The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

orchor31001.pdfช่องทางการขยายอาชีพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaew kaew, 2021-03-18 05:19:49

orchor31001.pdfช่องทางการขยายอาชีพ

orchor31001.pdfช่องทางการขยายอาชีพ

51

3.1.1 ขน้ั ตอนดาํ เนนิ งาน การพฒั นาดนิ
1. เปาหมายการดําเนินงาน เพือ่ พัฒนาดินใหรวนซุยและมีโครงสรางเปนเม็ดดิน กอนกลมใหมาก

ขึ้นโดยลาํ ดับ อยา งตอ เนอ่ื ง
2. ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ งาน

3. รายละเอียดการดําเนินงาน

52

53

3.1.2 ข้ันตอนการจดั ทํารอ งปลกู
3.1.3 ขั้นตอนการจดั ทําระบบนํ้า
3.2 กจิ กรรมท่ี 2 การบํารุงรักษาพืช

เขียนในลักษณะนี้แลวนําไปทดลองใหกลุม ผูเรียนไดศึกษาและรวมกันหาขอ บกพรองและ
ปฏิบัติการพัฒนาใหสามารถใชสื่อความหมายไดตรงกัน ใชเปนเอกสารองคความรูสําหรับผูดําเนินงาน

54

บทท่ี 2
ชองทางการขยายอาชีพ

สาระสาํ คญั

การมองเห็นชองทางในการขยายอาชีพ

ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวงั

มีความรู ความเขาใจ และเจตคติทีด่ ีในงานอาชีพ สามารถมองเห็นความจําเปน ของชองทางการ

ประกอบอาชีพ ความเปนไปไดในการขยายอาชีพ และสามารถกําหนดวิธีการ ขัน้ ตอนการขยายอาชีพ

พรอมใหเหตผุ ลไดถกู ตอ งเหมาะสม

ขอบขา ยเน้อื หา ความจําเปนในการมองเห็นชองทางการประกอบอาชีพ
ความเปนไปไดในการขยายอาชีพ
เร่ืองที่ 1 การกําหนดวธิ ีการและข้ันตอนการขยายอาชีพพรอมใหเ หตผุ ล
เรืองท่ี 2
เร่อื งที่ 3

สือ่ การเรียนรู

- หนังสือเรยี น
ใบงาน

55

เร่ืองท่ี 1 : ความจาํ เปนในการมองเห็นชอ งทางการประกอบอาชีพ

การมองเห็นชองทางการประกอบอาชีพ

โอกาสและความสามารถทีจ่ ะนํามาประกอบอาชีพไดกอนผูอ ื่น เปนหัวใจสําคัญของการประกอบ
อาชีพ หากผูประกอบอาชีพตามที่ตลาดตองการและเปนอาชีพที่เหมาะสมกับสถานการณในขณะนั้น ยอมทําให
มีโอกาสประสบความสําเร็จ สามารถพัฒนาตนเองใหมองเห็นโอกาสในการประกอบอาชีพได คือ

1. ความชํานาญจากงานทีท่ ําในปจจุบัน จะเปนแหลงความรู ความคิด ทีจ่ ะชวยใหมองเห็นโอกาส
ในการประกอบอาชีพไดมาก เชน บางคนมีความชํานาญทางดานการทําอาหาร ตัดเย็บเสือ้ ผา ซอม

เครื่องใชไฟฟา ตอ ทอ นํา้ ประปา ชางไม ชางปูกระเบือ้ ง ชางทาสี ฯลฯ ซึง่ สามารถนําความชํานาญดังกลาวมา
พัฒนาและประกอบอาชีพขึน้ มาได บางคนเคยทํางานที่โรงงานตัดเย็บเสือ้ ผา เมื่อกลับมาภูมิลําเนาเดิมของ
ตนเอง ก็นําความรูความสามารถและความชํานาญมาใชเปนชองทางการประกอบอาชีพของตนเองได

2. ความชอบความสนใจสวนตัว เปนอีกทางหนึ่งทีช่ วยใหมองเห็นชองทางโอกาส ในการประกอบ
อาชีพ บางคนชอบประดิษฐดอกไม บางคนชอบวาดรูป ทําใหบุคคลเหลานี้ พัฒนางานที่ชอบ ซึง่ เปนงาน
อดเิ รกไดกลายเปน อาชพี หลัก ทํารายไดเปนอยางดี

3. การฟงความคิดเห็นจากแหลงตาง ๆ พูดคุยแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับบุคคล เปนแหลงความรู
และกอใหเกิดความคิดริเริม่ เปนอยางดี ในบางครัง้ เรามีความคิดแลว และไดพูดคุยกับบุคคลตาง ๆ จะชวยให
การวิเคราะหความคิดชัดเจนขึ้น ชวยใหมองไปขางหนาไดอยางรอบคอบกอนที่จะลงมือทํางานจริง

4. การศึกษาคนควาจากหนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ การดูวีดีทัศน ฟงวิทยุ ดูรายการโทรทัศน
จะชวยใหเกิดความรูและความคิดใหม ๆ

5. ขอมูล สถิติ รายงาน ขาวสารจากหนวยราชการและเอกชน รวมทัง้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศในการมองหาชองทางในการประกอบอาชีพ ผูท ี่จะมองหาอาชีพ พัฒนาอาชีพ ควรใหความสนใจ

ขอมูลตาง ๆ ในการติดตามเหตกุ ารณใ หท นั แลวนํามาพิจารณา ประกอบการตัดสินใจประกอบอาชีพ

56

เรอื่ งที่ 2 : ความเปน ไปไดข องการขยายอาชพี

การประเมนิ ความเปน ไปไดใ นการนาํ กรอบแนวคดิ ไปใชใ นการขยายอาชพี ไดจ รงิ

จากแผนภูมิดังกลาวแสดงใหเห็นกรอบแนวคิดในการประเมินความเปนไปได มีองคประกอบ
รว มกนั 6 องคประกอบ ในแตละองคประกอบมีตัวแปรดังนี้

1. รูปแบบการขยายอาชีพ มตี วั แปรรว ม ดงั น้ี
1.1 ผลผลิต
1.2 กระบวนการผลิต

1.3 ปจ จัยนําเขา การผลติ
2. ความยากงายของการดําเนินการจัดการ มตี วั แปรรว ม ดงั น้ี

2.1 การบริหารจัดการ แรงงาน เงนิ ทุน
2.2 แผนธรุ กิจ
3. การรับไดของลูกคา มตี วั แปรรว มดงั น้ี
3.1 ผลผลติ อยูในความนยิ ม
3.2 เปน สงิ่ จําเปนตอชีวติ
3.3 ราคา
4. การรับไดของสังคมชุมชน มตี วั แปรรว ม ดงั น้ี

4.1 สภาพแวดลอ ม

57

4.2 วฒั นธรรมประเพณี
5. ความเหมาะสมของเทคนิควิทยาการที่ใชในการขยายอาชีพ

5.1 เทคนิควิทยาการเพื่อการลดตนทุน
5.2 เทคนิควิทยาการเพื่อการลดของเสีย

วิธกี ารวิเคราะห
การวิเคราะหเพื่อการตัดสินใจมีความจําเปนที่เจาของธุรกิจจะตองประเมินตัดสินใจดวยตนเองสําหรับ

กรณีทีธ่ ุรกิจมีหุนสวนหรือผูเ กีย่ วของ ควรจะใชวิธีสนทนาเจาะลึกและวิธีความสัมพันธรวมกัน โดยมีวิธีการ
วิเคราะหความสัมพันธระหวางองคประกอบดวยตนเอง ดวยรายละเอียดและความเปนไปได ความเปนพวก
เดยี วกนั โดยทบทวนหลาย ๆ ครง้ั จนมน่ั ใจแลวจงึ ตัดสินใจ

58

เร่อื งท่ี 3 : การกําหนดวิธีการขัน้ ตอนการขยายอาชพี และเหตุผลของการขยายอาชีพ

เปนขั้นตอนการปฏิบัติการในอาชีพที่จะตองใชองคความรูที่ยกระดับคุณคา เพือ่ มาใชปฏิบัติการจึง
เปนกระบวนการของการทํางานทีเ่ ริม่ จากการนําองคความรูท ีจ่ ัดทําในรูปของคูม ือคุณภาพหรือเอกสารคูม ือ
ดําเนินงานมาศึกษาวิเคราะหจัดระบบปฏิบัติการจัดปจจัยนําเขาดําเนินการ ทํางานตามขั้นตอนและการควบคุม
ผลผลิตใหมีคุณภาพเปนไปตามขอกําหนดดําเนินการตรวจสอบหาขอบกพรองในการทํางานและปฏิบัติแกไข
ขอ บกพรอ งเปน วงจรอยา งตอ เนอ่ื ง และมีการปรับปรุงพัฒนาเอกสารคูม ือดําเนินงานไปเปนระยะ ๆ ก็จะทําให
การปฏิบัติการในกิจกรรมอาชีพประสบความสําเร็จสูความเขมแข็ง ม่ันคง ย่งั ยนื ตามกรอบความคิดนี้

1. การปฏิบตั กิ ารใชความรู โดยใชวงจรเดม็ มิ่ง เปนกรอบการทํางาน
- P-Plan ดวยการทําเอกสารคูม ือดําเนินงาน (ซึง่ ไดมาจากกิจกรรมยกระดับความรู) มาศึกษา

วิเคราะหจัดระบบปฏิบัติการทีป่ ระกอบดวยกิจกรรมขัน้ ตอน และผูรับผิดชอบกําหนดระยะเวลาการทํางาน
กําหนดปจจัยนําเขาดําเนินงานใหสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ

- D-Do การปฏิบัติการทํางานตามระบบงานทีจ่ ัดไวอยางเครงครัด ควบคุมการผลิตใหเสียหาย
นอ ยท่ีสดุ ไดผลผลติ ออกมามีคุณภาพเปนไปตามขอกําหนด

