หมาะสมกบั ส​ ภาพช​ วี ติ ​ แ​ ละค​ วาม​เปน อ​ ย​ทู แ​่ี ทจ รงิ ​ของ​คนไ​ ทยแ​ ละ​สงั คมไ​ ทย
ยง่ิ ไ​ ป​กวาน​ ั้น ​ความร ู ​ ​ทป​่ี รากฏใ​ น​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกจิ พ​ อเพียง ​ ​ยงั ป​ ระกอบ​ไป​ดว ย ​ ​ความ​ระลกึ ร​ ู
(ส​ ต)ิ ​กบั ​ความ​รูชัด ​(ป​ ญ ญา)​ ​ซงึ่ ​ถือเปน อ​ งคประกอบ​สำ�คญั ท​ ​วี่ ิชาการห​ รือ​ทฤษฎ ี ​ใน​ตะวันตกท​ ี​เ่ กีย่ วกบั ​การ”​
จดั การ​ความรู  ​ ย​ งั ไ​ มค​ รอบคลมุ ​ถึง ​หรอื ยงั ไ​ มพ ฒั นาก​ าวหนาไ​ ป​ถงึ ขั้นด​ งั กลา ว ​จึง​ไมมแ​ี นวคดิ ​หรือ​เครอ่ื งมือ​ทาง​
การบ​ ริหาร​จัดการ​ความรู​ใดๆท​ ม​่ี ค​ี วาม​ละเอยี ด​ลึกซง้ึ เ​ทา กบั ​ทปี่​ รากฏ​อยู​ในป​ รัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​อีกแ​ ลว
​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ พพิ ัฒน  ​ ย​ อดพ​ ฤต​ิการ ​ ไ​ ดก​ ลา ว​ไว​ในบ​ ทความ เ​รือ่ ง​ท่ม​ี กั เ​ขา​ใจผ​ ดิ ​เกีย่ วกับ​เศรษฐกจิ ​พอ​เพยี งวา

4 หนงั สือเรียน​สาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับมัธยมศกึ ษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​

​เศรษฐกิจ​พอเพียงม​ ​ีรากฐานม​ าจากแ​ นวคิดใ​ นก​ าร​สรา งค​ วาม ​“​พอ​มี”​ (​ค​ ือ​การผ​ ลิต)​ “​ พ​ อ​กิน-​พอ​ใช” ​ (​ก​ ารบ​ รโิ ภค)​
ให​เกดิ ขนึ้ แ​ ก​ประชาชนส​ ว นใ​ หญ​ของป​ ระเทศ ​เพราะ​ถา ป​ ระชาชนส​ ว นใ​ หญข​ องป​ ระเทศ​ยังย​ ากไร​ขัดสน ​ยงั มี​
ชีวติ ​ความ​เปน อ​ ยอ​ู ยาง​แรน ​แคน ​ ก​ ารพ​ ัฒนาป​ ระเทศ​กย​็ งั ถ​ อื วา ​ไมป​ ระสบ​ความส​ ำ�เร็จ
​ เ​ศรษฐกิจพ​ อเพยี ง ส​ �ำ หรบั ​คน​ทุก​กลมุ ม​ ิใ​ ชแ​ ค​เกษตรกร
ก​ าร​สรางค​ วามค​ วาม ​“​พอก​ นิ -พ​ อ​ใช”​ ใ​ นเ​ศรษฐกิจ​พอ​เพยี งนี ้ ​ ม​ งุ ไปท​ ่​ีประชาชน​ในท​ ุกก​ ลมุ ส​ าขา​อาชีพ​ท่ี​ยังมช​ี วี ติ ​
แบบ ​“​ไม​พอก​ นิ -ไ​ ม​พอ​ใช” ​ ห​ รอื ยงั ​ไม​พอเพยี ง ​ซึ่งม​ ิได​จำ�กดั ​อย​ูเพียงแ​ คค​ น​ชนบท ​หรอื ​เกษตรกร ​เปน ​แต​เพยี งวา ​
ประชาชน​สว น​ใหญข​ อง​ประเทศท​ ่​ยี ัง​ยากจนน​ ้นั ม​ อ​ี าชีพ​เกษตรกร​มากกวาส​ าขา​อาชีพ​อืน่ ​ ท​ ำ�​ให​ความส​ ำ�คญั ล​ �ำ ดับ​
แรก​จงึ ม​ ุง ​เขา สู​ภาคเกษตรห​ รือช​ นบท​ทีแ่​ รน​แคน ​จนม​ รี​ ูปธรรม​ของ​การป​ ระยุกตป​ รชั ญา​เศรษฐกจิ ​พอเพยี ง​ออกมา​
เปน เ​กษตร​ทฤษฎใี​ หม ​อันเปน​ท​ี่ประจกั ใ​ นค​ วาม​สำ�เรจ็ ข​ อง​การ​ยกระดับ​ชีวติ ​ความเ​ปน อ​ ยู​ของเ​กษตรกร​ให ​“พ​ อ​ม”ี ​ ​
“​พอ​กิน-พ​ อใ​ ช” ​ ห​ รือส​ ามารถพ​ ง่ึ ตนเองไ​ ด ​ในห​ ลาย​พื้นท​ ่ี​ทว่ั ประเทศ


​หนงั สือเรยี น​สาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมธั ยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​ 5

กจิ กรรมท่ ี 1
1.ให​นกั ศึกษาแ​ บงกลุม แลกเปล่ยี นแ​ ละ​วเิ คราะหป​ ระเด็นภ​ ายใน​กลมุ แ​ ลว เ​ลือก​ผูแ ทนก​ ลมุ ออกมา​
น�ำ เสนอ ตาม​ใบ​งาน​ตอ ไปน้ี

ใบ​งาน​ท ่ี 1
1. ปรัชญาเ​ศรษฐกิจ​พอเพยี ง หมายถึงอ​ ะไร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. เศรษฐกจิ ​พอเพียง ทา น​สามารถป​ รับใชใ​ นก​ ารด​ �ำ เนนิ ​ชวี ิตอ​ ยางไร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................


6 หนงั สอื เรียนส​ าระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับมัธยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​

บทท​ ่ี 2

ชมุ ชน​พอเพียง​

สาระส�ำ คญั

ชุมชนท​ ่​ีมค​ี วาม​สามารถใ​ น​การบ​ รหิ าร​จดั การ​ชุมชนอ​ ยา ง​มี​ประสิทธิภาพ เปนกำ�ลงั ส​ �ำ คัญ​ในก​ ารข​ บั ​
เคลอื่ น​เศรษฐกิจพ​ อเพยี ง นักว​ ิชาการห​ ลายท​ านไ​ ดศ​ ึกษาแ​ ละ​วิเคราะห​เรื่อง​การพ​ ฒั นาช​ ุมชน เพ่อื ​มุงสก​ู ารเ​ปน​
ชุมชน​ที่​พอเพียง รวมทั้งต​ ัวอยาง​ของ​ชุมชนพ​ อเพียงท​ ี่ป​ ระสบค​ วาม​สำ�เร็จ และ​ตัวอยางข​ อง​ชุมชนพอเพียง​
ดาน​พลังงาน

ผล​การเ​รยี นรู​ที่คาดหวงั

1. นกั ศกึ ษา​สามารถ​อธิบาย และ​วิเคราะห​การ​บริหาร​จัดการ​ชุมชน องคกร​ตามหลัก​ปรัชญา​
เศรษฐกจิ ​พอเพียง
2. อธบิ าย​การบ​ รหิ าร​จัดการช​ มุ ชน องคก ร และป​ ระยกุ ต​ใชใ​ น​การด​ ำ�เนิน​ชวี ิต​อยา ง​สมดลุ พรอ ม​รบั ​
ตอก​ าร​เปลีย่ นแปลง​ของช​ มุ ชน​ได

ขอบขา ย​เนือ้ หา

เ​รอ่ื ง​ท ี่ 1 ความ​หมายโครงสรา งข​ องชมุ ชน
เ​รื่องท​ ี ่ 2 กา​รพฒั นาช​ มุ ชน


เรื่องท่ี 1 ความหมายโครงสรางของชุมชน
ความ​หมาย​ของ​ชมุ ชน ชุมชน​ หมายถึงถ​ ่นิ ฐานท​ ่อี ย​ูของก​ ลุมคน ถน่ิ ฐานน​ ้ี​มพ​ี ้ืนที​่อางอิง​ได และ​

กลุม คนน​ ​ี้มีก​ าร​อยอู าศัย​รวมกนั มี​การท​ ำ�​กิจกรรม เรยี นรู ตดิ ตอ สือ่ สาร รว มมือ​และ​พ่งึ พา​อาศยั ​กนั มี​วฒั นธรรม​
และ​ภมู ปิ ญ ญาป​ ระจ�ำ ถน่ิ ม​ีจติ วิญญาณ และค​ วาม​ผูกพนั ​อยกู​ ับพ​ ื้นท่ี​แหง นน้ั อยู​ภายใตก​ าร​ปกครองเ​ดยี วกัน
โครงสรางข​ องช​ ุมชน ประกอบดวย 3 สวนค​ อื
1. กลุมคน หมายถึง การท​ ่​ีคน 2 คนห​ รือ​มากกวาน​ ั้นเ​ขา มา​ตดิ ตอ เ​ก่ียวของ​กนั และ​มป​ี ฏิสมั พนั ธต​ อ กนั ​
ทางส​ งั คม​ในช​ ่ัวเวลา​หน่ึงด​ ว ย ความ​มงุ หมายอ​ ยางใ​ ดอ​ ยางห​ นง่ึ ​รว มกัน
2. สถาบนั ท​ างส​ งั คม เมือ่ ​คน​มา​อยร​ู วมกันเ​ปนกลมุ แ​ ลว และม​ ว​ี วิ ฒั นาการไ​ ปถ​ งึ ข้ันต​ ้ังอ​ งคกร​ทางส​ งั คม​
แลว ก็​จะ​มีก​ ารก​ ำ�หนด​แบบแผนข​ องก​ ารป​ ฏบิ ัต​ิตอกัน​ของ​สมาชกิ ใ​ นก​ ลมุ ​เพ่อื ​สามารถ​ด�ำ เนินการ​ตาม​ภารกิจ
3. สถานภาพแ​ ละบ​ ทบาท​สถานภาพ หมายถงึ ต�ำ แหนง ​ทาง​สังคมข​ องค​ นในก​ ลุม ​หรอื ​สงั คมบ​ ทบาท
หมายถึง พฤตกิ รรมท​ ค่ี​ นในส​ ังคมต​ อง​ทำ�ตามส​ ถานภาพใ​ นก​ ลมุ ห​ รอื ​สงั คม

​เรอ่ื งท​ ี่ 2 การพฒั นาช​ ุมชน


ชุมชนท​ ีม่​ ​ีความ​สามารถ​ในก​ ารบ​ รหิ ารจ​ ัดการ​ชมุ ชนอ​ ยาง​มป​ี ระสิทธภิ าพ ตอ ง​ม​อี งคประกอบ​สำ�คัญ​
หลาย​ประการ​และส​ ามารถ​พัฒนาห​ รอื ค​ วบคุม​องคประกอบ​เหลา น้ัน​ได  โดย​ผู​ศ ึกษา​ไวด​ ังน ้ี มนี​ ัก​วชิ าการห​ ลาย​
ทาน​ทไ​่ี ด​ศึกษาแ​ ละว​ ิเคราะหอ​ งค​ประกอบการพ​ ฒั นาช​ มุ ชนไ​ วต​ ามแ​ นวคิด​การ​พฒั นาช​ มุ ชน ดงั ต​ อไปนี้
สนทย​ า พลตรี (2533 : 65 – 68) ได​กลา วถ​ ึงก​ ารพ​ ฒั นา​ชุมชนว​ า ม​ ีอ​ งคป ระกอบ 2 ประการ สรุป​ได​ดังน้ี
1. การเ​ขาม​ ี​สวนรวมข​ องป​ ระชาชนเ​อง เพอ่ื ท่จี ะ​ปรบั ปรุง​ระดับ​ความ​เปน อยู​ให​ด ขี ้ึน โดย​จะ​ตอ ง​พง่ึ
ตนเองใ​ หม​ าก​ที่สุดเ​ทา ทจี่ ะ​เปนได  และ​ควรเ​ปนความร​ เิ ริ่ม​ของช​ ุมชนเ​อง​ดว ย
2. การจ​ ดั ใหม​ ​กี ารบ​ รกิ ารท​ าง​เทคนิค​และ​บรกิ ารอ​ ่ืน ๆ ที่จะ​เรงเรา​ให​เกดิ ​ความคดิ ร​ เิ ร่มิ การ​ชว ย​ตนเ​อง
3. ชวยเหลอื ก​ นั แ​ ละก​ นั อันเปนป​ ระโยชน​ม ากท​ ส่ี ดุ
คณะกรรมการพ​ ัฒนาการเ​ศรษฐกจิ แ​ ละส​ ังคมแ​ หง ชาติ (2539 : 1 – 2) ไดก​ ลาวถ​ ึงล​ ักษณะก​ าร​พฒั นา​คน​
และ​สงิ่ แวดลอ ม ซง่ึ อ​ าจ​ถือวาเ​ปน​องคการ​พฒั นาช​ ุมชนด​ ว ย สรุป​ไดด​ ังนี้
1. การพ​ ัฒนาค​ นป​ ระกอบดวย 4 ดานด​ งั นี้
ดานจ​ ติ ใจ
ดา นร​ างกาย
ดา นส​ ติปญญา
ดานบ​ คุ ลิกภาพ
2. การพ​ ัฒนาส​ ภาพแวดลอ ม​ให​เออื้ ต​ อ ก​ าร​พัฒนา ประกอบดว ย 4 ดาน​ดงั น้ี
ดานเ​ศรษฐกจิ
ดา นค​ รอบครัว​และช​ มุ ชน
ดานท​ รัพยากรแ​ ละ​ส่ิงแวดลอม
ดา นก​ ารบ​ รหิ ารจ​ ัดการแ​ ละก​ ารเมือง

8 หนงั สอื เรยี น​สาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มัธยมศกึ ษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​

​ สพุ ​ัตรา สุภาพ (2536 : 124 – 126) ได​ก ลา ว​ถงึ ป​ จ จยั ท​ ​่ีมอี​ ทิ ธพิ ล​ตอ ​การเ​ปลยี่ นแปลงท​ างส​ ังคม ซึ่ง​เปน​
องค​ประกอบการ​พฒั นาช​ มุ ชน วา ​มี 7 ประการ​ดังน้ี
1. ส่งิ แวดลอ มท​ าง​ธรรมชาติ หากม​ คี​ วามส​ มบรู ณจ​ ะส​ งผลให​ชุมชนม​ ​กี าร​พฒั นาไ​ ดร​ วดเรว็ ​และม​ ั่นคง
2. การเ​ปลย่ี นแ​ ปล​ลง​ดานป​ ระชากร การ​เพม่ิ ​ประชากร​ม​ีคุณภาพ​สามารถ​สราง​ให​เ กดิ ก​ ารพ​ ัฒนา​ดา น​
เศรษฐกจิ สงั คม และก​ ารเมืองท​ ันสมยั ข​ ้ึน
3. การไ​ ด​อ ยโ​ู ดดเดย่ี วแ​ ละ​ตดิ ตอ ​เกย่ี วขอ ง ชมุ ชน​ใดท​ ม​่ี ​กี าร​ตดิ ตอ กนั ท​ �ำ ​ใหก าร​พฒั นา​เปน ไปอ​ ยา ง​รวดเรว็
4. โครงสรา ง​ของส​ งั คม​และ​วัฒนธรรม ชมุ ชนท​ ​่มี ​กี ารเ​คารพ​ผอู าวโุ ส​จะ​มีก​ าร​เปล่ยี นแปลง​นอย คานิยม​
ตาง ๆ ชว ยใ​ หร​ ูว าช​ มุ ชน​มก​ี ารเ​ปลี่ยนแปลง​เกดิ ก​ ารพ​ ัฒนาข้ึนม​ ากน​ อ ยเ​พยี งไร
5. ทศั นคต​แิ ละค​ า นิยม การม​ ค​ี านยิ มด​ า น​อาชีพ ดา น​บรโิ ภค เปน ส​ ว นข​ องก​ ารช​ ดั ​การพ​ ัฒนาใ​ น​ชุมชน​
นนั้ ไ​ ด
6. ความ​ตอ งการร​ บั รู การย​ อมรบั ​สง่ิ ป​ ระดิษฐ​ใหม ๆ จะเ​ปน​เครอื่ งช​ท้ี ิศทางแ​ ละ​อตั รา​การ​เปล่ยี นแปลง​
ของช​ ุมชน
7. พืน้ ฐานท​ าง​วฒั นธรรม ถา​มฐ​ี านท​ ด่​ี สี​ ิง่ ใ​ หมท​ ่ีจะ​เกดิ ขนึ้ ​ยอมด​ ีต​ ามพ​ ื้นฐาน​เดิม​ดว ย
พลาย​พล คุมท​ รัพย (2533 : 44 – 47) ได​กลา ว​ถึงป​ จ จัยท​ ี่ส​ ามารถ​ใชใ​ น​การพ​ ัฒนา​ชมุ ชน ซง่ึ เ​ปน​องค​
ประกอบการ​พัฒนาช​ มุ ชน วา ​ประกอบดวย 3 ปจ จยั ดงั นี้
1. โครงสรา งท​ าง​สังคม ครอบครัว​ทม​่ี ข​ี นาดเล็ก​และม​ โ​ี ครงสรา งไ​ มซ ับซอ นจ​ ะ​สงผลให​ชมุ ชนน​ ้ัน​
พฒั นาไ​ ดด​ ีกวาช​ ุมชน​ท่ี​มโี​ ครงสรา ง​ทาง​ครอบครวั ​ท​่ีซับซอ น
2. โครงสราง​ทาง​ชนชนั้ ในช​ ุมชน​ท​่มี โ​ี ครงสรา ง​แบบ​เปด ท​ส่ี ามารถ​เปล่ยี นแปลง​ฐานะ​ทาง​สงั คมไ​ ด​
งาย ชมุ ชนน​ น้ั จ​ ะเ​กิด​การพ​ ัฒนา
3. ความแ​ ตกตา งท​ าง​เผาพนั ธุ เชอื้ ชาติ และ​ศาสนา ความ​แตกต​ า งหาก​เกดิ ขนึ้ ​ใน​ชุมชนใ​ ดย​ อมเ​ปน​
อปุ สรรค​ตอก​ ารพ​ ฒั นา ตามลำ�ดับ​ความ​แตกตา ง
​ ยวุ ัฒน วฒุ ิเ​มธี (2531 : 58 – 63) กลา ว​ถึงป​ จ จัย​ท่ี​เกอ้ื กูลใ​ หก าร​พัฒนา​ชนบทบ​ รรล​ุความส​ �ำ เร็จ จำ�​เปน ตอ ​
การ​พฒั นา วา ดว ย​องคป ระกอบ และ​สวนประกอบย​ อย​ของอ​ งคป ระกอบ ดังนี้
1. นโยบายร​ ะดบั ชาติ ฝา ยบรหิ ารจ​ ะส​ ามารถด​ ำ�เนินการ​แผน​พัฒนาไ​ ด​ตอ เนอ่ื ง และม​ ​เี วลา​พอท่จี ะ​เห็น​
ความ​ถูกตอง คมุ คา มี​แนวทางป​ ระสานป​ ระโยชน​ระหวาง​รฐั ​และเ​อกชน และ​ความร​ ว มมือ​ระหวางป​ ระเทศจ​ ะ​
ตองเ​กอื้ กลู ต​ อ​การพ​ ัฒนา
2. องคก ารบ​ รหิ ารก​ ารพ​ ัฒนาช​ นบท ท่ม​ี อ​ี งคก ร​กลางท​ ำ�หนา ท​่ปี ระสานน​ โยบาย​แผนงานแ​ ละ​โครงการ​
อยา งม​ ​ีประสทิ ธิภาพแ​ ละม​ ี​อ�ำ นาจ​เดด็ ขาดใ​ น​การ​ลงทนุ ​ในห​ นว ย​ปฏิบตั ​ิตองด​ �ำ เนนิ การ​ตามน​ โยบาย แผนงาน และ​
โครงการ​ในแ​ ผนร​ ะดบั ชาติ และจ​ ัด​งบ​ประมาณการ​ตดิ ตามค​ วบคุม​ท่ีม​ ​ปี ระสิทธิภาพ
3. วทิ ยาก​ ารท​ ี​่เหมาะสม​และก​ ารจ​ ดั การ​บรกิ าร​ท​่สี มบูรณ เลอื ก​พน้ื ท่แ​ี ละก​ ลมุ เ​ปาหมายท​ สี่​ อดคลองกบั ​
ความเ​ปน จริง และเ​ลือกว​ ิทยา​การท​ ​่ีประชาชน​จะ​ไดรับใ​ ห​เ หมาะสม
4. การส​ นบั สนุนร​ ะดับท​ อ งถิ่น ความร​ บั ผดิ ชอบ​ของ​การ​สนับสนนุ ง​ านใ​ น​ทอ ง​ถิ่นทมี่​ ีป​ ระสทิ ธิภาพ​จะ​
เกดิ ก​ าร​พัฒนา​อยา งแ​ ทจริง​ในร​ ะยะยาว
5. การค​ วบคมุ ​ดแู ลแ​ ละต​ ิดตามผ​ ล​การ​ปฏิบตั ิ​งาน ควร​เปนไปตามแ​ ผนงาน​และ​โครงการ​ทกุ ​ระดบั แ​ ละ​
ครอบคลมุ ​ทุก​พ้ืนท่ี พรอ มทง้ั ​ใหส​ ถาบันก​ ารศ​ ึกษา​ทอ งถนิ่ ​ตดิ ตาม​ประเมนิ ผล


ห​ นังสือเรยี น​สาระทักษะการดำ�เนินชีวติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มัธยมศกึ ษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​ 9

อชั ญา เคารพาพ​ งศ (2541 : 82 – 83) กลา วถ​ งึ ป​ จ จัย​สว นประกอบท​ ีม่​ อื ทธิ​พล​ตอ ​การพ​ ฒั นา สรุป​ไดด​ ังน้ี
1. ผนู ำ� ไดแ ก ผูนำ�​ทอ งถนิ่ ทง้ั ​เปน ทางการแ​ ละ​ไม​เปนทางการใ​ น​หมูบาน และจ​ ากอ​ งคก ร​ภาครัฐ มี​
สวนใ​ ห​ชุมชน​พฒั นาใ​ นทาง​ทดี​่ ขี ึ้น เปน ​ประโยชน ชุมชนม​ ีเ​จตคต​ิท​่ีดย​ี อมรับ​ส่ิงใ​ หม​และส​ รางพ​ ลงั ​ตอส​ูเ พ่อื ​การ​
เปล่ียนแปลง
2. สงั คม – วฒั นธรรม การไ​ ดรับว​ ฒั นธรรม​จาก​สังคมเมอื งม​ าป​ ฏิบัติ​ทำ�ใหช​ มุ ชนเ​กดิ ​การเ​ปลี่ยนแปลง
3. ส่งิ แวดลอ ม การป​ รบั ปรงุ ​สภาพแวดลอ ม​ภูมศิ าสตรช​ ุมชน สง ผลใหท​ ีด่ ินอ​ ดุ มสมบรู ณ​ราคาส​ นิ คา
เกษตร​ดี ความเ​ปน อย​ูสะดวกสบายก​ วาเ​ดมิ
4. ประวตั ​ิศาสตร เหตกุ ารณส​ ำ�คญั ใ​ นอดตี ​มผี ลตอ​การพ​ ฒั นาค​ วามส​ ามคั คี รัก​พวกพอง ชวยเหลอื ​ซงึ่ ​
กัน​และ​กัน
ปรยี า พรหมจ​ ันทร (2542 : 25) ได​สรปุ อ​ งคประกอบ​ท​่ีเปน ป​ จจัยก​ ารพ​ ัฒนา​ชมุ ชนไ​ ดด​ ังนี้
1. ดา นเ​ศรษฐกจิ ชุมชนท​ เ​่ี ศรษฐกจิ ด​ กี​ าร​พัฒนา​ชมุ ชนส​ ามารถพ​ ฒั นา​ไดด​ีดวย
2. ดานสังคม วัฒนธรรม และส​ ่งิ แวดลอม เปน บ​ รบิ ท​ทป​ี่ รบั ​เปลยี่ นส​ ภาพ​ชมุ ชนไ​ ปต​ ามป​ จจัย
3. ดานก​ ารเมือง หมายร​ วมถึง​การเมืองร​ ะดับชาติ​และ​ชมุ ชนร​ ะดับ​ทองถิ่น
4. ดา นป​ ระวตั ศิ​ าสตร โดยอ​ าศัย​ประสบการณแ​ ละ​วกิ ฤตข​ อง​ชุมชนเ​ปนฐ​ านแ​ ละ​บทเรยี น​การ​พฒั นา
ชุมนมุ
นอกจากนป​้ี รยี า พรหมจ​ ันทร ยัง​ได​จำ�แนกอ​ อก​เปน ​องคป ระกอบ​ทีเ่​ปน​ปจ จัยก​ ารพ​ ัฒนา​ชุมชนป​ จจัย​
โดยต​ รง เชน คน ทุน ทรพั ยากร การจ​ ัดการ เปน ตน และ​ปจจัยโ​ ดย​ออม เชน ภาวะเ​ศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง การ​
ปกครอง เปน ตน
ไพบูลย ว​ ฒั นศิริธ​ รรม (2549) ไดก​ ลาว​ถึงก​ ารส​ ราง​และพ​ ัฒนาค​ น​รุนใหมเ​พ่ือ​พฒั นา​ชุมชนท​ องถนิ่ ม​ี
ปจจัย​ส�ำ คัญ 4 ประการ ซงึ่ ถ​ อื เปน​องคป ะก​อบ​การ​พฒั นา​ชมุ ชน ดงั นี้
1. สังคมด​ ี สง่ิ แวดลอม​ดี ม​ีโอกาสใ​ น​อาชีพ และ​กิจกรรมท​ ี​ห่ ลากหลาย รวมไปถงึ ว​ ิถ​ชี วี ติ ศลิ ป​
วฒั นธรรม ความ​อบอนุ ความ​สุข ความ​เจรญิ ก​ าวห​ นาท่​พี ึง​คาดหวงั ใ​ น​อนาคต​ดวย
2. ระบบ​การศ​ ึกษาข​ องช​ าติ มเี​ปาหมายใ​ นก​ าร​ผลติ ​คนเ​พ่อื ​การพ​ ัฒนาช​ มุ ชนห​ รือ​ทองถิน่ ใหเ​ ปน ทีพ​่ ึง
ปรารถนาข​ อง​ทองถน่ิ ​เพียงไร
3. รฐั ธรรมนญู แ​ ละน​ โยบายข​ องร​ ฐั ท​ี่เออื้ ต​ อ​การ​พฒั นาช​ มุ ชนท​ องถิ่น​ใหเ​ปน ที่​พงึ ปรารถนา​นา อยู
บทบาทข​ องช​ ุมชน มส​ี งิ่ ​สำ�คัญ 3 ประการ คือ ความร​ ัก​และ​ความด​ ี การ​เรยี นรู​ท​ม่ี ากกวา ค​ วามรู และก​ าร​จดั การก​ ับ​
ปจ จยั ​ชมุ ชนต​ า ง ๆ
กจิ กรรมท​ ี่ช​ มุ ชน​ตอง​รับผิดชอบค​ อื
- ต้ัง​คณะกรรมการบ​ รหิ าร
- ประเมินส​ ภาพข​ อง​ชมุ ชน
- เตรียมแ​ ผนการป​ ฏบิ ัติ
- หาท​ รพั ยากรท​ ี​่จ�ำ เปน
- ท�ำ ให​แ นใ จว​ า ​กิจกรรมข​ อง​ชมุ ชน​ทงั้ หมด จะต​ องม​ กี​ ารต​ ิดตาม​และก​ าร​บริหาร​ท่ี​ม ี ประสทิ ธภิ าพ​
สงู สุดส​ ำ�หรบั ​การ​ปฏบิ ัต​งิ าน

