The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

67.pdfชีวิตและครอบครัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaew kaew, 2021-03-19 01:57:18

67.pdfชีวิตและครอบครัว

67.pdfชีวิตและครอบครัว



v หนังสือเรียน สาระทักษะการดาํ เนินชีวิต

รายวชิ าเลอื ก

ชวี ติ และครอบครวั
รหสั วชิ า ทช32004
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั เชียงใหม่
สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

ห้ามจาํ หน่าย
หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พมิ พด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพ่อื การศึกษาตลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน
ลิขสิทธ์ิเป็ นของสาํ นกั งาน กศน. จงั หวดั เชียงใหม่



คาํ นํา

หนังสือเรียนรายวิชาเลือก วิชา ชีวิตและครอบครัว รหัสวิชา ทช32004 ตามหลักสูตรการศึกษานอก
ระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดทําขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนได้รับ
ความรู้และประสบการณ์ ซ่ึงเป็นไปตามหลักการและปรัชญาการศึกษานอกโรงเรียนและพระราชบัญญัติ
ส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั พ.ศ.2551 ให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีสติปัญญา
มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและสามารถดํารงชวี ิตอยใู่ นสังคมได้อย่างมคี วามสุข

ดังนั้น เพื่อให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ของสถานศึกษามีประสิทธิภาพ สถานศึกษาต้องใช้หนังสือ
เรียนท่ีมีคุณภาพ สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สังคม และคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ของสถานศึกษา หนังสือเล่มน้ีได้ประมวลองค์ความรู้ กิจกรรมเสริมทักษะ แบบวัดประเมินผล
การเรยี นรู้ไวอ้ ย่างครบถ้วน โดยองคค์ วามรนู้ น้ั ไดน้ าํ เน้ือหาสาระตามท่ีหลักสูตรกําหนดไว้ นํามาเรียบเรียงอย่าง
มีมาตรฐานของการจัดทําหนังสือเรียน เพื่อให้ผู้เรียนอ่านเข้าใจง่าย สามารถอ่านและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
ไดอ้ ย่างสะดวก

คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเรียนสาระวิชา ชีวิตและครอบครัว รหัสวิชา ทช32004
เล่มนี้จะเป็นส่ือการเรียนการสอนที่อํานวยประโยชน์ต่อการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือให้สัมฤทธิ์ผลตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัดท่ีกําหนดไว้ในหลักสูตรทุก
ประการ

คณะผจู้ ดั ทาํ

สารบญั ข

คํานาํ หน้า
สารบัญ
คาํ อธิบายรายวิชา ก
บทท่ี 1 การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ ข

แผนการเรยี นร้ปู ระจาํ บท 1
แบบทดสอบกอ่ นเรียน 1
ตอนท่ี 1 การเสริมสร้างและดํารงประสิทธิภาพการทาํ งานของระบบต่าง ๆ 2
4
เร่อื งท่ี 1.1 อวัยวะภายภายนอก 4
เรื่องที่ 1.2 อวยั วะภายภายใน 5
ตอนที่ 2 พัฒนาการตามวยั ของมนุษย์ 6
ตอนท่ี 3 ปจั จัยทม่ี ผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ 8
ตอนท่ี 4 การวางแผนการดูแลสุขภาพ 10
แบบทดสอบหลังเรยี น 15
ใบงาน 1 17
แบบฝกึ หดั 18
บทท่ี 2 ชวี ติ และครอบครวั 20
แผนการเรียนรปู้ ระจาํ บท 20
แบบทดสอบกอ่ นเรียน 21
ตอนที่ 1 ทกั ษะท่จี ําเปน็ ตอ่ ชีวิต 23
ตอนท่ี 2 บทบาทและหนา้ ทีข่ องตนเองท่ีมตี อ่ ชุมชนและสังคม 25
ตอนที่ 3 การสง่ เสรมิ สัมพันธภาพทด่ี ใี นชวี ิตครอบครวั และชุมชน 32
ตอนที่ 4 การวางแผนชีวติ และครอบครวั 37
ตอนท่ี 5 การต้ังครรภ์และการดูแล 40
ตอนท่ี 6 ค่านยิ มเกี่ยวกบั ชวี ิตครอบครวั และพฤตกิ รรมทางเพศ 42
เรื่องท่ี 6.1 การสร้างค่านยิ มโดยยดึ ถอื วัฒนธรรมตามประเพณที ด่ี ีงาม 42
ตอนที่ 7 การจดั การกับปัญหาชีวติ 44
แบบทดสอบหลงั เรียน 47
ใบงาน 2 49
บทท่ี 3 เพศศกึ ษา 50
แผนการเรียนรู้ประจําบท 50
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 51



สารบญั (ต่อ)

หน้า

ตอนท่ี 1 พฤตกิ รรมเบ่ยี งเบนทางเพศ 53
ตอนที่ 2 อทิ ธิพลของสังคมและวัฒนธรรมตอ่ พฤตกิ รรมทางเพศ 56
ตอนที่ 3 โรคตดิ ต่อทางเพศสัมพนั ธ์ 59
61
เร่ืองท่ี 3.1 กามโรค 64
เรอ่ื งท่ี 3.2 โรคเอดส์ 67
แบบทดสอบหลังเรียน 69
ใบงาน 3 70
บทที่ 4 การออกกาํ ลงั กายและการเล่นกีฬา ทัง้ ประเภทบุคคลและประเภททมี กฬี าไทยและกฬี าสากล 70
แผนการเรยี นรู้ประจาํ บท 71
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 73
ตอนที่ 1 หลกั การ รูปแบบวิธกี ารออกกาํ ลังกาย 74
ตอนที่ 2 ประเภทของกิจกรรมพลศึกษา เกม และชนิดของกฬี า 115
ตอนที่ 3 ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวเฉพาะประเภทกีฬา 117
ตอนที่ 4 ประโยชนข์ องการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา 118
แบบทดสอบหลงั เรียน 121
ใบงาน 4 122
บทท่ี 5 การประยกุ ต์หลักวิทยาศาสตรก์ ารเคล่อื นไหวในการเลน่ กีฬา 122
แผนการเรียนรู้ประจาํ บท 123
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 124
ตอนที่ 1 การประยกุ ตห์ ลักวทิ ยาศาสตรก์ ารเคลอื่ นไหวในการเล่นกฬี า 135
แบบทดสอบหลงั เรียน 136
ใบงาน 5 137
บทที่ 6 การทดสอบและสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกายเพ่ือการออกกําลังกายและการเล่นกฬี า 137
แผนการเรยี นร้ปู ระจําบท 138
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 140
ตอนที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของสมรรถภาพทางกาย 142
ตอนท่ี 2 สมรรถภาพทางกายทเ่ี หมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานของเพศและระดบั อายุ 145
ตอนที่ 3 การทดสอบสมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพทางกลไก 147
ตอนท่ี 4 หลักและวิธกี ารสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกาย



สารบญั (ต่อ)

หน้า

แบบทดสอบหลงั เรยี น 154

ใบงาน 6 156

บทท่ี 7 การออกแบบโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถภาพกลไกและสมรรถภาพทางกายของตนเองและผอู้ น่ื 157

แผนการเรยี นร้ปู ระจําบท 157

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 158

ตอนที่ 1 การออกแบบโปรแกรมสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพกลไกและสมรรถภาพทางกายของตนเอง

และผอู้ ืน่ 160

แบบทดสอบหลงั เรียน 167

ใบงานที่ 7 169

บรรณานกุ รม 170

คณะผจู้ ัดทาํ 172

คณะบรรณาธกิ าร/ปรับปรุงแกไ้ ข 173



รายละเอียดวชิ า

1.คาํ อธิบายรายวชิ า
รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติที่ดี มีทักษะในการดูแลและสร้างเสริมการมีพฤติกรรม

สุขภาพท่ีดีปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดํารงสุขภาพของตนเอง และครอบครัวตลอดจน
สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมด้านสุขภาพพลานามัยและพัฒนาสภาพแวดล้อมที่ดี ศึกษาและฝึก
ทักษะเก่ยี วกับเรื่องต่อไปน้ี

การสรา้ งเสริมและดํารงประสทิ ธิภาพการทํางานของระบบต่างๆ พัฒนาการตามวัยของมนุษย์
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ การวางแผนดูแลสุขภาพ ทักษะที่จําเป็นต่อชีวิต
บทบาทและหน้าท่ีของตนเองที่มีต่อชุมชนและสังคม การส่งเสริมสัมพันธภาพท่ีดีในชีวิต ครอบครัวและชุมชน
วางแผนชีวิตและครอบครัว การตั้งครรภ์ และการดูแล ทักษะที่จําเป็นต่อชีวิต ค่านิยมเก่ียวกับพฤติกรรมทาง
เพศการจัดการปัญหาชีวิตและครอบครัวพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ อิทธิพลของสังคมและวัฒนธรรมต่อ
พฤติกรรมทางเพศ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หลักการ รูปแบบวิธีออกกําลังกาย ประเภทของกิจกรรมพล
ศึกษา เกม และชนิดของกีฬา เกม และชนิดของกีฬา ทักษะการเคลื่อนไหวเฉพาะประเภทกีฬา การประยุค
หลักการทางวิทยาสาสตร์การเคล่ือนไหวในการเล่นกีฬา ความหมาย ความสําคัญของสมรรถภาพทางกาย
สมรรถภาพทางกายท่ีเหมาะสม ตามเกณฑ์มาตรฐานของเพศและระดับอายุ การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
และสมรรถภาพทางกลไก และสมรรถภาพทางกลไก หลักและวิธีการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย การ
ออกแบบโปรแกรม สร้างเสริมสมรรถภาพทางกลไก และสมรรถภาพทางกายของตนเองและผู้อ่ืน ประโยชน์
ของการออกกําลังกายและการเล่นกีฬา กฎ กติกา และมารยาทในการเล่นเกมและกีฬาประเภทต่างๆ ออก
กําลงั กาย โดยการเลน่ เกม และเล่นเป็นกลมุ่

2.วตั ถุประสงค์
1. เพื่ออธิบายและเชื่อมโยงความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่/การศึกษานอกระบบ เร่ือง ชีวิต
และครอบครวั
2. เพอ่ื ให้เขา้ ใจ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคตทิ ดี่ ี มที กั ษะในเรื่อง ชวี ิตและครอบครัว
3. เพอ่ื นําความรไู้ ปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจําวัน

รายช่ือบทท่ี
บทที่ 1. การเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์
บทท่ี 2. ชวี ิตและครอบครัว
บทท่ี 3. เพศศกึ ษา
บทท่ี 4. การออกกําลงั กาย และการเล่นกีฬาทงั้ ประเภทบคุ คล ประเภททมี กีฬาไทยและกฬี าสากล
บทที่ 5. การประยุกตห์ ลักวทิ ยาศาสตร์ การเคลื่อนไหวในการเลน่ กฬี า
บทที่ 6. การทําสอบและสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกายเพือ่ การออกกาํ ลังกายและการเลน่ กฬี า
บทท่ี 7. การออกแบบโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถภาพกลไกและสมรรถภาพทางกายของตนเองและ
ผอู้ ่ืน

1

แผนการเรยี นรปู้ ระจําบท

บทท่ี 1 การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์

สาระสาํ คญั
รู้ เข้าใจ เร่ืองการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติท่ีดี มีทักษะใน

การดูแลและสร้างเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีดีปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดํารงสุขภาพ
ของตนเอง และครอบครวั ตลอดจนสนบั สนนุ ใหช้ มุ ชนมีสว่ นร่วมในการสง่ เสรมิ ดา้ นสขุ ภาพพลานามัยทีด่ ี

ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั
1. อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดาํ รงประสทิ ธิภาพการทาํ งานของระบบอวัยวะต่างๆ
2. อธิบายวิธวี างแผนการดแู ลสขุ ภาพ และปฏิบตั ติ น ตามแผนใหเ้ หมาะสม ตามภาวการณ์
เจรญิ เตบิ โตพัฒนาการของตนเองและครอบครัว

ขอบขา่ ยเนอ้ื หา
เรอ่ื งที่ 1 การสรา้ งเสริมและดาํ รงประสิทธภิ าพการทาํ งานของระบบต่าง ๆ
เรือ่ งท่ี 2 พฒั นาการตามวัยของมนษุ ย์
เรือ่ งท่ี 3 ปัจจยั ทม่ี ีผลตอ่ การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์
เร่ืองท่ี 4 การวางแผนการดูแลสุขภาพ

กจิ กรรมการเรียนรู้
1. ทําแบบทดสอบก่อน-หลงั เรยี น
2. ศึกษาเอกสารประกอบการเรยี นรู้
3. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
4. ทําใบงาน/แบบทดสอบหลังเรียน

สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้
1. เอกสารประกอบการเรยี นรู้
2. ใบงาน/ใบความรู้
3. ส่ือวีดีทัศน์/วีซีดี
4. รูปภาพโปสเตอร์