- C-Check การตรวจสอบหาขอบกพรองในการทํางานโดยผูป ฏิบัติการหาเหตุผลของการเกิด
ขอบกพรองและจดบันทึก

59

- A-Action การนําขอบกพรองที่ตรวจพบของคณะผูป ฏิบัติการมารวมกันเรียนรูห าแนวทางแกไข
ขอบกพรอง จนสรุปไดผลแลวนําขอมูลไปปรับปรุงเอกสารคูม ือดําเนินงานเปนระยะ ๆ ก็จะทําใหองคความรู
สูงสงขน้ึ โดยลําดบั แลวสงผลตอประสทิ ธิภาพของธรุ กจิ ประสบผลสําเร็จนําไปสูความเขมแข็งยั่งยืน

2. ทนุ ทางปญ ญา ผลจากการนําองคความรูไปใช มีการตรวจสอบหาขอบกพรอง และปฏิบัติการ
แกไขขอบกพรองเปน ระยะ ๆ อยางตอเนอ่ื งทผี่ ลทาํ ใหอ งคความรูสงู ข้นึ เปน ลําดับ จนกลายเปนทุนทางปญญา
ของตนเอง หรือของชมุ ชนทจี่ ะเกดิ ผลตอ ธุรกจิ ดงั น้ี

- องคความรูสามารถใชสรางผลผลิตที่คนอื่นไมสามารถเทียบเคียงได และไมสามารถทําตามได
จึงไดเปรียบทางการแขงขัน

- การเปลี่ยนแปลงยกระดับคุณภาพผลผลิตอยางตอเนื่อง ทําใหลูกคาเชือ่ มัน่ ภักดีตอการทํา
ธรุ กิจรวมกัน

- เปนการสรางทุนทางมนุษยผูรวมงานไดเรียนรูบ ริหารระบบธุรกิจดวยตนเอง สามารถเกิด
ภมู ิปญ ญาในตัวบคุ คล ทําใหชุมชนพรอมรุกคืบขอบขายอาชีพออกสูความเปนสากล

3. ธุรกิจสคู วามเขมแขง็ ย่ังยืน การจัดการความรูท ําใหองคความรูส ูงสงขึน้ โดยลําดับ การขยายของ
อาชีพจึงเปนการทํางานทีม่ ีภูมิคุม กัน โอกาสของความเสีย่ งในดานตาง ๆ ต่าํ ลง ดังนัน้ ความนาจะเปนในการ
ขยายอาชีพจึงประสบความสําเร็จคอนขางสูง เพราะมีการจัดการความรู ยกระดับความรูน ําไปใชและปรับปรุง
แกไขเปนระยะ ๆ อยา งตอ เนอ่ื ง จงึ สง ผลทาํ ใหธุรกิจเขมแข็ง ยงั่ ยืนได เพราะรจู กั และเขา ใจตนเองตลอดเวลา

การจดั ทาํ แผนปฏิบัติการ (P)
การจัดทําแผนปฏิบัติการทางอาชีพ เปนการดําเนินการที่มีองคประกอบรวม ดงั น้ี
1. เหตุการณหรือขัน้ ตอนการทํางาน ซึง่ จะบอกวาเหตุการณใดควรทําพรอมกัน หรือควรทําทีหลัง

เปนการลําดับขั้นตอนในแตละกิจกรรมใหเปนแผนการทํางาน
2. ระยะเวลาที่กําหนดวาในแตละเหตุการณ จะใชเวลาไดไมเกินเทาไร เพือ่ ออกแบบการใชปจจัย

ดาํ เนนิ งานใหส มั พนั ธก ัน
3. ปจ จยั นาํ เขาและแรงงานเปนการระบุปจจัยนําเขา และแรงงานในแตละเหตุการณวาควรใชเทาไร
การจัดทําแผนปฏิบัติการทางอาชีพ มักจะนิยมใชผังการไหลของงานมาใชออกแบบการทํางานให

มองเห็นความสัมพันธรวมระหวางเหตุการณ ระยะเวลา ปจจัยนําเขาและแรงงานจะชวยใหผูป ฏิบัติงานและ

60

ผูจ ัดการไดขับเคลือ่ นการทํางานสูค วามสําเร็จได ดังนัน้ ในการออกแบบแผนปฏิบัติงาน จําเปนตองใชองค
ความรูที่สรุปไดในรูปของเอกสารขั้นตอนการทํางานมาคิดวิเคราะหและสรางสรรคใหเกิดแผนปฏิบัติการ

ตวั อยาง วธิ ีดําเนินการจัดทําแผนปฏบิ ัติการพฒั นาคณุ ภาพดนิ ไรท นเหนอ่ื ย
1. ศึกษาวิเคราะหองคความรูเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพดิน มีกิจกรรมทีจ่ ะตองทํา

5 กจิ กรรม ประกอบดว ย
1. การตรวจสอบวเิ คราะหค ุณภาพดิน ผลการวิเคราะหพบวา มเี หตทุ ่จี ะตองทํา
และเก่ยี วขอ งดังนี้
- เก็บตวั อยางเดมิ
- สงตัวอยางดินใหกองเกษตรเคมี กรมวิชาการเกษตรวิเคราะห
- รอผลการวเิ คราะห
- ศกึ ษาผลวิเคราะหวางแผนตดั สนิ ใจกําหนดพืชท่ตี อ งผลติ
2. การไถพรวนหนา ดนิ ผลการวิเคราะหพ บวา มีเหตกุ ารณทจ่ี ะตอ งทาํ และเกีย่ วของ ดงั น้ี
- ไถบุกเบิกดว ยผาน 3 ระยะ
- ไถแปรดว ยผาน 7 ระยะ
- ไถพรวนใหด นิ ละเอยี ดดว ยโรตาร่ี
3. การเพ่มิ อินทรียวตั ถใุ หก ับดิน ผลการวิเคราะหพบวา มเี หตุการณท ี่จะตอ งทํา และเกย่ี วของ ดงั น้ี
- การหวา นปยุ หมกั
- หวานเมลด็ ปยุ พชื สด
- บํารุงรักษาปุยพืชสดและวัชพืชใหงอกงาม
- ไถพรวนสับปุยพืชสดใหขาดคลุกลงดิน
4. การหมักสังเคราะหดิน ผลการวิเคราะหพบวามีเหตกุ ารณท ี่จะตอ งทาํ และ
เกีย่ วของดังนี้
- ใหจุลนิ ทรยี เ รง การยอ ยสลาย
- ตรวจสอบการยอยสลาย
5. การสรางประสิทธิภาพดิน ผลการวิเคราะหพบวามเี หตกุ ารณท ่จี ะตองทาํ และ
เก่ยี วของดังนี้
- ใสจ ลุ ินทรยี ไมโครโลซา เพอ่ื ยอ ยหนิ ฟอสเฟต สรา งฟอสฟอรสั ใหก บั ดิน

61

- จัดรองคลุมหนาดินดวยฟางขางเพื่อปองกันความรอน รักษาความชื้นและ
การเคลื่อนยายธาตุอาหารในดิน

2. วิเคราะหปริมาณงาน ลักษณะงาน กาํ หนดการใชเครอื่ งจักรกล ปจจัยการทํางานและแรงงาน
3. วิเคราะหงานกําหนดระยะเวลาของความสําเร็จของแตละเหตุการณ และสรุประยะเวลาทัง้ หมด
ของกระบวนการ

ตวั อยา ง แผนปฏิบตั ิการพฒั นาคณุ ภาพดนิ “ไรทนเหนอ่ื ย”
1. ผงั การไหลของงานพฒั นาดนิ

2. กจิ กรรมพัฒนาดนิ ประกอบดว ย
1. การวเิ คราะหค ุณภาพดนิ
2. การไถพรวนหนา ดนิ
3. การเพ่มิ อินทรยี วัตถุ
4. การหมักสังเคราะหดิน
5. การสรางประสิทธิภาพดิน

3. รายละเอยี ดปฏบิ ัติการ
3.1 การวิเคราะหค ณุ ภาพดิน
ประกอบดวยระยะเวลาและการใชทรัพยากรดําเนินงาน ดงั น้ี
(1) การเก็บตัวอยางดินกระจายจุดเก็บดินทัง้ แปลง (150 ไร) ใหครอบคลุมประมาณ
20 หลุม เก็บดินชัน้ บนและชัน้ ลางอยางละ 200 กรัมตอหลุม รวบรวมดินแตละชั้นมา
บดใหเขากัน แลวแบงออกมาอยางละ 1,000 กรัม บรรจุหีบหอใหมิดชิดไมรัว่ ไหล ใช
เวลา 5 วนั

62

(2) จดั การนาํ ตวั อยา งดนิ สง กองเกษตรเคมดี ว ยตนเอง รอผลการวิเคราะหจากกองเกษตร
เคมี ใชเ วลา 30 วนั

(3) ศึกษาผลการวิเคราะหวางแผนการผลิต ใชเ วลา 50 วนั
3.2 การไถพรวนหนา ดนิ

ประกอบดวยเระยะเวลา และการใชทรัพยากรดําเนินงาน ดงั น้ี
(1) ไถบุกเบิกดวยการจางรถติดนานมา 3 จานไถบุกเบิกครั้งแรก ใชเ วลาไมเกิน 5 วนั
(2) ไถแปรเพอ่ื ยอ ยดนิ ใหแ ตกดว ยรถไถตดิ ผาน 7 จาน ไถตดั แนวไถบกุ เบกิ ใชเ วลา 5 วนั
(3) ตพี รวนยอ ยดนิ ดว ยโรตาล่ี เพือ่ ยอ ยดินใหมีขนาดกอ นเลก็ สอดคลองกับสภาพการงอก