10 หนงั สอื เรยี นส​ าระทักษะการด�ำ เนินชีวิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับมัธยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​

แบบจ�ำ ลองชมุ ชนท่มี กี ารบรหิ ารจดั การที่ด​ี
แผนชุมชนท่มี พี ลัง​

ห​ นงั สือเรยี นส​ าระทกั ษะการด�ำ เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มธั ยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​ 11

กระบวนการ​ชมุ ชน

1. วิเคราะหช​ ุมชน
2. การเ​รยี นรูแ​ ละก​ ารต​ ัดสินใจ​ของช​ มุ ชน
3. การว​ างแผนช​ มุ ชน
4. การด​ ำ�เนนิ ก​ จิ กรรมช​ มุ ชน
5. การป​ ระเมินผลก​ ารด​ ำ�เนนิ งานข​ องช​ ุมชน

องคป​ ระกอบการข​ ับเ​คลอ่ื นช​ ุมชน

1. โครงสรางพ​ ื้นฐานท​ าง​สงั คม​ของช​ ุมชน
2. ความคดิ ​พืน้ ฐานข​ องป​ ระชาชน
3. บรรทดั ฐานข​ อง​ชุมชน
4. วถิ ป​ี ระชาธปิ ไตย

ตัวอยางช​ มุ ชน​พอเพยี ง​ท่ี​ประสบ​ความส​ ำ�เร็จ
กดุ ​กะเ​สียน วันนท​ี้ ยี​่ มิ้ ​ได
เวลาต​ ิดขัดก​ ไ็​ ป​กู...เขา​มา​ท�ำ ​ทนุ พอ​หาได ขาย​ไดก​ ็เ​อาไป​ฝาก...เขา” เขาใ​ นค​ วามห​ มาย ของค​ นใน​
ชุมชนกดุ ก​ ะ​เสยี น คือ สถาบนั ก​ ารเงิน​ ​ชมุ ชนกดุ ก​ ะ​เสียนร​ วมใจ


ทา มกลางภ​ าวะ​เศรษฐกจิ เ​งินเฟอพ​ ุง ดอกเบ้ีย​เพม่ิ ท้ังเ​งินกู เงนิ ฝาก (ตดิ ลบเ​มื่อเ​ทยี บกับ​เงินเฟอ) ทุ
กอยาง​อยูใ​ นช​ ว งข​ า​ขน้ึ (ราคา) จะม​ ​ที ีล่​ ดลง​คง​เปน ก​ �ำ ลงั ใจป​ ระชาชนโ​ ดยเฉพาะ​คนเมอื ง ย้ิมฝ​ น ๆ เผชญิ ​ชะตาใ​ นย​ ุค​
ขา ว(แก)ยาก นำ�้ มันแ​ พงก​ นั ไ​ ป
แตกตางจากค​ นในช​ ุมชน​บา นกุดก​ ะเ​สียน ต.เขือ่ งใน อ.เขื่องใน จ.อบุ ลราชธานี หมบู า น​รางวลั ​
พระราชทาน “เศรษฐกิจพ​ อเพียง อย​ูเยน็ ​เปน สขุ ” สมเดจ็ พระ​เทพรั​ตน​ราช​สุดา สยามบ​ รมร​ าชก​ ุมารี ซง่ึ ม​ ี​นายส​
มาน ทวีศ​ รี ก�ำ นนั ​ตำ�บล​เขื่องใน เปน​ผนู �ำ ​สรา งร​ อยยม้ิ ใ​ ห​คนในช​ มุ ชน

12 หนงั สอื เรียน​สาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับมธั ยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​

จากห​ มูบา นท​ ​่ีมี​อาชีพ​ทำ�​นาป​ละ 2 ครงั้ แต​เ นอ่ื งจาก​สภาพ​พื้นทเ​ี่ ปน ​ท่ีลมุ ม​ ​ีน้ำ�ทว ม​ถึง ทำ�ให​ม ีป​ ญ หา​น�ำ้
ทว มน​ า จงึ ​ตอ งหา​ปลา​แลกข​ าว ตอ มา​ประกอบ​อาชพี ​คาขาย​สยี อมผา ทำ�ใหม​ ี​ปญหา​หนีส้ นิ ​เพราะ​ตอ งไ​ ปก​ ูน​ ายทนุ ​
ดอกเบยี้ ส​ งู
แตส​ ภาพใ​ นป​ จจบุ ัน​ของกุดก​ ะ​เสียน ผูคน​ยิม้ แยม แ​ จมใ​ จ เน่ืองจากเ​ศรษฐกิจข​ องห​ มูบ า น​ดีข้นึ ​มาก สืบ​
เนือ่ งจากก​ าร​รเิ รม่ิ ข​ อง​ผนู ำ�​ชุมชน​ท​ีเ่ ห็น​ปญหา​ของ​หมูบา น จึงไ​ ด​ส ง เสริมใ​ หม​ ​ีการ​ตัง้ ​กลุมอ​ อมทรัพย​จนกระทงั่ ​
พัฒนาม​ าเ​ปน ธ​ นาคารกดุ ก​ ะ​เสยี นร​ วมใจ โดย​การป​ ลอย​สนิ เชอ่ื ใ​ นอ​ ัตรา​ดอกเบ้ีย​ต่�ำ ​ให​ค นในช​ มุ ชนไ​ ป​ประกอบ​
อาชพี อาชีพห​ ลกั ท​ �ำ นา คาขาย เฟอรน เิ จอร เครือ่ งใช​ไฟฟา ชุด​เครอื่ ง​นอน ชุดเ​ครื่องครัว ฯลฯ
ทั้งม​ ก​ี ารร​ วมกลุมอ​ าชพี กลมุ ​เลย้ี ง​โค กลมุ ท​ �ำ ​นำ�้ ยาล​ า งจาน น้�ำ ​ยาสระผม กลมุ เ​พาะเ​หด็ กลมุ เ​กษตรกร​
ท�ำ นา กลมุ จ​ ักสาน
หนงึ่ ใ​ น​ชุมชน​ตวั อยางท​ ่ีก​ รมการพ​ ฒั นา​ชมุ ชน กระทรวง​มหาดไทย คัดเลอื ก​มาเ​ปน​ตน แบบ​ในก​ ารส​ ง
เสรมิ ก​ าร​บรหิ าร​การจ​ ัดการช​ มุ ชน​ให​เ ขม แข็งอ​ ยาง​ยง่ั ยืน นายป​ รชี า บตุ ร​ศรี อธิบดี​กรมการพ​ ฒั นา​ชมุ ชนก​ ลา วว​ า
ประเด็น​ยุทธศาสตร​หนงึ่ ใ​ นก​ ารส​ ง เสรมิ ​การบ​ รหิ าร​การจ​ ัดการช​ มุ ชน คือ การ​เพิ่ม​ขดี ​ความ​สามารถ​ผูนำ�​ชมุ ชนเ​พอื่
ใหผ​ นู ำ�​ชุมชนเ​ปนกำ�ลงั ห​ ลักใ​ นก​ ารบ​ รหิ าร​การ​จดั การ​ชุมชนใ​ ห​ช ุมชนเ​ขมแขง็ ​และพ​ ง่ึ ตนเองไ​ ด​ในที่สุด

ห​ นงั สือเรียนส​ าระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ระดับมธั ยมศกึ ษาต​ อน​ปลาย (ทช 31001)​ 13

ยทุ ธศาสตรใ​ น​การท​ ำ�งาน​ของ​กรมการพ​ ฒั นา​ชุมชน ทัง้ 5 ประเดน็ ประกอบดว ย การ​พฒั นา​ทุน​ชุมชน​
การ​พัฒนา​เศรษฐกิจช​ มุ ชน​ให​เขมแขง็ การเ​พิ่ม​ขดี ​ความส​ ามารถผ​ นู ำ�​ชมุ ชนน​ ำ�​ขบั ​เคลือ่ น​แผน​ชุมชน และ​การส​ ง
เสรมิ ก​ าร​จดั การ​ความรูช​ มุ ชน บนพ​ ้นื ฐานป​ รชั ญาเ​ศรษฐกจิ ​พอเพียง ซ่ึงม​ ​เี ปาหมาย​สราง​ผนู �ำ ​ชุมชน ระดบั ​แกนน�ำ ​
ท่ัวประเทศจ​ �ำ นวน 691,110 คน​ภายใน 4 ป ในป​  2551ดำ�เนินการ​ใน 217 หมบู า นท​ ัว่ ประเทศ เพ่ือให​ได​ผ นู �ำ ​ชมุ ชน
ที​ม่ ภ​ี าวะผนู �ำ มค​ี ุณธรรม จริยธรรม องคความรู เปน กลมุ แ​ กนนำ�​ในก​ าร​ขับเ​คลอื่ น​และผ​ ลักดนั ​นโยบาย​ของร​ ัฐ​ใน​
ระดับช​ ุมชน ให​มท​ี ศิ ทาง​การพ​ ัฒนาช​ มุ ชน สอดคลอ งกับ​การพ​ ัฒนาป​ ระเทศ
“สิง่ ท​ ที่​ �ำ ใหห​ มูบาน​ไดร บั ​การค​ ัดเลอื กม​ าจากก​ าร​ด�ำ เนนิ การ​ท้ัง 6 ดาน ประกอบดว ย การ​ลด​รายจาย เพมิ่ ​
รายได การ​เรียนรู อนรุ กั ษ เอือ้ อาทร และ​การป​ ระหยัด สง่ิ ​ทค​่ี ณะกรรมการ​มาด​ ​แู ลว ​ประทบั ใจท​ ส่ี ดุ คือ สถาบัน​
การเงนิ ”นายส​มานก​ ลาว ซ่ึงไ​ ด​น�ำ ​ปรชั ญาเ​ศรษฐกจิ ​พอเพยี ง​มาใ​ ชใ​ นก​ าร​ด�ำ เนนิ การ​บรหิ าร​ธนาคาร​ชมุ ชน กดุ ​
กะ​เสียนร​ ว มใจ การป​ ระหยดั อดออม อ​อม​เพือ่ ​นำ�ไปใชใ​ น​การผ​ ลิต ไมน​ ำ�ไปใชฟ​ มุ เฟอย ใหก​ ูโ​ ดย​ถือ​หลกั ​ความ​
พอประมาณ ถอื ห​ ลกั ​มเี หตุมผี ล และ​มี​ภมู คิ​ ุมกันใ​ น​ตัว​ท​่ีดี ภายใตเ​ งอื่ นไข​ความรู คอื รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง
และเ​งอ่ื นไขค​ ุณธรรม ซอ่ื สัตย สุจริต ขยนั อดทน​และ​แบง ปน​ปจจุบันม​ ี​เงินทนุ ห​ มนุ เวียน​ประมาณ 14 ลา น​บาท
สมาชิกส​ ถาบนั ก​ ารเงิน​ชมุ ชน ประกอบดวย​หมท​ู ี่ 10,11,12 บา นกดุ ก​ ะเ​สยี น ตำ�บล​เขอื่ งใน ซง่ึ ม​ ี​สมาชิก 246 ครัว
เรอื น 285 คน มจี​ �ำ นวนส​ มาชิกเ​งินฝาก 464 คน
“สรางผ​ ล​ดใ​ี ห​ช มุ ชน ผ​ูกู กูถ​ ูก คน​ฝากไ​ ด​ด อกเบ้ีย​สูง ต้ังแตร​ อ ยละ 2 สงู สุดห​ าก​ม​ีเงินฝาก 5 แสน​บาท​
ข้ึนไ​ ปด​ อกเบ้ียร​ อยละ 5 บาท​ไมห​ ักภ​ าษีด​ อกเบี้ย​กูง​ า ยก​ วา แต​ใหก​ ู​เฉพาะค​ นในช​ ุมชน เทา น้นั สวน​ผูฝ าก​นอก​
ชุมชน ก​็ฝากไ​ ด​ด อกเบ้ีย​เทา ​คนใน​ชมุ ชน แตก​ ​ูไมไ ด ทำ�ให​ป ระชาชน​ประหยัด​ดอกเบีย้ ​เงนิ กไ​ู ด  ชมุ ชน ก​็พงึ พอใจ
เสียด​ อกเบี้ยน​ อยกวา​และย​ งั ​ได​สวัสดกิ าร​กลับ​คืน​สู​ชมุ ชน “ นายสม​ าน ทวี​ศรี ประธาน​กรรมการส​ ถาบนั ​การเงิน​
ชุมชน กดุ ก​ ะ​เสียนร​ ว มใจ​กลาว
ในม​ มุ มองข​ อง​คนใน​ชุมชน บา นกุดก​ ะ​เสยี นต​ าง​บอก​เปนเ​สยี ง​เดียวกันว​ า ท่​มี ี​วนั นไ้​ี ด​เ พราะ “ผูนำ�​ด”ี
เปนผ​ นู �ำ ​ชุมชน ท​ี่เขมแขง็ นอกจากก​ ารย​ อมรบั ข​ องค​ นใน​ชุมชน แลว ​ยังมร​ี างวลั ​มากมายร​ บั รอง อาทิ ผูใหญ​บ าน​
ยอดเยย่ี มแ​ หนบ​ทองคำ�​ป 2523 ก�ำ นนั ย​ อดเยีย่ ม​แหนบท​ องค�ำ ​ป 2546 ประกาศเ​กยี รติคุณ “คนดีศ​ รีอ​ ุบล” ป 2550
และ​รางวลั ​ผนู �ำ ​ชมุ ชน ดีเดน ร​ ะดับเ​ขต​ป 2550 ใน​ฐานะท​ ่ี​เปนแ​ กนนำ�​สรา ง​รอยย้มิ ​ใหช​ ุมชน

ตัวอยางข​ อง​ชุมชนพ​ อเพยี ง​ดา น​พลังงาน

ตลอด 3 ป (2549-2551) ของก​ ารเ​ดินหนา โ​ ครงการ​จดั ท�ำ ​แผน​พลงั งานช​ มุ ชน 80 ชุมชน สนองพ​ ระ​
ราช​ดำ�ริ “เศรษฐกิจ​พอเพียง” ของส​ �ำ นกั น​ โยบาย​และย​ ทุ ธศาสตร ส�ำ นักงานป​ ลดั ​กระทรวงพ​ ลงั งาน ดว ย​มอง
เห็น​ศกั ยภาพช​ มุ ชน​ในก​ ารจ​ ดั การด​ านพ​ ลงั งาน​ที​่ชุมชนท​ �ำ ​เองไ​ ด ภายใตก​ าร​บรหิ าร​จัดการ​ทรัพยากร​ทองถ​ ่ินท่​ี
สามารถน​ ำ�มาเ​ปลยี่ นเ​ปน​พลงั งาน​ทดแทน​ใช​ในก​ าร​ด�ำ เนินช​ วี ติ ​นน้ั ท​ �ำ ได​จริง
“แผนพ​ ลงั งาน​ชุมชน” คอื ส่งิ ​ท่เี กิดข​ ้นึ กับท​ ุก​ชุมชนท​ ​่เี ขารวมใ​ นร​ ะยะเวลา​ทตี่​ า งกันพ​ รอมกบั ​กลไกก​ าร​
ทำ�งานร​ วมกัน ระหวา ง​ภาค​ชุมชนแ​ ละภ​ าคว​ ชิ าการ โดยเฉพาะ​เจา หนา ทพี่​ ลงั งานจ​ งั หวดั หรอื ​ส�ำ นักงานพ​ ลงั งาน​
ภมู ิภาค ซึ่งเ​ปน ​ตัวแทนก​ ระทรวง​พลังงานไ​ ป​เผยแพร​ความร​ูส รา ง​ความ​เขาใจ “พลังงานเ​รือ่ งใ​กล​ตวั ” และน​ �ำ เสนอ​
เทคโนโลย​ีพลงั งานท​ างเลอื ก หรือพ​ ลังงาน​ทดแทนห​ ลาก​หลายประเภท ใหช​ าวบา นเ​ลือก​นำ�ไปใ​ ชไดอ​ ยา งเ​หมาะ

14 หนังสือเรียนส​ าระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับมัธยมศกึ ษาต​ อน​ปลาย (ทช 31001)​

สมกบั ​ความต​ องการ เพอ่ื ป​ ระโยชนส​ งู สุด​ของ​การ​ใชพ​ ลงั งานอ​ ยา ง​คุมคา และไ​ มท​ ำ�ลาย​สิง่ แวดลอ มปรากฏการณ​
ที่​เกดิ ข้ึน​ในช​ มุ ชน​สว นใหญ​ท่ีเ​ขา รว ม คอื การ​ตอ​ยอด หรอื ​น�ำ ​เทคโนโลยี​ท่ี​กระทรวงพ​ ลังงานน​ ำ�มาใ​ หน​ ้นั นำ�ไป​
ประยุกต​ตอ ​เพ่อื ​การใ​ ชง าน​ท​่ีสะดวก และส​ อดคลอ งกบั ​ความต​ อ งการ​ของ​แตละคน แตละ​ชมุ ชนท​ แ​่ี ตกตา งกัน การ​
ลองทำ� ลองใ​ ช ให​เหน็ ผ​ ล​กระจา ง​ชดั ​แลว จึง​บอกตอ
“สาธิต​พรอม​อธบิ าย” จงึ เ​ปน พ​ ฤติกรรม​ทเ่ี​กดิ ขึ้น​โดย​อตั โนมัตขิ​ อง​วทิ ยากร​ตวั คณู ​พลังงาน หรอื น​ ัก​
วางแผนพ​ ลังงาน​ชมุ ชนท​ ่ี​ไม​หวงแหนค​ วามรู เกดิ ​เครอื ขาย​วทิ ยากร​ตัวคณู ​พลงั งาน​ข้นึ อยใู​ น​ทกุ ​กลุม คนข​ อง​ชุมชน​
ไมว า จ​ ะ​เปน​อันดบั แรก คือ แกนน�ำ ตอมา​คอื ชาวบานท​ ส่ี​ นใจ และน​ �ำ ไป​ทำ�​จรงิ ​จงึ ข​ ยายผล​ตอ​กับเ​พ่อื นบา น​
ใกลเ คียงห​ รอื ​ใน​หม​ูญ าตมิ ิตร กบั ​อีกก​ ลุม คอื เยาวชน​ทเ​ี่ ปน ​พลงั ​เสรมิ แ​ ต​ย่งั ยืน
ภาพท​ ่​ีเกดิ ขึ้น​ในช​ มุ ชน​ท่​ที ำ�ตามแ​ ผนพ​ ลงั งานช​ มุ ชนอ​ ยาง​แขง็ ขนั คือ เกดิ ก​ ารเ​ปลีย่ นแปลง​วถิ ชี​ ีวิต
สราง​วิถพี​ ลงั งานช​ มุ ชน​ที​่ไป​ไดด ​ีกับแ​ นวทาง​เศรษฐกจิ พ​ อเพยี ง จุดเดน​ของ​เทคโนโลยี​พลงั งาน​ทถ่ี​ กู ​น�ำ ไปป​ รบั
ใช ไมไดเ​ กิดป​ ระโยชนเ​ฉพาะตัว​ผปู ฏบิ ตั ิ แต​ยัง​สรางผ​ ลด​ ีต​ อ ​ชุมชนค​ น​รอบขา ง และส​ งั คมป​ ระเทศ​โดย​รวมเ​มอ่ื ​
เราส​ ามารถ​สรา งท​ างเลอื ก​การใ​ ช​พลังงาน​ทดแทน​ข้ึน​ไดเ​ อง และ​ม​ีการจ​ ดั การอ​ ยา งค​ รบ​วงจร การจ​ ัดการ​พลังงาน​
อยา งย​ ั่งยืนจ​ งึ ​เกดิ ขึ้นไ​ ด​ภ ายใต​ส อง​มือข​ องท​ กุ คนท​ ​ีช่ วยกนั ไมต​ อ งห​ วั่นวิตก​กับภ​ าวะ​ความ​ไมแ​ นน อนข​ องน​ ้�ำ มนั
ที​ต่ องน​ ำ�เขา ​จาก​ตางประเทศอ​ กี ​ตอ ไป
เมื่อ​ยอมรับวา​พลังงาน​เปนเรื่อง​ใกล​ตัวการ​จัดการ​พลังงาน​ของ​ชุมชน​ที่​ชวย​เสริมสราง​ความ​เขมแข็ง​
ชุมชนจ​ งึ เ​กดิ ขนึ้ ใ​ น​หลายด​ าน อาทิ
1. ดา น​เทคโนโลยพ​ี ลงั งานช​ ุมชน​เกดิ ผลช​ ัดเจนใ​นห​ ลาย​ต�ำ บล ตัวอยางเ​ชน ชาว อบต.พลบั พลาชัย
จ.สพุ รรณบุรี สิ่ง​ทเ่ี กิดค​ อื ​ความ​คกึ คักข​ องช​ ุมชนก​ บั ​การเ​ลอื ก​ใชเ​ ทคโนโลย​ีประหยัด​พลงั งาน การท​ �ำ ​ถานอ​ ัด​แทง ​
จาก​ขี้เถา แ​ กลบด​ �ำ ​ของโ​ รงไฟฟาช​ ีว​มวล​ในพ​ ้นื ท่ี
คลาย​กนั ​กับ อบต.นาห​ มอ​บญุ จ.นครศรีธรรมราช ท่ี อบต.และ​บรรดา​แกนนำ�​พรอมใจกัน​ผลกั ดันเ​ต็มที่ ทง้ั คน
เครือ่ งมือ และง​ บประมาณ ท�ำ ใหย​ ังคงใ​ ช​พลงั งานเ​ทา เดิม​แตค​ า ​ใชจ ายด​ านพ​ ลงั งาน​กลบั ล​ ดลง​เรอื่ ย ๆ โดยม​ ี​
เทคโนโลยี​เพ่อื ก​ ารจ​ ดั การพ​ ลังงาน​ในแ​ บบ​เฉพาะข​ อง​คนน​ าห​ มอ​บุญ​เปน ​เครอ่ื งมือ
2. ดา น​การพ​ ัฒนาป​ ระชาธปิ ไตย (การ​ม​สี ว นรว ม) ตวั อยา ง​เชน อบต.ถ้�ำ ​รงค อ.บานลาด จ.เพชรบุรี ม​ี
จดุ เดน​ของก​ าร​ขยายผลแ​ ผน​พลงั งานช​ มุ ชน ผาน​กระบวนการ​จดั ท�ำ ​แผน​พลงั ​ชมุ ชนท​ กุ ด​ า นเ​กดิ ข้นึ จ​ าก​การม​ ​ี
สว นรว มข​ องช​ าวช​ ุมชน ท​ี่มี​กจิ กรรมพ​ ลังงาน​แทรก​อยู​ในว​ ถิ ี​ชวี ติ ป​ ระจำ�วนั และว​ ิถอ​ี าชีพ​ท​เี่ หน็ ​ตรงกัน​วา​ตอง​
เปนไปเ​พือ่ ​การอ​ นุรักษพ​ ลงั งานด​ วย เชน กจิ กรรม​ทองเทย่ี ว​ชุมชนท​ ่​ใี ห​ใชจ​ กั รยาน​แทนก​ าร​ใชร​ ถยนต
3. ดานก​ ารพ​ ฒั นาว​ สิ าหกิจ​ชมุ ชน (กลมุ ​อาชพี ​ดานพ​ ลังงาน) มี 7ชุมชนท​ ่ไ​ี ดรบั ​การน​ ำ�เสนอ​วา​เกิดร​ ูป
ธรรม​จริง คอื อบต.หนองแซง อ.หันคา จ.ชัยนาท อบต.หนอง​โพรง อ.ศรมี หาโพธิ จ.ปราจนี บรุ ี อบต.ตา​อ็อง
อ.เมอื งส​ รุ ินทร จ.สุรนิ ทร อบต.กุดน​ ้ำ�​ใส อ.น�้ำ พอง จ.ขอนแกน อบต.กอ​เอ อ.เข่อื งใน จ.อบุ ลราชธานี อบต.ทุง
อ.ไชยา จ.สรุ​ าษฎรธ​ านี อบต.ทา​ขา ม อ.หาดใหญ จ.สงขลา
ใน​ทุก​ชุมชน​เกิด​อาชีพ​ท่ี​มาจาก​การ​ตอ​ยอด​เทคโนโลยี​พลังงาน​ชุมชน​ออกมา​เปน​ผลิตภัณฑ​สินคา​
ชมุ ชน ท�ำ ​รายได​เปน ​อาชีพเ​สรมิ จากผ​ ล​พวง​การบ​ ริหาร​จัดการพ​ ลังงานท​ ดแทน​ในช​ ุมชนไ​ มวาจ​ ะเ​ปน ​ถา นจ​ าก​กิ่ง​
ไมท​ ​เี่ คย​ไรค าถ​ า นผ​ ล​ไม​เหลือท​ ้ิง​ใน​บรรจุภณั ฑเ​ ก ๆ ใช​ดดู ​กลนิ่ ใ​ น​ตูเ ย็น น้�ำ สม ค​ วัน​ไมท​ ​ใี่ ชป​ ระโยชนไ​ ดส​ ารพดั