ประเมนิ ผล
1. จากการสังเกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ มของนักศกึ ษา
2. ใบงาน/ช้ินงานท่ีมอบหมาย
3. แบบทดสอบก่อน-หลงั เรยี น

2

แบบทดสอบ ก่อนเรยี น
เร่อื ง การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์

จงเลือกขอ้ คําตอบที่ถูกต้องทีส่ ุดในแตล่ ะขอ้
1. การเจริญเติบโตของรา่ งกายคอื อะไร

ก. การทีร่ ่างกายสงู ใหญข่ ้นึ
ข. การที่อวยั วะตา่ งๆของร่างกายทาํ งานได้ดี
ค. การเปลยี่ นแปลงท่เี ป็นไปตามธรรมชาติของสง่ิ มชี ีวติ
ง. การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญา
2. การพฒั นาการของร่างกายคืออะไร
ก. การมสี ติปัญญาดีขึ้น
ข. การปรบั ตัวเข้ากบั สังคมดขี น้ึ
ค. การเพิม่ ความสามารถในการทําหนา้ ทีข่ องรา่ งกาย
ง. การท่ีรา่ งกายมคี วามสงู เพ่มิ ขึ้นและมีนา้ํ หนักมากขน้ึ ดว้ ย
3. การเจริญเตบิ โตและการพฒั นาการมีความสัมพันธ์กันหรือไมอ่ ย่างไร
ก. สมั พันธ์กันเพราะตอ้ งใช้ควบคกู่ ันไป
ข. สัมพันธก์ นั เพราะเมือ่ ร่างกายเจริญเตบิ โตข้ึนยอ่ มมีการพัฒนาการมากขึ้น
ค. ไมส่ ัมพนั ธก์ ัน เพราะการเจริญเติบโตมคี วามหมายแตกต่างกบั การพัฒนาการ
ง. ไม่สมั พันธก์ นั เพราะการเจริญเตบิ โตเปน็ เร่อื งของรา่ งกาย สว่ นการพฒั นาการ

เปน็ เรื่องของจิตใจอารมณแ์ ละสังคม
4. ความหมายของคําวา่ "ปฏิสนธิ" ขอ้ ใดชัดเจนที่สุด

ก. การเกิดของทารก
ข. การเริ่มตน้ ชวี ิตของคนเรา
ค. การทํางานของตัวอสุจิและไข่
ง. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย์
5. ตวั อสจุ ิจะเขา้ ไปผสมพันธก์ุ บั ไข่ ณ บริเวณใด
ก. รงั ไข่ ข. มดลกู
ค. ปีกมดลูก ง. ช่องคลอด
6. การท่ที ารกแรกเกดิ รอ้ งไห้ เพราะหวิ หรือตกใจ เป็นการแสดงถงึ พฒั นาการด้านใด
ก. สงั คม ข. รา่ งกาย
ค. บุคลิกภาพ ง. จติ ใจและอารมณ์
7. ทารกอายุ 12 เดอื น เหน็ แมอ่ ุ้มเด็กอื่นแลว้ ทารกรอ้ งไห้ เมอื่ แมเ่ ลิกอมุ้ เด็กอ่ืนแลว้ ทารกหยดุ รอ้ งให้ แสดงให้
เหน็ วา่ ทารกเกดิ อารมณ์ใด
ก. รกั ข. กลวั
ค. อจิ ฉา ง. เสยี ใจ

3

8. การอบรมเลยี้ งดทู ่ีดจี ะทาํ ให้เดก็ เกิดการพัฒนาการทดี่ ีในดา้ นใดบ้าง

ก. รา่ งกายและจิตใจ ข. ร่างกายจติ ใจและอารมณ์

ค. ร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ และสงั คม ง. ร่างกาย จิตใจ อารมณส์ งั คม และสตปิ ญั ญา

9. หนว่ ยงานท่ีกาํ หนดเกณฑม์ าตรฐานคือหน่วยงานใด

ก. กรมอนามัย ข. กรมการแพทย์

ค. โรงพยาบาลต่าง ๆ ของรฐั ง. สํานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อ.ย.) Archie

10.ถ้าตอ้ งการจะทําใหต้ นเองมีรา่ งกายเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐานควรปฏิบตั ิอย่างไร

ก. กนิ อาหารครบ 5 หมู่

ข. กินอาหารครบ 5 หมู่ ดืม่ นมมาก ๆ

ค. กินอาหารครบ 5 หมู่ ด่ืมนมมากๆและออกกําลงั กายบ่อยๆ

ง. กนิ อาหารครบ 5 หมู่ ดืม่ นมมาก ๆ ออกกาํ ลังกายบอ่ ยๆและดูหนังสอื ทุกวนั

4

ตอนท่ี 1 การเสรมิ สร้างและดํารงประสทิ ธิภาพการทํางานของระบบต่าง ๆ

อวัยวะ หมายถึงช้นิ ส่วนของรา่ งกาย ซ่ึงรา่ งกายของคนเราประกอบดว้ ยอวยั วะตา่ ง ๆ แบง่ ไดเ้ ป็น 2
ส่วน คอื อวัยวะภายนอกและอวยั วะภายใน

เร่ืองท่ี 1.1 อวัยวะภายภายนอก

หนา้ ทขี่ องอวยั วะภายนอก
1. ตา หนา้ ทีข่ องตา ตาเป็นอวัยวะทส่ี ําคัญสาํ หรับการรับสัมผสั เกีย่ วกับแสงสแี ละภาพ มลี กั ษณะกลม
บรรจใุ นเบ้าตา ไมค่ วรขย้ีตาแรง ๆ เมื่อมฝี นุ่ ละอองเขา้ มา และควรอ่านหนังสือในที่ท่มี แี สงสวา่ งเพยี งพอ
2. หู หน้าท่ขี องหู หเู ปน็ อวัยวะสาํ คัญท่รี บั การสมั ผัสเกย่ี วกบั เสยี งและการทรงตวั เราไม่ควรใช้
ของแขง็ แคะหู เม่ือหผู ดิ ปกติเราต้องรบี ไปพบหมอทันที
3. จมูก หนา้ ทข่ี องจมกู จมกู เป็นอวยั วะที่รับรูเ้ รอ่ื งกลิ่น การดูแลรักษาจมกู ไม่ใช้ของแขง็ แคะจมกู หรอื
นําสิง่ แปลกปลอมเข้าสจู่ มูก
4. ล้ิน หน้าท่ขี องลิ้น เป็นอวยั วะสําคัญเก่ียวกับการรับรู้ เรื่องรสต่าง ๆ โดยเซลล์ตา่ ง ๆ ของล้ินทาํ
หนา้ ทเ่ี ก่ียวกบั การร้รู ส
5. ฟนั หนา้ ทขี่ องฟัน ฟันมหี น้าทีใ่ นการกัด ตดั แทะ และบดเคี้ยวอาหารให้ละเอยี ดเพอ่ื ใหอ้ าหาร
คลกุ เคล้ากับนา้ํ ลายและนาํ้ ย่อยอาหารไดด้ ี การดแู ลรักษาฟนั แปรงฟันอย่างน้อยวนั ละ 2 คร้ัง ไม่ควรใชฟ้ ันกดั
แทะของแข็งมากเกินไป เมอื่ ปวดฟนั ต้องรีบไปปรึกษาแพทย์ทนั ที
6. ผวิ หนงั หน้าท่ีของผิวหนัง ผิวหนังเปน็ อวัยวะสว่ นหนง่ึ ทีช่ ่วยในการขับถา่ ยของเสยี ประเภท
ของเหลว และยังชว่ ยควบคุมความช่มุ ช้ืนภายในเซลลข์ องรา่ งกาย ชว่ ยปรับอุณหภูมใิ นรา่ งกายให้เหมาะสม
ป้องกนั สารแปลกปลอมและเชอื้ โรคเข้าสรู่ ่างกาย รวมทง้ั ปอ้ งกันอันตรายจากรงั สีอลั ตราไวโอแลตจากดวง
อาทิตยอ์ กี ด้วย

5

เร่อื งที่ 1.2 อวยั วะภายภายใน

ตาราง ระบบตา่ ง ๆ ในร่างกาย

ระบบ อวัยวะที่เกยี่ วข้อง

1. ระบบหายใจ จมูก หลอดลม ปอด

2. ระบบไหลเวียนเลอื ด หัวใจ หลอดเลอื ด ทอ่ นาํ้ เหลือง ต่อมนา้ํ เหลือง มา้ ม ไขกระดกู
และนาํ้ เหลอื ง

3. ระบบยอ่ ยอาหาร ปากและสว่ นประกอบในปาก ต่อมนา้ํ ลาย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลําไส้เลก็

ลําไส้ใหญ่ ทวารหนัก ตบั อ่อน ตบั และถงุ นํ้าดี

4. ระบบต่อมไร้ทอ่ ตอ่ มไรท้ อ่ ทกุ ชนดิ เช่น ต่อมหมวกไต ตอ่ มไทรอยด์ ต่อมใตส้ มอง รงั ไข่ อัณฑะ
ฯลฯ

5. ระบบขบั ถา่ ย ไต ทอ่ ไต กระเพาะปัสสาวะ ทอ่ ปัสสาวะ ผวิ หนงั ลําไส้ใหญ่

ระบบ อวยั วะท่ีเก่ียวข้อง

6. ระบบห่อหุ้มรา่ งกาย ผิวหนงั ขน เลบ็

7. ระบบโครงกระดกู กระดูก กระดกู ออ่ น ขอ้ ต่อ เอน็ เชือ่ มกระดูก

8. ระบบกลา้ มเน้อื กลา้ มเนือ้ ยึดกระดูก กล้ามเนอ้ื เรยี บ กลา้ มเนอ้ื หัวใจ

9. ระบบประสาท สมอง ไขสนั หลัง เส้นประสาทและอวยั วะรับความรสู้ ึก

10. ระบบสืบพนั ธุ์ รงั ไข่ อณั ฑะ อวัยวะท่เี กี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ เช่น น้ําเมอื ก ตอ่ มลูกหมาก
และทอ่ ตา่ ง ๆ

สรุปได้วา่
1.ระบบอวยั วะต่าง ๆ ในรา่ งกายทุกระบบมีความสาํ คัญแตกต่างกนั แต่ละระบบตอ้ งทาํ งานประสาน

สอดคล้องกัน รา่ งกายจงึ จะแขง็ แรงสมบรู ณ์
2.ระบบประสาททาํ ใหค้ นเราเด่นกว่าสงิ่ มชี ีวติ ชนิดอืน่ โดยมสี มองเปน็ ศูนยก์ ลางความรู้สกึ นึกคดิ

สตปิ ัญญา มเี หตุมผี ล มคี วามสามารถในการคดิ แก้ปัญหา
3.อวยั วะบางอยา่ งทําหนา้ ทีม่ ากกวา่ 1 ระบบ ได้แก่ ผิวหนงั ปอด ลาํ ไส้ใหญ่ ตับอ่อน อณั ฑะ รงั ไข่

เปน็ ต้น
ผวิ หนัง ทําหนา้ ท่ที ้ังในระบบหอ่ หมุ้ รา่ งกาย ระบบประสาทและระบบขบั ถ่าย
ปอด ทาํ หน้าท่ที ้ังระบบขบั ถ่ายและระบบหายใจ โดยมกี ารขบั ถ่ายก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ออกมาทาง

ลมหายใจและนาํ กา๊ ซออกซเิ จนเขา้ ไปในระบบหายใจ
ลาํ ไสใ้ หญ่ ทาํ หน้าที่ทง้ั ในระบบยอ่ ยอาหารโดยการดูดนา้ํ จากกากอาหารเขา้ สเู่ สน้ เลือดและลําไสใ้ หญ่

ยงั ทําหนา้ ท่ใี นระบบขับถา่ ยโดยการขบั ถ่ายกากอาหาร
ตบั ออ่ น ทาํ หนา้ ที่ท้งั ในระบบย่อยอาหารและระบบต่อมไรท้ อ่ โดยในระบบยอ่ ยอาหารตับอ่อนจะชว่ ย

ผลิตน้าํ ย่อยใหล้ ําไสเ้ ล็ก ส่วนในระบบตอ่ มไรท้ ่อตับออ่ น จะสร้างฮอร์โมนอินซลู ินควบคมุ ปริมาณการใช้นาํ้ ตาล
ในเลือด

6

ตอนที่ 2 พฒั นาการตามวัยของมนษุ ย์

การเจรญิ เตบิ โตของมนุษย์
พชื และสตั วม์ ีการเจรญิ เตบิ โตตัวเรากม็ ีการเจริญเติบโตเช่นเดยี วกบั ตน้ พืช เม่ือก่อนเราตัวเลก็ เดี๋ยวนี้

เราตวั โตขึ้น ทเี่ ราตัวโตขนึ้ เพราะเราไดก้ ินอาหารทุกวนั อาหารท่ีเหมาะสม และช่วยให้เด็กๆ อย่างพวกเรา
เจรญิ เตบิ โตได้ดชี นิดหน่งึ คอื นม