ของเมล็ดพืช ใชเ วลาไมเ กิน 5 วนั
3.3 การเพม่ิ อนิ ทรียวัตถุใหกับดนิ

ประกอบดว ยระยะเวลาและการใชทรัพยากรดําเนินงานดังนี้
(1) หวา นปยุ หมกั 150 ตนั บนพนื้ ท่ี 150 ไร ใชเ วลาไมเ กิน 5 วนั ใชคนงาน 3 คน และ

ใชรถแทรกเตอรพวงรถบรรทุกปุยหมักกระจาย 150 จดุ แลวใชคนงานกระจายปุยให
ทว่ั แปลง
(2) หวา นเมล็ดปุย พืชสดคลุกเคลาจุลนิ ทรยี ไรโซเดยี ม ไรล ะ 20 กก. บนพ้ืนที่ 150 ไร ใช
เวลาไมเ กนิ 5 วนั ใชคนงาน 2 คน
(3) บํารงุ รักษาปยุ พชื สดและวชั พชื ใหง อกงามดว ยการใชน าํ้ ผสมจลุ ินทรยี อยา งเจือจาง
ทกุ วนั เวน วนั ใชคนงาน 1 คน
(4) ไถพรวนสับปุยพชื สดคลกุ เคลา ลงดนิ ดว ยโรตาล่ี
3.4 การหมักสังเคราะหดิน
ประกอบดว ย
(1) ใหจ ลุ ินทรีย เรงการยอยสลาย (พด1-พด 2) ไปพรอมกับนํา้ ทกุ วันเวน วัน ใชคนงาน
1 คน ตรวจสอบการยอยสลายในชวงตอนเชา 07.00 น. พรอ มวดั อณุ หภูมแิ ละ
จดบันทกึ ทกุ วนั โดยความนา จะเปน ในวนั ท่ี 15 ของการหมัก อุณหภูมิตอ งลดลง
เทา กบั อณุ หภูมิปกติใชผูจดั การแปลงดาํ เนนิ การ
3.5 การสรางประสิทธิภาพดิน
ประกอบดว ย
(1) ใชจุลนิ ทรยี ไมโครโลซา เพื่อการยอยสลายของฟอสฟอรัสคลุกลงดิน โดยตีพรวนดวย
โรตาล่ี จัดรองปลกู ผกั ตามแผนคลุมหนา ดนิ ดวยฟางขา ว

63

(2) ใชแรงงาน 20 คน ดนิ มีคณุ ภาพพรอ มการเพาะปลกู
การทํางานตามแบบแผนปฏิบัติการ (D)

การทํางานตามแผนปฏิบัติการของผูรับผิดชอบ ยังใชว งจรเดม็ มง่ิ เชน เดยี วกนั โดย เริม่ จาก
P : ศึกษาเอกสารแผนปฏิบัติการใหเขาใจอยางรอบคอบ
D : ทําตามเอกสารขั้นตอนใหเปนไปตามขอกําหนดทุกประการ
C : ขณะปฏิบัติการตองมีการตรวจสอบทุกขั้นตอนใหเปนไปตามขอกําหนด
A : ถา มีการทาํ ผิดขอกาํ หนด ตองปฏิบัติการแกไขใหเปนไปตามขอกําหนด
การตรวจสอบหาขอ บกพรอง (C)
เปนขัน้ ตอนทีส่ ําคัญของการปฏิบัติการใชความรู สรางความเขมแข็ง ยัง่ ยืน โดยมี รูปแบบการตรวจ
ติดตามขอบกพรองดังนี้

1. การจดั ทาํ รายการตรวจสอบ
ดวยการใหผูจัดการ และคนงานรวมกันวิเคราะหเอกสารแผนปฏิบัติการ และทบทวน รวมกับ

ประสบการณทีใ่ ชแผนทํางาน วาควรมีเหตุการณใดบางทีค่ วรจะใหความสําคัญเพื่อการตรวจสอบแลวจัดทํา
เอกสารรายการตรวจ ดงั ตวั อยา งนี้

64

ตัวอยา ง เอกสารรายการตรวจและบันทึกขอบกพรอง
กจิ กรรม พัฒนาคุณภาพดนิ ไรท นเหน่ือย สําหรบั ปฏบิ ัตกิ ารต้งั แตว ันท่ี 5 ธนั วาคม 2551 ถึงวันที่ 30 มกราคม 2552

รายละเอียดเหตุการณ
3.13.2 = หวา นเมลด็ ปยุ พชื สดแลว คลกุ เคลา จลุ นิ ทรียไ รโซเปย มไรล ะ 20 กก.
3.23.3 = ใหน้ําผสมจุลนิ ทรียอ ยางเจือจางกบั ปุยพชื สดทุกวนั เวนวนั
44.1 = ใหจ ลุ นิ ทรยี เรง การยอ ยสลาย (พด1 + พด2) ไปพรอ มกบั นาํ้ ทกุ วนั เวน วนั เปน เวลา 15 วนั
55.1 = ใชจ ุลนิ ทรียไมโครโลซา เพ่อื ยอยสลายหนิ ฟอสเฟรส คลกุ ลงดินที่ยอยสลายแลว
5.15.2 = จดั รอ งปลกู ผักคลมุ หนา ดนิ ดวยฟางขา ว

2. ปฏิบตั กิ ารตรวจสอบ
การปฏิบัติการตรวจสอบทํา 2 ขัน้ ตอน คือ
2.1 ตรวจสอบหาขอบกพรองของเอกสารแผนปฏิบัติการ เปนการดําเนินงานรวมกันระหวาง

ผูจ ัดการกับคนงาน วาการทีค่ นงานไดปฏิบัติการศึกษาเอกสารแผนและปฏิบัติตามกิจกรรมใน
ทุกเหตุการณไดค รบคิดวา กิจกรรมเหตุการณใ ด มขี อ บกพรอ งท่คี วรจะไดแ กไข

2.2 ตรวจสอบภาคสนาม เปนการทํางานรวมกันระหวางผูจัดการกับคนงาน เพื่อตรวจหา
ขอบกพรองในการดําเนินงาน รวมกันคดิ วเิ คราะหระบสุ ภาพทเี่ ปนปญ หา และแนวทางแกป ญ หา

65

กจิ กรรม : ตวั อยา ง เอกสารบันทกึ ขอบกพรอ งการดําเนินงานพัฒนาคณุ ภาพดนิ ไรท นเหนื่อย ปฏบิ ตั กิ าร
ระหวา งวนั ท่ี 5 ธนั วาคม 2551 ถงึ วนั ท่ี 30 มกราคม 2552

66

3. การประเมนิ สรปุ และเขยี นรายงานผล

เปนขัน้ ตอนการนําผลการตรวจติดตามตลอดรอบผลการผลิตเกษตรอินทรียไปประเมินความรุนแรง
ของขอบกพรองวาเกิดผลมาจากอะไรเปนสวนใหญ แลวดําเนินการปฏิบัติการแกไขขอบกพรองทัง้ องคความรู
และปจจัยนําเขาดําเนินงาน ดงั ตัวอยา ง

67

การปฏิบัติการแกไ ขและพัฒนา (A)
เปนกิจกรรมตอเนื่องจากกิจกรรมการตรวจสอบหาขอบกพรอง และกําหนดแนวทางแกไข

ขอบกพรองโดยมีกําหนดระยะเวลา เมือ่ ถึงกําหนดเวลาจะตองมีการติดตามผลวาไดมีการปฏิบัติการแกไข
ขอบกพรองตามแนวทางที่กําหนดไว หรอื ไมเกิดผลอยา งไรโดยมขี นั้ ตอน การดาํ เนนิ งานดงั น้ี

1. ตรวจติดตามนําเอกสารสรุปประเมินผลการศึกษา
2. เชิญคณะผูร ับผิดชอบการแกไขขอบกพรองมาประชุมแลกเปลีย่ นเรียนรูเสนอสภาพปญหา
ขอ บกพรอ ง ปจ จยั ที่สงผลตอความบกพรอ งและการแกไ ข
3. ผูร ับผิดชอบตรวจติดตามและผูร ับผิดชอบแกไขขอบกพรองเขาศึกษาสภาพจริงของการ
ดาํ เนนิ งาน แลวสรปุ ปจจัยทเ่ี ปนเหตุและปจจัยสนับสนุนการแกไ ข
4. นําขอ มูลทไ่ี ดนําสูก ารปรับปรุงแกไขพัฒนาเอกสารองคความรู ใหม ปี ระสิทธิภาพ สงู ยง่ิ ขน้ึ

บทสรุป
การขยายขอบขายอาชีพเพือ่ สรางความเขมแข็ง ยัง่ ยืน ใหกับธุรกิจ จําเปนจะตองดําเนินงานอยางเปน

ระบบ ไมใชทําไปตามทีเ่ คยทํา ดังนัน้ การจัดการความรูเปนเรือ่ งสําคัญของทุกคนทีป่ ระกอบอาชีพ จะขยาย
ชองทางการประกอบอาชีพออกไป จาํ เปน จะตองมีคณุ สมบัติ ดงั น้ี

1. เปนบุคคลทีท่ ํางานบนฐานขอมูล ซึง่ จะตองใชความรูดานตาง ๆ เขามาบูรณาการรวมกันทั้ง
ระบบของอาชีพ

2. ตอ งใชก ระบวนการวจิ ัยเปนเคร่อื งมือ นั่นคือเราจะตองตระหนักเห็นปญหาจะตองจัดการความรู
หรือใชแกปญหา จัดการทดลองสวนนอย สรุปองคความรูใ หมั่นใจ แลวจึงขยายกิจกรรมเขาสูการขยาย
ขอบขายอาชีพออกไป

3. ตองเปนบุคคลที่มีความภูมิใจในการถายทอดประสบการณการเรียนรูแ ลกเปลีย่ นเรียนรู สราง
องคความรูใหสูงสงเปนทุนทางปญญาของตนเอง ชุมชนได