ห​ นังสือเรยี น​สาระทักษะการด�ำ เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มัธยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​ 15

ทส่ี​ ำ�คัญห​ ลาย​ชุมชน​เกิดก​ ลุมอ​ าชพี ช​ า ง​ผลิต​เตา​เผาถาน เตาซ​ เู ปอร​อัง้ โล​ประหยดั ​พลังงาน เตาช​ วี ม​ วล
ในแ​ บบ​ท่​ีถกู ​ประยกุ ตใ​ ห​เ หมาะกบั ก​ ารใ​ ช​ของแ​ ตล ะพ​ ื้นที่ จ�ำ หนา ยใ​ หก​ ับ​คนในต​ �ำ บล​และ​นอก​พ้นื ที่
4. ดานก​ าร​ศกึ ษา (กิจก​ รรมการ​เรียน​การ​สอน​ดานพ​ ลังงาน) ชมุ ชนส​ วนใหญม​ องภ​ าพค​ วามย​ งั่ ยืนด​ าน​
การจ​ ดั การพ​ ลังงานช​ ุมชน โดยม​ งุ ​เปาหมายไ​ ป​ทกี่​ าร​ปลูกฝงเ​ดก็ ​และเ​ยาวชน ในร​ ัว้ ​โรงเรียน​และ​ใน​ชมุ ชนเ​กดิ ​
ความรู ความ​เขา ใจ​วา​เรื่อง​พลังงาน​เปน อ​ ีกป​ จจยั ห​ นง่ึ ​ท​่ีเก่ียวของ​ใน​ชีวิต​ประจำ�วันข​ องท​ ุกคน และม​ ีพ​ ลงั งานห​ ลาย
ชนิด​สามารถ​บริหาร​จัดการ​ให​เกิด​ความ​ย่ังยืน​ได​จาก​ทรัพยากร​ที่​มี​อยู​ใน​ชุมชน​สราง​พฤติ​กรรมการ​ใช​พลังงาน​
อยา งร​ คู ณุ คา
5. ดา น​การ​ทอ งเทย่ี ว (ศูนย​การเ​รียนร​ูเพอื่ ​เปน ที่​ศกึ ษา​ดงู าน) มี​ตัวอยา ง 2 ชุมชนท​ ี​ท่ �ำ ​เร่ือง​นอ​้ี ยา ง​เขม ขน
คือ อบต.ดอนห​ ญา ​นาง อ.ภาชี จ.พระนครศ​ รอ​ี ยธุ ยา เปน ​ชมุ ชนท​ ่ี​เนน​การ​เลอื ก​นำ�​เทคโนโลยี​พลงั งาน​ไป​ใชใ​ ห​
สอดคลอ งกบั ค​ วาม​ตอ งการท​ ่หี​ ลากหลายข​ องค​ นใน​ชุมชน ซึ่งม​ ​ที งั้ ​ท�ำ นา ทำ�สวน และค​ าขาย รวมทง้ั เ​ดนิ หนา​
สรา งจ​ ิตส�ำ นกึ ผ​ า น​การท​ ำ�งานก​ บั โ​ รงเรียน และน​ ักเรียนใ​ นพ​ ื้น​ทหี่ วังก​ าร​เรยี นรู​ที​่ซึมลึกว​ า พ​ ลังงาน คอื สวนหน่งึ ​
ของช​ ีวติ ท​ ่ตี​ อง​ใสใ จ​และจ​ ัดการ จึงเ​กดิ แ​ หลง เ​รยี นรจ​ู าก​การ​ท�ำ ​จรงิ ​กระจาย​อยู​ท ่ัวช​ มุ ชน
6. ดานส​ ุข​ภาวะ​และ​ส่ิงแวดลอม ผลอ​ กี ​ดา น​หน่ึงข​ อง​การ​จัดการพ​ ลังงาน​ชมุ ชนไ​ ปใ​ ชอ​ ยาง​ม​ีเปา หมาย
ดงั ​ตัวอยาง ต.คอร​ ุม อ.พชิ ัย จ.อตุ รดิตถ ทมี​่ ี​สำ�นกั งานพ​ ลังงานภ​ ูมภิ าคท​ ่ี 9 เขามาเ​สรมิ ต​ อ ​แนวทาง​เศรษฐกจิ พ​ อ
เพียง ท่ชี​ ุมชนท​ ำ�​อย​ูเดิมอ​ ยา ง​เขมแข็ง​นัน้ ใ​ ห​ม ัน่ คงย​ ่ิงขึ้น มก​ี าร​อบรม​ท�ำ ​ปยุ อ​ นิ ทรีย ซงึ่ ก​ ารล​ ด​การใ​ ชส​ ารเคม​จี ะ​
ชวย​ให​สขุ ภาพข​ อง​คนในช​ ุมชน​และส​ ่ิงแวดลอ มด​ ขี ้นึ มจี​ ุด​เผยแพร ศนู ยเ​รยี นร​ูพลังงาน ม​กี ารอ​ บรม​การ​ท�ำ ​ไบโอ​
เซล อบรมเ​ผาถาน เปนตน
7. ดาน​บญั ช​พี ลังงานค​ รวั เรอื น การท​ ำ�​บญั ชี​คาใ​ ชจายด​ า น​พลังงานถ​ อื เปน​หัวใจ หรือ​จุด​เรมิ่ ตน​ของ​
การ​ไดม​ า​ซงึ่ ​ขอมลู ​ใน​การส​ รางค​ วาม​รวมมอื ​หาท​ างออก​ของก​ ารป​ ระหยัด ลดคา​ใชพ​ ลงั งาน แทบ​ทุก​ชุมชนใ​ ช​
เปน ​เคร่ืองมอื รวมท้ัง อบต.บาง​โปรง อ.เมอื ง จ.สมทุ รปราการ ทส​่ี �ำ นักงานพ​ ลังงาน​ภูมิภาคท​ ี่ 1 ไดเ​ขา ไป​เชอ่ื มต​ อ​
แนวทางก​ าร​พฒั นาช​ ุมชน​ในว​ ิถ​ีเศรษฐกิจพ​ อเพียง ในแ​ บบ​เฉพาะ​ของ​สังคมก​ ึ่งเ​มอื งก​ ง่ึ อ​ ตุ สาหกรรม ท​่ีม​ีทรพั ยากร​
ทจ่ี ะ​แปลงม​ า​เปน ​พลงั งานท​ ดแทน​ไดน​ ั้นม​ ​ีนอ ย ชมุ ชนจ​ งึ เ​ดนิ หนา​ดว ย​การ​สรางจ​ ติ ส�ำ นกึ ก​ ับ​เคร่ืองมือ “บัญช​ี
พลงั งานค​ รวั เรอื น” ที่​ไม​ตองล​ งทนุ เพราะท​ กุ คน​ทำ�ได​ดว ย​ตัวเอง​และ​ท�ำ ไดต​ ลอด​เวลา
นค่ี​ ือ การ​เปล่ียนแปลง​ท่ี​เกิดข้ึน​จาก​การ​รูจัก​การ​บริหาร​จัดการ​และ​การ​ใช​พลังงาน​ชุมชน​อยาง​มี​
ประสิทธภิ าพ เปน ​วถิ พ​ี ลังงานช​ มุ ชนข​ อง​คน​พอเพยี ง ท่​ีก�ำ ลงั ​ขยายผล​ออกไป​อยาง​กวางขวาง และเ​รา​ทกุ คน​
สามารถม​ ี​สว นรว ม​ได และ​เริ่มไ​ ดต​ ลอด​เวลา เรา​สามารถช​ ว ยจ​ ัดการ​กบั ​ปญหา​พลังงานใ​ ห​ห มดไป​ได เมอื่ เ​รา​รจู กั ​
พึ่งต​ นองแ​ ละ​ใชชวี ติ ด​ วยค​ วาม​พอประมาณ ความม​ เี​หตผุ ล และม​ ​ภี ูมคิ​ มุ กนั อนั ​เปน หลกั ​ปรัชญา​เศรษฐกจิ ​พอเพยี ง​
ทีจ่ ะ​น�ำ ไปสก​ู าร​จดั การพ​ ลังงานช​ มุ ชน​อยา งย​ ัง่ ยืน

16 หนงั สือเรียนส​ าระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มธั ยมศกึ ษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​

กจิ กรรม​ท ี่ 2
ใบ​งาน​ที่ 2

จากขอ ความตอไปน้ี ใหผ เู รียน วิเคราะหเ ขียนสงอาจารยป ระจำ�กลมุ และ น�ำ เสนอเพือ่ แลกเปล่ยี น

“ การโฆษณาในจอทวี ี และวทิ ยปุ จ จบุ นั ถา ยงั โฆษณากนั อยา งบา เลอื ดอยอู ยา งน้ี จะไปสอนใหค นไมซ อ้ื
ไมจ า ย และใหบ รโิ ภคตามความจ�ำ เปน ไดอ ยา งไร ในเมอ่ื ปลอ ยใหม กี ารกระตนุ การบรโิ ภคแบบเอาเปน เอาตายอ
ยเู ชน น้ี ผคู นกค็ ดิ วา อะไรทต่ี วั เองตอ งการตอ งเอาใหไ ด ความตอ งการถกู ท�ำ ใหก ลายเปน ความจ�ำ เปน ไปหมด ”

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
​.................................................................................................................................................................................

ห​ นงั สอื เรยี น​สาระทกั ษะการดำ�เนินชีวติ รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับมธั ยมศึกษาต​ อน​ปลาย (ทช 31001)​ 17



บท​ท่ี 3

การแกป ญหาชมุ ชน

สาระสำ�คญั

การแกป ญหาชุมชนโดยใชป รัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยพน้ื ฐานกค็ อื การพึง่ พาตนเอง เปน หลัก
การท�ำ อะไรเปนขั้นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง พจิ ารณาถงึ ความพอดี พอเหมาะพอควร ความสมเหตุสม
ผล และการพรอมรับความเปลีย่ นแปลง การสรา งความสามัคคีใหเ กดิ บนพ้นื ฐานของความสมดุล ในแตล ะ
สดั สวนแตล ะระดบั ครอบคลุมทั้งดานจติ ใจ สังคม เทคโนโลยที รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมรวมถึง
เศรษฐกิจ

ผลการเรียนรูท คี่ าดหวัง

1. ส�ำ รวจและวเิ คราะหป ญ หาของชมุ ชนดา นสงั คม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอมและวฒั นธรรม พื้นฐาน
ของหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. อธิบายแนวทางพัฒนาชมุ ชนดานสงั คม เศรษฐกจิ สิ่งแวดลอ มและวัฒนธรรมตามหลักแนวคิด
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งได
3. เสนอแนวทางและมีสว นรว มในการแกปญหา หรือพฒั นาชมุ ชนดานสังคม เศรษฐกิจ สิง่ แวด
ลอ มและวัฒนธรรมโดยใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
4. มีสวนรวมในการสงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏบิ ัตติ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ของบคุ คล ชุมชนทป่ี ระสบผลสำ�เรจ็

ขอบขายเนอื้ หา

เรือ่ งท​ ่ ี 1 ปญหาของชมุ ชน
เร่ืองท​ ่ี 2 การจดั ​ทำ�แผนช​ มุ ชน
เรื่องท​ ี่ 3 การ​ประยกุ ตใ​ ชเศรษฐกจิ ​พอเพยี ง เพอื่ ​แกไข​ปญหา​ชุมชน

เร่ืองท​ ่ี 1 ปญหาชุมชน

ในแตล ะชมุ ชนจะมปี ญ หาท่แี ตกตา งกันออกไป ขึน้ อยูกับบรบิ ทของชมุ ชน แตโดยท่วั ไป เราสามารถ
แบง ปญหาของชุมชน ออกในดานตางๆ ดังน้ี
1. ปญหาดานการศึกษา อาทิเชน จ�ำ นวนผไู มร ูห นงั สอื ระดบั การศึกษาของประชาชน
อัตราการศึกษาในระดับตางๆ และแหลงเรียนรใู นชุมชน เปน ตน
2. ปญหาดานสขุ ภาพอนามัย ไดแก  ภาวะทโุ ภชนาการ คนพกิ าร โรคตดิ ตอ โรคประจ�ำ ตวั อัตราการ
ตายของทารกแรกเกิด สถานพยาบาลในชมุ ชน การรับบริการดา นสาธารณสขุ เปน ตน
3. ปญหาดานสงั คม การเมอื ง การปกครอง ไดแ ก  การเกิดอาชญากรรม แหลงอบายมุข ความขดั แยง
ทางการเมือง กจิ กรรมท่ีเก่ยี วของกบั การเลอื กตั้งในระดบั ตา งๆ
4. ปญ หาดานสงิ่ แวดลอม และทรพั ยากรธรรมชาติไดแก  ​ปญหา​มลภ​ าวะต​ า งๆ การท​ ำ�ลายท​ รพั ยากร
ธรรมชาตแิ​ ละ​สิง่ แวดลอ ม ของมลู ฝอยกับธรรมชาติตา งๆ
5. ปญหาดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ไดแ ก การสบื ทอด อนรุ กั ษและการปฏิบตั ศิ าสนกิจของ
ประชาชน ท่สี งผลถงึ ความรัก และความสามัคคขี องคนในชาต ิ เชน
- ดา นการศึกษา
- สุขภาพอนามัย
- ดา นสังคม/การเมอื งการปกครอง
- สง่ิ แวดลอ ม
- ศาสนาวฒั นธรรม คณุ ธรรม
ควรแยกปญหาเปน ดา นๆ มากวา การยกมาเปนอยา งๆ ใหผูเ รยี นจ�ำ แนกและคน หาปญ หาในชุมชนของ
ตนเอง


แนวทาง​การแ​ กปญ หาช​ มุ ชน

เนนเ​ร่ือง​ปญหา เปน การ​เปลี่ยนแปลงท​ ​่ีเอา​ปญ หา​มาเ​ปนต​ วั ตัง้ แลว​หาแ​ นวทางจ​ ัดการห​ รอื ​แกปญหา​
นน้ั ๆ ชุมชน​เปล่ยี นแปลงไ​ ป​หรอื ไม​อ ยา งไร ดู​ทป​่ี ญ หา​วา ​มี​อย​แู ละ​แกไข​ไปอ​ ยางไร
เนน ​เร่อื ง​อำ�นาจ เปน การเ​ปล่ียนแปลง​ทม่ี​ องต​ วั อ​ �ำ นาจ​เปน ส�ำ คัญ​ชมุ ชนเ​ปลี่ยนแปลง​ไปห​ รือไม​อยา งไร
ดู​ท​่ีใคร​เปนค​ น​จัดการ อำ�นาจใ​ น​การเ​ปล่ียนแปลง​อย​ทู ี่ไหน ศักยภาพ​ใน​การ​เปล่ียนแปลง​เพิม่ ข้ึนห​ รอื ไม และส​ ดุ
ทาย​มกี​ าร​เปลย่ี นโ​ ครงสราง​อำ�นาจห​ รือไม
เนน ​การ​พฒั นา เปนการเ​ปลย่ี นแปลง​ทเ​่ี นน ท​ ี่พ​ ลังจ​ ากภ​ ายในช​ ุมชน ดำ�เนินการเ​ปลี่ยนแปลง​ชมุ ชนโ​ ดย​
การต​ ดั สนิ ใจ การก​ ระท�ำ ​ของ​คนในช​ ุมชน​เอง ไมไ ดไ​ ป​เปล่ยี นทค​ี่ นอ​ น่ื หาก​เปน การ​เปลี่ยนที่​ชมุ ชน และไ​ มไดเ​อา​
ตัวปญหาเ​ปน​ตัวต้ัง แต​เปนความ​พยายามท​ ีจ่​ ดั ​สรางช​ ุมชนท​ ​่ีพึง่ ตนเอง และส​ ามารถย​ ืนอ​ ย​ูไดด​ วย​ตนเ​อง

20 หนงั สือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั มธั ยมศกึ ษาต​ อน​ปลาย (ทช 31001)​

เร่ืองที ่ 2 การจ​ ัดท�ำ แ​ ผนช​ ุมชน


การแ​ กป ญหาช​ ุมชน​ท่​ีเปนร​ ปู แบบ​และข​ น้ั ตอน นา จะใ​ ชก​ าร​แกปญ หา​ในร​ ปู แบบ​ชมุ ชนโดยชุมชนจ​ ะ​
ตองม​ ีคณะ​ท�ำ งานท​ ี่​มาจากห​ ลายภ​ าค​สว น เขา มา​มส​ี วนรวมใ​ น​การ​แกป ญหา​ของ​ชุมชนด​ วย​ตน​เอง โดย​น�ำ ​เอา​
ปญ หา และ​ประการณข​ องชุม​ขน มา​วเิ คราะห จัด​ลำ�ดบั ​และ​แนวทาง​การ​แกไ ข มาร​ ว มกนั พ​ ิจารณา ปญหา​ใน​
บางเรื่อง ชุมชนส​ ามารถ​แกไขไ​ ด​ดวยต​ นเ​อง ปญ หา​ใหญๆ และ​ซับซอนอ​ าจ​ตอง​จัด​ท�ำ เปนโ​ ครงการ ประสานงาน
หนว ยงาน องคก ารภ​ าครฐั หรอื อ​ งคก รป​ กครอง​สว นท​ องถิน่ ​หรอื ​หนว ยงานท​ ีม​่ ี​การ​รบั ผดิ ชอบ และม​ ศ​ี ักยภาพ​
โดย​ตรง ตลอดจนโ​ ครงการข​ อง​รฐั บาล
การจ​ ดั ท�ำ ​แผนช​ ุมชน​นา จะเปน เ​นื้อหา สาระ​หนง่ึ ​ท่ ี ชุมชนจ​ ะต​ องไ​ ดร บั ​การฝ​ กฝน เพราะ​ใน​ปจจุบนั น​ ้ี
ทางร​ าชการ​ไดใ​ ช​แนวทาง​ของ​แผนช​ ุมชน​เปนแนวท​ างใน​การพ​ ัฒนา ไมวาจ​ ะเ​ปนโ​ ครงการ กองทุน​เศรษฐกจิ ​พอ
เพียง โครงการ SML และ​โครงการข​ อง​องคก าร​ตางๆ แมกระทงั่ องคการป​ กครอง​สว น​ทองถน่ิ

เรอ่ื งที ่ 3 การ​ประยุกต​ใชเ​ศรษฐกิจ​พอเพยี งเ​พ่ือ​แกป ญหา​ชุมชน

ดาน​จิตใจ มจ​ี ติ ใ​ จเขม แขง็ พ่งึ ตนเองไ​ ด / มจี​ ติ สำ�นึกท​ ด่ี​ ี / เออื้ อาทร / ประนีประนอม นกึ ถึงผ​ ล​ประโยชน​
สว นรวมเ​ปน หลัก
ดา นสังคม ชว ยเหลอื ​เกอ้ื กลู ​กนั / รู​รกั ​สามัคคี / สรางค​ วามเ​ขมแข็ง​ให​ครอบครัว​และ​ชมุ ชน
ดา นท​ รพั ยากรธ​ รรมชาตแ​ิ ละ​สง่ิ แวดลอ ม รจู กั ใ​ ช​แ ละจ​ ดั การ​อยา งฉ​ ลาดแ​ ละร​ อบคอบ / เลอื ก​ใชท​ รพั ยากร
ทีม่​ ี​อยอ​ู ยางค​ มุ คา​และเ​กิดป​ ระโยชน​สูงสดุ / ฟนฟ​ูทรพั ยากร​เพ่ือให​เกดิ ค​ วาม​ยง่ั ยืนส​ งู สดุ

ดาน​เทคโนโลยี รูจักใ​ ชเ​ทคโนโลยีท​ ี่​เหมาะสม สอดคลองกับ​ความต​ องการแ​ ละ​สภาพแวดลอม

(ภูมิ​สังคม) / พัฒนาเ​ทคโนโลยี​จากภ​ มู ปิ ญญาช​ าวบา นเ​อง​กอ น / กอ ​ใหเ​กดิ ​ประโยชน​กบั ​คนห​ ม​มู าก
การประยกุ ตใชป รัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
- โดยพืน้ ฐานกค็ อื การพึ่งพาตนเอง เปน หลกั การทำ�อะไรเปน ขัน้ ตอน รอบคอบ ระมัดระวัง
- พิจารณาถงึ ความพอดี พอเหมาะพอควร ความสมเหตุสมผลและการพรอ มรับความเปลี่ยนแปลง
- การสรา งสามัคคใี นเกิดขึน้ บนพนื้ ฐานของความสมดลุ ในแตล ะสดั สวนแตละระดบั
- ครอบคลุมทงั้ ดานจิตใจ สงั คม เทคโนโลยที รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอมรวมถงึ เศรษฐกิจการ
5. จัดระเบียบชมุ ชน
1. การชว ยตนเอง (Self – help) หมายถึงการเปลีย่ นแปลงทช่ี มุ ชนคน หาปญหา รบั สมัครสมาชิก
และใหบริการกันเอง โดยรบั ความชวยเหลือจากภายนอกใหนอยทีส่ ุด
2. การสรางพันธมิตร (Partnership) หมายถึงการเปล่ยี นแปลงการด�ำ เนนิ การโดยคนในชมุ ชนท่ี
มปี ญหา รวมตวั กันรับความชว ยเหลอื จากภายนอก โดยเฉพาะดา นการเงนิ
3. การท�ำ งานรว มกัน (Co production) หมายถึงการจดั ตงั้ กลุมองคก รในชมุ ชนข้ึนมารับผดิ ชอบกจิ
กรรมรวมกับหนว ยงานภาครัฐ
4. การกดดัน (Pressure) หมายถงึ การเปล่ียนแปลงทีค่ นในชมุ ชนคนหาประเดน็ ปญหาของตน
มาจัดการ แตเปนการจดั การภายใตกฎเกณฑข องบานเมือง ดว ยการโนมนาวใหนักการเมอื งและขาราชการ
เปลี่ยนแปลงนโยบาย

ห​ นงั สอื เรยี นส​ าระทักษะการดำ�เนนิ ชีวติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมธั ยมศกึ ษาต​ อน​ปลาย (ทช 31001)​ 21

5. การประทว งคดั คาน (Protest) หมายถึงการรวมตัวกันของประชาชน และมกี ารจัดระเบยี บที่
มงุ กอใหเ กดิ การเปล่ียนอปลงระบบเศรษฐกิจและการเมือง
ทำ�อยางไรจงึ จะจดั ชุมชนใหมีการทำ�งานอยางมปี ระสทิ ธิภาพ
กจิ กรรมท่ีชมุ ชนตอ งรับผิดชอบคือ
- ต้ังคณะกรรมการบริหาร
- ประเมนิ สภาพของชมุ ชน
- เตรียมแผนการปฏิบัติงาน
- หาทรพั ยากรทจ่ี �ำ เปน
- ทำ�ใหแนใ จวากิจกรรมของชุมชนท้ังหมด จะตอ งมีการตดิ ตามและการบริหารที่มปี ระสิทธิภาพ
สงู สดุ ส�ำ หรบั การปฏบิ ัตงิ าน

การป​ ระเมิน​สภาพช​ มุ ชน

- ชมุ ชนก​ ารด​ �ำ เนนิ ก​ ิจกรรมข​ องต​ น​เอง​โดย​องิ ​ขอมลู ส​ ารสนเทศ
- วิเคราะหช​ ุมชน​หรือเ​รอื่ งราวข​ องช​ มุ ชน คณะกรรมการบ​ รหิ าร​จะ​ตอง​ท�ำ การป​ ระเมิน​ดวย​
คณะกรรมการเ​อง
- มอง​ปญ หา​และห​ าทางแ​ กไ ข ทรัพยากรแ​ ละ​ขอ จำ�กัด
- ประเมิน​ส่ิง​ทค​่ี น พบ​ให​ผสมผ​ สานก​ ัน​เปนอ​ งค​ร วม​ทจี่ ะ​เสนอให​ชุมชนไ​ ด​ร บั ทราบ
- การป​ ระเมินเ​ปนส​ ่งิ ​ท​่ตี อ ง​กระทำ�​กอนท​ ีจ่ ะ​มก​ี ารว​ างแผนป​ ฏิบตั ิง​ านข​ อง​ชุมชนใ​ หแ​ นใจว​ า ​ชมุ ชนม​ ี​
ความ​เขาใจ​ที​่ถกู ตองต​ รงกนั ก​ ับ​ส่งิ ​ท่​ีคณะบรหิ าร​ได​สังเกตม​ า และเ​ปนค​ วามเห็น​รว มกันเ​กี่ยวกับ​
ธรรมชาติ และ​ขอบเขต​ของป​ ญ หาแ​ ละ​ศกั ยภาพ