การรบั ประทานอาหารที่ดมี ปี ระโยชนจ์ ะชว่ ยให้รา่ งกายของเราเจริญเติบโตและแขง็ แรง สิง่ ท่แี สดงให้
เหน็ ว่ารา่ งกายของเรามกี ารเจริญเตบิ โต คือ การมนี ํ้าหนักและสว่ นสงู เพม่ิ ข้ึน

ความสูงของร่างกายคนเรา จะเพ่ิมขึ้นอยา่ งพอเหมาะกบั น้าํ หนักตวั เรา เดก็ ผู้หญงิ จะมีส่วนสงู เตม็ ที่
เมอ่ื มีอายุระหวา่ ง 14 – 15 ปี หลงั จากนน้ั ก็จะสูงเพม่ิ ขน้ึ อกี เล็กน้อย สว่ ยเดก็ ผชู้ ายสว่ นสูงจะเพม่ิ ขึ้นทีเ่ ม่อื อายุ
ระหวา่ ง 17 – 18 ปี หลังจากนัน้ สว่ นสงู จะเพมิ่ ขึน้ อกี เล็กนอ้ ย

การเจรญิ เติบโตของร่างกายในวัยต่าง ๆ
รา่ งกายคนเรา มกี ารเจริญเตบิ โตจากวัยทารกสู่วยั เด็ก วยั ร่นุ และวัยผใู้ หญ่ ซ่งึ ในแต่ละวัยขนาดของ

ร่างกายจะมีการเปลยี่ นแปลงแตกตา่ งกนั ไป การเจรญิ เติบโตทางร่างกายของคนเรา สักเกตได้จากสิ่งต่อไปน้ี

1. นํา้ หนัก
2. สว่ นสงู
3. ความยาวของลําตัว
4. ความยาวของชว่ งแขนเม่ือกางเต็มท่ี
5. ความยาวของเสน้ รอบวงศีรษะ
6. ความยาวของเสน้ รอบอก
7. การขึ้นของฟันแท้

1. เดก็ วัยทารกหรอื เดก็ วัยแรกเกดิ
เดก็ วยั แรกเกดิ จะมอี ายอุ ยู่ในช่วงตั้งแต่แรกเกิดจนถงึ สามปี จะมกี ารเจรญิ เตบิ โตโดยมสี ดั ส่วนของ

ศีรษะตอ่ ลําตัวเป็น 1 ตอ่ 4

2. เด็กก่อนวยั เรียน
ในวัยนี้จะมอี ายอุ ย่ใู นช่วง 3 -6 ปี รูปร่างและสดั ส่วนของเดก็ จะเปลีย่ นไปจากวยั

แรกเกิด ดงั นี้ รปู ร่างคอ่ ย ๆ ยืดตวั ออกใบหน้าและศรี ษะเล็กลงเมือเทียบกับลําตวั มือและ
เท้าใหญแ่ ละแข็งแรง อกและไหลข่ ยายกวา้ งข้ึน แตห่ น้าทอ้ งแฟบลง

7

3. เด็กวัยเรียน
เด็กในวยั เรยี นอายรุ ะหวา่ ง 6 – 12 ปี จะมกี ารเจรญิ เตบิ โต ดงั น้ี นาํ้ หนกั โดยเฉลีย่ จะเพมิ่ ข้นึ ประมาณ

2 – 3 กิโลกรมั ต่อปี ส่วนสูงเพิ่มประมาณ 4 – 5 เซนตเิ มตรต่อปี ฟนั นาํ้ นมจะเริ่มหกั เมอื่ อายุประมาณ 6 ปี
และจะมฟี ันแทข้ ึ้นมาแทนท่ี

4. เด็กวัยร่นุ
เดก็ วยั ร่นุ จะมีอายุอย่ใู นช่วงอายุประมาณ 10 ปขี นึ้ ไป จนถงึ อายุประมาณ 20 ปี ระยะวัยรุ่นจดั วา่ เป็น

วยั ทีม่ คี วามสาํ คัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นวยั ทรี่ ่างกายและจิตใจเรม่ิ เปลี่ยนจากวยั เด็กเข้าสูว่ ัยผ้ใู หญ่ จงึ จดั ว่าเป็น
ชว่ งหัวเล้ยี วหัวตอ่ ทส่ี าํ คัญของชวี ิต ซ่งึ ถา้ วัยรุ่นไม่ได้รับการแนะนําอยา่ งถูกตอ้ ง อาจทําให้ประพฤตใิ นสงิ่ ท่ผี ิดได้
เมอ่ื ย่างเข้าส่วู ัยรุ่น ทัง้ เพศชายและเพศหญงิ จะมีการเปลี่ยนแปลงที่เกดิ ขนึ้ ตามธรรมชาติ ดงั น้ี

เพศชาย จะมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เมื่ออายปุ ระมาณ 15 ปี รา่ งกายจะขยายใหญข่ นึ้ มี
กล้ามเนือ้ ขึ้นเปน็ มัด แขนขาขาวใหญ่ขนึ้ มหี นวดเครา นมแตกพานเสยี งหา้ ว มีขนข้ึน

เพศหญงิ จะมสี ่วนสงู เพ่มิ ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ เมอื อายุประมาณ 15 ปี หนา้ อกจะขยายใหญข่ น้ึ เอวคอด
สะโพกพาย ใบหนา้ และผิวพรรณเปล่งปลงั่ ข้ึน มสี วิ ขนึ้ ทใ่ี บหน้าและมปี ระจาํ เดือน

การติดตามดแู ลการเจรญิ เตบิ โตของตนเอง
การเจรญิ เติบโตของคนเรา เป็นส่ิงทบ่ี ง่ บอกเก่ยี วกบั สุภาพของรา่ งกายของ

คนคนนน้ั เพราะถา้ ร่างกายมีการเจริญเติบโตทีเ่ หมาะสมกบั วยั ก็จะทําใหค้ นคนน้นั
สามารถพฒั นาจากวยั หนึ่งไปสอู่ กี วยั หน่ึงได้อยา่ งเหมาะสม ดังนน้ั เราจึงต้องร้จู ัก
ตดิ ตามดูแลและสงั เกตการณ์เจรญิ เติบโตทางรา่ งกายของตนเองอยเู่ สมอ
การติดตามดูแลการเจริญเตบิ โต

1. ชงั่ นา้ํ หนกั และวดั ส่วนสูงของตนเองอย่างสมํา่ เสมอ อยา่ งนอ้ ยปีละ 2 ครั้ง
2.สํารวจตนเองและจดบันทึกการเปลยี่ นแปลงของร่างกายและนํามาเปรียบเทียบ
กบั เพือ่ นในวัยเด่ียวกนั
ควรเขา้ รบั การตรวจสุขภาพรา่ งกายประจําปี เปน็ ประจาํ ทกุ ๆ ปี
การติดตามดูแลการเจริญเตบิ โตของตนเอง จะทําใหเ้ ราทราบวา่ ตนเองมีการเจรญิ เติบโตทางรา่ งกาย
เปน็ ไปตามวยั หรือไม่ และถา้ พบว่าตัวเรามีปัญหาดา้ นสขุ ภาพกจ็ ะทําให้สามารถไปปรกึ ษาแพทยไ์ ด้ต้ังแต่
เบ้อื งตน้

8

ตอนท่ี 3 ปจั จัยทีม่ ผี ลตอ่ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์

ปัจจัยทางกรรมพนั ธุ์
พันธกุ รรม หมายถงึ คณุ ลักษณะของสงิ่ มชี วี ิตท่ถี ่ายทอดจากบรรพบรุ ุษไปสู่รุ่นลูกหลาน โดยผา่ นทาง

เซลลส์ บื พนั ธ์ุของพ่อและแม่ โดยมยี นี ทอ่ี ย่ใู นโครโมโซมของเซลล์เพศ เปน็ ตวั นาํ การถา่ ยทอดลักษณะต่าง ๆ
ของพันธกุ รรมไปยงั ลกู หลาน แยกไดเ้ ปน็ 3 ลกั ษณะ คือ

- ลักษณะทางกาย จะถูกถา่ ยทอดจากพอ่ แมม่ าสลู่ กู มากกวา่ ลกั ษณะอ่ืน ๆ
- ลักษณะทางจติ ใจและเชาว์ ปัญญา เชือ่ วา่ มาจากทั้งพันธุกรรมและสิง่ แวดลอ้ ม
- ลกั ษณะทางพฤตกิ รรม ส่วนใหญ่จะมาจากการเรยี นรกู้ ารปรับตัวเองให้เข้ากบั สภาพแวดล้อมและ
พัฒนาการของแตล่ ะบุคคล
ปัจจัยทางดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม
- สิ่งแวดลอ้ มกอ่ นเกิด ได้แกร่ ่างกายของมารดาในระหว่างท่มี ีการปฏสิ นธแิ ละเจรญิ เตบิ โตของทารก
หากมารดาเป็นโรคบางชนิดกจ็ ะถา่ ยทอดไปยงั ทารกในครรภด์ ้วย เช่น โรคเอดส,์ โรคมะเร็ง ฯลฯ
- ส่ิงแวดลอ้ มทางสงั คม ความเชอื่ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวฒั นธรรม การศึกษา เศรษฐกิจ
การเมอื ง
ปจั จยั ทางดา้ นอายุ
อวยั วะทกุ ๆ สว่ นในร่างกายของเราจะมีการเสอื่ มสภาพตามช่วงอายุโดยธรรมชาติ แมว้ า่ จะมกี าร
บํารงุ รกั ษาอย่างไรกต็ าม

9

10

ตอนที่ 4 การวางแผนการดูแลสขุ ภาพ

คุณคา่ ของการวางแผนดูแลสขุ ภาพของตนเอง

สุขภาพเป็นรากฐานท่สี ําคญั ต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์ นับตั้งแต่การปฏิสนธิจนถึงส้ินอายุขัย
สุขภาพจึงเป็นเรื่องท่ีเก่ียวข้องกับตัวบุคคล สังคมและส่ิงแวดล้อม หากขาดความสมดุลก็จะก่อให้เกิดปัญหา
สุขภาพได้ ในปัจจุบันประเทศไทยมีการเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทําให้วิถีการดําเนินชีวิตของคนไทย
เปลย่ี นไป และมีพฤตกิ รรมสขุ ภาพไมเ่ หมาะสมขาดความสนใจละเลยต่อการดูแลสขุ ภาพ เช่น บรโิ ภคอาหารที่
ไม่เหมาะสม ขาดการออกกําลังกาย ใช้สารเสพติด ขาดการพักผ่อนและมีความเครียด เป็นต้น สาเหตุเหล่านี้
เป็นสิ่งบั่นทอนสุขภาพและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ถ้าหากเรามีการบํารุงรักษา ดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์
แข็งแรงตลอด จะเป็นเสมือนเกราะป้องกัน โรคภัยต่าง ๆ ไม่ให้ทําอันตรายต่อร่างกายได้ และยิ่งมีการปฏิบัติ
อย่างถูกต้องจนเป็นสุขนิสัย ความแข็งแกร่งทนทานในการป้องกันโรคก็จะยิ่งเพ่ิมมากข้ึน เป็นผลทําให้
สามารถดํารงชวี ติ อย่ใู นสงั คมได้อยา่ งสดช่นื แจ่มใส ไมเ่ จบ็ ป่วยและมีชีวิตยืนยง

ความสาํ คญั ประโยชน์และวิธีการวางแผนดูแลสขุ ภาพ

สขุ ภาพ คอื สภาวะของร่างกายและจิตใจของมนุษย์ การที่มนุษย์จะดาํ รงชวี ติ อยใู่ นสังคมได้
อยา่ งปกตสิ ุขนั้น ตอ้ งเป็นผทู้ ่มี ีสภาวะของร่างกายและจิตใจท่สี มบรู ณ์ ปราศจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ มโี ครงสรา้ งของ
รา่ งกายทีเ่ หมาะสม

ความสําคัญ : ผู้ท่ีมีสุขภาพดีจะสามารถปฏิบัติงานหรือทํากิจกรรมต่างๆได้อย่างคล่องแคล่ว มี
บคุ ลกิ ภาพทด่ี ี

สขุ ภาพแข็งแรงเป็นที่ชน่ื ชมของคนทั่วไป และสามารถคบค้าสมาคมไดอ้ ย่างสนทิ ใจ ซงึ่ เปน็
ปัจจยั หนึง่ ท่ีจะทําให้ประสบความสาํ เร็จในชวี ติ ในด้านตา่ งๆ

ประโยชนข์ องการดูแลสขุ ภาพ
การดูแลสุขภาพจะทําให้เกดิ ประโยชน์ ดงั น้ี

1. ทาํ ให้อวัยวะตา่ งๆ ในร่างกายมีสภาพสมบูรณ์และเป็นปกติ ทรุดโทรมช้า
2. ทําใหร้ ะบบต่างๆ ของรา่ งกายทํางานได้อยา่ งเปน็ ปกติ และมีประสทิ ธิภาพ
3. ทําให้ปราศจากโรคภยั ไข้เจบ็
4. ทาํ ให้ฟน้ื จากความเจ็บปว่ ยไดอ้ ย่างรวดเร็ว ทาํ ให้เปน็ คนท่รี า่ เริงแจม่ ใส มอี ารมณด์ แี ละมองโลกใน
แงด่ ี
5. ทาํ ให้อายยุ นื ยาว ทาํ ใหเ้ ปน็ ผ้ทู ีม่ พี ลังในการประกอบกจิ กรรมตา่ งๆ ในชีวติ ประจําวัน
6. ทาํ ใหเ้ ปน็ ทรัพยากรบคุ คลท่ีมีคา่ ของสังคม