68

กิจกรรมที่ 1

คําชแี้ จง : ใหผูเรียนจดั ทาํ แผนปฏิบตั ิการอาชีพของตนเองโดยใชวงจรเดม็ ม่ิง

1. การจัดแผนปฏิบัตกิ าร (P)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

2. การทํางานตามแผนปฏิบัติการ (D)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

3. การตรวจสอบหาขอบกพรอง (C)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

4. การปฏบิ ตั กิ ารแกไ ขและพฒั นา (A)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

69

กจิ กรรมท่ี 2

คําชีแ้ จง : ใหผูเ รียนรวมกลุม กันแลวกําหนดปฏิบัติการของผูเรียนในกลุม มารวมแลกเปลีย่ นเรียนรู ประเมิน
คุณภาพใหเปนขอเปนจุดบกพรอง และแนวทางแกไขรวมกันปฏิบัติการแกไขขอบกพรองของแผนใหเสร็จทุก
คน โดยใชว งจรเด็มมิ่ง

1. การจดั แผนปฏบิ ัติการ (P)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

2. การทํางาน ตามแผนปฏิบัติการ (D)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

3. การตรวจสอบหาขอบกพรอง (C)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

4. การปฏิบตั ิการแกไขและพัฒนา (A)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

70

บทท่ี 3
การตัดสนิ ใจเลอื กขยายอาชีพ

สาระสาํ คญั

สามารถตัดสินใจเลือกขยายอาชีพไดเหมาะสมกับตัวเอง

ผลการเรยี นรูท ค่ี าดหวงั

ผูเ รยี นมคี วามรู ความเขาใจ มีเจตคติที่ดีในงานอาชีพในการตัดสินใจเลือกขยายอาชีพไดอยางมีเหตุมี
ผล เหมาะสมกับตวั เอง

ขอบขายเนือ้ หา ภารกิจเพื่อความมั่นคงในการทําธุรกิจ
การวดั และประเมนิ ผลความมั่นคงในอาชีพ
เรื่องท่ี 1 การตัดสินใจเลือกขยายอาชีพตามศักยภาพ 5 ดา น
เร่อื งที่ 2
เร่ืองท่ี 3

สื่อการเรยี นรู

- หนงั สือเรียน
ใบงาน

71

เร่อื งที่ 1 : ภารกิจเพอ่ื ความมนั่ คงในการทาํ ธรุ กจิ

ความมัน่ คงในอาชีพเปนเรือ่ งทีต่ องสรางตองทําดวยตนเอง โดยมีภารกิจไมนอยกวา 5 ภารกิจ ท่ี
จะตองเรียนรูสรางองคความรูสําหรับตนเองสูการพึ่งพาตนเองได ดงั น้ี

1. บทบาทหนาที่ของตนเองที่มีตอธุรกิจ
2. การบริหารทรัพยากรดําเนนิ ธรุ กจิ
3. การบรหิ ารการผลติ
4. การจัดการสงมอบผลิตภณั ฑ
5. การวจิ ยั พัฒนา

1.1 ความหมายของความมั่นคงในการทาํ ธรุ กิจอาชพี
ความมั่นคงในอาชีพ หมายถึง สภาพอาการของความตอเนื่องและทนทาน

ในการดําเนนิ การธรุ กจิ ไมใหก ลับกลายเปนอื่น

บทบาทหนาที่ของตนเอง หมายถึง บทบาทที่เจาของธุรกิจผูประกอบอาชีพจะตอง

ทําดวยตนเองทําอยางลึกซึ้ง

การบริหารทรัพยากร หมายถึง หนาที่ควบคุมดําเนินการใชทรัพยากรใหเปนไป

ตามขอกําหนดของงานธุรกิจที่ทําอยู

การบรหิ ารการผลติ หมายถึง หนา ท่คี วบคมุ ดาํ เนินการใหกอเกิดผลติ ผลขนึ้

ดว ยแรงงานคน หรอื เครอื่ งจกั ร

ผลิตผล หมายถึง ผลท่ีเกิดขึ้น เชน ปลูกมะมวงไดผลเปนมะมวง

ผลิตภณั ฑ หมายถึง ส่งิ ท่ที าํ ข้ึน เชน การดองหัวผักกาดขาว สง่ิ ทาํ

ขึ้นคอื หัวไชโ ปเค็ม

การวจิ ัยพฒั นาอาชพี หมายถึง การคนควาขอมูลวิธกี ารและสรุปผลอยา งถถ่ี วน

เพ่อื ทําใหอาชีพเจริญ

72

1.2 ภารกจิ เพือ่ ความมนั่ คงในอาชีพ
การที่เราขยายขอบขายอาชีพออกไปนั่นหมายถึงวาธุรกิจของเราขยายแตกตัวออกไปหลายกิจกรรม มี

การจัดการที่ตองลงทุนมากขึ้น มีผมู าเกีย่ วขอ งมากข้ึนโดยลําดับ ดังนัน้ การทีจ่ ะสรางความมัน่ คงอาชีพไมให

เสยี หาย จําเปน ตอ งมีภารกจิ เพื่อสรา งความย่งั ยนื ในอาชพี อยา งนอ ย 5 ภารกิจ ดงั น้ี
1. บทบาทหนาที่เจาของธุรกิจ มีหนาทีจ่ ะตองกําหนดทิศทางธุรกิจที่ผูป ระกอบอาชีพจะตอง
กําหนดทิศทางของธุรกิจวาจะไปทางไหนใหสอดคลองกับสภาวะทางเศรษฐกิจ สังคม ที่เปนอยู และจะ

เกดิ ขน้ึ ในอนาคต มีกจิ กรรมท่ีจะตอ งทํา 2 เร่อื งดังน้ี

1.1 การกาํ หนดวสิ ยั ทศั น เปนการกําหนดทิศทางของอาชีพที่จะเปนหรือจะเกิดในอนาคต 3-5

ปขางหนาอยางรอบคอบ และเปนไปไดดวยตนเอง การกําหนดวิสัยทัศน สามารถคิดแสวงหาความรู ความ

เขาใจ กําหนดขอความวิสัยทัศน แลวตรวจสอบความเปนไปได จนมัน่ ใจจึงกําหนดเปนวิสัยทัศนทีจ่ ะเกิดกับ

อาชพี ตอ ไป

1.2 การจัดทําแผนพัฒนาอาชีพ ใชขับเคลือ่ นการพัฒนาอาชีพใหเขาสูวิสัยทัศน ใหไดดวยการ

กําหนดภารกิจ วิเคราะหภารกิจกําหนดกลยุทธสูค วามสําเร็จ วิเคราะห กลยุทธ กําหนดตัวบงชีค้ วามสําเร็จ

และจดั ทาํ แผนปฏิบตั กิ าร
2. การบริหารทรัพยากรดําเนินการ เปนการจัดการใหเกิดระบบการควบคุม การใชทรัพยากรให
คุมคามากที่สุด และเกดิ ของเสยี ใหน อยท่สี ดุ ไดแ ก

2.1 การวางแผนใชแ รงงานคนและจัดคนคนงานใหเหมาะสม ทํางานและสรางผลผลิตไดมาก

ท่สี ดุ ปจจัยการผลิตเสียหายและใชเวลานอยทส่ี ดุ

2.2 ระบบการควบคุมวัสดุอุปกรณและปจจัยการผลิตไมใหรัว่ ไหลหรือใชอยางดอย

ประสิทธภิ าพในทกุ ขัน้ ตอนการผลิต

2.3 การควบคุมการเงิน คาใชจาย รายไดตาง ๆ ใหชัดเจน ตรวจสอบไดทุกขั้นตอน

การงาน 3. การบริหารการผลิต

เปนการควบคุมการดําเนินงานใหเกิดผลซึ่งเกีย่ วของกับ

กจิ กรรมการบรหิ าร อยา งนอ ย 3 กจิ กรรม ดงั น้ี

3.1 การควบคุมคนทํางานใหเปนไปตามขัน้ ตอนทีก่ ําหนดดวยการจัดใหมีเอกสารขัน้ ตอนการ

ทํางาน ที่คนทํางานจะใชความรูสึก ประสบการณของตนเองเขามาเกีย่ ว ของไมไดอยางเด็ดขาด เพราะจะตอง

ทําไปตามที่กําหนด เมื่อมีขอบกพรองจะสามารถตรวจสอบกลับไปยังตนเหตุได

3.2 การควบคุมระยะเวลาในเวลาเคลื่อนไหวของงานใหอัตราการไหลเปนไปตามขอกําหนด

73

3.3 การตรวจสอบคัดเลือกผลิตภัณฑที่เสียหายไมไดคุณภาพออกจากของดี เพราะจะสราง
ความเชื่อถือ ความภกั ดตี อลูกคา ทเ่ี ชื่อมน่ั วา สนิ คา จากสถานประกอบการทมี่ ีคณุ ภาพจะไมผิดหวงั

4. การจัดการสงมอบผลิตภัณฑ เปนเรือ่ งสําคัญทีผ่ ูป ระกอบการอาชีพจะตองพัฒนาระบบการสง
มอบผลผลติ ใหถึงมอื ลูกคาไดตามขอกําหนดในเรอื่ งตาง ๆ ดงั น้ี

4.1 การบรรจุภณั ฑเพ่อื การปกปองผลผลิตไมใหเสียหาย บรรจุภัณฑเปนตัวเราใหลูกคาสนใจ
ในผลผลติ จึงตองมีการออกแบบใหเรียบรอย สวยงามตรงกับลักษณะของผลผลิตซึ่งเปนการสงเสริมการขายที่
สําคญั

4.2 การสงสินคา มีหลายรูปแบบทีจ่ ะนําสินคาไปถึงลูกคาไดอยางปลอดภัย สามารถเลือก
วิธีการทเ่ี อกชนและภาครฐั จดั บรหิ ารใหหรอื จดั สงเอง