การ​เตรยี ม​แผนป​ ฏิบัติ​การช​ มุ ชน

- ชมุ ชนเ​ปน ​ผก​ู �ำ หนดอ​ นาคต​ของต​ นเ​อง
- การ​ตัดสินส​ ิ่ง​ทต่​ี องการเ​ฝาสงั เกต​ส่ิงท​ ​่ีมอ​ี ยู และ​ท�ำ ความเ​ขาใจ​ข้นั ต​ อนท่​ตี องการ เพอื่ ให​ไดส​ งิ่ ท​ ​่ี
ตอ งการท​ ง้ั หลาย​ท้งั ปวง คอื ​พื้นฐานก​ าร​วางแผน
- เนอ้ื แท​ของ​การว​ างแผนการ​จัดการ
 เรา​ตองการอ​ ะไร
 เรา​มีอ​ ะไรอ​ ยใู​ น​มอื
 เราจ​ ะใ​ ช​สงิ่ ​ทีอ่ ยูใ​ น​มอื อ​ ยา งไร ใหไ​ ดส​ ่ิงท​ ​เี่ รา​ตองการ
 อะไร​จะเ​กิดขน้ึ ​เมอื่ ​เรา​ทำ�

แผนป​ ฏิบตั ​กิ ารข​ อง​ชุมชน ควรช​ ี้ใหเห็นถ​ ึง

- เด๋ยี วน้ี ชมุ ชน​เปนอ​ ยา งไร
- เมือ่ ​ส้ินสดุ ​แผนแ​ ลว​ตองการท​ ี่จะเ​ปน อ​ ยา งไร
- จะ​ไดอ​ ะไร​จากก​ ารเ​ปลี่ยนแปลง
- คณะกรรมการบ​ ริหารจ​ ะเ​ปน ​ผร​ู า งแผนป​ ฏิบตั ​ิจากข​ อ มลู ส​ ะทอ นกลบั ​ของ​ชมุ ชน จาก​การป​ ระเมนิ ​
ปจ จบุ นั ร​ า งแผน​ปฏบิ ตั ​กิ าร ควร​น�ำ เสนอ​ตอ ช​ มุ ชนท​ ง้ั หมดเ​พอ่ื ก​ าร​ปรบั ​แผน และก​ าร​อนมุ ตั ​จิ าก​ชมุ ชน

22 หนังสอื เรียนส​ าระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมธั ยมศึกษาต​ อน​ปลาย (ทช 31001)​

กจิ กรรมท่ี 3

ให​ผูเรียน​แบง กลมุ กลมุ ​ละ 5-10 คน ศกึ ษา​ปญหา​ของช​ ุมชน จัดป​ ญ หา​เปนกลุมๆ และห​ าแ​ นวทางแ​ กป ญหา

ใบง​ าน​ที ่ 3

ทาน​คดิ อ​ ยางไรเ​กย่ี วกับ​ประเดน็ ต​ อ ไปนี้
“ มี​เรื่องจริง​เกี่ยวกับน​ าสาว​กับ​หลานชาย​จาก​ชายจ​ าก​ปลายท​ ุง​อยุธยา​ซึ่ง​มีท​ ั้งป​ ลาแ​ ละ​พืชผัก​พื้นบาน​อุดมสม
บูรณ นาม​ ีการศึกษา​สูงจ​ ึงย​ ายไ​ ป​เปน​ครู​อยู​ใน​เมืองใหญ เวลาก​ ลับ​ไป​เยี่ยม​บานเ​ธอจ​ ะร​ ับประทานอ​ าหาร​จำ�​พวก
ปลา​และผ​ ักพ​ ื้นบาน​ดวยค​ วาม​พอใจ สวน​หลานชายม​ ักบ​ น วาป​ ลาแ​ ละ​ผักพ​ ื้นบานเ​ปน​อาหาร​ลาสมัย หนุมนอย​
คนน​ ั้นจ​ ึงช​ อบข​ ับ​มอเตอรไซค เขาไปใ​ นต​ ลาดเ​พื่อร​ ับประทาน​อาหารท​ ันสมัย ไดแก​บะหมี่​สำ�เร็จรูป น้ำ�อัดลม
ขนม​กรุบกรอบ ”
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.​................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.​................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

ห​ นงั สอื เรียนส​ าระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั มธั ยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​ 23

กิจกรรมที่ 4

ให​ผูเรียน​แบง กลมุ 5-10 ใหว​ จิ ารณ สถานก​ าร​โลก​วา เ​หตใุ ด​ประเทศ​ท​ีม่ คี​ วาม​เจรญิ ​กา วหนาอ​ ยา ง​
ประเทศส​ หรฐั อเมรกิ าจ​ งึ ​ประสบปญ หา​เศรษฐกิจต​ กต�ำ่

ใบ​งานท ี่ 4


ให​ผูเ รยี น บนั ทึก สาเหตุ​ท​่ีท�ำ ให​ภาวะ​เศรษฐกจิ ​ตกต่�ำ ​ทัว่ โลก
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
​.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
​.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.​................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

24 หนังสือเรยี น​สาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับมัธยมศึกษาต​ อน​ปลาย (ทช 31001)​

บทท​ ี่ 4

สถานการณ​ของป​ ระเทศ​ไทย​
และ​สถานการณโ​ลกก​ ับ​ความพ​ อเพยี ง​

สาระสำ�คัญ

​ ปรชั ญา​ของ​เศรษฐกจิ พ​ อเพียง ​มงุ เนน ใ​ ห​เกดิ ​การ​พจิ ารณา​อยางร​ อบดา น ​มคี​ วามร​ อบคอบ ​และ​
ระมัดระวังในก​ ารว​ าง​แผน​และก​ าร​ดำ�เนินงาน​ทุก​ขั้นตอน ​เพื่อม​ ิใ​ ห​เกิดค​ วามเ​สียหายต​ อก​ ารพ​ ัฒนา ​เปนการ​
พัฒนา​ทค​ี่ ำ�นงึ ถ​ งึ ​การม​ ร​ี ากฐานท​ ี​่มน่ั คงแ​ ขง็ แ​ รง ​สรางก​ าร​เจริญ​เติบโต​อยางม​ ีล​ �ำ ดบั ​ข้ันตอน ​สามารถ​ยกระดับ​
คณุ ภาพช​ ีวติ ท​ ้งั ​ทางก​ ายภาพแ​ ละ​ทาง​จติ ใ​ จค​ วบค​ูกนั ​ ​หลกั การ​ของเ​ศรษฐกจิ พ​ อเพียง​จงึ ม​ ิไดข​ ดั กบั ​กระ​แส​โลกา​ภิ
วฒั น  ​ ต​ รงก​ ันข​ า มก​ ลับส​ ง เสริม​ให​กระแ​ สโ​ ลกาภ​ ิวฒั น​ไ ดร บั ก​ าร​ยอมรบั ​มากขึน้ ​ดว ย​การเ​ลอื ก​รับ​การเ​ปลี่ยนแ​ ปลง​
ที่​สง ผลกระทบใ​ น​แงด ต​ี อ​ประเทศ ​ ​ในขณะเ​ดียว​กัน​ตอง​สราง​ภมู คิ​ ุม ​กนั ​ในต​ วั ​ทด่ี​ ี​พอสมควร​ตอ​การเ​ปลยี่ นแ​ ปลง​
ในแ​ ง​ท ่ไี​ มดแี​ ละไ​ ม​อาจห​ ลีกเลย่ี งไ​ ด ​ ​เพอ่ื ​จ�ำ กัด​ผลก​ ระทบ​ใหอ​ ยู​ในร​ ะดบั ​ไมก​ อค​ วามเ​สยี หาย​หรือ​ไมเ​ ปน ​อนั ตราย​
รา ยแ​ รง​ตอป​ ระเทศ ​


ผ​ ลก​ ารเ​รยี นร​ูทค่ี าดหวัง

​ตระหนัก​ใน​ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​พัฒนา​ประเทศภาย​ใต​กระ​แส​โลกา​ภิวัฒน​และ​เลือก​แนว​ทางหลัก​
ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มา​ประยุกต​ใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​อยาง​สมดุล​และ​พรอม​รับ​ตอ​ความ​เปลี่ยน​แปลง​ของ​
ประเทศภาย​ใต​กระแ​ ส​โลกาภ​ ิวัฒน


ข​ อบขา ย​เนอื้ หา

​ เรอ่ื งท​ ่ี 1​ สถานการณโ​ ลกป​ จจุบนั
​ เร่ืองท​ ี่ 2​ สถานการณพ ลังงาน​โลก​กับ​ผลกระทบ​เศรษฐกิจ​ไทย

​ เร่ืองท​ ี่ 1 สถานการณโ​ลกป​ จ จบุ ัน ​(​​ชวง​ป ​25​ 5​ ​1​-2​ ​5​5​2​)​​


เ​มอ่ื ​สหรัฐอเมริกาไ​ ด​พฒั นาเ​ศรษฐกจิ ข​ อง​ตน ​สสู​ งู สุดข​ อง​ทุนนิยมโ​ ลก ​เนื่องจากต​ ลาด​ทนุ จ​ ากท​ ่วั โลก​
หล่งั ไหลส​ ู​ตลาด​ทนุ ใ​ นส​ หรฐั อเมรกิ า ​หลังจาก​เกดิ ​วิกฤตเ​ศรษฐกิจ​เอ​เซียแ​ ละ​ขยายตัว​ออกไป​ทั่วโลก ​สต​ อกท​ ุน​
จ�ำ นวนม​ หาศาล​ใน​แตล ะป​ ระเทศ ​ไมส​ ามารถน​ �ำ ไป​ลงทนุ ไ​ ด  ​เน่อื งจากเ​ศรษฐกิจ​ชะลอตวั ​ถงึ ขั้นว​ กิ ฤติ ​เมด็ เงิน​
จากส​ตอก​ทุน ​ทวั่ ​ทกุ ​มุมโ​ ลกไ​ ดไ​ หลบาท​ ะลกั ส​ ู​ตลาด​ทนุ ​ในส​ หรัฐอเมริกา ​ปญหา​จาก​การ​เตบิ ใ​ หญ​ของ​ทนุ ​ใน​
สหรฐั อเมริกา ​ก็​คือก​ ารข​ ยายพ​ ื้นท​ ี​ก่ ารล​ งทนุ ​เพอื่ ​กระจายท​ ุนอ​ อกไป ​ใน​ขอบเขต​ปริมณฑลใ​ หก​ วา ง​ทีส่ ุด ​เพอ่ื ​
รองรับ​การข​ ยายตวั ​ของ​ทุน ท​ ​่ีนบั วันจ​ ะเ​ติบ​ใหญ
​ ป​  ​พ.ศ​ .​25​ ​41​ ​ ​ขณะท​ ว่​ี ิกฤตเ​ศรษฐกิจก​ ำ�ลังเ​ปนภยั ค​ ุกคามป​ ระเทศ​ตางๆ​ ​จาก​ทั่วโลก ​ตลาด​ทนุ ​ใน​
สหรฐั อเมริกา ก​ ลับ​พุงท​ ะยานอ​ ยา ง​รวดเรว็ ด​ ชั น​หี นุ D​ o​ ​w​ J​o​ ​n​es​​ พ​ งุ ​ทะยาน​ทะลุ 1​ ​0,​0​ ​00​ ​ จ​ ดุ ​เปน ค​ รั้ง​แรก แ​ ละ​สูงสุด​
กวา ​11​ ​,0​ ​0​0​ จ​ ดุ ​N​a​sd​ ​a​q​ ส​ งู กวา ​3,​​80​ 0​ ​ จ​ ุด ​สรา งค​ วามเ​ลือ่ ม​ใสศ​ รัทธา ​งุนงง ​และ​ไมเ​ ขา ใ​ จ​ตอ ​เศรษฐกจิ ​อเมรกิ า ​ที่​
สวนทางก​ ับว​ กิ ฤตเ​ศรษฐกจิ โ​ ลก ​ซึง่ ​จรงิ ๆ​ แ​ ลวเ​ปน เร่ือง​ทส่ี​ ามารถท​ �ำ ความ​เขา ​ใจ​ได​ไมยาก ​เมือ่ ส​ตอ ก​ทนุ ใ​ นแ​ ตล ะ​
ประเทศ ​ไมส​ ามารถน​ ำ�ไป​ลงทุนภ​ ายใ​ นป​ ระเทศไ​ ด  ​และ​ความ​เชอ่ื มน่ั ​ในต​ ลาด​ทุนอ​ เมรกิ า ​ยงั คงอ​ ยูใ​ นค​ วามรสู ึกท​ ี่​
ดข​ี องน​ กั ​ลุงท​ ุน ​ดงั ​นน้ั ​ทุนจ​ ากท​ ่ัว​ทกุ ม​ มุ ​โลกจ​ งึ ​หลัง่ ไหลเ​ขาสตู​ ลาด​ทุน​ในอ​ เมริกา ​เม่อื ​ตลาด​ทนุ ​ในอ​ เมรกิ า​ไมได​
เตบิ โต​บนพ​ ื้นฐาน​ของค​ วาม​เปน จริง ​การเ​ตบิ ​ทางเ​ศรษฐกิจ​แบบ​ฟองสบ​ขู องส​ หรัฐอเมรกิ า ​จึง​นา​จะ​ยืนอ​ ยู​ได​
ไมน าน
​ ป​  ​20​ ​01​ ​ ป​ ฐมวยั ย​ างกา ว​แรก ​ของ​รอบ​พันป​ทส​ี่ าม ​บรษิ ัท​ยักษ​ใ หญใ​ น​สหรัฐอเมริกา​เริ่ม​ทะยอย ​ประกาศ​
ผล​ประกอบการ​กำ�ไรท​ ี่​ลดลง ​และ​การป​ ระกาศป​ ลด​พนกั งาน ​เชน ​เม่ือ​เดือน​ธนั วาคม ​2​5​4​3​ เ​จเนอรัล ​มอเตอรส
(​จีเ​อม็ )​ ป​ ลด​พนักงาน 1​ 5​ ​,​00​ ​0​ ค​ น ว​ นั พธุ ท​ ่ ี 2​ ​4​ ม​ กราคม 2​ 5​ ​4​4​ ล​ ​ูเซนต​เ ทคโนโลย ี ผ​ ผู ลิต​อปุ กรณ​โทรศพั ท​ยักษ​ใหญ​
ประกาศ​ปลดพ​ นักงาน ​16​ ​,0​ ​00​ ​ ต​ ำ�​แหนง ​เวริ ล​พูล​ผูผ ลติ เ​คร่อื ง​ใชไ​ ฟฟา ​ปลด​พนกั งาน ​6​,​0​0​0​ ค​ น ​เอ​โอ​แอล ​ไทม ​
วอรเนอร ​กจิ การ​สือ่ ​ยคุ ​ใหม​จากก​ ารผ​ นวกร​ ะหวางอ​ เมรกิ า ​ออนไลน  ก​ ับ ไ​ ทม  ว​ อรเ นอร​ปลด​พนกั งาน ​2​,​00​ 0​ ​ ค​ น
​ ก​ ารแ​ กวง ต​ วั อยา งไ​ รท​ ศิ ทาง​และ​ไม​ช ดั เจน​ของต​ ลาดท​ นุ ใ​ น​สหรฐั อเมรกิ า ​เรม่ิ ท​ จ​่ี ะผ​ นั ผวน​และไ​ ม​แ นน อน ​
นักล​ งทนุ ​เรม่ิ ​ไมแ​ นใ​ จ​ตอ ​ความเ​ช่ือมนั่ ​ตลาด​ทุน​อเมริกา ​และเ​ม่ือ​นาย​คิอิช ิ ​มิยาซ​ าวา ​รฐั มนตรค​ี ลังญ​ ี่ปนุ ​กลาวเ​ม่อื ​
วัน​ท่ ี 8​ ​ ม​ นี าคม 2​ 5​ ​44​ ​ ใ​ น​การช​ ีแ้​ จง​ตอ ​คณะ​กรรมาธกิ าร​งบประมาณ​ของว​ ฒุ สิ ภา ย​ อมรับ​ความป​ ราชัยท​ างเ​ศรษฐกจิ ​
อยา งเ​ปนทางการค​ รัง้ แ​ รก ​หลงั จากท​ ี่เ​ศรษฐกิจญ​ ีป่ ุน ​ผุกรอนเ​ปน​ปญหา​ยดื ​ยือ้ ​ยาวนานม​ าร​ วม ​1​0​ ​ป  ​วา ​ฐานะ​
การเงนิ ข​ อง​ประเทศ​กำ�ลงั ​ย่�ำ ​แยเ​ต็มท ี ​หรืออ​ าจก​ ลาว​ได​วา ​ใกล​จะล​ มละลาย​แลว ​สปั ดาห​รงุ ขน้ึ ​หลังก​ ารแ​ ถลง​ของ​
มยิ าซ​ าวา ต​ ลาด​ทนุ ​ใน​สหรัฐอเมรกิ า น​ ำ�​โดย N​ A​ S​ ​DA​ ​Q​ ล​ ว ง​ลงก​ วา 3​ ​0​%​ ต​ ามด​ ว ย D​ ​o​w​ J​o​ ​n​e​s​,​ S​ ​&P​ ​ แ​ ละ​ตลาด​ทุน​
ทัว่ โลก พ​ งั ท​ ะลายล​ ง​ทนั ที ​จอรจ บ​ ชุ ​เรยี กส​ ถานการณ​น้ ี ​วาเ​ปน ​W​o​rl​​d​ S​ ​t​o​ck​ ​ C​ r​i​s​i​s​​
​ ​ขณะ​ท่​ีนักล​ งทนุ ​จากท​ ัว่ โลก ​เกดิ ​ความไ​ มเ​ช่อื ม่นั ต​ ลาด​ทนุ ​ใน​สหรฐั อเมรกิ า ​เหตุการณ​ความต​ งึ เครยี ด​
ในภ​ มู ิภาค​ตางๆ​ ท​ ว่ั โลก ​ในช​ วง​ของ​เดอื นม​ ีนาคม ​2​5​44​ ​ ไ​ ลต​ ัง้ ​แต​ก าร​ประกาศ​จะพ​ ัฒนาข​ ปี วธุ ​ปอ ง​กนั ​ตนเ​องข​ อง​
สหรัฐอเมรกิ า ​การจ​ บั ตัว ​มิโล​เซวชิ ​อดตี ผ​ ูน ำ� ​ยโู กสลาเวยี ​การต​ อสข​ู องช​ าว​ปาเลสไตน  ​ท่​พี ัฒนาจาก​การ​ขวาง​
กอ นอิฐก​ อ นด​ ิน ​มาเ​ปนการว​ างระเบิดแ​ ละ​มก​ี าร​ใชป​ น ​ความต​ ึงเครยี ด​ในเ​ชสเนยี ​การท​ �ำ ลาย​พระพทุ ธรปู ​ท​ี่ใหญ​
ท่ีสดุ ใ​ น​โลก ​ของ​กลมุ ต​ า​ลบี ัน ​ใน​อัฟกานิสถาน ​ได​ส ราง​แผล​ลกึ ​ใน​จิตใ​ จ​ของช​ าวพุทธ ​ตอ​ชาวม​ สุ ลิม ​องคท ะ​ไลลา​
มะธิเบต ​เยือนใ​ ต​หว​ ัน ​เรือด�ำ นำ้�​อเมริกาโ​ ผลท​ เี่ กาะ​แหง ​หน่ึงใ​ นญ​ ป่ี ุนโ​ ดย​ไมมก​ี ารแ​ จงล​ วงหนา ​สหรัฐอเมริกา​
ประกาศขาย​อาวุธ​แกใ​ ต​หว​ ัน ​ปดทาย​ดว ยก​ ารย​ วั่ ย​ุจนี ​ดว ย​การใ​ ชเ​ ครือ่ ง​สอด​แนมบ​ ิน​รกุ ล�้ำ ​เขา ไป​ในน​ า นฟา​จีน ​

26 หนังสือเรยี นส​ าระทักษะการด�ำ เนินชีวิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ระดับมัธยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​

กระทัง่ ท​ �ำ ​ให​จนี ต​ อ ง​ใชเ​ครอ่ื งบนิ ​ขับไล​สอง​ลำ� ​ข้นึ ​บงั คับใ​ ห​เครือ่ งบนิ ​สอด​แนม​ของ​สหรัฐ​ลงจอด​บน​เกาะไ​ หหลำ�
เหตุการณ​ที่เกดิ ค​ วาม​ตึงเครยี ด​ดังกลาว ล​ ว น​เกิดขน้ึ ใ​ นเ​ดือน​มนี าคม ข​ ณะ​ที่​วกิ ฤต​ตลาด​ทุนข​ องส​ หรัฐอเมรกิ าก​ �ำ ลัง​
เกดิ ขึน้ พ​ อด ี ​โดย​เบ้ืองลึก​จะ​เกดิ จ​ ากก​ ารส​ รางส​ ถานการณโ​ ดย​สหรฐั อเมริกา​หรือ​ไมก​ ็ตาม ​ภาย​ใน​ระยะเวลา​เพยี ง​
หนึ่ง​เดือน ​ดชั นต​ี ลาดหนุ ​Do​ ​w​ J​​on​ ​e​s​ ก​ ด​็ ีดกลบั ​ขนึ้ ม​ าย​ นื อ​ ยู​ในร​ ะดบั ​ท​่ีสูงกวา เ​ดือน​มกราคมเ​สีย​อีก ​ทั้ง​ที่​เศรษฐกิจ​
ของ​สหรฐั อเมริกา ย​ งั ​ตกอ​ ยู​ในภ​ าวะ​ท่​เี ลวราย
​ ส​ ถานการณเ​ศรษฐกจิ ส​ หรัฐอเมรกิ า ​–​ ​ญ่ปี ุน ​ก�ำ ลังจ​ ะ​นำ�ไปสวู​ ิกฤตเ​ศรษฐกจิ ท​ นุ นิยม ​การเ​ตรยี มพรอม​
ของส​ หรฐั อเมรกิ าใ​ น​การต​ ัง้ ​รับ ​และเ​ปด ​แนว​รกุ ​ตอ ​สถานการณด​ ังกลา ว ​มาน​ านก​ วา ​2​0​ ​ป  ​น่ันก​ ​ค็ อื ​การเ​ตรยี ม
พรอมด​ านย​ ุทธศาสตร ​“​การท​ ำ�สงคราม​เลย้ี ง​เศรษฐกิจ”​ เ​นื่องจาก​สหรฐั อเมรกิ า ​ไดพ​ ฒั นา​ปจจัยก​ าร​ผลติ ​ส​ยู คุ ​I​T​
(​I​n​fo​ ​rm​ ​a​ti​​o​n​ ​Te​ ​c​hn​ ​ol​o​ g​ ​y)​​ ​ดังน​ ั้น ​ยทุ ธศาสตร  ​ยุทธวิธ ี ​ทาง​สงคราม ​ได​ถกู พ​ ฒั นาร​ ปู ​แบบ​สงครามส​ ูย​ คุ ​I​T​
ขณะท​ ร่ี ปู ​แบบย​ ทุ ธศาสตร  ​-​ ย​ ทุ ธปจ จยั ​ของป​ ระเทศต​ า งๆ​ ท​ ว่ั โลก ​ยงั คง​ใช​ร ปู ​แบบข​ องส​ งครามใ​ นย​ คุ อ​ ตุ สาหกรรม ​
(​บาง​ประเทศ​มหาอ�ำ นาจอ​ ยา ง ​จีน ​–ร​ ัฐ​เซยี ​รูป​แบบส​ งคราม​อาจ​พัฒนา​สู​ยคุ ​I​T​ ​แลว ​แต​ยัง​ไมมก​ี ารส​ าธติ ​เชน​
สหรัฐอเมริกาท​ ี​่ได​ผาน​การส​ าธติ ​แลวใ​ น​สงคราม​อา ว)​ ​
​ ป​ ระเทศ​จีนห​ ลงั จากท​ ่ี ​เติ้ง​เซ่ียว​ผงิ ​ไดป​ ระกาศ​นโยบาย​สท่​ี นั สมยั ​นำ�​ประเทศ​จนี ​สูก​ ารพ​ ฒั นา​ดาน​
พลัง​ การผ​ ลติ ​ดว ย​นโยบาย ​หนึ่ง​ประเทศส​ อง​ระบบ ​ท�ำ ​ให ​G​DP​ ​ จ​ ีน ​เติบโต​ระหวา ง ​8​–1​ 2​ %​ ​ ม​ าโ​ ดย​ตลอด ​แม​
ปจ จุบันท​ ่​ีวกิ ฤตเ​ศรษฐกจิ โ​ ลกส​ งผลกระทบ​กบั ​ทกุ ​ประเทศ ​การ​เติบโต​ทางเ​ศรษฐกจิ ​ของ​จนี ​ก​็ยงั ​ยนื อ​ ย​ูใน​ระดับ
7-​​8​%​ ​จากก​ าร​เจริญเ​ตบิ โต​ทาง​เศรษฐกิจข​ อง​จีนด​ งั กลาว ​ยอ ม​ท​จ่ี ะไ​ ป​กระทบ ​และ​ขัดขวางต​ อ​ผล​ประโยชน​ของ​
สหรฐั อเมรกิ า ​ในก​ ารท​ ี่​จะแ​ ผอทิ ธพิ ล​ของ​สกู​ ารเ​ปน ​จกั รวรรดิ​นยิ มจ​ า ว​โลก ​ดังน​ ั้น ​ความพ​ ยายาม​ใน​การท​ จ่​ี ะ​
ทำ�​ลายจนี ใ​ ห​ออ นก�ำ ลงั ล​ ง ​ดวย​การแ​ ยกสลาย​จีนจ​ าก ​8​ ​เขต​ปกครอง​ตน ​ใหเ​ ปนแ​ ปด​ประเทศ​เชน เ​ดียว​กับร​ ัฐเ​ซยี
จึงน​ ับเปน​สุดยอดข​ อง​ยทุ ธศาสตร ​อันจ​ ะน​ ำ�ไปสค​ู วามส​ �ำ เรจ็ ข​ อง​การ​เปน​จกั รวรรดิ​นยิ มจ​ าว​โลก