11

วิธกี ารวางแผนดูแลสขุ ภาพ
การวางแผนการดูแลสขุ ภาพ อวัยวะต่างๆของรา่ งกายคนเราล้วนมีหน้าทีส่ ําคญั และทาํ งานประสาน

สอดคล้องกนั อยู่ตลอดเวลา หากอวยั วะใดอวัยวะหน่ึงชํารุดหรอื ไม่อาจทาํ หนา้ ท่ีได้ก็จะสง่ ผลกระทบกบั สว่ น
อน่ื ๆ ของร่างกายด้วย เราจงึ ควรท่จี ะดูแลรกั ษาใหร้ ่างกายมคี วามสมบรู ณ์ ปราศจากโรคภยั ไข้เจบ็ และความทุ
พลภาพตา่ งๆ ซงึ่ กค็ อื การดแู ลรกั ษาสขุ ภาพของเรานั่นเอง การดแู ลรักษาสขุ ภาพน้ี ทําได้ดงั นี้

1. การรับประทานอาหาร ควรรบั ประทานอาหารท่ถี ูกสุขลักษณะ มคี วามสะอาดและสารอาหาร
สมบูรณ์ ครบถว้ นและเหมาะสมกับวยั

2. การออกกาํ ลังกาย ควรจดั ระยะเวลาออกกาํ ลังกายแต่ละวันเปน็ ประจํา อยา่ งน้อยวันละ 30 นาที
และใชว้ ธิ อี อกกาํ ลังกายทเ่ี หมาะสมกับสภาพรา่ งกายแต่ละวัย

3. การพักผ่อน ควรพักผอ่ นใหเ้ พียงพอในแต่ละวันในสถานทีท่ ่ถี ูกสขุ ลกั ษณะ
4. การตรวจสุขภาพ ควรวางแผนตรวจสขุ ภาพตามระยะท่ีเหมาะสม เชน่ การตรวจฟัน ทกุ ๆ 6 เดอื น
เปน็ ตน้ ผู้ทีม่ อี ายุเกนิ กว่า 40 ปี ควรเขา้ รับการตรวจสขุ ภาพทวั่ ไปอย่างนอ้ ย ปลี ะ 1 ครง้ั เพอ่ื ใหท้ ราบสขุ ภาพ
ของรา่ งกายและสามารถดูแลรกั ษาสว่ นท่ีบกพรอ่ งอย่างทันทว่ งที

การวางแผนดสู ุขภาพของตนเองและบคุ คลในครอบครัว
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เป็นเร่ืองที่มีคุณค่าอย่างย่ิงเพราะนอกจากจะ

เป็นสิ่งท่ีช่วยกระตุ้นให้ตัวของเราเองและบุคคลในครอบครัวเกิดความกระตือรือร้นในการดูแลสุขภาพแล้วยัง
เป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดสัมพันธภาพอันดีระหว่างสมาชิกทุกคนในครอบครัวเกิดความรักในครอบครัวซึ่งจะช่วย
แก้ปัญหาตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างดี อนั จะนําไปสู่การมคี ณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ีในอนาคต
คณุ คา่ ของการวางแผนดแู ลสขุ ภาพของตนเองและครอบครวั

คาํ ว่า “สขุ ภาพดี” ในแต่ละคนนั้นอาจแตกต่างกนั ออกไปตามแตส่ ภาวะสงั คม หรือรูปแบบของวถิ ชี ีวิต
ที่แตกต่างกันแต่โดยรวมแล้วสุขภาพดีอย่างน้อยจะต้องหมายถึง ความสมบูรณ์ของทั้งร่างกายและจิตใจ
ซ่งึ สง่ิ ที่เกิดขึ้นนจี้ ะเกิดไดเ้ นือ่ งจากการดแู ลเอาใจใส่ระบบตา่ งๆ ท่ีสําคัญของรา่ งกาย การทีจ่ ะมสี ุขภาพดไี ดน้ น้ั
ไม่ว่าจะเป็นสุขภาพของตนเองหรือของบุคคลในครอบครัว ไม่ใช่เป็นสิ่งเกิดข้ึนได้ด้วยความบังเอิญหากแต่
จาํ เปน็ ท่จี ะตอ้ งมกี ารวางแผนในการดแู ลสขุ ภาพล่วงหนา้ ซึ่งจะช่วยใหเ้ กดิ ผลดี ดังน้ี

1. สามารถที่จะกําหนดวิธกี าร หรือเลอื กรูปแบบท่ีเหมาะสมกบั การดําเนินชีวติ ของตัวเราเองหรือ
บคุ คลในครอบครวั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

2. สามารถท่ีจะกําหนดช่วงเวลาในการดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม อาจจะมีกิจกรรมการออกกําลัง
กายในช่วงเช้าหรือในบางครอบครัวอาจจะมีเวลาว่างในช่วงเย็นก็อาจจะกําหนดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพ
ในช่วงเย็นก็ได้หรืออาจจะกําหนดช่วงเวลาในการตรวจสุขภาพประจําปีของบุคคลในครอบครัวได้อย่าง
เหมาะสม

3. เป็นการเฝ้าระวังสุขภาพทั้งของตนเองและบุคคลในครอบครัว ไม่ให้ป่วยด้วยโรคต่าง ๆ นับว่าเป็น
การสรา้ งสุขภาพ ซ่ึงจะดีกว่าการทจ่ี ะต้องมาซ่อมสุขภาพ หรอื การรักษาพยาบาลในภายหลัง

4. ช่วยในการวางแผนเร่อื งของเศรษฐกิจและการเงินในครอบครัว เน่ืองจากไม่ต้องใช้จ่ายเงินไปในการ
รักษาพยาบาล

5. สง่ เสริมสขุ ภาพทงั้ ของตนเองและบุคคลในครอบครัว
6. ทาํ ใหค้ ณุ ภาพชวี ิตทง้ั ของตนเองและสมาชิกในครอบครวั ดขี ้ึน

12

แนวทางในการวางแผนดูแลสุขภาพของบคุ คลในครอบครวั
บุคคลในครอบครัวประกอบด้วยบุคคลท่ีมีความแตกต่างทั้งบทบาท หน้าท่ี และช่วงวัย ดังนั้น การ

วางแผนดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัวจึงต้องมีความแตกต่างกันออกไป เช่น ใน วัยเด็กเป็นวัยที่ยังไม่
สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ พ่อแม่จึงมีส่วนสําคัญในการวางแผนดูแลสุขภาพให้กับเด็ก ในขณะที่ วัยผู้ใหญ่
สามารถที่จะวางแผนดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้ อย่างไรก็ตามหากการวางแผนดังกล่าวขาดความสมบูรณ์และ
ถูกต้องเหมาะสม อาจจะส่งผลให้ภาวะทางสุขภาพไม่บรรลุประสิทธิผลท่ีตั้งไว้ ดังนั้น ผู้ท่ีจะวางแผนดูแล
สขุ ภาพของบคุ คลในครอบครัวควรใหค้ วามสําคัญต่อเรอื่ งท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การวางแผนปฏิบัตดิ ังกล่าว

การวางแผนดแู ลสุขภาพโดยทว่ั ไป ควรให้ความสาํ คญั กับเรอื่ งทเี่ กี่ยวขอ้ งตอ่ ไปนี้
โภชนาการ
ตามหลักโภชนาการ อาหารถือว่าเป็นสิ่งจําเป็นต่อการดํารงชีวิต หากเรารับประทานอาหารท่ีมีคุณค่า

และมีปริมาณท่ีเหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย ก็จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการดํารงชีวิตแต่หากเรา
รบั ประทานอาหารท่ีไม่มีประโยชน์ หรือรบั ประทานในปริมาณท่ีเหมาะสมกับความต้องการของร่างกายไม่ว่าจะ
มากหรือน้อยเกินไป อาจก่อให้เกิดโรคต่าง ๆ ได้มากมาย เช่น การเกิดโรคขาดสารอาหารเนื่องจากร่างกาย
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย หรือการเกิดโรคอ้วนจากการรับประทานอาหารมาก
เกิดความต้องการของร่างกาย ดังนั้น การรู้จักท่ีจะวางแผนดูแลในเรื่องของการรับประทานเพื่อให้ร่างกายเกิด
ความสมบูรณ์แข็งแรง จึงเป็นอีกแนวทางหน่ึงที่ควรนํามาปฏิบัติในการเสริมสร้างดูแลสุขภาพของบุคคลให้มี
ภาวะทเ่ี ป็นปกติและมสี ขุ ภาพดี

การวางแผนการรับประทานอาหารใหถ้ ูกต้องตามหลกั โภชนาการมีหลกั การและแนวทางปฏบิ ัตทิ ส่ี าํ คญั
ดงั นี้

1.1. ศึกษาหาความรู้เก่ยี วกับอาหารทเี่ หมาะสมกบั บุคคลวัยต่าง ๆ ในครอบครัว เชน่ อาหารทเ่ี หมาะ
กับวัยเด็ก ควรจะเป็นอาหารในกลุ่มท่ีช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตและครบทั้ง 5 หมู่ เพราะวัยเด็กเป็นวัยท่ี
กาํ ลงั เจริญเติบโต ส่วนในวัยผู้ใหญ่จะเน้นการรับประทานอาหารท่ีให้พลังงานและครบทั้ง 5 หมู่ และในวัยน้ีแต่
ละคน จะมีความตอ้ งการอาหารแตกตา่ งกนั แลว้ แตล่ กั ษณะการทาํ งานหรือกิจกรรมที่ต้องทําในแต่ละวัน ซ่ึงจะ
ส่งผลต่อปริมาณของอาหารท่ีควรได้รับในแต่ละวันด้วย สําหรับในวัยผู้สูงอายุนอกจากการคํานึงในเรื่องการ
รับประทานอาหารให้ครบท้ัง 5 หมู่แล้ว ควรตะมีการปรับเปลี่ยนวิธีการปรุงอาหารให้เหมาะสมต่อการ
รับประทานอาหาร เช่น อาหารประเภทเน้ือสัตว์ควรเป็นเนื้อสัตว์แบบย่อยง่าย โดยเฉพาะเนื้อปลา นอกจากนี้
ควรลดอาหารประเภทแปง้ และไขมันลง เพราะอาจเป็นสาเหตใุ ห้เกิดโรคอ้วนในผสู้ ูงอายุได้

1.2. ควรส่งเสริมสุขนิสัยในการรับประทานอาหารให้เกิดขึ้นกับบุคคลในครอบครัว เช่น รับประทาน
อาหารให้เป็นเวลา เลือกรับประทานอาหารท่ีใหม่ สะอาด ไม่รับประทานอาหารท่ีสุก ๆ ดิบ ๆ รับประทานแต่
พออ่มิ ไม่ควรรบั ประทานมากเกิดไปเพราะอาจกอ่ ให้เกดิ โรคอว้ น เป็นต้น

1.3. หากบุคคลในครอบครัวมีโรคประจําตัว ผู้ที่มีหน้าท่ีในการจักเตรียมอาหารควรต้องมีความ
ระมัดระวังในการจดั เตรียม และตวั ผู้ท่เี ป็นโรคเองกค็ วรจะตอ้ งระมัดระวังในการบริโภคอาหารที่มีผลกระทบต่อ
โรคดว้ ย เช่น ผ้ทู ี่เปน็ โรคไต ควรหลกี เลย่ี งอาหารท่มี ีรสเค็ม หรือผู้ที่เป็นโรคไขมันในเลือดสูง ควรลดอาหารหรือ
หลีกเล่ยี งอาหารที่ไขมนั สงู เปน็ ต้น

13

เรือ่ งที่ 4.1 การออกกาํ ลังกายสมาํ่ เสมอ
การออกกําลังกาย หากปฏิบัติอย่างถูกต้องและสมํ่าเสมอจะส่งผลให้อวัยวะทุกส่วนของ

รา่ งกายแขง็ แรงและทาํ งานไดด้ ขี ้ึน ซงึ่ ถือว่าส่งผลดตี อ่ สุขภาพ นอกจากน้ี การออกกําลังกายยังช่วยให้เกิดความ
สนุกสนาน เพลิดเพลิน รู้สึกผ่อนคลาย ทําให้มีสุขภาพจิตดีขึ้น ดังน้ัน บุคลทุกกลุ่มอายุท่ีอยู่ในครอบครัวจึงควร
ออกกําลังกาย โดยอาจปฏบิ ตั ริ ว่ มกนั หรือตามความเหมาะสมของแต่ละบคุ คลกไ็ ด้

หลกั การวางแผนการออกกําลังกายโดยท่ัวไปที่ผู้วางแผน ตลอดจนสมาชิกในครอบครวั ควร
นาํ มาใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิ มีดังนี้