4.3 การจัดการเอกสารสงมอบ ใชเพือ่ ควบคุมใหทราบถึงผลผลิตที่นําออกไป มีปริมาณเทาใด
ไปถงึ ลกู คา ดวยวิธีใดและไดร ับหรือไม

5. การวิจัยพัฒนา เปนการดําเนินงานใหธุรกิจที่ทําไดอยูใ นกระแสของความนิยม และกาวทันตอ
การเปลี่ยนแปลง ดงั น้ี

5.1 ตดิ ตามขอมลู กระแสความนยิ มในสนิ คา ผลติ ผลทเี่ ราทําวายังอยใู นกระแสนยิ ม อยางไร
5.2 ติดตามประเมินเทียบเคียงคุณภาพผลิตภัณฑทีเ่ ราแขงขันอยู และสภาวะ ตลาดเปน
อยางไร
5.3 ดําเนินการวิจัยพัฒนา ดวยการคนควาหาขอมูลอยางดี สรางองคความรูพ ัฒนาผลผลิตให
อยูในกระแสความนยิ มหรอื เปลย่ี นโฉมออกไปสตู ลาดประเภทอน่ื ๆ
กจิ กรรมท้ัง 5 กิจกรรมเปนสวนหนึ่งของการสรางความมั่นคงในธุรกิจ

1.3 การคดิ สรางสรรคก ําหนดกิจกรรมในภารกิจสรา งความม่นั คง
จากสาระความเขาใจภารกิจเพื่อความมัน่ คงในอาชีพเปนการนําเสนอแนวคิดทีเ่ ปน ธุรกิจคอนขาง
ขนาดใหญ ดังนัน้ ผูเรียนจึงจําเปนตองคิดสรางสรรคเพือ่ ตนเองวาธุรกิจของเราจะทําอะไรบาง แคไหน และ
อยางไร
ตวั อยา ง ธรุ กิจไรท นเหนอ่ื ย
เปนธุรกิจขยายแลว ดําเนินการผลิตผักสด ผลไมในระบบเกษตรอินทรียบนพืน้ ที่ 130 ไร ระบบการ
บริหารจัดการดานตาง ๆ ตองลงมือทําดวยตนเองในครอบครัวเพียง 3 คน ภารกิจสรางความมัน่ คงจะตอง
คิดสรางสรรคออกแบบใหเหมาะสมกับตนเอง ตัวอยางบทบาทหนาทีเ่ จาของธุรกิจ ซึง่ จะตองกําหนดทิศทาง

74

และแผนงานดว ยตนเอง ดวยการกําหนดวิสัย ทัศน จัดทําแผนควบคุมเชิงกลยุทธและโครงการพัฒนาที่จําเปน
และมีพลังทําใหการขับเคลื่อนการทํางานเขาสูและเปนไปตามวิสัยทัศนได ดังตัวอยางการคิดสรางสรรคกําหนด
ทิศทางและแผนงานของไรทนเหนื่อย ดงั น้ี
ตัวอยาง : แผนการควบคุมเชิงกลยุทธ วิสัยทัศน “ป 2551 ไรทนเหนือ่ ยผลิตผักสด ผลไมอินทรีย เขาสูต ลาด
ประเทศสิงคโปรได”
แผนควบคมุ เชิงกลยทุ ธ

75

คําช้ีแจง : ใหผูเรียนแตละคนไดใชประสบการณเชิงประจักษมานึกคิดวา เพือ่ ความเขมแข็งในอาชีพ
เราควรมีภารกิจและกิจกรรมอะไรบาง

76

เรอื่ งที่ 2. การวดั และประเมนิ ผลความมนั่ คงในอาชพี

2.1 องคป ระกอบการวดั และประเมินผลความม่ันคงในอาชีพ
การประเมินความมัน่ คงในอาชีพ ผูรับผิดชอบในการวัดและประเมินผลที่ดีทีส่ ุด คือ ตัว
ผูประกอบอาชีพเอง เพราะการวัดและประเมินผลความมัน่ คงในอาชีพ เปนเรือ่ งที่บูรณาการ สิง่ ตาง ๆ ภายใน
ตัวของผูป ระกอบการอาชีพเอง ตัง้ แตการเรียนรูว าตนเองจะทําอยางไรการ คิดเห็นคุณคาของกิจกรรมความ
มน่ั คง ความจดจําในกิจกรรมและความรูสึกพอใจตอกิจกรรม เปนเรือ่ งภายในทัง้ สิน้ บุคคลภายนอกไมอาจจะ
รูเ ทาทัน ดังนัน้ ความมัน่ คงในอาชีพตัวแปรตนเหตุที่สําคัญ คือ ใจของผูป ระกอบการอาชีพเอง จึงจําเปนที่
จะตองมีหลักการประเมินสภาวะใจของตนเองอยางเปนระบบทีป่ ระกอบดวยตัวแปร 4 ตัว ดังน้ี 1. การรับรู
(วญิ ญาณ) 2. ความคิด (สังขาร) 3. จาํ ได หมายรู (สญั ญา) และ 4. ความรูสึก (เวทนา)
1. วธิ กี ารรบั รทู ใี่ ชศกึ ษาภารกจิ สรา งความม่นั คง
2. ประเมินคุณคาวาดีหรือไมดีของภารกิจความมั่นคงที่จะดําเนินการ
3. ประเมินความจําวาตนเองเอาใจใสตอภารกิจความมั่นคงมากนอยเพียงใด
4. ประเมินความรูส ึกท่ีตนเอง พึงพอใจหรือชอบตอภารกิจความมั่นคงแบบใด
2.2 วิธีการวัดผลและประเมนิ ผลความมนั่ คงในอาชีพ
เปนการนําตัวแปรมากําหนดตัวชีว้ ัด วิธีการวัดแลวเขียนเปนแบบวิเคราะหประเมินตนเอง โดยมี
ขน้ั ตอนดาํ เนนิ การ
1. การวเิ คราะหตวั แปรกาํ หนดตวั ชว้ี ดั เชน

1.1 ตวั แปรดา นวิธกี ารรบั รู ตวั บง ช้ี คอื วธิ กี ารเรยี นรูทีป่ ระกอบการ
(1) การรับรูจากการเห็นของจริงจากการสืบคนจากเอกสาร (ทางตา)
(2) การรับรูจากการฟงคําบรรยาย ฟง เสียงทเ่ี กดิ ในกิจกรรม (ทางห)ู
(3) การรบั รูกลน่ิ ทางจมกู (จมกู )
(4) การรับรูจากการชิมรส (ปาก)
(5) การรับรูจากการสัมผัสทางกาย (กาย)
(6) การรับรูจากการคิดทางใจ (ใจ)

1.2 ตัวแปรดา นการนกึ คิดถงึ คณุ คา มีตัวบงช้ี 3 ตวั คือ
(1) คดิ วา ดี
(2) ไมมีความคิด เฉย ๆ
(3) คดิ วา ไมด ี

1.3 ตัวแปรดานความจําไดหมายรู มตี วั แปร 3 ตวั คือ

77

(1) จําไดท้งั หมด
(2) จาํ ไดบางสวน
(3) ไมจ ํา จําไมไ ด
1.4 ตวั แปรดา นความรสู กึ พอใจ มตี วั แปร 3 ตวั ประกอบดว ย
(1) ชอบพึงพอใจ
(2) เฉย ๆ
(3) ไมชอบ ไมพึงพอใจ
2. วิเคราะหต วั บง ช้กี ําหนดวิธีการวัด
ตวั อยา ง เชน
(1) ตวั ชี้วัดการรบั รู วดั วาใชวธิ ีการรับรูแบบใดบาง ดังนั้นในเรื่องของความมัน่ คงในอาชีพ ตัว
บงชก้ี ารรับรู คือจาํ นวนของวธิ กี ารรับรทู ีน่ าํ เขามาใชแลว ใหค ะแนน 1
(2) ตัวชี้วัด การนึกคิดถึงคุณคา วดั ดว ยการตดั สนิ ใจทต่ี นเองเปน แบบใด
- คดิ วา ดี ใหค ะแนน 1
- เฉย ๆ ใหค ะแนน 0
- คดิ วา ไมด ี ใหค ะแนน -1
(3) ตัวชี้วัดดานการจําไดหมายรูวัดดวยการประมาณคาวาตนเองเปนแบบใด
- มากให 1 คะแนน
- ปานกลาง ให 0 คะแนน
- นอ ย ให -1 คะแนน
(4) ตัวชว้ี ดั ดานความรูสกึ พอใจ วัดดวยการประมาณคาที่ตนเองเปนแบบใด
- พึงพอใจ ให 1 คะแนน
- เฉย ๆ ให 0 คะแนน
- ไมชอบ ให -1 คะแนน
3. เขยี นแบบวดั ความมน่ั คงในอาชพี
แบบวัดและประเมินผลมีหลายแบบ สําหรับการวัดผลความมัน่ คงในอาชีพเปนแบบประเมิน
ตนเอง ที่มีองคประกอบรวม 2 องคประกอบ คือ
(1) ภารกิจและกิจกรรม
(2) ตัวแปรดานนามธรรมหรือใจของผูประเมินตนเอง และตัวบงชีว้ ัดองคประกอบทัง้ 2 ดาน
ดังกลาว ไดถูกนํามาจัดเปนแบบวัดผลความมั่นคงในอาชีพ ดงั ตวั อยาง

78

ตวั อยาง แบบวัดความมั่นคงในอาชีพ

4. การประเมินผล
เปนกิจกรรมการวิเคราะห ตคี า แปรผล และสรุปผล ดงั น้ี
4.1 การวิเคราะหผล จากแบบวดั ผล มีรายละเอียด ดงั น้ี
(1) ตัวแปรดานการรับรูใ นแบบวัดกําหนดไวเพียง 3 วิธีการ การวิเคราะหผลโดยนับ

จาํ นวนวิธีการท่ีใชจริง โดยใหค ะแนนวธิ กี ารละ 1 คะแนน
(2) ตัวแปรดา นการคิดถงึ คุณคา ประกอบดว ย