​ เรือ่ งที ่ 2 สถานการณ​พ ลังงาน​โลกก​ บั ผ​ ลก​ ระทบเ​ศรษฐกจิ ​ไทย


ปญ หา​เรง ดว น​ใน​ปจจบุ นั ท​ ส​่ี ง ผลกระทบ​ตอเ​กอื บ​ทุกป​ ระเทศ​ใน​โลก ​คอื ​การ​ท่​รี าคาน​ ้ำ�มันไ​ ด​สงู ขน้ึ ​
อยา งร​ วดเร็ว​และ​ตอ เน่อื งใ​ น​ชว งเวลา ​4​-5​ ​ ป​ ​ทีผ่ า นมา ​และ ​ดูเหมือน​นำ�้ มนั ใ​ นป​ น ้ี ​(พ​ .​ศ.​2​55​ 1​ )​​ จ​ ะ​แพงส​ ูงสุดเ​ปน ​
ประวัตกิ ารณ​แลว ​ภาวะน​ ้ำ�มนั แ​ พงท​ �ำ ​ใหต​ นทนุ ด​ า น​พลงั งาน ​(​โดยเฉพาะ​อยา งยิ่งใ​ น​การ​ขนสง)​ ​สูงขึน้ ​อยาง​
รวดเรว็ ​มี​ผล​ลูกโซ​ตอ ไปย​ งั ​ราคาส​ นิ คา ​และบ​ รกิ าร​ตา งๆ​ ​นอกจาก​จะ​ท�ำ ​ให  ​คา ค​ รอง​ชพี ส​ ูงขนึ้ ม​ ากแ​ ลว ​ยงั เปน​
อุปสรรค​ตอก​ ารข​ ยายตัว​ทาง​เศรษฐกิจอ​ กี ดว ย
​ผล​กระทบ​เหลา น้ไี​ ดก​ อใ​ หเ​กดิ ​การป​ ระทวงข​ องก​ ลุม ​ผู​ท่ี​ตอง​แบกร​ บั ภาระ ​เชน ​คน​ขับร​ ถบรรทุก ​และ ​
ชาวประมงใ​ น​หลาย​ประเทศ ​รวม​ท้งั ​การเ​รียกรอ ง​ใหร​ ฐั บาล​ยน่ื มอื ​เขามาแ​ ทรก​แซง​และใ​ หค​ วาม​ชวยเหลือ ​ปญหา​
ราคา​น้�ำ มนั ​แพง​มากใ​ นช​ วงน​้ีถอื ไดวา เ​ปน ​วกิ ฤตการณ​น้ำ�มันค​ ร้งั ท​ ี่ 3​ ​ ข​ องโลกก​ ​ว็ า ​ได

7​ ​​ปจจัย ต​ นเหตุน​ ำ�้ มนั แ​ พง ​!​

ร​ าคา​น�ำ้ มนั ดบิ ใ​ นต​ ลาดโลก​เริ่มข​ ยับ​ตัว​ขนึ้ สูงอ​ ยา ง​เห็นไดช ดั ​ในป​  ​2​5​47​ ​ ​โดย​ราคาน​ ำ้�มนั ดิบ ​สงู ขึน้ ​
บารเ รล​ละ​ประมาณ ​$1​ ​0​ เ​ปน ก​ วา ​$3​ ​8​ ต​ อ บ​ ารเรล ​และ​หลงั จากน​ ้ัน​เปนตน มา ​ราคา​กม็​ ​ีแนวโนม​สงู ขน้ึ โ​ ดย​ตลอด ​
จะ​ม​ีลดลงบ​ า งใ​ น​บางครั้ง​เปนชวง​สนั้ ๆ​ เ​ทา ​นั้น ​โดย​ความผ​ ันผวนข​ อง​ราคาม​ ี​มากข้นึ ​แต​ก ารเ​ปล่ียน​แปลงเ​ปนไป​
ในทางเ​พิม่ ​มากกวาท​ าง​ลด

ห​ นังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับมธั ยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​ 27

ใ​ น​ชวงป​ ลายป  ​2​55​ ​0​ ​ราคาน​ �้ำ มนั ดิบพ​ งุ ​สงู ​เกิน ​$1​ ​0​0​ ​ตอ​บารเรล ​ซ่งึ น​ อกจาก​จะเ​ปนร​ ะดับ​ท่ีสูงท​ สี่ ดุ เ​ปน ​
ประวัติการณ​ใน​รปู ข​ อง​ราคาป​ ​ปจจุบัน ​ ​ ​ ใ​ นช​ ว ง​ครึ่ง​ปแ​ รก​ของ​ป 2​ 5​ ​51​ ​ ร​ าคา​น้�ำ มันก​ ็ย​ งั คง ข​ ยับ​สงู ข้ึนอ​ ยา งต​ อ เนือ่ ง ​
และ​อย​ูใน​ระดับ​กวา $​ ​13​ 0​ ​ ต​ อ บ​ ารเ รล​ใน​สัปดาหท​ ่ี 2​ ​ ข​ องเ​ดอื น​มถิ ุนายน 2​ ​5​5​1​ ม​ ​บี ทความ​ขอ เขียน​จำ�นวนม​ ากท​ ​ไ่ี ด​
วิเคราะห​และอ​ ธบิ ายส​ าเหตุ​ของภ​ าวะ​น�ำ้ มนั แ​ พงด​ งั กลา ว ส​ วนใ​ หญ​มี​ประเดน็ ​ท​เ่ี หมอื นก​ นั ​และ​สอดคลอง​กัน ​ดังน้ี
​ 1​) ​ กำ�ลัง​การผ​ ลิต​สว นเกนิ ​(​ex​ ​c​es​s​p​ ​r​od​ u​ ​c​ti​o​ ​n​ ​ca​ ​pa​ ​c​it​​y​)​ ​ใน​ตลาด​น้�ำ มันดิบอ​ ยู​ใน​ระดับ​ท่ีค​ อ นขา งต​ ำ่�​มา
ตลอด 5​ ​ ป​ ท​ ี่ผา นมา ท​ ั้งนี้ เ​ปน ผล​จากก​ ารท​ ​ี่ประเทศ ผ​ ผู ลิตน​ ้�ำ มันห​ ลาย​แหง ​ขาด​แรง​จงู ใ​ จใ​ น​การข​ ยายก​ ำ�ลงั ก​ ารผ​ ลติ ​
ในช​ วงท​ ​่ีราคา​นำ้�มนั ​อยใู​ น​ระดับค​ อนขา ง​ต�ำ่ ​ในช​ ว ง​ทศวรรษ ​19​ ​9​0​ ห​ นว ยงาน​พลงั งานข​ องส​ หรัฐ ​(​EI​A​ ​)​ ร​ ายงาน​วา ​
ในเ​ดอื น​กันยายน ​25​ ​5​0​ O​ P​ E​ C​ ​ ม​ ก​ี �ำ ลังก​ ารผ​ ลติ ส​ วนเกิน​เพียง ​2​ ล​ า น​บารเ รล​ตอ ​วัน ​(ป​ ระมาณ ​2​%​ ข​ องป​ ริมาณ​การ​
ใช​นำ�้ มัน​ของโลก)​ โ​ ดยป​ ระมาณ 8​ 0​ ​%​ ข​ องส​ ว นเกนิ น​ ้ีอ​ ยใ​ู น​ซาอดุ อี าระเบีย​เพยี งป​ ระเทศ​เดียว
​ 2​) ​ การผ​ ลติ ​นำ้�มันจ​ ากแ​ หลง ใ​ หมๆ ​ ​ในโ​ ลก ​เร่ิมมต​ี นทนุ ​ทส่ี งู ม​ ากขนึ้ ​ทัง้ น้​อี าจเ​ปน ​เพราะ​แหลงน​ ำ้�มนั ​
ขนาดใ​ หญๆ​ ถ​ กู ค​ น พบ​และใ​ ชง าน​เปนส​ ว นใ​ หญ​แ ลว ​ยงั เหลือ​อยกู​ จ็​ ะเ​ปน ​แหลง​น้ำ�มันข​ นาดเล็ก ​หรือ​ท่ี​มค​ี ุณภาพ​
ต่�ำ ​หรอื ​ท่​ีอย​ใู น​ถน่ิ ทุรก​ นั ดาร/น​ ้ำ�ทะเล​ลึกๆ​ ซ​ ึ่ง​ม​ีตนทุน​การ​สำ�รวจแ​ ละ​การผ​ ลติ ท​ ีส​่ ูงมาก ​ม​กี าร​วิเคราะห ​พบ​วา​ใน​
ปจ จบุ นั ​ตน ทนุ ​การ​ผลติ ​น�ำ้ มนั ใ​ น​ปรมิ าณ ​4​ ล​ า นบ​ ารเ รลต​ อ ​วนั ​(​คดิ เ​ปน ​5%​ ​ ข​ อง​ปรมิ าณก​ ารผ​ ลติ ข​ องโลกใ​ น​ปจ จบุ นั )​ ​
มี​ตนทุน​การ​ผลติ ​สูงถ​ งึ ​$7​ ​0​ ต​ อ​บารเ รล ​ตัวอยา ง​ท​่เี ห็นไดชดั ​คอื ​ทราย​นำ�้ มนั ​(t​​a​rs​​ s​​a​nd​ s​​)​ ใ​ นแ​ คนาดา ​ซง่ึ เ​รมิ่ ผ​ ลิต​
ออกมาแ​ ลว แ​ ละม​ ตี​ น ทุนก​ ารผ​ ลิต​ไม​ต่ำ�กวา $​ ​6​0​ ต​ อบ​ ารเ รล
​ 3​)​ ในประเทศผ​ ูผลิต​และส​ ง ออก​น�ำ้ มนั ​รายใ​ หญ​หลายร​ าย ​การผ​ ลิต​น�ำ้ มันม​ ีโ​ อกาส​หยุด​ชะงกั ไ​ ด ​(s​​u​p​p​ly​ ​
​di​​s​ru​ p​ t​​i​o​n)​​ ​เพราะ​เหตจ​ุ ากค​ วาม​ไมส​ งบ​ทาง​การเมือง ​สงคราม ​และภ​ ัย​ธรรมชาติ ​เหตกุ ารณ​ส�ำ คญั ท​ ี่​บงชถี้​ ึง​
ปญ หาน​ ้ี ​ไดแ​ ก ​การบ​ ุก​อิรักข​ อง​กองทัพ​สหรฐั ใ​ นป​  ​2​5​4​6​ ท​ �ำ ​ให​กำ�ลังก​ าร​ผลติ ​น�้ำ มนั ข​ อง​อริ ัก​ลดลง​ระดบั ​หนง่ึ ​และ​
ความไ​ มส​ งบซ​ ่ึงย​ งั คงเ​กดิ ข้ึนใ​ นประเทศ​หลงั จากน​ น้ั ​ยงั เปนอ​ ุปสรรค​ส�ำ คญั ตอ​การ​ผลิต​และ​การส​ ง ออกน​ ำ�้ มันข​ อง​
อิรักใ​ ห​กลบั ไ​ ปส​ ู​ร ะดับป​ กติ
​ ความ​ขดั ​แยง ​ระหวางอ​ หิ รานก​ ับ​ประเทศ​ตะวันตกเ​กีย่ วกบั ​โครงการ​พฒั นาน​ ิวเคลียร​ของอ​ ิหรา น ​(​ซึ่งเ​ปน ​
ผผู ลติ ​น้ำ�มนั ​มากเ​ปน ​อันดับท​ ี่ ​4​ ข​ องโลก)​ ก​ อใ​ ห​เกดิ ​ความต​ ึงเครยี ด​ในภ​ ูมิภาคต​ ะวันออก​กลาง​ระหวา งอ​ ิหรา น​และ​
สหรัฐ โ​ ดยอ​ หิ รา นป​ ระกาศว​ า​จะใ​ ช​น้ำ�มันเ​ปนอ​ าวุธ​เพ่อื ​ตอบโต​มาตรการค​ วำ่�บาตร​ของส​ หรฐั แ​ ละ​ในป​  2​ ​5​51​ ​ ไ​ ดม​ ี​
การ​เผชิญหนา​กนั ร​ ะหวาง​ทหารอ​ หิ รา นแ​ ละ​ทหาร​สหรัฐ​ในบ​ รเิ วณ​ชอ งแ​ คบ​ฮอรม ซุ ​ซ่งึ เ​ปน​ทางผา นส​ �ำ คญั ส​ �ำ หรับ​
การ​ขนสง น​ �ำ้ มันจ​ ากต​ ะวันออกก​ ลาง
​ พายุ​เฮอรรเิ คนใ​ น​แถบอ​ า ว​เมก็ ซโิ ก​ใน​เดอื นก​ ันยายน ​2​54​ 8​ ​ ​ม​ีผล​กระทบ​ตอ​แทน ผ​ ลิต​นำ้�มนั ข​ องเ​มก็ ซโิ ก ​
และ​โรงกล่นั ​ทต่ี ง้ั อ​ ย​ูตอนใ​ ต​ของ​สหรัฐ ​มี​ผลใ​ หราคา​น�ำ้ มนั เ​บนซินใ​ นส​ หรฐั ​เพ่ิม​สูงขนึ้ เ​ปน ​$​3​ ​ตอ​แกลลอน ​ซงึ่ ​
เปน​ระดบั ท​ ​่ีสงู สดุ ใ​ น​รอบ ​2​5​ ป​ 
​ ผู​กอ การรายใ​ น​ไนจเี รยี ค​ กุ คามแ​ หลง ผลิตน​ �ำ้ มันห​ ลายคร้ัง ​ทำ�​ใหป​ ระมาณการผ​ ลติ ​และส​ ง ออกน​ ้ำ�มันจ​ าก​
ไนจีเรยี ล​ ดลงป​ ระมาณ 5​ 0​ ​0​,0​ ​00​ ​ บ​ ารเ รล​ตอว​ นั
ค​ วาม​ขัดแ​ ยง ท​ างก​ ารเมืองร​ ะหวาง​รฐั บาล​เวเนซเุ อลา​และร​ ฐั บาล​สหรฐั ​ทำ�​ใหการน​ ำ�เขา น​ ำ�้ มนั จ​ ากเ​วเนซเุ อลา​ของ​
สหรฐั ม​ ​ีความเ​สี่ยงม​ ากขึน้
​ 4​)​ ใน​หลาย​ประเทศท​ ​่ีสงออก​น้ำ�มันไ​ ด  ​มก​ี าร​ผลติ น​ ำ้�มันใ​ นป​ ริมาณ​ท​่ีลดลง​ไป ​เพราะ​ปรมิ าณส​ �ำ รอง​
เรม่ิ มข​ี อ จำ�กัด​มากขน้ึ ​ในขณะเ​ดียว​กันค​ วาม​ตองการใ​ ช​น�ำ้ มนั ใ​ นประเทศ​เหลา นก้ี​ ​เ็ พิม่ ขนึ้ ​ตามก​ าร​ขยายตัว​ของ​

28 หนงั สือเรยี น​สาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับมัธยมศึกษาต​ อน​ปลาย (ทช 31001)​

ประชากร​และเ​ศรษฐกจิ ด​ ว ย ​ท�ำ ​ให​หลาย​ประเทศต​ อ งล​ ด​การ​สงออก​ลง ​เชน ​อินโดนีเซีย ​เม็กซโิ ก ​นอรเวย ​และ​
อังกฤษ ​ใน​ระหวา ง​ป ​20​ ​05​ ​ ถ​ งึ ​20​ ​06​ ​ ก​ ารบ​ ริโภคน​ �ำ้ มนั ภายใ​ นประเทศ​ผูสง ออก ​5​ อ​ ันดับ​แรก ​คือ ​ซาอุดอี าระเบยี ​
รัสเซีย ​นอรเ วย ​อหิ ราน ​และส​ หรัฐอ​ าหรับ​เอมเิ รตส  ​ได​เพม่ิ ​สงู ข้นึ ถ​ งึ ​รอ ยละ ​5​.​9​ แ​ ละ​ม​ปี ริมาณก​ าร​สงออก​ลดลง
​กวา ​รอยละ ​3​ ​เมื่อ​เทียบกบั ​ป​ก อ นหนา น​ ้ี ​หรอื ​ในก​ รณ​ขี อง​อนิ โดนเี ซยี ​ท่​ีรัฐบาล​มก​ี าร​อุดหนนุ ​ผูบรโิ ภคภายใ​ น
ประเทศ ​และ​กรณขี​ อง​ซาอุดีอาระเบยี ​ท​รี่ าคา​นำ�้ มันเ​บนซนิ ​ในประเทศอ​ ยทู​ ่ี ​5​ ​บาทต​ อ​ลติ ร ​ขณะท​ ​ีม่ าเลเซียอ​ ยู​ใน​
ระดับ ​2​0​ ​บาท​ตอ ​ลติ ร ​จึง​ท�ำ ​ให​เกิด​การค​ าดการณ​วา​ปริมาณก​ าร​สง ออก​นำ้�มนั ดิบข​ อง​ประเทศ​ผูสง ออกน​ �ำ้ มนั จ​ ะ​
ลดลงถ​ ึง ​2.​5​ ​ ล​ าน​บารเรลต​ อ ว​ันภายใ​ น​ชว ง ​1​0​ ป​ น ้ี ​เม่อื ไ​ มก​ ่เ​ี ดือน​มาน​ ีข​้ า ว​วา ​รฐั บาล​อนิ โดนีเซีย​กำ�ลังพ​ จิ ารณาจ​ ะ​
ถอนตวั ​จากก​ ารเ​ปน สมาชกิ ​OP​ ​EC​ ​ เ​พราะอ​ ินโดนเี ซยี ​จะ​ไมส​ ามารถส​ ง ออกน​ ้�ำ มนั ไ​ ดอ​ ีก​ตอ ไปใ​ น​อนาคต​อนั ใ​ กลน​ ้ี
​ 5​)​ นอกจากก​ �ำ ลงั ​การผ​ ลติ ส​ ว นเกิน​ของ​นำ้�มันดบิ จ​ ะม​ ​ีนอย ​ก�ำ ลังก​ าร​กลนั่ น้ำ�มนั ​ของโลก​ก็​ม​ปี ญ หา​
คอขวด ​ ​โดยม​ ​สี ว นเกนิ น​ อยกวา ​1​ ล​ า นบ​ ารเรล​ตอว​ นั ​ในขณะ​เดียว​กนั ​ตลาด​น�้ำ มันม​ ี​แนวโนม​ตอ งการ​ใชน​ �ำ้ มัน​
ชนดิ เ​บาแ​ ละส​ ะอาดม​ ากข้ึน ​จงึ ​สรางแ​ รงกดดนั ​ให​โรง​กลน่ั นำ้�มนั ต​ อ งล​ งทุนป​ รบั ปรงุ ​คณุ ภาพ​อีกดว ย ​ขอ จ�ำ กัด​น้ี​
จงึ ​ทำ�​ใหราคา​ผลติ ภัณฑน​ ำ�้ มันม​ ี​ราคาส​ ูงข้นึ ​เพิ่มไ​ ปจ​ ากก​ าร​เพ่มิ ข​ อง​ราคาน​ ำ้�มนั ดิบ ​และก​ ำ�ไร​ของโ​ รงก​ ลน่ั นำ้�มนั
อยูใ​ น​ระดับ​ท่ีค​ อนขา ง​สงู ​มาโ​ ดยต​ ลอด เ​ปนท​ ีน่​ าสงั เกตด​ ว ยวา ​สหรัฐ​ซึ่งเ​ปน ผ​ ​ใู ชน​ ำ�้ มนั ร​ ายใ​ หญท​ ่ีสดุ ​ของโลก​ไมไ ด​
กอสรางโ​ รง​กล่ันน�้ำ มัน แ​ หง ใ​ หม​มาเ​ลย​ต้ังแ​ ต​ท ศวรรษ ​1​97​ ​0​
​6)​​ ถงึ แ​ มว า ​ราคา​น้�ำ มันร​ ะหวางป​  ​2​54​ ​6​ ถ​ ึงป​  ​2​5​5​0​ จ​ ะ​สูงข้ึนก​ วา ​3​ เ​ทาตวั ​แลว ​แตค​ วาม​ตอ งการใ​ ช​น�ำ้ มนั ​
ของโลก​กไ็​ มไ ดล​ ดลง​เลย ​กลบั ย​ งั คง​เพมิ่ ขน้ึ ​ในอ​ ตั รา ​3.​​5​5​%​ ใ​ นป​  ​25​ ​48​ ​ แ​ ละ​ใน​อตั รา​ทย่ี​ งั ​สูงกวา ​1​%​ ใ​ น ​ปต​ อ ๆ​ ​
มา ​ปรากฏการณเ​ ชนนแ้ี​ ตกตา งจากท​ ่​เี กิดขึ้นใ​ นช​ วง​วกิ ฤต​นำ้�มนั ส​ องค​ ร้ังแ​ รก ​(​ป ​25​ ​16​ /​1​ 7​ ​ แ​ ละ​ป  ​25​ ​22​ /​​2​3​)​ ซ​ ่งึ ​เรา​
พบว​ า​ราคา​น�ำ้ มนั ท​ ่​สี งู ข้ึน​มากท​ �ำ ​ใหค​ วาม​ตอ งการน​ ำ้�มันล​ ดลงใ​ น​ป​ตอมา ​ใน​ชวง ​4​-5​ ​ ป​ ท​ ่ผี า นมา ​เศรษฐกจิ โ​ ลกย​ งั ​
ขยายตวั ไ​ ด ​คอ นขาง​ดี ​และด​ ูเหมอื นจ​ ะ​ยังไ​ ม​ไดร บั ​ผลก​ ระทบ​จาก​ภาวะ​ราคา​นำ้�มันแ​ พงม​ ากน​ กั ​จีนแ​ ละอ​ ินเดียเ​ปน ​
ผ​ใู ช​พ ลงั งานท​ ่​ีม​อี ิทธพิ ลต​ อ​ตลาด​น้ำ�มันโ​ ลก
​ 7​) ​กองทุน​ประเภท ​h​ed​ g​ ​e​ f​​un​ ​ds​​ ห​ นั ไปล​ งทุน​ซ้อื ขาย​เกง็ กำ�ไรใ​ น​ตลาดน​ ำ้�มนั ล​ วงหนา ม​ ากข้นึ ​ทง้ั นเี้​พอ่ื ​
หลกี เลีย่ ง​การล​ งทนุ ​ในร​ ปู ​ของ​เงนิ ​ดอลลารส​ หรฐั ​ซ่ึงใ​ นร​ ะยะหลงั ​มี​แนวโนม​ออนคา ​ลงม​ ากเ​ม่อื เ​ปรยี บ​เทียบกับ​
เงินส​ กุลอ​ ืน่ ๆ​ เ​นือ่ งจากภ​ าวะ​ตลาดน​ �้ำ มนั ต​ ามท​ ่​กี ลา วม​ าแ​ ลว​ชใ​้ี ห​เห็นวา ​ราคาน​ ้ำ�มันม​ ​ีแนวโนม​ทจ่​ี ะ​สงู ขึน้ ​ผจู ัดการ​
กองทุนเ​หลาน้ีจ​ งึ เ​ก็งก�ำ ไร​โดยก​ ารซ​ อ้ื น​ ้ำ�มันไ​ วล​ วงหนาเ​พอื่ ​ขาย​เอากำ�ไรใ​ นอ​ นาคต ​สง ผล​ใหราคาน​ ้�ำ มนั ท​ ัง้ ​ใน​
ตลาด s​​po​ ​t​ แ​ ละ​ตลาดล​ ว งหนา​สงู ขึน้ อ​ กี ​ระดับ​หน่ึง


ปรากฏการณโ​ลกร​ อนแ​ ละ​ปรากฏการณ​เรอื นกระจก

ค​ า ​ผดิ ​ปรกตขิ​ อง​อุณหภูมเิ​ฉลย่ี ท​ ​ผ่ี ิวโลก​ที​เ่ พ่ิมข้นึ ​ในช​ วงป​  ​พ.​ศ.​ ​24​ ​0​3–​ ​2​54​ 9​ ​ ​เทยี บกบั ​อุณหภูม​ิระหวาง
พ​ .​ศ.​ 2​ 5​ 0​ 4​ ​–2​ 5​ 3​ ​3​ ค​ าเฉลย่ี ​อุณหภูมผ​ิ ิว​พนื้ ท​ ี่​ผดิ ป​ กตทิ​ ่เี​ทียบกับอ​ ุณหภมู ิ​เฉล่ียร​ ะหวางป​  ​พ.​ศ.​ 2​ 5​ 3​ 8​ ​ ถ​ ึง พ​ .​ศ.​ 2​ 5​ 4​ 7​ ​
ใ​ น​ชวง ​1​0​0​ ​ป​ท่ีผานมา ​นบั ถ​ ึง พ​ .ศ​ .​ ​2​5​4​8​ ​อากาศ​ใกลผ​ วิ ดนิ ​ท่ัวโลก​โดย​เฉลยี่ ม​ ​ีคา​สูงขน้ึ ​0​.​74​ ​ ​± ​0​.1​ ​8​
องศา​เซลเซียส ​ซึง่ ​คณะกรรมการร​ ะหวา งร​ ฐั บาล​วา ดวย​การ​เปล่ยี นแ​ ปลงส​ ภาพภ​ มู ิอากาศ ​(I​​n​te​ ​r​go​ ​v​e​rn​ ​me​ n​ t​​a​l
​Pa​ n​ e​ ​l​ ​on​ ​ ​Cl​​im​ a​ ​te​ ​ ​C​h​a​ng​ ​e​:​ ​I​P​CC​ ​)​ ​ของส​ หประชาชาติไ​ ด​สรปุ ​ไวว​ า ​“​จากก​ ารส​ งั เกตการณ​ก าร​เพม่ิ อ​ ณุ หภมู โ​ิ ดย​
เฉลย่ี ข​ องโลก​ทเ​่ี กดิ ขน้ึ ​ตง้ั ​แต​ก ลาง​ครสิ ตศ ตวรรษท​ ่ี ​20​ ​ ​(​ประมาณ​ตง้ั ​แต  ​พ.ศ​ .​ ​24​ 9​ 0​ )​​ ​คอ นขา งแ​ นช ดั ว​ า ​เกดิ จ​ าก​การ​
เพม่ิ ​ความ​เขม ​ของ​แกส ​เรอื นกระจก​ท​่เี กดิ ขน้ึ ​โดย​กจิ กรรม​ของ​มนษุ ย​ท​่เี ปน ผล​ใน​รปู ​ของ​ปรากฏการณ​เรอื นกระจก”​ ​