2.1 ศึกษารปู แบบของกิจกรรมการออกกําลงั กายให้เหมาะสมกับวยั และเพศ รวมทั้งสภาพรา่ งกายของ
แต่ละคน เช่น การออกกําลังกายในวัยเด็กส่วนใหญ่จะเป็นรูปแบบของการเล่น ซ่ึงจะช่วยในเรื่องของการฝึก
ทักษะทางกาย พัฒนาการทางอารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้แก่เด็ก ส่วนผู้ใหญ่เป็นวัยท่ีร่างกายมีการพัฒนา
เต็มท่ีแล้ว การออกกําลังกายมีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพของร่างกาย และ
ประสิทธิภาพในการทํางานของระบบอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย กิจกรรมในออกกําลังกายอาจเลือกได้ตามความ
สนใจ แต่ทั้งน้ีต้องคํานึงถึงความเหมาะสมในเร่ืองเพศ วัย และสภาพร่างกายของตนเองด้วย ส่วนผู้ใหญ่สูงอายุ
ควรเลือกรูปแบบการออกกําลังกายที่ไม่หนักจนเกินไป ไม่เคล่ือนไหวร่างกายท่ีรวดเร็วมากนัก ซ่ึงกิจกรรมการ
ออกกาํ ลังกายที่เหมาะสมสําหรับผ้สู ูงอายุ ไดแ้ ก่ การราํ มวยจนี การเดินเร็ว การวิ่งเหยาะ การทําท่ากายบริหาร
งา่ ย ๆ เปน็ ต้น

2.2 เตรยี มอุปกรณแ์ ละเคร่อื งใชใ้ นการออกกาํ ลังกายใหเ้ หมาะสมกบั ชนดิ ของการออกกําลังกาย
2.3 กาํ หนดโปรแกรมในการออกกําลงั กายให้เหมาะสม ซง่ึ โดยท่วั ไปแลว้ ไม่ว่าจะอยูใ่ นวยั ใดควรออก
กาํ ลังกายคร้งั ละไม่ตาํ่ กวา่ 30 นาที และสปั ดาหล์ ะไมต่ ่าํ กวา่ 3 วัน
2.4 ในกรณที ม่ี โี รคประจําตัว หรือมปี ญั หาทางด้านสุขภาพอื่น ๆ ควรปรกึ ษาแพทยก์ อ่ นการออกกําลงั
กาย

3. การพกั ผ่อน
การพักผ่อน นับเป็นสิ่งท่ีจําเป็นต่อมนุษย์และมีความสําคัญต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและ ทางจิตใจ

การพกั ผอ่ นเปน็ การชว่ ยใหร้ ่างกายได้ผ่อนคลายจากความเหน็ดเหน่ือย เม่ือยล้า และช่วยเสริมเสร้างให้ร่างกาย
สมบูรณ์แข็งแรงขึ้น และช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงข้ึน นอกจากน้ี ยังทําให้รู้สึกสดช่ืนขึ้น
นอกจากนี้ ยงั ทาํ ใหร้ ู้สึกสดชืน่ อีกดว้ ย ลักษณะที่จัดว่าเป็นการพักผ่อน ไดแ้ ก่

3.1 การนอนหลับ การนอนหลับเป็นการพักผ่อนท่ีดีที่สุด เนื่องจากในขณะที่คนเรานอนหลับอวัยวะ
ทุกระบบในร่างกายได้พักผ่อน ขณะเดียวกันร่างกายของคนเราก็จะทําการซ่อมแซมปรับปรุงเซลล์ต่าง ๆ ให้
พรอ้ มทจี่ ะปฏบิ ัตงิ านตอ่ ไป หากนอนหลบั อยา่ งเพียงพอเม่ือต่ืนข้ึนมาจะรู้สึกสดช่ืน กระปร้ีกระเปร่า พร้อมที่จะ
ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ คนในแต่ละวัยมีความต้องการใช้เวลาในการนอนหลับแตกต่างกัน เช่น ทารกแรกเกิด
ต้องการเวลานอนวันละประมาณ 18-20 ชั่วโมง เด็กอายุ 1-4 ปี วันละประมาณ 11-12 ชั่วโมง เด็กอายุ 5-12
ปี วันละประมาณ 8-9 ช่ัวโมง และผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป วันละประมาณ 9-10 ชั่วโมง นอกจากนี้ในช่วงวัยเด็ก
เรมิ่ เรียน 3-5 ปี ควรนอนหลับในเวลากลางวนั เพิ่ม 2-3 ชวั่ โมงด้วย

3.2 กิจกรรมนันทนาการ เป็นกิจกรรมที่ทาํ ในยามว่างนอกเหนือจากงานประจํา และเป็นกิจกรรมท่ีทํา
ด้วยความสมัครใจ เพื่อผ่อนคลายความตึงงเครียด สร้างความสนุกสนาน กิจกรรมนันทนาการมีมากมายหลาย
ลักษณะ ซ่ึงในการวางแผนเลือกกิจกรรมนันทนาการ ควรยึดหลักที่ว่า กิจกรรมเหล่าน้ันต้องมีความเหมาะสม

14

กับสุขภาพร่างกาย เพศ วัย ความสนใจ ความถนัด และความสามารถของตนเอง ไม่ขัดต่อศีลธรรมประเพณี
วัฒนธรรมของสังคม และกฎหมาย นอกจากน้ี ควรเป็นกิจกรรมที่ไม่สร้างความรบกวนหรือก่อความรําคาญ
ให้แก่บุคคลอ่ืน กิจกรรมท่ีจัดเป็นกิจกรรมนันทนาการ ได้แก่ กิจกรรมที่เกี่ยวกับงานฝีมือ งานประดิษฐ์ งาน
ศลิ ปะต่างๆ การเล่นดนตรี ร้องเพลง หรอื การเต้นรํา ในสถานท่ีมีความเหมาะสม เปน็ ตน้

เรื่องท่ี 4.2 ตรวจสขุ ภาพประจาํ ปี
โรคภัยไข้เจ็บ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้กับบุคคลทุกเพศทุกวัย หากปล่อยปละละเลย ไม่สนใจดูแลสุขภาพ

ของตนเองก็อาจจะทําให้เกิดอาการเจ็บป่วย เป็นเหตุให้บุคคลอ่ืนในครอบครัวต้องเสียเงินและเวลามาดูแล
รักษา นอกจากน้ี ภาวะของความเจ็บป่วยยังก่อให้เกิดความเครียดส่งผลเสียต่อสุขภาพจิตอีกด้วย และหากเกิด
ภาวะของการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อก็อาจส่งผลให้สมาชิกคนอื่นในครอบครัวติดเช้ือและเจ็บป่วยไปด้วยก็ได้
ดังนั้น ทุกคนในครอบครัวจึงควรท่ีจะรู้จักป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรค โดยการสร้างสุขนิสัยท่ีดีในการ
ดาํ เนนิ วติ ประจาํ วนั หลีกเลีย่ งพฤตกิ รรมท่เี สี่ยงตอ่ โรค และหมัน่ สังเกตสิ่งผดิ ปกติท่อี าจเกิดกบั ตนเองและบุคคล
ในครอบครัว หากมีความผิดปกติใด ๆ เกิดข้ึนควรรีบไปพบแพทย์เพ่ือทําการรักษา แต่ถึงแม้ว่าจะไม่มีอาการ
ผดิ ปกติใด ๆ ก็ควรทจ่ี ะปอ้ งหันไว้กอ่ น ด้วยวิธกี ารขอรับการตรวจสุขภาพว่ายังปกติอยู่หรือไม่

การวางแผนการตรวจสขุ ภาพมีแนวทางปฏบิ ตั ิโดยท่วั ไป ดังน้ี
1. การตรวจสุขภาพทั่วไป หลักเกณฑ์การตรวจสุขภาพทั่วไปจะแตกต่างกันไปตามกลุ่มอายุ เช่น เด็ก

ทารก ควรได้รับการตรวจสุขภาพตามท่ีแพทย์แนะนํา เพื่อตรวจการเจริญเติบโตและพัฒนาการและการให้
ภูมิคุ้มกันโรคต่าง ๆ เด็กวัยเรียน ควรได้รับการตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และตรวจสุขภาพฟันอย่าง
น้อย 4 เดือนต่อครั้ง รวมไปถึงการได้รับการฉีดวัคซีนเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรคตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้
กําหนดไว้ ใน วัยผู้ใหญ่ ควรได้รับการตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อประเมินสมรรถภาพการทํางาน
ของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย ส่วนใน วัยผู้สูงอายุ ควรได้รับการตรวจร่างกายอย่างละเอียดและสม่ําเสมออย่าง
น้อย 6 เดอื นต่อครัง้ เพ่อื ทจ่ี ะได้คน้ หาข้อบกพร่องทางด้านร่างกายต่าง ๆ นอกจากนี้ บุคคลโดยทั่วไปควรได้รับ
การตรวจสุขภาพในสถานการณ์อน่ื ๆ เชน่ ตรวจสุขภาพกอ่ นแต่งงาน หรือตรวจสุขภาพกอ่ นเข้าทาํ งาน เป็นต้น

2. การตรวจสุขภาพเมื่อมีอาการผิดปกติเกิดข้ึน นอกจากการตรวจสุขภาพท่ัวไปท่ีกล่าวมาแล้วใน
ครอบครวั ทกุ คนควรหมน่ั ดูแลและสงั เกตสุขภาพของตนเองอยู่เสมอ หากพบความผิดปกติหรือมีอาการของการ
เจ็บป่วยเกิดข้ึนควรรีบไปพบแพทย์เพ่ือที่จะได้ทําการรักษาอย่างทันท่วงที และยังเป็นการป้องกันการลุกลาม
ของโรค เพราะการค้นพบความผิดปกติและอาการเกิดของโรคในระยะแรกแพทย์จะสามารถรักษาให้หายขาด
ได้ง่ายกว่าการค้นพบโรคเมื่อมีอาการมากแล้ว ตัวอย่างอาการผิดปกติที่แสดงออกมาและควรไปพบแพทย์ เช่น
น้ําหนักตวั ลดลงอยา่ งรวดเรว็ ปวดเสยี ดหน้าอกเปน็ ครง้ั คราว เปน็ ต้น

15

แบบทดสอบหลังเรียน
เรือ่ ง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์

จงเลอื กขอ้ คําตอบทีถ่ กู ตอ้ งทส่ี ุดในแต่ละข้อ
1. การเจรญิ เตบิ โตของร่างกายคืออะไร

ก. การท่รี า่ งกายสงู ใหญข่ ้ึน
ข. การท่ีอวัยวะตา่ งๆของรา่ งกายทํางานได้ดี
ค. การเปลี่ยนแปลงทเ่ี ป็นไปตามธรรมชาติของสิง่ มชี วี ติ
ง. การเปลีย่ นแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา
2. การพัฒนาการของร่างกายคืออะไร
ก. การมสี ติปัญญาดขี น้ึ
ข. การปรบั ตัวเขา้ กบั สังคมดีข้ึน
ค. การเพมิ่ ความสามารถในการทําหน้าท่ขี องรา่ งกาย
ง. การทรี่ ่างกายมีความสงู เพิ่มข้ึนและมีนาํ้ หนกั มากขึน้ ด้วย
3. การเจรญิ เตบิ โตและการพฒั นาการมีความสัมพนั ธก์ นั หรอื ไมอ่ ย่างไร
ก. สัมพันธก์ ันเพราะตอ้ งใช้ควบคกู่ นั ไป
ข. สมั พันธ์กนั เพราะเม่อื ร่างกายเจรญิ เติบโตขึน้ ย่อมมกี ารพัฒนาการมากขนึ้
ค. ไม่สัมพนั ธก์ ัน เพราะการเจรญิ เติบโตมคี วามหมายแตกตา่ งกับการพัฒนาการ
ง. ไม่สัมพนั ธก์ นั เพราะการเจรญิ เตบิ โตเปน็ เรอื่ งของรา่ งกาย สว่ นการพัฒนาการ

เปน็ เร่อื งของจิตใจอารมณแ์ ละสงั คม
4. ความหมายของคําว่า"ปฏิสนธิ" ขอ้ ใดชัดเจนทส่ี ดุ

ก. การเกดิ ของทารก
ข. การเรม่ิ ตน้ ชวี ติ ของคนเรา
ค. การทํางานของตวั อสุจแิ ละไข่
ง. การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์
5. ตวั อสจุ ิจะเข้าไปผสมพันธุก์ ับไข่ ณ บริเวณใด
ก. รังไข่ ข. มดลกู
ค. ปกี มดลูก ง. ช่องคลอด
6. การทที่ ารกแรกเกดิ รอ้ งไห้ เพราะหิวหรือตกใจ เปน็ การแสดงถงึ พัฒนาการด้านใด
ก. สงั คม ข. ร่างกาย
ค. บคุ ลกิ ภาพ ง. จิตใจและอารมณ์
7. ทารกอายุ 12 เดือน เหน็ แม่อุม้ เด็กอื่นแลว้ ทารกร้องไห้ เม่ือแม่เลิกอมุ้ เด็กอื่นแลว้ ทารกหยดุ รอ้ งให้ แสดงให้
เห็นว่าทารกเกดิ อารมณ์ใด
ก. รกั ข. กลวั
ค. อจิ ฉา ง. เสยี ใจ