79

- คดิ วาเปน สิ่งดี ใหค ะแนน = 1

- คิดวาเฉย ๆ ใหค ะแนน = 0

- คดิ วา ไมด ี ใหค ะแนน = -1

(3) ตวั แปรดา นการจาํ ได หมายรู ประกอบดว ย

- จาํ ไดมากกวา รอ ยละ 80 ใหค ะแนน = 1

- จําไดปานกลางรอยละ 50-79 ใหค ะแนน = 0

- จําไดตา่ํ กวา รอยละ 50 ใหค ะแนน = -1

(4) ตวั แปรดา นความรสู กึ ประกอบดว ย

- ถาเหน็ วาพึงพอใจ ใหค ะแนน = -1

- ถา เหน็ วา เฉย ๆ ใหค ะแนน = 0

- ถา เห็นวาไมช อบ ใหค ะแนน = -1

4.2 การตีคาผลการวิเคราะห มีรายละเอียด ดงั น้ี

4.2.1 ตวั แปรดา นนามธรรม

(1) ผลงานดานนามธรรมหรอื ใจของผปู ระเมนิ ตนเอง

- ม่นั คง เขมแข็ง = คะแนนสงู กวา 24 คะแนนขน้ึ ไป

- ตอ งระแวดระวงั = คะแนนระหวา ง 18-24 คะแนน

- ตอ งตรวจสอบพฒั นาระบบ = คะแนนระหวา ง 12-18 คะแนน

- ตองปรับรื้อระบบความมั่นคง = คะแนนระหวา ง 6-12 คะแนน

- ยกเลิกระบบถายังตองการทําธุรกิจตอไปตองพัฒนาใจของตนเอง

เรยี นรใู หม = ตา่ํ กวา 6 คะแนน

(2) การตีคา ผลการวเิ คราะหดา นการรับรูต อภารกจิ ความมัน่ คงธรุ กิจ

ดงั น้ี

- การรับรูดที ่ีสดุ = คะแนนสงู กวา 12 คะแนนขน้ึ ไป

- การรบั รดู ี = คะแนน 9-12 คะแนน

- ตองพฒั นาการรับรู = คะแนน 6-9 คะแนน

- ตอ งแกไ ขตนเองรับรใู หม = คะแนน 3-6 คะแนน

- เลกิ เปนเจาของธุรกจิ = คะแนนตาํ่ กวา 3 คะแนน

ทําไดแตแรงงาน

(3) การตีคาผลการวิเคราะหดานการนึกคิดคุณคาของระบบความมั่นคง

80

ธุรกจิ ดงั น้ี

- มีการคิดนึกตอระบบความมั่นคงดีมาก=คะแนนสงู กวา 5 คะแนน

- มีการนึกคิดตอระบบความมั่นคงดี = คะแนน 4 คะแนน

- ตองทบทวนคุณคาของระบบความมั่นคง = คะแนน 3 คะแนน

- ตองทบทวนความเหมาะสมของตนเอง = คะแนน 2 คะแนน

- ถอยตัวออกจากความเปนเจาของธรุ กจิ ทีไ่ มพ ฒั นาตนเอง

= คะแนน 1 คะแนนลงมา

(4) การตีคาดานความจําไดหมายรูตอระบบความมั่นคงธุรกิจ ดงั น้ี

- มคี วามจาํ ไดหมายรเู พ่อื ปฏิบัตภิ ารกจิ ความมน่ั คงดีมาก =5คะแนน

- มีความจําไดหมายรูเพื่อปฏิบัติภารกิจความมั่นคงดี = 4 คะแนน

- ตองทบทวนความจํา = 3 คะแนน

- ตองทบทวนความเหมาะสมในการเปนเจาของธุรกิจ = 2 คะแนน

- ถอยตัวออกจากความเปนเจาของธุรกิจ = 1 คะแนน

(5) การตีคาดานความรูสึกตอภารกิจความมั่นคงธุรกิจ ดงั น้ี

- มีความรูสึกตอภารกิจความมั่นคงธุรกิจดีมาก = 5 คะแนน

- มคี วามรสู กึ ตอ ภารกจิ ความมัน่ คงธุรกจิ ดี = 4 คะแนน

- ตองทบทวนความรูสึกของตนเอง = 3 คะแนน

- ตองทบทวนวาตนเองยังเหมาะสมในการเปนเจาของธุรกิจ

= 2 คะแนน

- ควรถอยตัวออกจากความเปนเจาของธุรกจิ = 1 คะแนน

4.2.2. ดา นภารกจิ ในแตละภารกิจมีสวนรวมตอความมั่นคงของธุรกิจอยางไร ดงั น้ี

- ภารกิจน้ีสง ผลตอ ความมั่นคงมากทส่ี ดุ = 6 คะแนน

- ภารกิจน้สี งผลตอ ความมนั่ คงดี = 5 คะแนน

- ภารกจิ น้ีตองคิดทบทวนและพฒั นา = 4 คะแนน

- ภารกิจนีต้ องยอ นดูการกระทาํ ของตนเอง = 3 คะแนน

- ตองทบทวนภารกิจปรับรื้อระบบและทําความเขาใจกับตนเอง

ในฐานะเจาของกิจการ = 2 คะแนน

81

2.3 การแปรผลการประเมนิ ตนเอง
ทบทวนกันอีกครัง้ การวัดและประเมินผลเปนเรือ่ งของการประเมินตนเองเพือ่ ใหรูจ ักและเขาใจ
ตนเอง เพราะกิจกรรมสรางความเขมแข็ง มัน่ คงในธุรกิจ เปนเรื่องที่เจาของธุรกิจ จะตองเอาใจใส จะบอกวา
ภารกิจนี้ไมชอบ คงไมได แตการประเมินตองถามใจวาเราเปนอยางไรกันแน แลววัดและประเมินผลไปตาม
สภาพจริง สวนผลจะออกมาอยางไร แลวเราจะทําอยางไรอยูท ีต่ ัวเราเอง จึงขอตัวอยางผลการวิเคราะห ตีคา
แปรผล และอภิปรายผลของเจาของธุรกิจทา นหนึ่ง ดงั น้ี
ตวั อยา ง ผลการวิเคราะห การประเมินภารกิจการสรางความมั่นคงในอาชีพ

จากตารางผลการวเิ คราะหสามารถอธบิ ายไดว า
1. โดยภาพรวมแลวจะตองตรวจสอบพัฒนาระบบความมั่นคงธุรกิจ
2. มีภารกิจที่จะตองตรวจสอบพัฒนาประกอบการ

(1) การบริหารทรัพยากรดําเนินงาน

82

(2) การจัดการสงมอบ
(3) การวจิ ัยพัฒนา
3. จะตองทบทวนสภาพและความรูสึกของตนเองเกี่ยวกับ
(1) การมองเห็นคุณคาของภารกิจความมั่นคงธุรกิจ
(2) ความรูสึกชอบไมชอบในภารกิจความมั่นคง
4. ถา จะเปน เจาของธุรกจิ ตองเอาใจใสต อ การจําไดห มายรู

กิจกรรมท่ี 1

คําชีแ้ จง : จากการเรียนรูร ะบบความมัน่ คงในธุรกิจอาชีพและการวัดและประเมินผลภารกิจ ความมัน่ คงใน
อาชีพ ทานคิดวาตัวทานเองควรมีกรอบแนวทางวัดและประเมินผลภารกิจ ความมัน่ คงในอาชีพของตนเอง
อยางไร ขอไดโ ปรดศกึ ษาแบบบนั ทกึ นแ้ี ลว ทดลองคดิ ดว ยตนเอง

1.ลักษณะกิจกรรมอาชีพที่ขยายขอบขาย
1.1 ผลผลิต
(1) เปาหมายการผลิต คือ :

...............................................................................................................................................
(2) ผลผลติ ขายใหใคร :

..................................................................................................................................................
(3) ผลผลติ ขายท่ีไหน :

..................................................................................................................................................
(4) ผลผลติ ขายอยา งไร :

..................................................................................................................................................
1.2 กระบวนการผลิต
(1) ลักษณะแบบแผนปฏิบตั ิงาน :

..................................................................................................................................................
(2) ลักษณะการทํางานตามแผน :

..................................................................................................................................................
(3) ลักษณะการตรวจสอบหาขอบกพรอง :

..................................................................................................................................................

83

(4) ลกั ษณะการปฏิบตั ิการแกไ ขขอ บกพรอ ง :
..................................................................................................................................................