​หนงั สือเรียนส​ าระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับมัธยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​ 29

ปรากฏการณ​ธรรมชาตบิ​ างอยา ง ​เชน ​ความ​ผนั ​แปร​ของก​ าร​แผรงั สจ​ี าก​ดวงอาทิตย​และก​ ารร​ ะเบดิ ​ของ​ภูเขาไฟ ​
อาจส​ งผลเ​พียงเ​ล็กนอ ยต​ อ ก​ ารเ​พิ่ม​อุณหภมู ​ิในช​ ว ง​กอ น​ยคุ ​อุตสาหกรรมจ​ น​ถงึ ​พ.​ศ.​ ​2​49​ 0​ ​ ​และ​ม​ผี ล​เพียง​เล็ก
นอ ย​ตอก​ าร​ลดอ​ ณุ หภูมห​ิ ลงั จากป​  ​2​49​ 0​ ​ ​เปน ตนมา ​ขอ สรุป​พืน้ ฐานด​ งั กลา ว​นีไ้​ ดรบั ​การ​รับรอง​โดย​สมาคมแ​ ละ​
สถาบันก​ าร​ศึกษาท​ างว​ ิทยาศาสตร​ไมน​ อยกวา ​3​0​ ​แหง ​รวมท​ ง้ั ​ราชส​ มาคมท​ างว​ ิทยาศาสตรร​ ะดบั ชาติ​ที​่สำ�คญั ​
ของ​ประเทศอ​ ุตสาหกรรมต​ า งๆ​ แ​ มน​ กั ว​ ิทยาศาสตร​บางคน​จะม​ ​ีความเหน็ ​โต​แ ยงก​ ับข​ อสรปุ ​ของ ​IP​ ​CC​ ​ อ​ ยู​บา ง ​[4​​]
​แต​เสียง​สวน​ใหญ​ของ​นัก​วิทยาศาสตร​ท่ีทำ�งาน​ดาน​การ​เปลี่ยน​แปลง​ของ​ภูมิอากาศ​ของโลก​โดย​ตรง​เห็นดวย​กับ​
ขอ สรปุ น​ ้ี ​แบบจำ�ลอง​การค​ าดคะเนภ​ มู ิอากาศ ​บง ชว​ี้ า ​อุณหภูมโิ​ ลก​โดย​เฉล่ยี ท​ ี​่ผิวโลก​จะ​เพม่ิ ขน้ึ ​1​.​1​ ถ​ ึง ​6​.​4​ อ​ งศา​
เซลเซยี ส ​ในช​ วงค​ ริสตศ ตวรรษท​ ี่ ​21​ ​ (​​พ.​ศ.​ 2​ 5​ 4​ 4​ –​ ​2​64​ 3​ ​)​ ค​ า ​ตัวเลข​ดังกลา วไ​ ด​ม าจากก​ าร​จ�ำ ลอง​สถานการณแ​ บบ​
ตา งๆ​ ​ของก​ ารแ​ ผขยาย​แกส เ​รอื นกระจกใ​ นอ​ นาคต ​รวมถ​ งึ ​การ​จ�ำ ลอง​คาค​ วามไ​ วภ​ ูมอิ ากาศอ​ กี ​หลากหลาย​รปู ​
แบบ ​แตค​ วามร​ อ นจ​ ะ​ยังคง​เพ่มิ ข้ึน​และร​ ะดับน​ ำ�้ ทะเล​ก็จ​ ะ​สงู ขึ้นต​ อเน่ือง​ไปอ​ ีก​หลาย​สหัสวรรษ ​แมวาร​ ะดบั ข​ อง​
แกสเ​รือนกระจก​จะเ​ขา สู​ภาวะเ​สถียร​แลว ก​ ต็ าม ​การ​ทอ​ี่ ณุ หภูม​แิ ละ​ระดับ​น้ำ�ทะเลเ​ขา สู​สภาวะด​ ลุ ยภาพไ​ ดช​ า​เปน ​
เหตุ​มาจาก​ความ​จคุ​ วาม​รอนข​ องน​ �ำ้ ​ใน​มหาสมุทรซ​ งึ่ ม​ ีค​ า​สูงมาก ​การท​ ​่ีอุณหภูม​ขิ องโลก​เพมิ่ ​สูงขึน้ ท​ ำ�​ใหร​ ะดบั ​
น�ำ้ ทะเล​สงู ขึ้น ​และ​คาดวา​ท�ำ ​ใหเ​ กิดภ​ าวะล​ มฟาอากาศ ​ที่รุน​แรง​มากขึ้น ​ปริมาณ​และ​รปู ​แบบ​การเ​กิดห​ ยาดน้ำ�ฟา​
จะเ​ปลีย่ นแ​ ปลงไ​ ป ​ผลก​ ระทบ​อน่ื ๆ​ ​ของป​ รากฏการณ​โลกร​ อน​ไดแ​ ก ​การเ​ปลยี่ น​แปลงข​ อง​ผลติ ผล​ทางเ​กษตร
การ​เคลอ่ื น​ถอยข​ องธ​ ารนำ�้ ​แขง็ ​การส​ ญู ​พันธุพืช-ส​ ตั วต​ างๆ​ ​รวมท​ งั้ ก​ าร​กลายพ​ นั ธุ​และแ​ พรข ยาย​โรค​ตา งๆ​ ​เพ่มิ ​
มากขน้ึ รฐั บาล​ของป​ ระเทศ​ตางๆ​ ​แทบท​ ุกป​ ระเทศไ​ ดล​ งนามแ​ ละใ​ หส ัตยาบนั ใ​ น​พิธสี าร​เกียวโ​ ต ​ซึง่ ม​ งุ ป​ ระเดน็ ​
ไปท​ ​ก่ี ารล​ ด​การป​ ลอ ยแ​ กส เ​รอื นกระจก ​แต​ย งั คงมก​ี าร​โตเ ถยี ง​กนั ท​ างก​ ารเมอื ง​และ​การ​โตว าทส​ี าธารณะ​ไป​ทว่ั ท​ ง้ั โลก​
เกย่ี วกบั ​มาตรการว​ า ​ควรเ​ปน อ​ ยา งไร จ​ งึ จ​ ะล​ ดห​ รอื ย​ อ นกลบั ​ความ​รอ น​ท​เ่ี พม่ิ ขน้ึ ​ของโลกใ​ นอ​ นาคต ห​ รอื ​จะ​ปรบั ตวั ​กัน​
อยา งไรต​ อ ผ​ ล​กระทบ​ของป​ รากฏการณโ​ ลกร​ อ น​ท่​ีคาดวา ​จะต​ องเ​กดิ ขน้ึ
​พระบาท​สมเดจ็ ​พระเจา อ​ ยห​ู วั ม​ ี​พระ​ราชด​ ำ�รสั เ​กยี่ วกบั ​ปรากฏการณ​เ รอื นกระจก ​ท่​ีศาลาด​ ุส​ ิดาล​ ัย ​อยาง​
ลึกซึง้ ​กระทรวง​วทิ ยาศาสตร​และเ​ทคโนโลยี ​จงึ ​ได​รับสนอง​กระแ​ ส​พระ​ราช​ด�ำ รัส ​น�ำ เขา ​ประชมุ ค​ ณะ​รฐั มนตร ี​
จนกระทัง่ ​ทำ�​ใหว​ ันท​ ่ี ​4​ธ​ .​ค.​​ของ​ทกุ ป ​เปน ว​ นั ส​ ิง่ ​แวดลอม​แหงชาติ ต​ ง้ั แ​ ต​ป 2​ ​5​34​ ​ ​เปน ตน มา
​ ​จาก​ผล​งานพ​ ระร​ าชด​ ำ�รแ​ิ ละก​ ารท​ รงล​ งมือ​ปฏิบตั ิ​พฒั นาด​ ว ย​พระองค​เอง ​เกย่ี วกับส​ ภาพ​แวดลอม ​โดย
เฉพาะอ​ ยา งยิ่ง ​ปรัชญาเ​ศรษฐกจิ พ​ อเพยี ง ​ท​่มี ี​คณุ ​ประโยชน​ตอ ​คนช​ นชาต​ิตา งๆ​ ​ท้งั ด​ า น​เศรษฐกิจ ​สังคม ​ความ​
มนั่ คง​ของม​ นษุ ย​และ​การเมอื ง ​ซง่ึ ​เปนท​ ี่​ประจกั ษไ​ ปท​ ัว่ โลก ​องคการ​สหประชาชาติ ​โดย​นาย​โคฟ ​อนั นนั ​อดตี ​
เลขาธิการอ​ งคก าร​สหประชาชาต ิ ​จึงไ​ ด​เดนิ ทางม​ าป​ ระเทศ​ไทย ​ในว​ าระม​ หา​มงคลฉ​ ลองส​ ริ ​ิราชสมบัต​ิครบ ​6​0​ ป​ 
เ​ขาเฝาพ​ ระบาทส​ มเด็จ​พระเจา อ​ ยู​หัว ​วันท​ ี่ ​2​6​ ​พ.ค​ .​ ​25​ ​4​9​ ​เพอื่ ถ​ วาย​รางวลั ​“​U​ND​ ​P​ ​H​um​ a​ n​ ​ ​De​ v​ ​e​l​o​pm​ e​ ​n​t​
Li​​f​e​ti​​me​ ​A ​ c​ h​ i​e​ ​ve​ ​m​en​ ​t​A ​ w​ ​a​rd​ ​”​( ​ร​ างวลั ​ความส​ �ำ เร็จ​สงู สุดด​ านก​ ารพ​ ฒั นา​มนษุ ย) ​ซ ​ ่ึงเ​ปนร​ างวัล​ประเภท L​ i​​f​e​- ​​L ​ ​o​n​g​
Ac​ h​ i​​ev​ ​em​ e​ ​nt​​ แ​ ละพ​ ระบาท​สมเด็จพ​ ระเจา อ​ ยห​ู วั ​ทรงเ​ปน พ​ ระม​หาก​ ษัตรยิ ​พระองค​แรกใ​ น​โลกท​ ​ี่ไดรบั ​รางวลั น​ ี้
​ ​องคการส​ หประชาชาต ิ ​ได​ยกยอ ง​พระบาท​สมเดจ็ พ​ ระเจา ​อยู​หัว ​เปน ​“พ​ ระมห​ า​กษตั ริยน​ ักพ​ ัฒนา”​ แ​ ละ
ก​ ลาวถ​ งึ ​ปรชั ญาเ​ศรษฐกิจพ​ อเพียง ​(S​ ​u​ff​​ic​ ​i​en​ ​cy​ ​ E​ c​ ​o​n​om​ y​ ​)​ ข​ อง​พระองค​วา ​เปนป​ รัชญา​หรือท​ ฤษฎี​ใหมท​ ่​ีนานา
ประเทศร​ จู กั ​และ​ยกยอง ​โดยท​ ​่ีองคก ารส​ หประชาชาตไิ​ ดส​ นบั สนุนใ​ ห​ประเทศ​ตางๆ​ ​ทเ่​ี ปน สมาชิก ​ยึด​เปน​
แนวทางส​ ก​ู าร​พัฒนาป​ ระเทศ​ทย่ี​ งั่ ยนื

30 หนงั สอื เรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มธั ยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​

​ ปรัชญา​เศรษฐกจิ พ​ อเพียง ​มใ​ิ ช​เปนเ​พยี งป​ รัชญา​นามธรรม ​หากเ​ปน​แนวทาง​ปฏบิ ตั ซิ​ ึ่งส​ ามารถ​จะช​ ว ย ​
ทัง้ แ​ กไ ข​และ​ปองก​ นั ป​ ญ หาท​ ่เี กดิ ​จากก​ เิ ลส​มนษุ ย ​และ​ความเ​ปลย่ี น​แปลงท​ ีซ​่ บั ซอนรนุ ​แรง​ขนึ้ ​ท​่ีกำ�ลัง​เกิดข​ ้นึ กบั ​
มนษุ ย​ทง้ั โลก ​และป​ ญ หา​ท่​ีลกุ ลามต​ อ​ถงึ ​ธรรมชาติ ​กอ ใ​ ห​เ กดิ ค​ วามเ​ปลยี่ นแ​ ปลงใ​ หญ​ใน​เชงิ รุน​แรง ​และส​ ราง​
ปญ หา​ยอ นกลบั มา​ที่​มนุษย
​ โ​ ดย​ทัว่ ไป ​มกั เ​ขาใ​ จ​กนั ​วา ​ปรชั ญา​เศรษฐกจิ พ​ อเพียง ​เหมาะ​ท​จี่ ะ​ใชเ​ฉพาะ​กับ​คนย​ ากจน ​คนร​ ะดับร​ าก​
หญา ​และป​ ระเทศ​ยากจน ​อีกท​ ั้ง​เครื่องมือ ​เทคโนโลยี ​กจ​็ ะ​ตอ งใ​ ชเ​ ฉพาะ​เครอื่ งมอื ​ราคาถกู ​เทคโนโลยี​ตำ�่ ​การ​
ลงทนุ ไ​ มค​ วร​จะม​ ี​การล​ งทนุ ​ระดบั ใ​ หญ ​แตใ​ น​ความเ​ปน จรงิ ​ปรชั ญา​เศรษฐกจิ พ​ อเพยี ง​ก็​ตอ งการ​คนแ​ ละค​ วามคิด​
ทก​ี่ าวหนา ค​ น​ที่​กลาค​ ดิ ​กลาท​ �ำ ​ใน​สิ่งใ​ หมๆ​ ​
เ​นอ่ื งจากก​ ารน�ำ ​ปรัชญาเ​ศรษฐกจิ พ​ อเพยี งไ​ ป​ใชป​ ระโยชน​ในดาน​ตางๆ​ ​ไมม ส​ี ตู รสำ�เรจ็ ห​ รอื ​คูมอื ก​ าร​
ใชป​ รชั ญาเ​ศรษฐกจิ พ​ อเพียงส​ ำ�หรับ​ภารกจิ ​ดงั เชน ​วกิ ฤตโ​ ลก​รอน ​ผู​เกย่ี วของ​จงึ ​ตองศ​ กึ ษาท​ �ำ ความเ​ขา​ใจ ​แลว ก​็
พัฒนาแ​ นวทาง​หรือแ​ นวปฏบิ ตั ส​ิ ำ�หรับ​แตละ​ปญหา​ขน้ึ ​มา ​โดย​ยึดหลัก​ที​่ส�ำ คญั ด​ ังเชน ​
​-​ ​ การ​คดิ อ​ ยาง​เปน ระบบ ​อยา ง​เปน​กระบวนการท​ าง​วทิ ยาศาสตร
​ -​ ​หลักค​ ดิ ท​ ี​่ใช ​ตอง​เปน​หลักการป​ ฏิบัต​ิทเ​ี่ ปน ​สายกลาง ​ท่​ีใหค​ วาม​ส�ำ คัญข​ อง​ความส​ มดลุ ​พอดี ​ระหวาง​
ทกุ สิ่งท​ เี​่ ก่ียวของ ​ดงั เชน ​ระหวา งธ​ รรมชาตกิ​ บั ม​ นษุ ย
-​​ ​ ขอ มลู ​ทใ​่ี ช  จ​ ะ​ตอ งเ​ปน ข​ อ มลู จ​ รงิ ท​ เ่ี กดิ ​จากก​ ารศ​ กึ ษา ก​ ารว​ จิ ยั ห​ รอื ​การ​ลงสนาม​ให​ไ ด​ข อ มลู ท​ ​เ่ี ปน จรงิ
-​​ ​ การส​ รางภ​ มู ิต​ า นทาน​ตอค​ วาม​เปลีย่ น​แปลง​ท​จี่ ะเ​กิดข้นึ
​-​ ​ การย​ ดึ หลัก​ของ​ความ​ถกู ตอ ง ​คุณธรรม ​จรยิ ธรรม ​จรรยาบรรณ ​ใน​ทุกข​ ั้นตอนข​ องก​ ารด​ �ำ เนินงาน​
ตาม​ปรัชญาเ​ศรษฐกิจ​พอเพียง ​ซึ่งเ​ปน​กระบวนการส​ ำ�คัญข​ อง​การ​สราง​ภูมิ​ตานทาน​ตอผ​ ลก​ ระทบ​และ​ความ​
เปล่ยี นแ​ ปลง​ทก่​ี ำ�ลงั เ​กดิ ขึน้ ​หรือ​ท​จ่ี ะเ​กิดขนึ้
​ เ​หลานเี้​ปน​หลักการใ​ หญๆ ​ ซ​ ง่ึ ผ​ ู​ท​ร่ี ับผิดชอบห​ รอื ​เก่ียวขอ ง​หรอื ​คิด​จะท​ ำ� ​โครงการ​หรือ​กจิ กรรม​ในร​ ะดับ​
คอ นขาง​ใหญ  ​จะต​ อ ง​คำ�นงึ ถ​ ึง ​และ​สามารถจ​ ะ​นำ�​ปรัชญาน​ ​้ีไปใ​ ชไดท​ ันที ​และ​มีผ​ ​ูทไ​่ี ด​ใ ชล​ วนป​ ระสบ​ความ​สำ�เร็จ​
สูงสุดท​ ี​่มนษุ ยพ​ ึงจ​ ะ​มี ค​ ือ ค​ วาม​สุข​ทยี่​ ง่ั ยนื
​ ​แลว ​เรื่องข​ องก​ ารแ​ ขง ขนั ​ชงิ ​ไหวช​ งิ พ​ ริบ ​การว​ าง​แผน​ยทุ ธศาสตรแ​ ละ​โลจสิ ติกส( ​การ​จดั ​ซอ้ื จ​ ัดหา ​การ​
จัดสง ​การ​บ�ำ รงุ ​รักษาอ​ ุปกรณ ​และ​การร​ ักษาพ​ ยาบาล​บคุ ลากร ​)​ ใ​ น​การ​บรหิ าร​จดั การร​ ะบบ ​หรอื ​โครงการใ​ หญๆ​ ​
การใ​ ชจ​ ติ วิทยาม​ วลชน ก​ ารใ​ ชเ​ทคโนโลย​กี า วหนา ก​ ารก​ �ำ หนดแ​ ผน​หรือ​ตนเ​อง​ให​เ ปน “​ ​ฝายรกุ ”​ ม​ ใ​ิ ช  “​ ฝ​ ายต​ ้งั ร​ ับ”​ ​
ละ ​ปรชั ญาเ​ศรษฐกิจพ​ อเพยี งป​ ฏเิ สธ​หรือไ​ ม? ​

​ ​ค�ำ ​ตอบ​คือ ​ปฏเิ สธ ​ถาใ​ ช​อยาง​ไมถกู ตอง ​อยา ง​หลีกเลี่ยงก​ ฎหมาย ​อยา ง​ผดิ ​คุณธรรม-​จริยธรรม-​และ​

จรรยาบรรณ ​อยาง​ไมซือ่ ตรง​ตอ หนาท​ ​่ีและค​ วาม​รับผดิ ชอบ ​อยา งม​ เ​ี จตนา​เพ่ือ​ผล​ประโยชน​ทไ่ี​ ม​ส ุจรติ ข​ องต​ นเ​อง ​
และพ​ วกพอ ง ​แตจ​ ะ​ตองร​ ูจ กั แ​ ละใ​ ช​อยา ง​รูเทาทัน ​ปกปอ ง ​และ​รกั ษาผ​ ล​ประโยชนข​ อง​สวนรวม ​อยา ง​มี​ความคดิ ​
กาวหนา​ในเ​ชิงส​ รางสรรค
​ ส�ำ หรับ​การแ​ กปญ หา ​หรือก​ ารเ​ตรียม​เผชญิ กับป​ ญหา​จากว​ ิกฤตโ​ ลกร​ อน ​มปี​ ระเดน็ ​และเ​รอื่ งราว​ท้งั เ​กา ​
และ​ใหม  ​ดังเชน ​เรื่อง​ของ​มาตรการท​ ี​่ถกู ก​ �ำ หนดข​ น้ึ ​มา ​เพอ่ื ​เผชญิ กับ​ภาวะโ​ ลกร​ อน ​เพอื่ ​ใหป​ ระเทศ​ท​ี่พัฒนา​แลว ​
และท​ ​ก่ี �ำ ลงั พ​ ฒั นา ​(ด​ ังเชน ป​ ระเทศไ​ ทย)​ ไ​ ดด​ ำ�รงอ​ ยรู วม​กนั ​พ่ึงพงิ ​และ​เอือ้ อาทร​ตอ ​กัน ​อยา งเ​หมาะสม ​ดังเชน ​
เรื่อง ​คารบ อนเ​ครดิต ​ที่​เปน เร่อื งค​ อ นขาง​ใหม​ของ​ประเทศ​ไทย ​แต​ก็เ​ปนท​ ัง้ ​“โ​ อกาส”​ แ​ ละ ​“ป​ ญหา”​ ท​ ี​่ประเทศ​

​หนงั สอื เรียน​สาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวติ รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั มธั ยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​ 31