16

8. การอบรมเลยี้ งดทู ีด่ จี ะทําใหเ้ ดก็ เกดิ การพฒั นาการท่ดี ีในดา้ นใดบา้ ง

ก. ร่างกายและจิตใจ ข. ร่างกายจิตใจและอารมณ์

ค. ร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ และสงั คม ง. รา่ งกาย จิตใจ อารมณส์ ังคม และสตปิ ญั ญา

9. หน่วยงานที่กาํ หนดเกณฑ์มาตรฐานคือหน่วยงานใด

ก. กรมอนามยั ข. กรมการแพทย์

ค. โรงพยาบาลต่าง ๆ ของรฐั ง. สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อ.ย.) Archie

10.ถ้าตอ้ งการจะทําใหต้ นเองมีร่างกายเจริญเติบโตตามเกณฑม์ าตรฐานควรปฏบิ ัติอย่างไร

ก. กนิ อาหารครบ 5 หมู่

ข. กินอาหารครบ 5 หมู่ ดืม่ นมมาก ๆ

ค. กินอาหารครบ 5 หมู่ ด่ืมนมมากๆและออกกาํ ลังกายบ่อยๆ

ง. กนิ อาหารครบ 5 หมู่ ด่มื นมมาก ๆ ออกกาํ ลังกายบ่อยๆและดหู นังสอื ทุกวัน

เฉลยแบบทดสอบ ก่อน-หลังเรียน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
งคขคขงคงกค

17

ใบงานท่ี 1

จงอธิบายข้อความตอ่ ไปนใี้ ห้ถูกต้อง

1.จงยกตัวอย่างการทาํ งานของอวัยวะภายนอกมา 3 ข้อ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2.ปจั จยั ทม่ี ผี ลกระทบต่อการเจริญเตบิ โตของมนษุ ย์มีอะไรบ้าง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. นกั ศกึ ษามกี ารวางแผนการดแู ลสุขภาพของตนเองอย่างไรบา้ ง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4.อวัยวะภายในประกอบด้วยอะไรบ้าง มีความสําคัญหรือไม่ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

18

แบบฝึกหัด
เร่ือง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย์

คาํ ช้ีแจง ใหผ้ เู้ รียนทาํ เครือ่ งหมาย x ทับตวั อักษรหน้าคาํ ตอบทถ่ี กู ท่ีสดุ

1. อวัยวะที่เก่ียวกับระบบหายใจคือข้อใด 6.ไต เปน็ อวัยวะท่ีเกีย่ วขอ้ งกับระบบใด
ก. ปาก จมูก ปอด ก. ระบบการขบั ถ่ายอจุ จาระ
ข. คอหอย กลอ่ งเสียง หลอดลม ข. ระบบการขบั ถ่ายเหงื่อ
ค. จมกู หลอดอาหาร หวั ใจ ค.ระบบการขับถา่ ยปัสสาวะ
ง. รจู มูก กล่องเสียง กระเพาะอาหาร ง. ระบบการขบั ถา่ ยแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์

2. ตวั การทีก่ าํ หนดอัตราการหายใจเข้าออกคือขอ้ ใด 7.ลาํ ไส้เล็กเปน็ อวยั วะทอี่ ยูต่ ่อจากกระเพาะอาหาร
ก. ปริมาณแกส๊ ออกซเิ จน
ข. ปรมิ าณแกส๊ ไนโตรเจน มคี วามยาวประมาณเท่าใด
ค.ปรมิ าณแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์
ง. ปรมิ าณแกส๊ คลอรนี ก. 2-4 เมตร ข. 3-4 เมตร

ค. 4-6 เมตร ง.6-8 เมตร

3. ขอ้ ใดเปน็ หนา้ ทข่ี องระบบหายใจ 8.ระบบยอ่ ยอาหาร ประกอบด้วยอวัยวะที่สาํ คัญคอื
ก. การถา่ ยเทแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์และแกส๊ ก. ปาก หลอดอาหาร หลอดลม ลาํ ไส้เลก็ ลําไส้ใหญ่
ออกซเิ จน ข. ลาํ ไส้เล็ก ลาํ ไส้ใหญ่ หลอดลม หลอดอาหาร
ข.การนําแก๊สออกซเิ จนจากอากาศภายนอกเข้าสู่ ค. ปาก หลอดลม หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลําไส้ใหญ่
ร่างกายและถา่ ยเทแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ง.ปาก หลอดอาหาร ลําไสเ้ ลก็ ลําไส้ใหญ่
ค. การหายใจผ่านหลอดลม
ง. การขยายช่องออก เพ่ือใหป้ อดพองโต

4. การหายใจถูกควบคมุ โดย 9.ไตเปน็ อวัยวะทม่ี ีหน้าทข่ี ับถา่ ยสง่ิ ไหนออกจากรา่ งกาย
ก. จมูก ก. การขบั ถ่ายปัสสาวะ
ข. หลอดลม ข. การขบั ถ่ายอจุ จาระ
ค. ปอด ค.การขับถา่ ยเหงอื่
ง.กะบงั ลม ง. การขบั ถ่ายแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์

5.ตอ่ มใต้สมองเป็นต่อมท่คี วบคุมตอ่ มไร้ทอ่ ตา่ งๆ 10.ขอ้ ใดเปน็ หนา้ ทขี่ องเยอ่ื บุจมกู และขนออ่ นในจมกู
ยกเว้นขอ้ ใด ก. หายใจเข้า – ออก
ก. ตอ่ มไทรอยด์ ข.กรองฝุ่นละออง
ข.ตอ่ มพาราไทรอยด์ ค. แลกเปลย่ี นแกส๊ ออกซิเจนและแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์
ค. ตอ่ มหมวกไต ง. ไอ จาม
ง. ตอ่ มเพศ

19

เฉลยแบบฝกึ หดั
เร่ือง การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ขคข ง ขคง งกข

20

แผนการเรียนรปู้ ระจําบท

บทที่ 2 ชีวิตและครอบครัว

สาระสาํ คญั
รู้ เข้าใจ เร่ืองชีวิตและครอบครัว มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติที่ดี มีทักษะในการดูแลและสร้างเสริม

การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดํารงสุขภาพของตนเอง และ
ครอบครัวตลอดจนสนับสนนุ ใหช้ มุ ชนมีส่วนรว่ มในการสง่ เสรมิ ด้านสขุ ภาพพลานามัยทีด่ ี

ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวงั
1. อธิบายบทบาทของครอบครวั เพื่อนสังคมและวัฒนธรรมทม่ี ตี ่อพฤตกิ รรมทางเพศ และการดาํ เนิน
ชีวติ ได้
2. มีทกั ษะในการสรา้ งเสริมสัมพันธภาพทีด่ ตี ่อกัน

ขอบขา่ ยเน้อื หา
เรอ่ื งที่ 1 ทักษะทจ่ี ําเป็นตอ่ ชวี ติ
เรือ่ งที่ 2 บทบาทและหน้าที่ของตนเองที่มีต่อชมุ ชนและสังคม
เรือ่ งที่ 3 การส่งเสรมิ สมั พันธภาพทดี่ ีในชวี ิตครอบครัวและชมุ ชน
เรอ่ื งท่ี 4 การวางแผนชวี ติ และครอบครวั
เรอ่ื งท่ี 5 การตัง้ ครรภ์และการดูแล
เร่ืองท่ี 6 คา่ นิยมเกย่ี วกบั ชวี ิตครอบครวั และพฤตกิ รรมทางเพศ
เรอ่ื งที่ 7 การจดั การกบั ปญั หาชวี ิต

กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ทําแบบทดสอบก่อน-หลังเรยี น
2. ศกึ ษาเอกสารประกอบการเรียนรู้
3. ปฏิบตั ิกจิ กรรมตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
4. ทําใบงาน/แบบทดสอบหลงั เรียน

ส่ือประกอบการเรยี นรู้
1. เอกสารประกอบการเรยี นรู้
2. ใบงาน/ใบความรู้
3. สอื่ วดี ที ัศน/์ วีซีดี
4. รูปภาพโปสเตอร์

ประเมนิ ผล
1. จากการสังเกตพฤตกิ รรมการมสี ่วนร่วมของนกั ศกึ ษา
2. ใบงาน/ชน้ิ งานทมี่ อบหมาย
3. แบบทดสอบก่อน-หลงั เรยี น

21

แบบทดสอบก่อนเรยี น
เรือ่ ง ชวี ติ และครอบครวั

จงตอบคาํ ถามข้อตอ่ ไปน้ใี หถ้ กู ตอ้ ง

1. การกระทาํ ขอ้ ใดทาํ ให้เกดิ ปญั หาครอบครัว

ก. ลุกช่วยทาํ งานบ้าน

ข. ลูกไมเ่ ชือ่ ฟังพ่อแม่

ค. พ่สี อนการบ้านน้อง

ง. น้องช่วยพกี่ วาดบ้าน

2. ครอบครัวท่ไี มอ่ บอนุ่ มลี กั ษณะอย่างไร

ก. พ่อแม่ทํางานนอกบ้าน

ข. ครอบครวั มญี าตมิ าอยูด่ ้วย

ค. สมาชิกเกี่ยงกันทาํ งานบา้ น

ง. พอ่ แมม่ ีลกู คนใหม่

3. ถ้าพอ่ แม่บงั คับลกู มากเกนิ ไป จนลกู ไมอ่ ยากทําตาม จะเกิดผลอยา่ งไร

ก. ทําให้ลกู เรยี นดี

ข. ทาํ ใหล้ กู ไมม่ ีเพอ่ื น

ค. ทาํ ใหล้ ูกเขา้ กบั พ่ีน้องไม่ได้

ง. ทําให้ลกู มนี สิ ัยก้าวร้าว

4. ใครควรเปน็ ผู้แกไ้ ขปญั หาครอบครวั ไดด้ ีทีส่ ดุ

ก. พ่อแม่ ข.ลูก

ค. ญาติผู้ใหญ่ ง.สมาชิกทกุ คน

5. ข้อใดเป็นผลจากการทีค่ รอบครวั ไมม่ ีปญั หา

ก. ครอบครวั มฐี านะราํ่ รวย

ข. สมาชกิ มสี ขุ ภาพจติ ดี

ค. ลูกทุกคนมรี ่างกายแขง็ แรง

ง. พอ่ แม่มีตําแหน่งใหญโ่ ต

6. การปฏิบตั ิตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทยมีผลดตี ่อใครมากทีส่ ดุ

ก. ตนเอง ข.พอ่ แม่

ค. เพือ่ น ง.ครู่ กั

7. เพราะเหตใุ ดเราจึงควรหลกี เลยี่ งส่ือทางเพศ

ก. อาจทาํ ใหเ้ กดิ ความต้องการทางเพศ ค. ทาํ ให้เพ่อื น ๆ ดูถูก

22

ข. อาจทําให้เสยี คา่ ใชจ้ า่ ยมาก ง. ทาํ ให้เป็นคนลา้ สมยั

8. ผ้ชู ายลกั ษณะใดท่ีผหู้ ญิงไม่ควรเข้าใกล้
ก. ชอบช่วยเหลือผูอ้ ่นื
ข. พดู จาสภุ าพ
ค. มกี ริ ยิ าทเี่ รยี บร้อย
ง. ชอบถูกเนอ้ื ตอ้ งตวั หญงิ

9. เพราะเหตุใด หลังอาบนาํ้ จงึ ควรเชด็ อวยั วะเพศใหแ้ ห้ง
ก. เพือ่ ป้องกันการอับช้นื
ข. เพอ่ื ป้องกนั โรคเอดส์
ค. เพือ่ ไม่ให้เสอ้ื ผา้ สกปรก
ง. เพือ่ ไมใ่ ห้อวัยวะเพศมีกล่นิ เหมน็

10. ข้อใดเป็นวิธปี อ้ งกนั การมีเพศสมั พนั ธใ์ นวยั เรียน
ก. ไม่เรยี นหอ้ งเดยี วกบั เพศตรงขา้ ม
ข. ไมก่ นิ ข้าวโต๊ะเดียวกับเพศตรงขา้ ม
ค. ไม่อยตู่ ามลาํ พงั กับเพศตรงขา้ ม
ง. ไม่เลน่ กฬี ากับเพศตรงขา้ ม

23

ตอนท่ี 1 ทักษะที่จาํ เป็นต่อชีวติ

ทักษะชีวิตมีความสําคัญต่อบุคคล ครอบครัว ประเทศ และสังคมโลก เน่ืองจากทักษะชีวิตมี
ความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตและการแก้ไขปัญหาในระดับบุคคล ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพประชากรโดยรวม
กล่าวคือ ทักษะชีวติ มีความสําคัญตอ่ การแก้ไขปัญหาต่อไปน้ี