2. กรอบการวัดและประเมินผลความมั่นคงธรุ กิจของทาน

เมือ่ คิดดวยตนเองแลวขอใหผูเ รียน ผูเ กีย่ วของรวมกันวิเคราะหขอบกพรองและรวม กันพัฒนาให
สามารถใชดําเนินการวดั และประเมนิ ผลดว ยตนเองได

ใบเสรมิ ความรู

ตัวอยางบันทึกการวัดและประเมินผลความมัน่ คงอาชีพ เปนการประเมินผลตนเอง อยางงาย ๆ การ
บันทึกการวัดและประเมินผลความยั่งยืน ควรเนนเอกสารระบบและการทํางาน ใหเปนไปตามเอกสารระบบ มี
การตรวจตดิ ตาม หาขอบกพรอง และปฏบิ ตั กิ ารแกไ ขขอ บกพรองโดยมเี กณฑง าย ๆ ดงั น้ี

1. ภูมิคุมกันเขมแข็ง = ภารกิจความมัน่ คง มีเอกสารระบบปฏิบัติการ และปฏิบัติ การตามเอกสาร
อยางเครงครัด เกิดผลเปนไปตามเปาหมายทุกอยาง

2. มีภูมิคุมกัน = ภารกิจความมัน่ คงมีเอกสารระบบปฏิบัติการและปฏิบัติการตามเอกสารอยาง
เครงครัด เกิดผลเปนไปตามเปาหมายสวนใหญ

3. ภูมิคุม กันบกพรอง = ภารกิจความมัน่ คงมีเอกสารระบบปฏิบัติการ แตการปฏิบัติการมักละเลย
ไมทําตามเอกสาร

84

ตวั อยาง บันทึกการวัดและประเมินผลภารกิจความมั่นคงอาชีพ

85

3. กรอบการประเมินความเปน ไปไดใ นการนาํ กรอบแนวคดิ การขยายอาชีพไปใชจ ริง
กรอบแนวคดิ ในการประเมนิ ความเปน ไปไดดงั น้ี

จากแผนภมู ดิ งั กลาว แสดงใหเ หน็ กรอบแนวคดิ ในการประเมนิ ความเปนไปได มี
องคประกอบรวมกัน 6 องคประกอบ ในแตละองคประกอบมีตัวแปรบงชี้วัด ดงั น้ี
1. รูปแบบการขยายอาชีพ มตี วั แปรรว ม ดงั น้ี

1.1 ผลผลติ
1.2 กระบวนการผลิต
1.3 ปจ จัยนาํ เขา การผลิต
2. ความยากงายของการดําเนินการจัดการ มตี วั แปรรว ม ดงั น้ี
2.1 การบริหารจัดการ แรงงาน เงนิ ทนุ
2.2 แผนธุรกจิ
3. การรับไดของลูกคา มตี วั แปรรว ม ดงั น้ี
3.1 ผลผลติ อยใู นความนิยม
3.2 เปนสิ่งจําเปนตอ ชีวติ
3.3 ราคา

86

4. การรับไดของสังคมชุมชน มตี วั แปรรว ม ดงั น้ี
4.1 สภาพแวดลอ ม
4.2 วฒั นธรรมประเพณี

5. ความเหมาะสมของเทคนิควิทยาการที่ใชในการขยายอาชีพ
5.1 เทคนิควิทยาการเพื่อการลดตนทุน
5.2 เทคนิควิทยาการเพื่อการลดของเสีย

เปา หมายการประเมนิ ผล

การประเมินความเปนไปไดในการนํารูปแบบขยายอาชีพไปใชจริง มีเปาหมายที่จะ วเิ คราะห ดงั น้ี
1. วิเคราะหบทความสัมพันธสอดคลองรับกันได ระหวางองคประกอบ

1.1 ความสัมพันธ ระหวา ง AB AC AD AE
1.2 ความสัมพันธ ระหวา ง BC BD BE
1.3 ความสัมพันธ ระหวา ง CD CE
1.4 ความสัมพันธ ระหวา ง DE
2. ประเมินตัดสินใจรับความเปนไปได
2.1 ตารางวิเคราะหความสัมพันธสอดคลองรับกันไดระหวางองคประกอบ

87

2.2 เกณฑก ารประเมิน
(1) คะแนนระหวา ง 1-3 คะแนน ถือวา นํารูปแบบไปใชไมได
(2) คะแนนระหวา ง 4-7 คะแนน ถอื วา มคี วามเปนไปไดต ํา่ ตองทบทวน พฒั นา
(3) คะแนนระหวา ง 8-10 คะแนน ถือวามีความเปนไปไดในการนําไปใช

วธิ ีการวเิ คราะห

การวเิ คราะหเ พอ่ื การตัดสินใจ มีความจําเปนที่เจาของธุรกิจจะตองประเมนิ ตดั สนิ ใจดวยตนเอง
สาํ หรบั กรณที ่ีธรุ กิจมีหนุ สว นหรือผเู ก่ียวของควรจะใชว ิธีสนทนาเจาะลกึ และวธิ ีความสัมพนั ธรวมกนั โดยมี
วธิ กี ารดงั นี้

1. การวิเคราะหตัดสินใจบงชี้ความสัมพันธระหวางองคประกอบทีละคูดวยการใช วิจารณญาณของ
ตนเองนกึ คดิ ในรายละเอยี ดความสมั พนั ธค วามไปกนั ไดแ ละความเปน พวกเดยี วกนั วา หนกั ไปทางมี

88

ความสัมพันธต อ กัน หรอื ไมสมั พันธกนั คดิ ทบทวนหลายๆครง้ั จนมน่ั ใจแลวจึงตดั สินใจระบุวาองคป ระกอบ
ในคูที่วิเคราะหมีความสัมพันธตอกันแลวใหทําเครื่องหมายแสดงวามีความสัมพันธและเครื่องหมาย - แสดงวา
ไมมีความสัมพันธ

2. การใหคะแนนโดยใหคูองคประกอบที่มีความสัมพันธไดคะแนน 1 คะแนน คูทไี่ มสมั พันธให 0
คะแนน

วธิ ีการประเมนิ

การรวมคะแนนจากองคประกอบการประเมินแตละขอ แลวประเมินสรุปตามเกณฑการประเมิน เชน
(1) แนวทางขยายอาชีพของกลุมจักสานมคี ูความสัมพันธขององคประกอบการประเมินรวมคะแนน
ได 9 คะแนน สามารถอธิบายไดวาแนวทางขยายอาชีพของกลุมจักสาน มีความเปนไปไดในการนําไปใชจริง
(2) แนวทางขยายอาชีพของกลุมเลี้ยงปลา มีคูความสัมพันธขององคประกอบการประเมิน รวม
คะแนนได 3 คะแนน สามารถอธิบายไดวาแนวทางขยายอาชีพของกลุมเลี้ยงปลาเปนรูปแบบที่มีความเปนไป
ไดต าํ่ มาก รูปแบบไมสามารถนําไปใชได

สรุป

แนวทางประเมินความเปนไปไดของการนํารูปแบบขยายอาชีพไปใชเปนรูปแบบที่เนนการใชเหตุผล
เปนหลักไมใชการหาความสัมพันธเชิงคณิตศาสตร เปนการมองหาเหตุผลดวยวจิ ารณญาณของตนเองเพอ่ื
รบั ผดิ ชอบตนเอง และนาํ ตนเองได

ใบเสรมิ ความรู

ตัวอยาง : การวิเคราะหกําหนดตัวบงชี้ภายในองคประกอบของการประเมิน

89

90

ใบเสรมิ ความรู

ตัวอยา ง : การวิเคราะหความสัมพนั ธที่เกี่ยวของระหวางตัวแปรภายในของรูปแบบ การขยายอาชีพ
กบั การรับไดของลกู คา

91

ตวั อยาง : การวเิ คราะหความสมั พันธท เี่ ก่ยี วขอ งระหวา งตัวแปรภายในของรปู แบบการขยายอาชีพกับ
การรับไดของสังคมชุมชน

92

กิจกรรมที่ 2

คาํ ช้ีแจง : การใหผ เู รยี นจดั ทาํ แนวคดิ การประเมินความเปน ไปไดด ว ยตนเองน้ี มีจุดประสงค เพอ่ื ฝก ทกั ษะการ
ประยุกตใชทฤษฎีความรูตาง ๆ มาบูรณาการกับประสบการณของตนเอง ใหเ ปน กรอบแนวคดิ ของตนเอง และ
เขาใจภารกิจการประเมินความเปนไปไดอยางแจมแจง
1. กรอบแนวคิดการประเมินความเปนไปไดของตนเอง

2. รายละเอียดในแตละองคประกอบของกรอบแนวคิด

3. เปาหมายการประเมิน (มีอะไรบาง)

4. วิธกี ารวิเคราะหขอมลู

5. วธิ ีการประเมนิ

93

เรอ่ื งท่ี 3 การตัดสินใจขยายอาชพี ดวยการวเิ คราะหศ กั ยภาพ

จากการท่ผี เู รยี นไดศ กึ ษา เร่ืองที่ 1 ภารกิจเพ่ือความมน่ั คงในการทําธุรกจิ ประกอบดวยเร่ืองยอ ย
ๆ คือ บทบาทหนาที่ของตนเองที่มีตอธุรกจิ การบริหารทรัพยากรดาํ เนนิ ธุรกจิ การบริหารการผลิต การจัดการ
สงมอบ และการวิจัยพฒั นา ซ่ึงเนน เฉพาะการบรหิ ารจดั การของตวั ผปู ระกอบการเอง และเร่อื งท่ี 2 การวดั และ
ประเมนิ ผลความมัน่ คงในอาชพี ซงึ่ ตอ งเรียนรูเกีย่ วกบั องคประกอบ การวัดและประเมินผลความมั่นคงในอาชีพ
วิธีการวัดผลและประเมินผลความมั่นคงในอาชีพ และการแปรผลการประเมินตนเองเปนการหาขอสรุปวาจะ
ดําเนินการขยายอาชีพหรือไม อยางไร

เพื่อเปนการสรางความมั่งคงยิ่งขึ้น ผูประกอบการ ควรพิจารณาวิเคราะหศักยภาพในการขยาย
อาชพี 5 ดานดวย ดงั น้ี

1. ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่
2. ศกั ยภาพของพ้นื ทีต่ ามลกั ษณะภมู ิอากาศ
3. ศักยภาพของภูมิประเทศและทําเลที่ตั้งของแตละพื้นที่
4. ศักยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณแี ละวถิ ีชวี ิตของแตล ะพนื้ ที่
5. ศักยภาพของทรพั ยากรมนุษยในแตล ะพ้ืนที่

1. ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตล ะพน้ื ที่
ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งมนุษยสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชน

ตอ ชวี ิตประจําวัน และการประกอบอาชพี ทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก ปา ไม แมน ํ้า ลําคลอง อากาศ แรธาตุตา ง ๆ
ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดใชแลวหมดไป เชน แรธาตุตาง ๆ บางชนิดมนุษยสามารถสรางทดแทนขึ้นใหมได
เชน ปาไม เม่ือมนุษยตัดไปใชประโยชนแ ลว กส็ ามารถปลูกทดแทนขน้ึ ใหมไ ด ดังนัน้ การขยายอาชพี ตอง
พจิ ารณาวา ทรพั ยากรท่ีจะตองนํามาใชใ นการขยายอาชพี ในพื้นท่ีมีหรือไม มีเพียงพอหรือไม ถาไมม ี
ผปู ระกอบการตองพิจารณาใหมว าจะขยายอาชพี ทต่ี ดั สนิ ใจเลือกไวหรอื ไม หรือพอจะจัดหาไดในพนื้ ท่ใี กลเคียง
ซึ่งผูประกอบการตองเสียคาขนสงจะคุมคากับการลงทุนหรือไม เชน ตัดสินใจจะขยายอาชีพจากเดิมเลี้ยงสุกร
100 ตัว ตองการเลีย้ งเพิ่มเปน 200 ตวั ซงึ่ เพิ่มอีกเทา ตัว จะตองพจิ ารณาวา อาหารสกุ รหาไดใ นพืน้ ท่ีหรอื ไม เชน
รําขาวในพ้ืนที่มพี อเพยี งทจ่ี ะเล้ียงสุกรที่เพม่ิ ขนึ้ หรือไม
2. ศักยภาพของพน้ื ท่ตี ามลักษณะภูมิอากาศ

94

ในแตละพื้นที่จะมีลักษณะภูมิอากาศแตกตางกัน เชน ประเทศไทยภาคกลางมีอากาศรอน ภาคใตมีฝน
ตกเปนเวลานาน ภาคเหนือมีอากาศเย็น โดยเฉพาะอาชีพเกษตรกรรมขึ้นอยูกับสภาพภูมิอากาศเปนสวนใหญ
เชน ในพ้นื ที่มกี ารปลูกลิน้ จ่ี ลําไย อยูแลว และมผี ลผลติ ออกมากในฤดูกาล ทําใหราคาตกต่ําตองการถนอมให
เปน ลาํ ไยตากแหง เพ่ือใหไ ดราคาดี ดงั น้ัน ตองพจิ ารณาวาในชว งนน้ั มีแสงแดดพอเพยี งทจี่ ะตากลาํ ไยไดหรอื ไม
3. ศักยภาพของภมู ปิ ระเทศและทาํ เลทตี่ ้งั ของแตล ะพืน้ ที่

สภาพภมู ปิ ระเทศและทาํ เลทตี่ ัง้ ของแตล ะพ้ืนท่ีจะแตกตางกนั เชน เปนภเู ขา เปนท่ีราบสงู ทร่ี าบลุม แต
ละพืน้ ทม่ี ีผลตอ การขยายอาชีพ เชน การจัดหาแหลงทองเที่ยวเพิ่มขึ้นในพ้นื ทีต่ องพิจารณาวาแหลงทองเที่ยวแหง
ใหมในภูมิประเทศน้ัน ๆ สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวไดหรือไม หรือตองการขยายสาขารานกาแฟสดไปอีก
สถานทีห่ นึง่ ก็ตอ งพจิ ารณาทําเลทีต่ ง้ั แหง ใหมว า จะขายกาแฟไดหรือไม
4. ศกั ยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณีและวิถีชีวติ ของแตล ะพ้ืนที่

แตล ะพื้นทที่ ั้งในประเทศไทยและตางประเทศมศี ิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวถิ ีชิวตที่แตกตางกัน
ดงั นั้นแตล ะพนื้ ทีส่ ามารถนําเอาสิง่ เหลา น้มี าใชเปน อาชพี ได เชน เปนสถานท่ีทอ งเท่ียวเขาชมศิลปะ วัฒนธรรม
ประเพณีพืน้ บา น หรือพาชมวิถีชวี ติ อาจจะขยายอาชีพโดยเพิ่มจํานวนรอบที่เขาชมใหพอเพียงกับตลาด
เปาหมาย
5. ศักยภาพของทรพั ยากรมนษุ ยใ นแตล ะพน้ื ที่

ทรพั ยากรมนษุ ยใ นแตล ะพื้นที่ หมายถึง ความรู ความสามารถของมนุษยท ีเ่ ปนภมู ปิ ญ ญาทงั้ ในอดีต
จนถึงปจ จุบนั ดานการประกอบอาชพี ตา ง ๆ ในพื้นท่ีน้นั ๆ เมือ่ อาชีพนั้นมคี วามมนั่ คงในพ้ืนทน่ี น้ั ๆ แลว
อาจจะขยายไปพื้นที่อื่น ๆ การกระจายความสามารถของทรัพยากรมนุษย ก็สามารถทําไดโดยการอบรมผูสนใจ
ในความรูน ้ัน ๆ ใหสามารถนําไปขยายยงั พืน้ ทีอ่ ืน่ ๆ ได

ผปู ระกอบการทม่ี ีอาชพี มนั่ คงโดยผานการพัฒนาจนกระทั่งเปน ทรี่ ูจกั กันแพรหลายก็สามารถขยาย
ธุรกิจใหกวางขวาง โดยการเพิ่มปริมาณ หรือขยายสาขาใหมากขึ้นได โดยนําศักยภาพทั้ง 5 ดานมาชวย
ประกอบการพิจาณาดวย

95

กจิ กรรมท่ี 3

จากการทผี่ เู รียนศึกษาศกั ยภาพ 5 ดา น เพื่อขยายอาชีพมาแลว ใหวิเคราะหศักยภาพ 5 ดานในอาชีพที่
ตดั สนิ ใจขยายอาชีพทสี่ นใจ วา จะขยายอาชีพไดอยางไร เพื่อใหอาชีพนั้นมีความเปนไปไดลงในแบบบันทึก

96

แบบบันทึก

ตองการขยายอาชีพ…………………………………………………….

ท่ี ศักยภาพ 5 ดาน ท่ีตองการ / สอดคลอ งกับอาชีพ มี ไมมี หมายเหตุ

พอ ไมพอ

1 ทรพั ยากรธรรมชาติ 1.1
1.2
1.3
ฯลฯ

2 ภูมอิ ากาศ

3 ภมู ิประเทศและทาํ เลที่ต้ัง

4 ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี
และวิถีชีวิต

5 ทรพั ยากรมนษุ ย

97

สรปุ ผลการตัดสินใจ

ใหเ ลือกอยา งใดอยา งหน่งึ ดงั นี้
ρ ตัดสนิ ใจเลอื กขยายอาชีพ และใหอธิบายเหตุผลความเปน ไปไดท ่จี ะขยายอาชีพ

ρ ตดั สนิ ใจไมขยายอาชพี เนอ่ื งจาก

98

ภาคผนวก

99

รายชือ่ ผเู ขารว มประชุมปฏิบัตกิ ารเขียนตน ฉบับเรยี น

ตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2552
ระหวางวันท่ี 29 มถิ นุ ายน-3 กรกฎาคม 2552
ณ โรงแรมแกรนด เดอวิลล กรุงเทพมหานคร

1. นางพรทิพย กลา รบ ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

2. นางสาวพมิ พาพร อนิ ทจกั ร สถาบนั กศน.ภาคเหนอื
3. นางสาวสดุ ใจ บตุ รอากาศ สถาบนั กศน.ภาคเหนอื

4. นางณัฐพร เช้อื มหาวัน สถาบันการศกึ ษาและพฒั นาตอ เนอ่ื งสริ นิ ธร

5. นางวารณุ ี เผอื กจนั ทึก สถาบนั การศึกษาและพฒั นาตอ เนือ่ งสริ นิ ธร

6. นายทองจลุ ขันขาว สถาบนั กศน.ภาคกลาง
7. นางอมรรตั น ศรกี ระจบิ สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก

8. นางสาวสรุ ตั นา บูรณะวทิ ย สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก
9. นางสาวสาสนิ ี สมทบเจริญกุล สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก

10. นางสาวสมทรง นิลนอย สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก

11. นายมณเฑยี ร ละงู สถาบนั กศน.ภาคใต

12. นางสาวสริ ลิ กั ษณ จันทรแ กว ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเ พอ่ื การศกึ ษานครศรธี รรมราช
13. นางสาวลกั ษณส วุ รรณ บุญไชย ศนู ยวิทยาศาสตรเ พื่อการศึกษาตรงั

14. นายเดชพสษิ ฐ เตชะบุญ ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเ พอ่ื การศกึ ษาลาํ ปาง

15. นางพวงเพชร วิเศษชู ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเ พอ่ื การศกึ ษาสระแกว

16. นางอาภรณ เลศิ กจิ คณุ านนท ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเ พอ่ื การศกึ ษาสระแกว

17. นางทิพรัตน สัมฤทธร์ิ ินทร ศนู ยฝกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทย

บริเวณชายแดนชมุ พร

18. วา ท่ีรอ ยตรีอมั พร มากเพชรศูนยฝก และพฒั นาอาชพี ราษฎรไทย
บริเวณชายแดนสระแกว

100

19. นายวเิ ชยี ร ใจจติ ร ศูนยฝกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทย

บริเวณชายแดนสระแกว

20. นายกติ ตเิ กษม ใจชน่ื ศกึ ษานเิ ทศ

21. นางศริ พิ รรณ สายหงส ขา ราชการบาํ นาญ

22. นางดุษฎีศรีวัฒนาโรทยั กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

23. นางพรทิพย เขม็ ทอง กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

24. นางนนั ฐนิ ี ศรีธญั ญา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น

25. นางรงุ อรณุ ไสยโสภณ กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน

26. นายววิ ฒั นไ ชย จนั ทนสุคนธ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

27. นางพฒั นส ดุ า สอนซอ่ื กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

28. นางพชิ ญาภา ปต ิวรา กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น

29. นายสรุ พงษ มั่นมะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น

30. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

31. นางรุง ลาวณั ย พิไลวงค กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน

32. นางสาวปย วดี คะเนสม กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน

33. นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจิตวฒั นา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน


Click to View FlipBook Version