ไทย​ตองเ​ผชิญ ​ซง่ึ ก​ ข็​ นึ้ ​อยก​ู ับ​คน​ไทย​เราเ​อง​วา ​จะต​ อง​เตรยี มตัว​กนั ​อยางไร ​เพื่อ​ใหส​ ามารถ​เปน ​“ท​ ีพ่ ึ่ง”​ ข​ องโลก​
หรอื ​ประเทศ​อนื่ แ​ ทนท​ ่​ีจะเ​ปน “​ ป​ ญหา”​ ท​ เี่ กดิ จ​ าก​ความ​ไมใ​ ส​ใจ ห​ รอื ​ความ​ใสใ​ จ แ​ ต​เพอ่ื ​จะ​กอบโกยผ​ ล​ประโยชน​
เทา น​ ัน้
​ ​เรอ่ื ง​ของป​ รชั ญา​เศรษฐกจิ พ​ อเพียงก​ บั ​วกิ ฤต​โลก​รอ น ​จงึ ​มโ​ี จทย ​ม​เี ปา หมาย​มากมาย ​ที่​ทา ทาย ​เชญิ ชวน​
ให​ผคู น​และป​ ระเทศ ​ที่​ตอ งการม​ ​ชี ีวิต​สรา งสรรค​และม​ ค​ี วาม​สขุ ​อยาง​ยั่งยนื ไ​ ด​น�ำ ไป​ใช ​โดย​ใชป​ ญญา​เปน​ตัวน�ำ ​
กำ�กบั ​ดวยส​ ติ แ​ ละ​ควบคมุ ​ดว ยค​ ุณธรรมก​ ับจ​ รยิ ธรรม
​ ป​ รัชญา​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียงนี้ ​ถูก​ใชเ​ปนก​ รอบแ​ นวคิด​และ​ทิศทางก​ าร​พัฒนาร​ ะบบ​เศรษฐกิจมห​ ​ภาค​
ของไ​ ทย ​ซ่งึ บ​ รรจ​ุอยใู​ น​แผนพ​ ฒั นาเ​ศรษฐกจิ แ​ ละส​ ังคมแ​ หง ชาต ิ ​ฉบบั ​ที ่ ​1​0​ (​​ พ​ .​ศ.​ 2​ ​55​ 0​ ​ –​ ​ 2​ 5​ 5​ 4​ ​ )​​ เ​พอ่ื ​มงุ สกู​ าร​
พฒั นาท​ ส่ี​ มดุลย​ งิ่ ข้ึน ​และม​ ​ีภมู ​ิคมุ ก​ ัน ​เพ่ือ​ความ​อยู​ดี​มส​ี ขุ ​มุง สส​ู ังคมท​ ี่​มค​ี วาม​สขุ อ​ ยางย​ ่ังยนื ​ดว ย​หลกั การด​ งั กลาว
แผนพ​ ฒั นาฯ ฉ​ บับ​ที ่1​ ​0​ น​ จี้​ ะ​เนน เ​ร่อื ง​ตัวเลข​การเ​จรญิ ​เตบิ โต​ทางเ​ศรษฐกิจ แ​ ต​ยัง​ให​ความส​ ำ�คัญตอ​ระบบ​เศรษฐกจิ ​
แบบ​ทวล​ิ กั ษณ​หรือร​ ะบบ​เศรษฐกิจ ​ท​ีม่ ​ีความ​แตกตา งก​ ันร​ ะหวา ง​เศรษฐกิจ​ชมุ ชนเมืองแ​ ละช​ นบท ​แนวป​ รชั ญา​
เศรษฐกจิ ​พอเพียง​ยงั ​ถูก​บรรจ​ใุ น​รัฐธรรมนูญข​ องไ​ ทย ​เชน ​รฐั ธรรมนูญ​แหง ​ราชอาณาจกั ร​ไทย ​พทุ ธศกั ราช ​2​5​50​
ใ​ นส​ ว นท​ ่ี ​3​ ​แนวนโยบาย​ดานก​ ารบ​ ริหาร​ราชการ​แผนดิน ​มาตรา ​7​8​(​1)​​ ​บรหิ าร​ราชการ​แผนดิน​ใหเ ปนไปเ​พื่อ​
การ​พัฒนา​สงั คม ​เศรษฐกิจ ​และ​ความ​ม่นั คง​ของป​ ระเทศอ​ ยาง​ยงั่ ยนื ​โดย​ตองส​ ง เสรมิ ก​ าร​ด�ำ เนินการต​ ามป​ รัชญา​
เศรษฐกิจ​พอเพียง แ​ ละค​ �ำ นึงถ​ ึง​ผล​ประโยชนข​ องป​ ระเทศชาติ​ในภ​ าพรวม​เปนสำ�คัญ
​ น​ ายสรุ ​เกียรติ ​เสถียร​ไทย ​ในฐ​ านะร​ ัฐมนตร​ีกระทรวง​การต​ า งประเทศไ​ ด​กลาวเ​มือ่ ว​ นั ​ท่ี ​24​ ​ พ​ ฤศจิกายน ​
พ.​ศ.​ ​2​5​4​7​ ​ใน​การป​ ระชมุ ​สุดยอด ​T​h​e​ ​F​ra​ ​nc​ ​o​p​ho​ ​n​ic​ ​ ​Ou​ ​ag​ ​ad​ ​o​u​go​ u​ ​ ​คร้งั ท​ ่ ี ​1​0​ ​ที่ ​B​u​rk​ i​n​ ​a​ ​Fa​ s​​o​ ​วา ป​ ระเทศ​
ไทย​ไดย​ ึด​แนวทางเ​ศรษฐกิจพ​ อเพยี ง ​ควบคู​กับ ​“​การ​พัฒนาแ​ บบ​ยั่งยนื ”​ ​ในก​ าร​พิจารณา​ประเทศ​ทั้ง​ทาง​ดา น
​การ​เกษตรกรรม ​เศรษฐกจิ แ​ ละก​ ารแ​ ขงขัน​ซง่ึ ​เปน การส​ อดคลอ งกับ​แนวทาง​ของ​นานาชาตใิ​ นป​ ระชาคม​โลก
​ การ​ประยุกต​นำ�​หลักป​ รัชญาเ​พื่อน​ ำ�​พัฒนา​ประเทศใ​ นต​ างประเทศน​ ั้น ​ประเทศไ​ ทยไ​ ดเ​ปนศ​ ูนยกลาง​
การ​แลกเปลย่ี นผ​ าน​ทาง​ส�ำ นักงานค​ วาม​รว มมอื ​เพอ่ื ​การ​พัฒนา​ระหวา ง​ประเทศ(ส​ ​พร.​)​ ​โดย ​สพ​ ร.​ ​มหี นา ​ท่ี ​
คอย​ประสานงานร​ บั ค​ วาม​ชวยเหลือ​ทาง​วิชาการ​ดา น​ตา งๆ​ ​จาก​ตางประเทศม​ าสภ​ู าครฐั ​แลว​ถายทอด​ตอ ไป​ยงั ​
ภาค​ประชาชน ​และย​ งั ​สงผา น​ความรู​ท่มี​ ไ​ี ป​ยงั ป​ ระเทศก​ ำ�ลงั พ​ ฒั นาอ​ น่ื ๆ​ เ​ร่อื ง​ปรัชญา​เศรษฐกิจพ​ อเพยี ง​นัน้ ​สพ​ ร.​ ​
ถายทอด​มาไ​ มต​ ำ�่ กวา ​5​ ​ป  ​ประสานกบั ​ส�ำ นักงานค​ ณะกรรมการ​พเิ ศษ​เพือ่ ​ประสานงานโ​ ครงการ​อนั เ​น่ือง​มาจาก​
พระร​ าชด​ ำ�ร ิ ​(​กปร.​)​ แ​ ละค​ ณะอ​ นุกรรมการข​ ับ​เคลื่อน​เศรษฐกจิ พ​ อเพยี ง ​ซงึ่ ต​ า งชาตก​ิ ็ส​ นใ​ จเ​ร่ือง​เศรษฐกจิ ​พอเพียง ​
เพราะพ​ ิสจู นแ​ ลวว​ า​เปน​ส่งิ ​ท​ี่ดี​และม​ ีป​ ระโยชน ​ซ่ึงแ​ ตล ะ​ประเทศ​มีค​ วาม​ตอ งการ​ประยุกตใ​ ชป​ รชั ญา​เศรษฐกิจ​
พอเพยี งไ​ ม​เหมือนก​ นั ​ขน้ึ ​อยูก​ บั ว​ ถิ ​ีชวี ิต ​สภาพภ​ มู ศิ าสตร ​ฯลฯ ​เชน ​พมา ​ศรีลงั กา ​เลโซโท ​ซูดาน ​อัฟ​หาน​สิ ถาน ​
บังกลาเทศ ​ภฎู าน ​จนี ​จบิ ​ดู ี ​โคลัมเบีย ​อยี ิปต  ​เอธโิ อเปย ​แกมเบยี ​อินโด​นิเซยี ​เคนยา ​เกาหล​ใี ต  ​มาดากัสการ
มัลดฟี ส  ​ปาปวนวิ กนิ ี ​แทนซาเนีย ​เวยี ดนาม ​ฯลฯ ​โดย​ได​ใ หป​ ระเทศ​เหลาน้ไ​ี ด​มาด​ ูงาน ​ในห​ ลายร​ ะดับ ​ทั้ง​เจาหนา ​
ท่​ปี ฏิบัต​งิ าน เ​จาหนาท​ ​ฝ่ี า ย​นโยบาย จ​ นถ​ ึง​ระดบั ​ปลดั ​กระทรวง ​รฐั มนตรี​กระทรวงต​ างๆ[​1​4​​]​
​ นอกจากน​ ้นั อด​ิศกั ด ิ์ ​ภาณุพ​ งศ ​เอกอคั รราชทูตไ​ ทย​ประจ�ำ ​กรงุ ​เวียนนา ​ประเทศ​ออสเตรยี ​ไดก​ ลาว​วา
ตา งชาต​สิ น​ใจเ​รอ่ื งเ​ศรษฐกจิ ​พอเพยี ง[​1​​4​]​ ​เนอ่ื งจาก​มาจากพ​ ระ​ราช​ด�ำ ร​ใิ นพ​ ระบาทส​ มเดจ็ พ​ ระเจา ​อยห​ู วั ​ทท​่ี รง​หว งใ​ ย​
ราษฎร​ของ​พระองค  ​และอ​ ยาก​รวู าท​ �ำ ไม​รฐั บาลไ​ ทยถ​ งึ ไ​ ดน​ �ำ มา​เปนน​ โยบาย ​สวนป​ ระเทศท​ พ่ี​ ัฒนาแ​ ลว กต​็ อ งการ​
ศกึ ษาพ​ จิ ารณา​เพ่อื ​น�ำ ไป​ชว ยเหลอื ​ประเทศ​อื่น

32 หนังสือเรยี น​สาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั มัธยมศกึ ษาต​ อน​ปลาย (ทช 31001)​

1​ ​3​ น​ ัก​คดิ ร​ ะดับโลก​เห็นดวยก​ บั แ​ นวทางเ​ศรษฐกิจพ​ อเพียง ​และ​มกี​ ารน​ �ำ เสนอ​บทความ ​บทส​ ัมภาษณ ​เปนการ​ย่นื
ข​ อเสนอ​แนวคดิ เ​ศรษฐกจิ ​พอเพยี ง​ให​แกโ​ ลก ​เชน ​ศ.​ดร.​วลู ฟกัง ​ซคั ส ​นัก​วชิ าการด​ า น​สิง่ แ​ วดลอม​คนส​ ำ�คญั ข​ อง​
ประเทศ​เยอรมนี ส​ นใ​ จ​การป​ ระยุกตใ​ ช​หลกั ป​ รชั ญาเ​ศรษฐกิจพ​ อเพยี ง​อยา ง​มาก แ​ ละ​มองวาน​ า ​จะเ​ปน ​อีกท​ างเลอื ก
ห​ นง่ึ ​ส�ำ หรบั ท​ กุ ​ชาตใ​ิ น​เวลาน ้ี ​ทง้ั ​มแ​ี นวคดิ ​ผลกั ดนั เ​ศรษฐกจิ ​พอเพยี งใ​ หเ​ ปน ท​ ​ร่ี จู กั ใ​ นเ​ยอรมน,ี ​ ​ศ.​ ​ดร.​อ​มาต​ยา ​เซน​
ศาสตราจารย​ชาว​อินเดยี ​เจา ข​ องรางวลั โ​ นเบลส​ าขาเ​ศรษฐศาสตรป​  ​1​9​98​ ​ ​มองวา ​ปรชั ญา​เศรษฐกิจ​พอเพยี ง​
เปนการ​ใช​ส่งิ ต​ า งๆ​ ท​ ี​่จำ�​เปนตอ ​การด​ ำ�รงชพี ​และ​ใชโ​ อกาสใ​ ห​พอเพยี ง​กบั ช​ วี ติ ​ท​ดี่ ี ​ซึ่งไ​ มไดห​ มาย​ถงึ ค​ วามไ​ มต​ อ ง
การ ​แต​ต อ งร​ จู กั ใ​ ชชีวติ ​ให​ดพี​ อ ​อยา ใ​ ห​ความ​สำ�คญั กบั เ​รื่องข​ อง​รายได​และค​ วาม​ร�ำ่ รวย ​แต​ใ หม​ อง​ท​ี่คณุ คา ​ของ​
ชีวิตม​ นษุ ย,​ ​นายจ​ ิก​มี ​ทนิ เลย  ​นายกรฐั มนตร​แี หง ​ประเทศ​ภฎู าน ​ให​ทรรศนะ​วา ​หากป​ ระเทศ​ไทย​ก�ำ หนดเ​รอื่ ง​
เศรษฐกจิ พ​ อเพยี ง​ใหเ​ ปน​วาระ​ระดับชาต ิ ​และ​ด�ำ เนนิ ​ตามแ​ นวท​ างนอี้​ ยางจ​ ริงจงั ​“ผ​ มว​ าป​ ระเทศ​ไทยส​ ามารถ​
สราง​โลกใ​ บใ​ หม​จาก​หลักป​ รชั ญาเ​ศรษฐกิจพ​ อเพยี ง ​สราง​ชวี ิตท​ ย่​ี ง่ั ยนื ​และ​สุดทายจ​ ะ​ไมห ยดุ ​เพยี งแ​ คใ​ นประเทศ
แตจ​ ะ​เปน ห​ ลกั การแ​ ละ​แนวปฏบิ ัตข​ิ องโลก ซ​ งึ่ ​หาก​ทำ�ไดส​ �ำ เรจ็ ​ไทย​ก​็คือ​ผูน ำ�”​ [​​15​​]​
​ ปรชั ญา​เศรษฐกิจพ​ อ​เพยี งน ี้ ​ไดร บั ​การเ​ชิดช​สู งู สุดจ​ าก​องคการ​สหประชาชาต(ิ U​ N​ ​)​ โ​ ดย​นายโ​ คฟ ​อนั นนั
ใ​ น​ฐานะ​เลขาธกิ ารอ​ งคการ​สหประชาชาติ ​ไดท​ ลู เกลาฯ​ถวายร​ างวัล ​T​h​e​ ​H​u​ma​ ​n​ ​De​ v​ e​ l​​o​pm​ ​en​ ​t​ ​li​​fe​ ​ti​m​ e​ ​
A​c​h​ie​ v​ ​e​me​ n​ t​​ A​ w​ ​a​rd​ ​ แ​ กพ​ ระบาทส​ มเด็จ​พระเจา อ​ ยู​หวั ​เม่ือว​ ัน​ที ่ ​26​ ​ พ​ ฤษภาคม ​25​ 4​ 9​ ​ แ​ ละไ​ ด​มี​ปาฐกถา​ถงึ ​ปรัชญา​
เศรษฐกิจ​พอเพยี ง ​วา เ​ปน​ปรชั ญา​ท​มี่ ป​ี ระโยชน​ตอป​ ระเทศ​ไทย​และน​ านาประเทศ[6​]​ ​ ​และ​สามารถ​เริม่ ไ​ ด​จากก​ าร​
สราง​ภมู ​ิคุม​กนั ​ใน​ตนเ​อง ​สู​หมูบ าน ​และ​สู​เ ศรษฐกิจ​ใน​วงกวางข​ ้ึน​ในท​ สี่ ดุ ​นาย ​Ha​ ​ka​ n​ ​ B​ ​j​o​r​km​ ​a​n ​​รกั ษาการ
ผ​ ​ูอำ�นวยการ ​UN​ ​D​P​ ใ​ นประเทศไ​ ทย​กลา วเ​ชดิ ชป​ู รัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพยี ง ​และ ​UN​ D​ P​ ​ น​ ั้นต​ ระหนักถ​ ึง​วสิ ัยทัศน​
และแ​ นวคิด​ใน​การพ​ ฒั นาข​ องพ​ ระบาทส​ มเดจ็ ​พระเจา อ​ ย​หู ัวฯ[​1​6]​ ​ ​โดย​ท​ี่องคการ​สหประชาชาต​ิได​ส นบั สนุนใ​ ห​
ประเทศ​ตา งๆ​ ท​ เี่​ปนสมาชกิ ​1​66​ ​ ป​ ระเทศ​ยดึ เ​ปน แ​ นวทางส​ ​กู าร​พฒั นาป​ ระเทศ​แบบย​ ัง่ ยนื [7​]​​
​ อยา งไรก​ ็ตาม ศ​ .​ ด​ ร.เ​ควิน ​ฮิววิส​ นั ​อาจารยป​ ระจำ�​มหาวทิ ยาลยั ​นอรธ ​แคโรไลนา ​ทแ​ี่ ซพ​เพล​ฮิลล ​ได​
วจิ ารณ​รายงานข​ อง​องคการส​ หประชาชาตโ​ิ ดยส​ ำ�นักงานโ​ ครงการ​พฒั นา​แหง ​สหประชาชาต ิ ​(U​ ​N​DP​ ​)​ ​ทีย​่ กยอง​
ปรชั ญา​เศรษฐกจิ ​พอเพยี ง[1​7​]​ว​ า ​รายงานฉ​ บับด​ ังกลา ว ​ไมไ ดม​ เี​นื้อหา​สนบั สนนุ ว​ า ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​“​ทางเลอื ก​
ที่จ​ �ำ เปน​มาก​สำ�หรบั ​โลกท​ ่ี​กำ�ลังด​ �ำ เนนิ ไ​ ป​ในเ​สนทางท​ ไ​ี่ มย​ งั่ ยืนอ​ ยใ​ู น​ขณะน”้ี ​ (​​ น​ .​ V​ ​ .​​ ใ​ นร​ ายงาน ​UN​ D​ ​P​ )​​ โ​ ดย​
เน้อื หาแ​ ทบท​ ัง้ หมดเ​ปนการเ​ทิดพ​ ระเ​กียรต ิ ​และเ​ปน ​เพยี ง​เคร่อื งมอื ​ใน​การโ​ ฆษณา​ชวนเช่ือภาย​ในประเทศ​เทา น​ ้นั ​
(​1​8)​​ ​ ส​ วนHa​ k​ ​a​n​ B​ j​​or​k​ m​ ​a​n​ ร​ กั ษาการผ​ ​อู ำ�นวยการ ​“​ U​ ​ND​ ​P​”​ ต​ อ งการ​ทีจ​่ ะท​ ำ�​ใหเ​ กดิ ​การอ​ ภิปราย​พิจารณา​เรื่อง​น ้ี​
แต​ก าร​อภปิ ราย​ดงั กลา วน​ น้ั เ​ปน ไปไ​ มไ ด  เ​พราะอ​ าจ​สมุ เ​สย่ี ง​ตอ ​การ​หมน่ิ ​พระบ​ รมเ​ดชานภุ าพ ​ ซง่ึ ม​ ​โี ทษ​ถงึ จ​ �ำ คกุ (1​ 0​ ​)​
​ เ​มอ่ื ​ปลาย​เดือนพ​ ฤษภาคม ​พ.ศ​ .​ 2​ ​5​4​9​ ​ น​ ายโ​ คฟ  ​อันนนั ​เลขาธกิ ารส​ หประชาชาต​ิไดเ​ขา เฝา ​ทลู เ​กลา ​ฯ ​
ถวายร​ างวลั ​Hu​ m​ ​an​ ​ ​D​ev​ ​e​l​o​pm​ ​en​ t​​ ​L​i​f​e​ti​​me​ ​ ​A​c​h​i​e​v​e​me​ ​nt​​ ​Aw​ ​a​rd​ ​ ​ ​หมายความวา​พระเจา​อย​ูหัว​สละ​ความ​สขุ ​
สว นพระองค ​และท​ ุมเท​พระวรก​ าย ​ในก​ ารพ​ ัฒนา​คนไ​ ทยใ​ นช​ วง ​6​0​ ​ป ​จนเ​ปน ​ทป​ี่ ระจกั ษ​ใน​ความส​ �ำ เร็จ ​ของ​
พระร​ าช​กรณียกจิ พ​ ระบ​ รมร​ าโชวาท แ​ ละเ​ปน​แบบอยาง​ทัว่ โลก​ได ค​ ำ�​กราบบ​ งั คมท​ ูล​ของ​นาย​โคฟ บ​ งบอกใ​ ห​เหน็
เ​ขา​ศึกษาเ​รอ่ื งป​ รัชญา​ของ​เศรษฐกิจพ​ อเพยี ง​อยา งล​ ะเอยี ด ​และ​รบั ปาก​วา ​จะน​ �ำ ไป​เผย​แพร​ทัว่ โลก ​รวมท​ ้ัง​ประมุข​
หรือ​ผูแ​ ทน​ของ​ประเทศ​ตา ง ​ๆ​ ท​ ​ี่ได​ม า​เขาเฝา ​และข​ อ​อัญเชญิ ​ไป​ใช​ในประเทศ​ของเ​ขา ​เพราะ​เห็นวา​เปน​แนวทาง​
ท​่ีดี

ห​ นงั สือเรียนส​ าระทักษะการดำ�เนนิ ชีวติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับมธั ยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​ 33

​ นอกจาก ​U​ni​​t​e​d​ ​Na​ ​t​io​ ​n​ ​De​ ​v​el​​op​ ​m​e​n​t​ ​P​r​o​g​r​am​ ​ ​(​ ​UN​ ​DP​ ​ ​)​ ​เปน​องคก รห​ นงึ่ ภายใ​ ตส​ หประชาชาต​ิ
ท​ีด่ แู​ ล​เกีย่ วกับ​การพ​ ฒั นา ​ดา นห​ น่ึงท​ ่ีเ​ขา​ตองด​ ​ูแล ​คือ​การ​พฒั นาค​ น ​มีหนา ท​ จ​ี่ ดั ทำ�​รายงาน​ประจำ�ป ​โดย​ใน​ปห นา​
จะเ​ตรียม​จัดทำ�​เร่ืองก​ ารพ​ ฒั นาค​ นข​ องโลก ​และ​คนใ​ น​แตล ะ​ประเทศ ​(​ C​ ​ou​ n​ ​t​ry​ ​ r​e​ p​ o​ ​rt​​ แ​ ละ ​G​l​o​ba​ ​l​ r​e​ p​ o​ r​t​​ )​​ โ​ ดย​
ใน​สว นข​ องป​ ระเทศไ​ ทย​จะน​ �ำ ​เร่ืองป​ รชั ญา​เศรษฐกิจพ​ อเพียง​เปน หลักใ​ นก​ ารร​ ายงานแ​ ละ​เผยแ​ พร  ​ทั้ง​ภาษาไทย​
และ​ภาษา​อังกฤษ​เพื่อ​ที่​ประเทศ​อ่ืน​จะ​ได​รับประโยชน​จาก​ของ​พระราชทาน​ท่ี​พระบาท​สมเด็จ​พระเจา​อยู​หัว​
พระราชทานใ​ ห​คนไ​ ทย​มากกวา ​30​ ​ ป​  ​แลว ​จะเ​หน็ ​ได​วา ข​ ณะน้​ีปรชั ญาฯ ​น ้ี ​ไดเ​ผย​แพร​โดย​องคก ร​ระดบั โลก​แลว ​
เรา​ในฐ​ านะพ​ สกนกิ รข​ องพ​ ระองคท​ า นน​ า​จะ​ภูมิใ​ จห​ ันมาศ​ ึกษาแ​ ละ​นำ�ไปป​ ฏิบตั ​ิอยางจ​ รงิ จัง ​ก​็จะบ​ งั เกิดผล​ดยี ิง่

กจิ กรรม

ใหน​ กั ศกึ ษาแ​ บงกลุม 5-10 คน วิเคราะห/ วจิ ารณ สถานการณ​ข อง​ประเทศ​ไทย วา​เกิด​เศรฐก​ จิ ต​ อกต​ ่ำ�​
เพราะเ​หตุใด​

ใบ​งานท​ ี่ 5


1. ให​ผเู รียนเ​ขียน​ค�ำ ขวัญ​เก่ียวกับ​เศรษฐกิจพ​ อเพยี ง
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.​................................................................................................................................................................................
2. ให​ผูเรียน​ประเมิน​สถานการณ​ของ​ครอบครัว​และ​วิเคราะห​วา​จะ​นำ�​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มา​
ใชไ ดอ​ ยา งไร
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

34 หนังสือเรยี นส​ าระทกั ษะการดำ�เนินชวี ติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั มัธยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​

ภาคผ​ นวก

​บรรณานุกรม


​ส�ำ นักบ​ ริหารงานก​ ารศ​ ึกษาน​ อกโ​ รงเรียน.ส​ ำ�นกั งานป​ ลดั ก​ ระทรวง​ศึกษาธกิ าร.​​แนวทาง​การจ​ ัดการ​ศึกษา
น​ อก​โรงเรียน ​ตามแ​ นวเ​ศรษฐกจิ พ​ อเพยี ง​ชมุ ชน โ​ดยก​ ระบวนการ​การศ​ กึ ษา​นอกโ​รงเรียน.​​กรงุ เทพฯ
:​​​​หา งหนุ สวนจ​ �ำ กัด ​โรงพิมพอ​ ักษรไ​ ทย (​น​ สพ.​​ฟา​เมืองไทย).​​25​ 5​ ​0​.​
ศ​ นู ยก​ าร​ศึกษาน​ อกโ​ รงเรยี นภ​ าคก​ ลาง.​ส�ำ นักบ​ ริหารงาน​การศ​ ึกษาน​ อก​โรงเรยี น.​​สำ�นักงานป​ ลดั ​กระทรวง
​ ​ศกึ ษาธกิ าร.​​กระทรวงศ​ ึกษาธกิ าร.ห​ ลกั สตู ร​เศรษฐกจิ ​พอเพียง​ส�ำ หรับเ​กษตรกร.​​ศนู ย​การ​ศกึ ษาน​ อก
​ ​ โรงเรียนภ​ าค​กลาง.​2​ ​54​ 9​ .​​(​​เอกสารอ​ ดั สำ�เนา)​
​ส�ำ นักงาน​คณะกรรมการพ​ ัฒนาการเ​ศรษฐกิจแ​ ละ​สังคมแ​ หง ชาต.ิ ​​คณะ​อนุกรรมการข​ ับ​เคลื่อน​เศรษฐกิจ
​ พอเพียง.​​นานา​คำ�​ถามเ​กยี่ วกบั ป​ รชั ญาข​ องเ​ศรษฐกจิ พ​ อเพยี ง.​​2​54​ 8​ .​​
ส​ ำ�นักงานค​ ณะกรรมการพ​ เิ ศษเ​พ่อื ​ประสานงาน​โครงการอ​ นั ​เนอื่ งม​ าจากพ​ ระ​ราชด​ �ำ ริ.​เ​ศรษฐกิจพ​ อเพยี ง.​
​ ​ 25​ 4​ 8​ .​​
จ​ ต​ุพร ​​สุขอ​ ินทร ​​และมง​ั ก​โรทยั .​“​ ​สรา งช​ ีวติ ​ใหมอ​ ยาง​พอเพียง​ดวย​บัญช​คี รัวเรือน”​​เดลิ​นิวส ห​ นา ​3​0​
​ ​ ฉบับ​วันจนั ทรท​ ่ี ​2​0​​เมษายน ​พ.​ศ.​​25​ 2​ ​2​
จ​ ินตนา ​​กจิ ​ม.ี ​​“เ​กษตร​พอเพยี ง แ​ หง ​บา น​ปาไผ” ​.​ม​ ติช​ น ​หนา ​1​0​​ฉ​ บบั ​วันเสาร​ท่ี 2​ ​8​ม​ นี าคม พ​ .​ศ.​2​ ​5​5​2.​​
​เอก​ รนิ ทร ​​สม่ี​ หาศาล ​และค​ ณะ,​​คุณธรรม​น�ำ ​ความร​สู .ู ​..​​.​.​.​เ​ศรษฐกิจ​พอเพยี ง ป​ .6​ ​​ก​ รงุ เทพฯ ​​:​​บริษัท
​ ​ อกั ษร​เจริญ​ทัศน อ​ าท ​จำ�กดั .​​มปพ.​














36 หนังสอื เรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดับมัธยมศกึ ษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​

รายช่อื ​ผ​ูเขารว มป​ ระชมุ ​ปฏบิ ตั กิ​ ารเ​ขยี น​ตน ฉบับ​แบบเรยี น
ตามห​ ลักสูตรก​ ารศ​ กึ ษาน​ อกร​ ะบบระดับก​ าร​ศกึ ษา​ขน้ั พ​ น้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2552

ระหวาง​วนั ท่ี 29 มถิ นุ ายน – 3 กรกฎาคม 2552
ณ โรงแรม​แกรนด เ​ดอวิลล กรงุ เทพมหานคร​