1. ปัญหาสุขภาพจิต องค์การอนามัยโลกได้ระบุว่าทักษะชีวิตเป็นเสมือนเคร่ืองมือหน่ึงในการสร้าง
ภูมิคุ้มกันให้สามารถดํารงรักษาสุขภาพจิตให้คงอยู่ได้ ไม่เกิดปัญหา เพราะสภาพแวดล้อมและปัญหาที่เกิดข้ึน
มากมายในสังคมย่อมส่งผลกระทบต่อบุคคล ถ้าบุคคลมีทักษะชีวิต บุคคลย่อมเข้าใจปัญหา และสามารถ
วิเคราะห์ปัญหาท่เี กิดข้ึนด้วยเหตผุ ลจนสามารถแกป้ ัญหาตา่ งๆให้ลุลว่ งไปได้

2. ปัญหาสารเสพติด เป็นปัญหาที่สืบเนื่องจากปัญหาอาชญากรรมภายในและภายนอกประเทศที่
ผู้ขายมีเครือข่ายอยู่ในทุกชุมชนและหมู่บ้าน เนื่องจากหวังรายได้จากการค้าสารเสพติดทําให้ปัญหาสารเสพติด
เป็นปัญหาหน่ึงท่ียากจะแก้ไขให้หมดไป แม้ว่ารัฐบาลจะใช้การปราบปรามอย่างรุนแรง แต่สารเสพติดก็ยังแพร่
ระบาดอยู่ ดังนน้ั วิธกี ารปอ้ งกันภยั จากสารเสพติดท่ีมีประสิทธิภาพคือการใช้ทักษะชีวิต หลีกเล่ียง และปกป้อง
ตนเองและครอบครวั จากการแพร่ระบาดของสารเสพตดิ

3. ปัญหาการมีเพศสัมพันธุ์ การมีเพศสัมพันธุ์ที่ไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสม เช่น การมีเพศสัมพันธุ์ใน
ระหว่างท่ียังเรียนอยู่ มีเพศสัมพันธ์ุแบบสําส่อน รักร่วมเพศ เป็นต้น ทําให้เกิดปัญหาอื่นๆ เช่น ปัญหาการทํา
แท้ง ปัญหาโรคเอดส์ ปัญหาครอบครัว ปัญหาการเรียน ปัญหาสุขภาพจิต เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นแล้วยากจะ
แก้ไข ทักษะชีวิตจะช่วยให้บุคคลมีความเข้าใจเร่ืองของเพศสัมพันธ์และรู้ว่าจะป้องกัน หลีกเลี่ยง และหาทาง
ออกใหก้ ับตนเองไดอ้ ยา่ งไรเมื่อเผชิญกับปัญหาการมีเพศสมั พันธ์

4. ปัญหาการทะเลาะวิวาทและการใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา เกิดจากการใช้อารมณ์ และ
ความรู้สกึ ตลอดจนอารมณร์ ว่ มกบั กล่มุ และพวกพ้องมากการใช้เหตุผล ทําให้ขาดความยั้งคิดในการการกระทํา
ใดๆ ทน่ี าํ ตนเองไปสู่การก่ออาชญากรรม ทําให้สูญเสียอนาคตเสียโอกาสและทําให้บุพการีเสียใจ การแก้ปัญหา
ความขัดแย้งทุกระดับสามารถทําได้ไม่ว่าจะเป็นระหว่างบุคคล แม้แต่ระหว่างประเทศ ทั้งนี้คู่กรณีของคาม
ขดั แย้งต้องมใชเ้ หตผุ ลและผลประโยชน์ของคนส่วนใหญ่เป็นหลักการสําคัญในการแก้ปัญหา ซ่ึงผู้ที่มีทักษะชีวิต
สามารถนําหลักการแห่งเหตผุ ลมาตดั สนิ แก้ไขปัญหาต่างๆได้

5. ปัญหาครอบครัว ส่วนมากเกิดจากสาเหตุการหย่าร้างของสามี-ภรรยาทําให้ครอบครัวมีสภาพ
แตกแยก ส่งผลกระทบต่อลูกๆ ไม่ว่าจะอยู่กับพ่อหรือแม่ก็ตาม ลูกบางคนยังถูกทอดท้ิงให้อยู่กับญาติผู้ใหญ่ ทํา
ให้ลูกขาดความอบอุ่น ขาดการขัดเกลาทางสังคม และทําให้รู้สึกว่าตัวเองมีปมด้อย ปัจจุบันสภาพสังคมไทยมี
ปัญหาครอบครัวสูงมาก ดังนั้น เยาวชนจึงจําเป็นต้องมีภูมิคุ้มกันตนเองไม่ว่าจะมีปัญหาครอบครัวหรือไม่ก็ตาม
ซ่งึ ทักษะชวี ติ จะชว่ ยใหเ้ ยาวชนมคี วามเข้าใจและแนวทางทีด่ ใี ห้กบั ตนเองได้แมว้ า่ ครอบครัวจะไม่สมบูรณก์ ็ตาม

6. ปัญหาสังคม ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณี ระบบเศรษฐกิจ ระบบ
การเมืองการปกคราอง และระบบการสื่อสาร โทรคมนาคม ซ่ึงส่งผลต่อทัศนคติ การคิด การตัดสินใจ และการ
แสดงออกหรือพฤติกรรมของบุคคล โดยมีการส่ือสารต่างๆ เป็นผู้สร้างอิทธิพลต่อบุคคลรุ่นใหม่มากที่สุด ถ้า
เยาวชนไม่มีทักษะชีวิต ก็ไม่สามารถปรับเปล่ียนตนเองไปในทางท่ีเหมาะสม ต่ออาจจะแสดงออกหรือมีการ
กระทําท่ีเป็นปัญหาสังคม เช่น การเท่ียวเตร่ อาชญากรรมรูปแบบต่างๆ การขายตัว ดังน้ันทักษะชีวิตจึงมี
ความสําคัญกบั เยาวชนในการเลอื กแนวทางท่ีถกู ตอ้ งและเหมาะสมกับตนเอง

7. ปัญหาการพัฒนาตนเอง เนื่องจากสังคมมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว เกิดนวัตกรรมท่ีเยาวชน
จะต้องเรียนรู้เป็นจํานวนมาก ดังน้ัน เยาวชนจึงต้องตัดสินใจเลือกแนวทางการพัฒนาตนเองไปในทางใด เช่น

24

ในด้านการสื่อสาร ด้านศิลปวัฒนธรรม หรืองานอาชีพใด จะศึกษาหาความรู้อย่างไร จะพัฒนาทักษะ
ความสามารถให้เป็นท่ียอมรับท้ังของตนเอง ครอบครัว ทักษะชีวิตจะช่วยให้เยาวชนได้รู้จักตนเอง รู้ความ
ต้องการและความสามารถที่แท้จริงของตนเอง เพ่ือท่ีจะนําไปสู่การพัฒนาตนเองอย่างถูกต้องและสําเร็จตาม
เป้าหมายของเยาวชน

8. ปญั หาสขุ ภาพรา่ งกาย เยาวชนเป็นวัยท่ีมีการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกายและจิตใจเพราะเป็นวัย
เปลยี่ นจากเด็กสคู่ วามเป็นผูใ้ หญ่ ทําให้เยาวชนมีความกังวลใจด้านสุขภาพร่างกายหลายด้าน ท้ังรูปร่าง หน้าตา
ผิวพรรณ เสียง เป็นต้น ทักษะชีวิตจะช่วยให้เยาวชนเข้าใจความเปล่ียนแปลงของร่างกายและความต้องการ
ทางด้านจิตใจควบคู่กัน ทําให้เยาวชนสามารถปรับตนเองหรือรักษาตนเองในทางท่ีถูกต้องเหมาะสมและ
ปลอดภยั

มนุษย์เป็นทรัพยากรท่ีสําคัญท่ีสุดในการพัฒนาประเทศ ดังน้ันการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์หรือ พัฒนา
“คน” ต้องทําเป็นกระบวนการต่อเน่ืองตลอดชีวิตนับตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา สู่วัยเด็กวัยรุ่น วัยทํางานและวัย
ชราโดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นเป็นวัยท่ีจะต้องปลูกฝังและต้องสร้างคุณค่าให้กับตนเองและเห็น
คุณค่าความเป็นมนุษย์ และในขณะเดียวกันก็จะได้รับการพัฒนาทักษะชีวิตเพ่ือเป็นภูมิคุ้มกันความเสี่ยงในการ
ดําเนนิ ชีวิตท้งั ปัจจบุ นั และอนาคต

1. การตระหนกั รู้และเหน็ คณุ ค่าในตนเองและผู้อนื่
การตระหนักรแู้ ละเห็นคณุ คา่ ในตนเองและผูอ้ ่นื หมายถงึ การรูจ้ กั ความถนัดความสามารถ จุดเด่น จดุ ด้อยของ
ตนเอง เข้าใจความแตกต่าง ของแตล่ ะบคุ คล รจู้ ักตนเอง ยอมรบั เห็นคุณค่าและภาคภมู ิใจในตนเองและผอู้ ่ืน มี
เปา้ หมายในชวี ติ และมีความรับผดิ

2. การคิดวเิ คราะห์ ตัดสนิ ใจ และแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์
การคิดวเิ คราะห์ ตดั สินใจ และแก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ หมายถึง การแยกแยะข้อมูลขา่ วสาร ปญั หาและ
สถานการณ์รอบตวั วิพากษ์วิจารณ์ และประเมินสถานการณร์ อบตวั ดว้ ยหลกั เหตผุ ลและขอ้ มูลทถ่ี ูกตอ้ งรบั รู้
ปญั หา สาเหตขุ องปญั หา หาทางเลือกและตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาใน สถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์

3. การจดั การกบั อารมณ์และความเครียด
การจัดการกบั อารมณ์และความเครยี ด หมายถงึ ความเขา้ ใจและรู้เทา่ ทนั ภาวะอารมณข์ องบคุ คลรู้สาเหตุของ
ความเครยี ด รูว้ ิธกี ารควบคมุ อารมณ์และความเครยี ด รู้วธิ ผี ่อนคลาย หลีกเล่ียงและปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมทจ่ี ะ
กอ่ ใหเ้ กิดอารมณ์ไม่พึงประสงค์ไปในทางทดี่ ี

4. การสรา้ งสมั พันธภาพทด่ี กี ับผู้อ่นื
การสรา้ งสมั พันธภาพทีด่ กี บั ผอู้ นื่ หมายถึง การเขา้ ใจมุมมอง อารมณ์ ความรู้สึกของผู้อน่ื ใชภ้ าษาพูดและภาษา
กาย เพื่อสอื่ สารความรู้สึก นึกคดิ ของตนเอง รบั รู้ความรสู้ กึ นึกคิดและความตอ้ งการของผอู้ ่ืน วางตัวไดถ้ กู ต้อง
เหมาะสมในสถานการณต์ ่าง ๆ ใชก้ ารสอ่ื สารทส่ี รา้ ง สมั พนั ธภาพทด่ี ีสรา้ งความรว่ มมือและทํางานรว่ มกบั ผ้อู นื่
ได้อยา่ งมีความสุข

25

ตอนท่ี 2 บทบาทและหนา้ ทข่ี องตนเองที่มีตอ่ ชุมชนและสงั คม

บทบาท หมายถึง การปฏิบัติตามสิทธิ หน้าที่อันเน่ืองมาจากสถานภาพของบุคคล เน่ืองจากบุคคลมี
หลายสถานภาพในคนคนเดียว ฉะน้ันบทบาทของบุคคลจึงต้องปฏิบัติไปตามสถานภาพในสถานการณ์ตาม
สถานภาพน้นั ๆ

หน้าท่ี หมายถงึ ภาระรบั ผิดชอบของบุคคลท่ีจะต้องปฏบิ ัติ เชน่ หน้าที่ของบดิ า ท่ีมตี อ่ บตุ ร เป็นต้น
การตรงตอ่ เวลา หมายถึง การทํางานตรงตามเวลาทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย

แนวทางการพฒั นาตนเองเพอ่ื นเปน็ สมาชกิ ท่ดี ีของครอบครัวและชุมชน
1. การเปน็ สมาชิกท่ดี ขี อบครอบครวั
2. การเปน็ สมาชิกท่ีดีของโรงเรียน
3. การเป็นสมาชิกทดี่ ีของชมุ ชน
เมื่อทกุ คนในสงั คมไมว่ ่าผูใ้ หญ่หรือเด็กพัฒนาตนเองให้เป็นสมาชกิ ทดี่ ีของครอบครัว โรงเรยี น และ

ชุมชน ได้จะประสบความสาํ เรจ็

บทบาทและหน้าทีข่ องตนเอง
สมาชิกทุกคนในสังคมย่อมต้องมีบทบาทหนา้ ทีต่ ามสถานภาพของตน ซึ่งบทบาทและหน้าทีข่ องสมาชิก