1. นางพ​ ร​ทพิ ย  กลา รบ ผู​อ�ำ นวยการก​ ลุม พ​ ัฒนาการ​ศกึ ษา​นอกโ​ รงเรียน
2. นางสาวพ​ มิ พา​พร อ​ ินทจกั ร  สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
3. นางสาวส​ ดุ ใจ บตุ ร​อากาศ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ
4. นางณัฐพ​ ร เชอ้ื ม​ หา​วัน สถาบนั ก​ าร​ศกึ ษา​และพ​ ฒั นา​ตอเนื่อง​สริ ินธร
5. นางว​ ารุณ ี เผือก​จนั ทึก สถาบนั ก​ าร​ศกึ ษาแ​ ละพ​ ฒั นา​ตอเนอ่ื ง​สิรินธร
6. นายท​ องจ​ ุล ขัน​ขาว สถาบนั กศน. ภาคก​ ลาง
7. นางอ​ มรรตั น ศรก​ี ระจบิ สถาบนั กศน. ภาคก​ ลาง
8. นางสาวสรุ​ ัตนา บรู ณะ​วทิ ย สถาบัน กศน. ภาคต​ ะวนั ออก
9. นางสาวสาส​ ินี สมทบ​เจรญิ ​กุล สถาบนั กศน. ภาค​ตะวันออก
10. นางสาวส​ มทรง นิล​นอย สถาบนั กศน. ภาคต​ ะวนั ออก
11. นายม​ ณเฑยี ร ละงู สถาบัน กศน. ภาคใต
12. นางสาวส​ ริ ​ลิ ักษณ  จนั ทรแ​ กว ศูนยว​ ทิ ยาศาสตร​เพ่อื ​การ​ศึกษา​นครศรธี รรมราช
13. นางสาวล​ กั ษณส​ ุวรรณ บุญ​ไชย ศนู ยว​ ทิ ยาศาสตร​เพือ่ ​การ​ศกึ ษาต​ รงั
14. นายเ​ดชพ​สษิ ฐ เตช​ ะบ​ ญุ ศนู ยว​ ิทยาศาสตร​เพือ่ ​การศ​ กึ ษา​ล�ำ ปาง
15. นางพ​ วงเ​พชร วิเศษช​ ู ศูนย​วทิ ยาศาสตร​เพ่ือ​การศ​ กึ ษาส​ ระแกว
16. นางอ​ าภรณ  เลศิ ​กจิ ค​ ุณา​นนท  ศูนยว​ ทิ ยาศาสตร​เพ่อื ​การ​ศึกษา​สระแกว
17. นางท​ ิพร​ ัตน  สมั ฤทธริ์​ ินทร  ศูนยฝ​ ก​และ​พฒั นาอ​ าชพี ​ราษฎร​ไทยบ​ รเิ วณ​ชายแดนชุมพร
18. วา ทร​่ี อ ยตรอี​ มั พร มากเ​พชร ผอู ำ�นวย​การศนู ย​ฝ กแ​ ละพ​ ัฒนา​อาชีพร​ าษฎร​ไทยบ​ รเิ วณ​
ชายแดนสระแกว
19. นายว​ ิเชียร ใจจ​ ิตร ศนู ยฝ​ ก ​และ​พัฒนา​อาชพี ​ราษฎร​ไทย​บรเิ วณ​ชายแดนสระแกว
20. นายก​ ิตติ​เกษม ใจช​ ื่น ศกึ ษา​นเิ ทศ
21. นางศ​ ิริ​พรรณ สายห​ งส ขาราชการ​บ�ำ นาญ
22. นางด​ ุษฎ ี ศรวี​ ัฒนา​โรทัย กลุมพ​ ัฒนาการ​ศึกษาน​ อกโ​ รงเรยี น
23. นางพ​ ร​ทพิ ย  เขม็ ​ทอง กลมุ พ​ ัฒนาการ​ศึกษา​นอกโ​ รงเรยี น
24. นางน​ นั ฐิณ ี ศร​ีธัญญา กลมุ พ​ ฒั นาการ​ศกึ ษา​นอกโ​ รงเรียน
25. นางร​ งุ อรณุ ไสย​โสภณ กลมุ พ​ ฒั นาการ​ศึกษา​นอก​โรงเรียน
26. นายว​ วิ ฒั นไ​ ชย จนั ทนส​ คุ นธ กลุม​พัฒนาการ​ศึกษาน​ อกโ​ รงเรียน
27. นางพ​ ฒั นส​ ดุ า สอน​ซอ่ื กลมุ พ​ ัฒนาการ​ศกึ ษา​นอก​โรงเรยี น
28. นางพ​ ชิ ญาภา ป​ต ิวรา กลมุ ​พัฒนาการ​ศกึ ษา​นอกโ​ รงเรยี น
29. นายส​ รุ พงษ ม่ันม​ ะโน กลมุ พ​ ฒั นาการ​ศึกษา​นอกโ​ รงเรียน
30. นายศภุ โ​ ชค ศรีรต​ั น​ศิลป กลุม​พฒั นาการศ​ ึกษา​นอก​โรงเรียน
31. นางร​ งุ ​ลาวณั ย  พไิ ล​วงค กลมุ พ​ ัฒนาการ​ศกึ ษาน​ อก​โรงเรยี น
32. นางสาวปย ​วดี คะเน​สม กลุม พ​ ฒั นาการ​ศกึ ษา​นอก​โรงเรียน
33. นางสาวเพช​ รนิ ทร  เหลอื งจ​ ติ ว​ ฒั นา กลมุ พ​ ฒั นาการ​ศึกษา​นอก​โรงเรยี น

ห​ นงั สือเรยี นส​ าระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั มธั ยมศึกษาต​ อน​ปลาย (ทช 31001)​ 37

รายชือ่ ผ​ เู​ขารวมป​ ระชมุ ป​ ฏบิ ัตก​ิ าร​บรรณาธิการส​ ื่อ​แบบเรียน
ตาม​หลักสูตร​การศ​ ึกษาน​ อก​ระบบ ระดบั ก​ ารศ​ ึกษาข​ ้ันพ​ ื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ระหวา งว​ นั ที่ 7 -10 กันยายน 2552
ณ โรงแรม​อทู อง​อินน จังหวัด​พระนครศ​ รอี​ ยธุ ยา

1. นาย​วมิ ล จ�ำ นงบ​ ตุ ร รอง​เลขาธกิ าร กศน.
2. นางพ​ รท​ พิ ย กลารบ ผ​ูอำ�นวยการก​ ลุมพ​ ฒั นาการศ​ ึกษา​นอกโ​ รงเรียน
ผอ​ู ำ�นวยการ​ศูนยว​ ิทยาศาสตรเ​พอื่ ​การศ​ กึ ษา​สมุทรสาคร
คณะ​บรรณาธกิ าร จันทรศ​ รี ผู​อ �ำ นวยการ​อุทยาน​วิทยาศาสตร พระ​จอมเกลา ณ ห​วา กอ
3. นาย​ประกิต จ.ประจวบครี ีขนั ธ
4. นายส​ งัด ประดิษฐส​ ุวรรณ ผูอ​ ำ�นวยการ​ศนู ยว​ ิทยาศาสตร​เพอื่ ​การ​ศึกษา​ตรงั
ผอ​ู �ำ นวยการศ​ ูนย​วิทยาศาสตร​เ พอื่ ​การศ​ กึ ษา​พระนคร​ศรี​อยุธยา
5. นาย​ชัยก​ จิ ​อนันตน​ ริ ัติศัย ผ​ูอ�ำ นวยการ ส�ำ นกั งาน กศน. อ.บางป​ ระกง
6. นายส​ ชุ าต​ ิ มาลาก​ รรณ  ศนู ย​ฝ ก ​และ​พฒั นาอ​ าชพี ​เกษตรกรรม​วดั ​ญาณ​สงั วรา​ราม
7. นาย​กญั จน​โชติ ส​หพ​ ฒั นส​ มบตั ิ วรมหาวหิ าร อนั ​เน่อื งม​ าจากพ​ ระ​ราช​ดำ�ริ
8. นางท​ ิพว​ รรณ สิทธ​ิรังสรรค ขา ราชการ​บำ�นาญ
ขา ราชการ​บำ�นาญ
9. นายท​ ว ี โอม​ าก ขาราชการบ​ ำ�นาญ
10. นางสาวสร​ุ ​ีพร เจรญิ นชิ ขาราชการบ​ �ำ นาญ
11. นาย​ไชโย มว ง​บญุ ม​ ี ขาราชการ​บ�ำ นาญ
12. นาย​อราม คมุ ท​ รพั ย  ศกึ ษาน​ ิเทศก
13. นายชุมพ​ ล หนูสง ศกึ ษาน​ ิเทศก
14. นางสาวส​ ุวรรณา ลอง​ประเสริฐ ศกึ ษาน​ เิ ทศก
15. นางม​ าลี ​รัชตน​ าวนิ โรงเรียนบ​ ดินทรเด​ชา
16. นางท​ องพ​ ิน ขันอาสา กลมุ ​พัฒนาการศ​ กึ ษา​นอกโ​ รงเรยี น
17. นางสป​ุ รารถนา ​ยุกตะน​ นั ทน  กลุม พ​ ัฒนาการศ​ ึกษา​นอกโ​ รงเรียน
18. นางสาวน​ ภาพ​ ร อมรเด​ชา​วฒั น กลมุ พ​ ัฒนาการศ​ ึกษาน​ อกโ​ รงเรียน
19. นางพ​ ร​ทิพย เขม็ ​ทอง กลมุ พ​ ฒั นาการ​ศกึ ษาน​ อก​โรงเรยี น
20. นางสาวเ​ยาวร​ ัตน ค�ำ ​ตรง กลุมพ​ ัฒนาการศ​ ึกษาน​ อกโ​ รงเรียน
21. นางพ​ ชิ ญาภา ป​ตวิ รา ศึกษา​นเิ ทศก
22. นางก​ นก​พรรณ สุวรรณ​พิทักษ ศนู ย​ฝก ​และ​พฒั นา​อาชพี ​ราษฎร​ไทยบรเิ วณ​ชายแดนส​ ระแกว
23. นางอ​ ัจฉราภ​ รณ  โ​ ควค​ ชาภรณ  ศนู ยฝ​ ก​และ​พัฒนาอ​ าชีพ​ราษฎรไ​ ทยบริเวณ​ชายแดน​สระแกว
24. นางสาวก​ ฤษณา โสภ ี ส�ำ นักงาน กศน. จ.นนทบรุ ี
25. นายว​ ิเชยี ร ใจ​จิตร สถาบนั กศน. ภาคก​ ลาง
26. นาย​เริง กองแ​ กว
27. นางสาวอ​ มรรตั น  ศรี​กระจบิ

38 หนังสอื เรยี น​สาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มัธยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​

27. นางสาวอ​ มรรัตน ศร​ีกระจบิ สถาบัน กศน. ภาคก​ ลาง
28. นางสาวพ​ มิ พาพ​ ร ​อินทจักร  สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
29. นางสาวสร​ุ ตั นา บรู ณะว​ ทิ ย  สถาบัน กศน. ภาคต​ ะวันออก
30. นางสาวสป​ุ รีดา แหลมหลกั สถาบนั กศน. ภาค​ตะวนั ออก
31. นางสาวส​ าลนิ ี สมทบ​เจรญิ ​กุล สถาบัน กศน. ภาคต​ ะวันออก
32. นางนวลพ​ รรณ ศาสตรเ​ วช ส�ำ นักงาน กศน. จ.นครปฐม
33. นางด​ ษุ ฎ ี ศรวี​ ัฒนา​โรทัย กลมุ ​พฒั นาการศ​ ึกษา​นอก​โรงเรยี น
34. นางร​ งุ อรณุ ไสย​โสภณ กลุมพ​ ัฒนาการศ​ ึกษา​นอก​โรงเรียน
35. นางน​ ันฐณิ ี ศรธี​ ญั ญา กลุมพ​ ฒั นาการศ​ ึกษาน​ อก​โรงเรียน
36. นางพ​ ัฒนส​ ุดา สอน​ซ่อื กลมุ พ​ ัฒนาการศ​ กึ ษา​นอกโ​ รงเรยี น
37. นายส​ รุ พงษ  ม่นั ม​ ะโน กลุม​พัฒนาการ​ศกึ ษา​นอก​โรงเรียน
38. นายศุภ​โชค ศรรี ตั​ นศ​ ลิ ป กลมุ พ​ ฒั นาการ​ศึกษา​นอกโ​ รงเรียน
39. นางสาวส​ ิรนิ ธร นาคค​ มุ ส�ำ นกั งาน กศน. จ.สมทุ รสาคร
40. นางสาวบ​ ​ีบ​ฮี ารา ส​ ะมัท ส�ำ นักงาน กศน. จ.สมุทรสาคร

เจา หนา ท่ี​จดั พิมพ​ต น ฉบบั สำ�นักงาน กศน. จ.นครปฐม
ส�ำ นกั งาน กศน. จ.นครปฐม
41. นางสาวศริ​ ินท​ พิ ย  สขุ ​ลอม กลมุ ​พฒั นาการศ​ กึ ษาน​ อก​โรงเรียน
42. นางสาวอ​ ัญชลพ​ี ร แกว​พิจติ ร กลมุ พ​ ัฒนาการ​ศกึ ษาน​ อกโ​ รงเรียน
43. นางร​ งุ ​ลาวณั ย  พิไล​วงค  กลมุ พ​ ฒั นาการศ​ ึกษา​นอก​โรงเรยี น
44. นางว​ ันว​ สิ าข  ทอง​เปรม กลุมพ​ ัฒนาการ​ศึกษา​นอก​โรงเรยี น
45. นางสาวเพช​ รนิ ทร  เหลอื ง​จติ ว​ ฒั นา
46. นางสาวก​ รว​ รรณ กววี​ งษ​พิพฒั น

​หนงั สอื เรียนส​ าระทักษะการด�ำ เนินชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มธั ยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​ 39

รายช่อื ​ผเ​ู ขารว ม​ประชมุ ​บรรณาธกิ ารส​ อื่ ห​ นงั สอื เรียน กศน.
ตาม​หลักสูตรก​ ารศ​ กึ ษานอกระบบ​ระดบั ก​ ารศ​ ึกษาข​ น้ั พ​ น้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ภาคเรียน​ที่ 1/2552
ระหวา ง​วันท่ ี 12 - 15 มกราคม 2553
ณ โรงแรม​อ​ูท องอนิ ทร จังหวัดพ​ ระนคร​ศรอ​ี ยธุ ยา

1. อภิชาต ิ จ​ีระวฒุ ิ เลขาธิการ กศน.
2. นาย​วมิ ล จำ�นงบ​ ตุ ร รอง​เลขาธิการ กศน.
3. นางพ​ ร​ทพิ ย  กลารบ ผู​อ�ำ นวยการ​กลุมพ​ ัฒนาการศ​ ึกษาน​ อก​โรงเรียน
4. ทองอย ู แกง ​ไทรฮ​ ะ ทป่​ี รึกษาด​ า น​การพัฒนาหลักสูตร กศน.
5. นายกญั จ​ โชต ิ สหพัฒธนสมบัติ ผูอ�ำ นวยก​ ารสำ�นกั ​งาน กศน. อ�ำ เภอ​บาง​ปะกง
6. นาย​ศักดิอ์​ ุดม วรรณทว ี ส�ำ นักง​ าน กศน. อ.โขง​เจยี ม
7. นางณ​ ฐั พร เชอ้ื ม​ หาวนั สถาบนั ก​ ารศ​ กึ ษา​และพ​ ฒั นาต​ อ​เน่ืองส​ ริ ​ินธร
8. นายธวัชช​ ยั ใจชาญส​ กุ ิจ สำ�นักง​ าน กศน.จ​ .สมุทร​สงคราม
9. นางอจั ฉรา ใจชาญ​สกุ ิจ ส�ำ นกั ​งาน กศน. จ.สมทุ รส​ งคราม​
10. นายว​ ิทยา แกว เ​วยี ง​เดช สำ�นกั ​งาน กศน. จ.ชัยน​ าท
11. นายเรงิ กอง​แกว สำ�นกั ​งาน กศน. จ.นนทบรุ ี
12. นางสาวบ​ บี ฮี ารา สะม​ ัท ส�ำ นกั ง​ าน กศน. จ.สมทุ รส​ งคราม
13. นางสาวส​ ริ ิน​ ธร นาค​คุม ส�ำ นัก​งาน กศน. จ.สมุทรส​ งคราม
14. นายอุชุ เช้ือ​บอ ​คา สำ�นักง​ าน กศน. อ.หลงั ส​ วน
15. นางสาวพ​ ัชร​ า ศิรพิ งษโ รจน ส�ำ นกั ​งาน กศน. จ.กระบ่ี
16. นาย​วทิ ยา บูรณะห​ ิรญั ส�ำ นักง​ าน กศน. จ.พังงา
17. นางภ​ าวนิ นั ท  สริ ​ิวัฒนาไ​ กรก​ ุล ส�ำ นักง​ าน กศน. จ.นครราชสีมา
18. นางสาวน​ วล​พรรณ ศาสตรเ​ วช สำ�นกั ง​ าน กศน. จ.นคร​ปฐม
19. นางสาวอ​ ญั ชลี​พร แกวพ​ จิ ติ ร สำ�นกั ง​ าน กศน. จ.นครป​ ฐม
20. นางศ​ ิรินทรทพิ ย สขุ ลอม สำ�นัก​งาน กศน. จ.นครป​ ฐม​
21. นางอมรรตั น ศรี​กระจิบ สถาบัน กศน. ภาคก​ ลาง
22. นางชยั ย​ นั ต มณส​ี ะอาด สถาบนั กศน.ภาคใ​ ต
23. นายส​ ฤษดิ์ชยั ศิรพิ ร สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
24. นางชอ ท​ ิพย ศริ พิ ร สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก
25. นายเรืองเ​วช แสงร​ ตั นา สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเ​ฉยี งเ​หนอื ​
26. นาย​พิชติ แสงล​ อย ผูอำ�นวย​การ สกั น​ กั งาน กศน. อ�ำ เภอ​นครชยั ศรี
27. นาย​วิเชยี ร ใจจิตร ศนู ยฝ​ ก แ​ ละพ​ ัฒนา​อาชพี ​ราษฎร​ไทย​บรเิ วณ​ชายแ​ ดนส​ ระแ​ กว
28. นางกฤษณา โสภ ี ศูนย​ฝก ​และพ​ ฒั นาอ​ าชพี ​ราษฎร​ไทยบ​ รเิ วณ​ชาย​แดนส​ ระแ​ กว
29. นางสาวส​ ภาพร​ บญุ ​มา ศนู ยฝ​ ก​และพ​ ัฒนาอ​ าชพี ​ราษฎร​ไทยบ​ ริเวณ​ชายแ​ ดน​สระ​แกว
30. นายเสกข​ ภทั ร ศรเี​มือง ศนู ย​ฝก​และพ​ ฒั นาอ​ าชพี ​ราษฎรไ​ ทย​บรเิ วณ​ชาย​แดนส​ ระแ​ กว

40 หนงั สอื เรียน​สาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั มธั ยมศกึ ษาต​ อน​ปลาย (ทช 31001)​

31. นางสาวว​ ิไล แยม ส​ าขา สถาบนั ก​ าร​ศึกษาทาง​ไกล​
32. นางสาวว​ าสนา โกลยี วัฒนา สถาบันก​ าร​ศกึ ษาท​ างไ​ กล
33. นางท​ องพิน ขนั อาสา ศกึ ษานิเทศก​ 
34. นางสาวส​ ภาพ​รรณ นอยก​ ำ�แหง ศกึ ษานิเทศน
35. นางอัชราภรณ  โควคชา​ภรณ ศึกษานิเทศน
36. นางสุปรารถนา ยกุ หะนันทน  สำ�นกั ​งานเ​ขต​พ้นื ท่ีก​ ารศ​ ึกษา กทม. เขต 2
37. นางเอ้อื มพร สุเมธาวฒั นะ ศูนยเทคโนโลยี​ทางการ​ศกึ ษา
38. นางสรญั ณอร พัฒนา​ไพศาล ผ​ อู �ำ นวย​การ ส�ำ นักงาน กศน. อำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ
39. นางสาวพ​ มิ พใ จ สทิ ธสิ รุ ศกั ด์ ิ ขาราชการช�ำ ​นา​ญ
40. นายทว ี โอมาก ขาราชการชำ�​นา​ญ
41. นางศ​ ิริพรรณ สายหงส​  ขาราชการช�ำ ​นา​ญ
42. นายช​ ุมพล หนสู​ ง ขา ราชการช�ำ ​นาญ​
43. นายไ​ ชโย มวงบ​ ุญ​ม ี ขา ราชการชำ�​นาญ​
44. นายอราม คุม​ทรัพย ขา ราชการช�ำ ​นาญ​
45. นางพฒั นส ดุ า สอน​ซอื่ ขาราชการช�ำ ​นาญ​
46. นายจำ�นง วนั ​วชิ ัย ขาราชการชำ�​นา​ญ
47. นางธ​ ัญญาวดี เหลา ​พาณิชย  ขา ราชการช�ำ ​นา​ญ
48. นายอุทัย หน​ูแดง ขา ราชการชำ�​นาญ​
49. นางนพรัตน  เวโรจน​เสรีว​ งษ กลุมพ​ ฒั นาการศ​ กึ ษานอกโ​ รงเรยี น
50. นางดษุ ฎ ี ศร​ีวฒั นา​โรทัย กลุมพ​ ัฒนาการ​ศกึ ษานอกโ​ รงเรยี น
51. นาวส​ าวเยาว​รัตน  คำ�ตรง กลุมพ​ ัฒนาการ​ศกึ ษานอก​โรงเรียน
52. นางพรท​ พิ ย เข็มทอง กลมุ ​พัฒนาการ​ศกึ ษานอก​โรงเรยี น
53. นางรงุ อ​ รุณ ไสย​โสภณ กลุมพ​ ัฒนาการ​ศึกษานอกโ​ รงเรยี น
54. นางสาวน​ ภา​พร อมรเ​ดชาวัฒน  กลมุ ​พัฒนาการ​ศึกษานอกโ​ รงเรียน
55. นายว​ ิวฒั น​ไ ชย จนั ทนส​ คุ นธ  กลุม​พัฒนาการศ​ กึ ษานอก​โรงเรยี น
56. นายส​ รุ พง​ ษ ม่นั ม​ ะโน กลมุ พ​ ัฒนาการ​ศึกษานอก​โรงเรยี น
57. นายศ​ ภุ โชค ศรี​รตั นศิลป กลุมพ​ ฒั นาการ​ศกึ ษานอก​โรงเรียน
58. นางพชิ ญาภา ปต ิวรา กลมุ ​พัฒนาการ​ศึกษานอก​โรงเรียน
59. นางสาวว​ รรณพร ปท มานนท กลมุ พ​ ฒั นาการศ​ ึกษานอก​โรงเรียน
60. นางรงุ ล​ าวัลย พิไล​วงศ กลมุ ​พฒั นาการศ​ ึกษานอกโ​ รงเรียน
61. นางสาวป​ ยวดี คะเน​สม กลมุ พ​ ฒั นาการ​ศกึ ษานอกโ​ รงเรยี น
62. นางสาวเ​พชรรินท​ ร  เหลือง​จติ วฒั นา กลุม​พฒั นาการศ​ ึกษานอกโ​ รงเรยี น
63. นางสาวก​ รวรรณ กวีว​ งษพ ิพัฒน  กลมุ พ​ ัฒนาการศ​ ึกษานอกโ​ รงเรียน
64. นางส​ าวช​ าลนิ ี ธรรมธิษา กลุม​พฒั นาการศ​ ึกษานอก​โรงเรียน
65. นางสางอ​ ลศิ รา บานช​ ี กลุมพ​ ัฒนาการ​ศึกษานอก​โรงเรียน​

​หนงั สือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมธั ยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​ 41

ท่ี​ปรกึ ษา จร​ี ะวฒุ ิ คณะ​ผูจัดท�ำ
จ�ำ นงบ​ ตุ ร
1. นายอภิชาติ บญุ เรอื ง เลขาธกิ าร กศน.
2. นาย​วมิ ล แกวไ​ ทร​ฮะ ​ รอง​เลขาธกิ าร กศน.
3. นายประเสริฐ อมิ่ ​สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
4. ดร.ทองอยู กลา รบ ทป่ี​ รึกษา​ดา น​การพฒั นาห​ ลักสตู ร กศน.
5. ดร.ชัย​ยศ ผูเช่ียวชาญ​เฉพาะ​ดานก​ ารพฒั​ นาหลกั สูตร
6. นางพ​ รท​ ิพย ผ​ูอำ�นวยการก​ ลมุ พ​ ัฒนาการ​ศึกษาน​ อก​โรงเรยี น
กลมุ พ​ ฒั นาการศ​ ึกษานอกโ​ รงเรียน
ผยู กรางแ​ ละเรยี บเรียง

1. นางพัฒนส ดุ า สอนซ​ อ่ื

คณะ​ผูบรรณาธิการคร้ังท​ ี่ 1
1. นางพฒั นส ดุ า สอนซ​ ่ือ ขา ราชการบำ�นาญ
2. นายอุชุ เชอื้ ​บอค​ า สำ�นกั ง​ าน กศน. อ.หลัง​สวน
3. นางสาวพ​ ชั ร​ า ศริ ิพงษาโรจน สำ�นัก​งาน กศน. จ.กระบี่
4. นายว​ ทิ ยา บรู ณะห​ ิรญั สำ�นกั ง​ าน กศน. จ.พงั งา

ผพู มิ พตนฉบับ คะเนส​ ม กลุมพ​ ฒั นาการ​ศึกษานอกโ​ รงเรียน
เหลอื ง​จิตวัฒนา กลุม​พฒั นาการศ​ กึ ษานอก​โรงเรยี น
1. นางสาวป​ ย วดี กว​วี งษ​พพิ ฒั น กลมุ พ​ ฒั นาการศ​ กึ ษานอกโ​ รงเรยี น
2. นางสาวเ​พชรนิ ทร ธรรมธษิ า กลุม​พัฒนาการศ​ กึ ษานอกโ​ รงเรียน
3. นางสาวก​ รวรรณ บานช ี กลุม ​พัฒนาการ​ศกึ ษานอก​โรงเรียน
4. นางสาวช​ าลินี
5. นางสาวอ​ ลศิ รา

คณะ​ท�ำ ​งาน จนั ทนสุคนธ
มน่ั ม​ ะโน
1. นาย​วิวัฒนไ​ ชย ศร​ีรัตนศลิ ป
2. นาย​สรุ พ​งษ  ปต วิ รา
3. นายศ​ ภุ โชค ปท มานนท
4. นางพชิ ญาภา เหลอื ง​จิตวัฒนา​
5. นางสาวว​ รรณพร
6. นางสาวเ​พชรินท​ ร

42 หนงั สอื เรียนส​ าระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มธั ยมศึกษาต​ อนป​ ลาย (ทช 31001)​


Click to View FlipBook Version