แต่ละคนจะมีความแตกต่างกันไป แต่ในหลักใหญ่และรายละเอียดจะเหมือนกัน ถ้าสมาชิกทุกคนในสังคมได้
ปฏิบัติตามบทบาทหนา้ ท่ีของตนอย่างถูกต้องก็จะได้ช่ือว่าเป็น "พลเมืองท่ีดีของสังคมและประเทศชาติ" และยัง
สง่ ผลใหป้ ระเทศชาติพัฒนาอย่างยั่งยืน ดังน้ัน สมาชิกในสังคมทุกคน จําเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องเรียนรู้และปฏิบัติ
ตามบทบาทหนา้ ท่ีของตน เพ่ือชว่ ยนาํ พาประเทศชาติให้พัฒนาสืบไป

1. การเสียสละต่อสว่ นรวม เป็นคณุ ธรรมทชี่ ่วยในการพัฒนาประเทศชาตใิ ห้มคี วามเจรญิ ก้าวหน้า
เพราะถ้าสมาชิกในสังคมเห็นแก่ประโยชนส์ ว่ นรวม และยอมเสยี สละผลประโยชนส์ ว่ นตน จะทาํ ใหส้ งั คมพฒั นา
ไปอยา่ งรวดเร็วและม่ันคง

2. การ
มรี ะเบยี บวินัยและความรบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ี เปน็ คุณธรรมท่ีช่วยให้คนในสงั คมอยรู่ ว่ มกันไดอ้ ย่างสงบสขุ
เพราะถา้ สมาชิกในสงั คมยดึ มน่ั ในระเบียบวนิ ัย รแู้ ละเขา้ ใจสทิ ธิของตนเอง ไม่ละเมดิ สทิ ธิผอู้ ื่น และต้งั ใจปฏิบัติ
หน้าท่ขี องตนให้ดีท่สี ุด สงั คมนนั้ ก็จะมีแต่ความสุข เชน่ ขา้ ราชการทาํ หน้าทบ่ี ริการประชาชนอย่างดีทีส่ ดุ กย็ อ่ ม
ทาํ ใหเ้ ป็นทีป่ ระทบั ใจรักใครข่ องประชาชนผู้มารบั บรกิ าร

3. ความซือ่ สตั ย์สจุ ริต เป็นคณุ ธรรมทม่ี คี วามสาํ คัญ เพราะหากสมาชิกในสังคมยึดม่นั ในความซ่อื สัตย์
สุจริต เชน่ ไมล่ ักทรพั ย์ ไมเ่ บยี ดเบียนทรพั ยส์ ินของผู้อ่ืนหรอื ของประเทศชาติมาเป็นของตน รวมทงั้ ผ้นู ํา
ประเทศมคี วามซ่ือสตั ยส์ จุ รติ ก็จะทําใหส้ ังคมมแี ต่ความเจรญิ ประชาชนมีแตค่ วามสขุ

4. ความสามคั คี ความรักใครก่ ลมเกลยี วปรองดองและรว่ มมือกนั ทํางานเพอ่ื ประโยชน์ส่วนรวมจะทํา
ใหส้ ังคมเปน็ สงั คมท่เี ข้มแขง็ แตห่ ากคนในสงั คมเกดิ ความแตกแยกทัง้ ทางความคดิ และการปฏบิ ตั ิตนในการอยู่
รว่ มกนั จะทําให้สงั คมออ่ นแอและล่มสลายในท่สี ดุ

5. ความละอายและเกรงกลัวในการทาํ ชวั่ ถา้ สมาชกิ ในสงั คมมหี ิรโิ อตปั ปะ มีความเกรงกลวั และ
ละอายในการทําช่วั สงั คมก็จะอย่กู นั อย่างสงบสุข เชน่ นกั การเมืองจะต้องมีความซอื่ สตั ยส์ ุจริตไมโ่ กงกนิ ไม่

26

เหน็ แก่ประโยชน์พวกพ้อง โดยต้องเหน็ แก่ประโยชนข์ องประชาชนเป็นสาํ คัญ ประเทศชาตกิ ็จะสามารถพฒั นา
ไปไดอ้ ย่างม่นั คง
การปฏบิ ัติตนเปน็ คนดีตามสถานภาพและบทบาท
1. เปน็ สมาชิกทดี่ ขี องครอบครัว ในสถานภาพของการเปน็ บตุ รควรมีบทบาทหนา้ ท่ี ดงั น้ี

1.1 เคารพเช่อื ฟงั บิดามารดา
1.2 ช่วยเหลือบดิ ามารดาในทุกโอกาสท่ีทาํ ได้
1.3 ใชจ้ ่ายอย่างประหยดั ไมฟ่ มุ่ เฟอื ย สุรุ่ยสรุ ่าย
1.4 มคี วามรกั ใครป่ รองดองในหมู่พี่น้อง
1.5 ตง้ั ใจศกึ ษาเลา่ เรียน
1.6 ประพฤตติ นใหส้ มกบั เป็นผดู้ ํารงวงศ์ตระกูล
2. เป็นสมาชกิ ที่ดขี องโรงเรียน ในฐานะนกั เรียนควรมบี ทบาทหนา้ ที่ ดงั น้ี
2.1 รบั ผดิ ชอบในหนา้ ทขี่ องนกั เรียน คอื ตั้งใจเล่าเรียน ประพฤตติ นเป็นคนดี
2.2 เชือ่ ฟังคาํ ส่งั สอนอบรมของครอู าจารย์
2.3 กตัญญรู ูค้ ุณของครอู าจารย์
2.4 รกั ใครป่ รองดองกนั ในหม่เู พอ่ื นนักเรียน
2.5 สง่ เสริมเพอื่ นในทางทถี่ ูกทคี่ วร
3. เปน็ สมาชิกทดี่ ขี องชมุ ชน ชุมชนคือสงั คมขนาดเล็ก เชน่ หมบู่ า้ นหรอื กลุม่ คน โดยเยาวชนเป็นสว่ นหน่งึ ของ
ชุมชนที่ตนอาศยั อยุ่ จงึ ตอ้ งมีบทบาทหนา้ ทีต่ อ่ ชมุ ชนดงั น้ี
3.1 รกั ษาสุขลกั ษณะของชุมชน เช่น การทง้ิ ขยะให้เปน็ ที่ ช่วยกําจัดสงิ่ ปฏกิ ูลตา่ ง ๆ เปน็ ต้น
3.2 อนรุ กั ษส์ ิ่งแวดลอ้ มในชมุ ชน เช่น ไมข่ ีดเขียนทําลายโบราณวตั ถุในชุมชน ชว่ ยกันดูแลสาธารณ
สมบตั ิ
3.3 มสี ่วนรว่ มในการทํากิจกรรมของชมุ ชชน
4. เปน็ สมาชกิ ที่ดีของประเทศชาติ
4.1 เข้ารบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 12 ปี
4.2 ปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย
4.3 ใช้สทิ ธใิ นการเลอื กตัง้
4.4 ใช้ทรัพยากรอย่างค้มุ คา่
4.5 สบื ทอดประเพณวี ฒั นธรรมอนั ดงี ามของไทย
4.6 ชว่ ยเหลอื กจิ กรรมตา่ ง ๆท่ที างราชการจัดขน้ึ
4.7 ประกอบอาชพี สุจริตดว้ ยความขยันหม่ันเพยี ร
4.8 ประหยัดและอดออม

บทบาทหนา้ ทตี่ อ่ ชมุ ชน
ชุมชน หมายถงึ กลุ่มคนทอ่ี ยรู่ ว่ มกันเปน็ สังคมในพ้นื ทพี่ น้ื ท่ีหนึง่ และมักจะเปน็ สงั คมขนาดเล็ก

1. รกั ษาสขุ ลกั ษณะของชุมชุน
เปน็ หน้าทข่ี องสมาชิกในชุมชนทุกคนจะต้องช่วยเหลอื กนั ทาํ ให้ชมุ ชนของตนมีสุขลกั ษณะทถี่ กู ต้อง

สะอาด ตามหลักอนามัย คือ
- ช่วยกันรกั ษาความสะอาดของชมุ ชน เชน่ ถนนหนทาง

27

- ชว่ ยกาํ จดั สง่ ปฏิกูลตา่ ง ๆ
- ทําลายทเ่ี พาะพนั ธุ์ เช่น ยุง่ ลาย หรอื ทแ่ี พร่เชื้อโรค
- ร่วมมือกบั เจา้ หนา้ ที่กาํ จัดโรคระบาด
2. อนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมในชมุ ชน
- รกั ษาส่งแวดล้อมทางธรรมชาติ เชน่ ภูเขา ปา่ ไม้ ลําธาร
- ชว่ ยกนั ดแู ลรกั ษาสิง่ ของทเ่ี ป็นสาธารณสมบตั ิ เช่น โทรศัพท์สาธารณะ
- ชว่ ยกนั และไม่ทาํ ลายโบราณสถาน โบราณวัตถใุ นชมุ ชน ไม่ให้เกิดความเสียหาย ชํารุด ทรดุ โทรม
3. ป้องกนั ภยั ในชุมชน
-ชว่ ยกันรักษาความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ย์สนิ ของคนในชุมชน
- ช่วยสอดสอ่ งใหก้ ับเจ้าหน้าที่ตํารวจในการปราบปรามโจรผู้รา้ ย
- ช่วยกันหาวิธีป้องกนั และปราบปรามโจรผรู้ ้ายด้วยตน้ เอง
- ช่วยกนั คิดหาวธิ ีการช่วยเหลอื กัน เมอ่ื ถกู ปลน้ หรอื ทํารา้ ย
- ช่วยกนั ตรวจตราปอ้ งกันการลกั ขโมยทรัพยส์ ินของสว่ นรวม
- ให้ความร่วมมือและเป็นกาํ ลังสาํ คัญกบั ทางราชการอย่างเตม็ ท่ี
4. พฒั นาชมุ ชน
- การพัฒนาด้านวตั ถุ : ถนนหนทาง สถานท่พี กั ผ่อนของคนในหมู่บา้ น สระนํ้า บอ่ น้ํา อ่างเกบ็ น้ํา
- การพฒั นาดา้ นจิตใจ : จดั งานทําบญุ และงานประเพณี , สง่ เสรมิ การศึกษาแกส่ มาชกิ ในชุมชน ฯลฯ

บทบาทหนา้ ทข่ี องพลเมอื งทดี่ ตี อ่ ประเทศชาติและสังคมโลก

พลเมอื งดีของประเทศชาติและสังคมโลก จะต้องเป็นพลเมืองท่ีตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ที่ตนจะต้อง
ปฏบิ ตั ติ อ่ สงั คมและประเทศชาติในด้านต่างๆ อยู่เสมอ โดยเฉพาะดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นการเมืองการกครอง
ด้านสังคมและวัฒนธรรม ท้ังนี้เพราะบทบาทหน้าท่ีในด้านต่างๆ ทั้ง 3 ด้าน จะส่งผลกระทบต่อชุมชนแล
ประเทศชาตใิ นด้านบวกหรอื ลบก็ได้

กล่าวคือ หากชาวไทยทุกคนปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีในด้านเศรษฐกิจ โดยประกอบอาชีพท่ี
สุจริต เอาเปรียบผู้อื่น และในด้านการเมืองการปกครอง โดยการไปลงคะแนนเสียงเลือกต้ังผู้สมัครท่ีดีให้ไป
เปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร กจ็ ะสง่ ผลดีต่อประเทศชาติ

นอกจากนี้ บทบาทในด้านสังคมและวัฒนธรรมท่ีต้องปฏิบัติ คือ การร่วมงานกับผู้อ่ืน เพ่ือพัฒนา
สังคมและส่งเสริมวัฒนธรรมท่ีดีของประเทศให้เป็นท่ีชื่นชมของชาวต่างชาติ สังคมไทยก็จะมีแต่ความสามัคคี
กลมเกลียว ไมเ่ อารดั เอาเปรยี บกนั

แต่หากชาวไทยแสดงบทบาทหน้าท่ีในทางตรงกันข้าม เช่น ประกอบอาชีพผิดกฎหมาย เอารัดเอา
เปรยี บผอู้ ่ืน เลอื กคนไม่ดไี ปปกครองประเทศ ชืน่ ชมวัฒนธรรมของตา่ งประเทศ สังคมไทยและประเทศไทยก็
จะเจรญิ ก้าวหน้าได้ล่าชา้ และขาดความน่าเชอ่ื ถอื ในสังคมโลก

28

บทบาทหน้าทีข่ องพลเมืองดที างด้านเศรษฐกิจ
บทบาทหน้าทขี่ องพลเมอื งดใี นด้านเศรษฐกิจทีส่ ําคัญ มดี งั นี้
1. พลเมืองดตี ้องประกอบอาชีพทส่ี ุจริตและไมเ่ อาเปรยี บผูอ้ นื่ เชน่ ถ้าเป็นเจ้าของโรงงาน ก็จะต้อง

ผลิตสินค้าท่ีมีคุณภาพตามที่โฆษณาไว้และไม่ต้ังราคาขายสูงมากเกินไป หรือเอาเปรียบผู้บริโภคด้วยวิธีการ
ด้วยมชิ อบ

2. พลเมืองดีทีม่ คี วามอ่อนแอทางเศรษฐกิจ ควรรวมตวั กันเปน็ กล่มุ อาชพี หรอื สหกรณ์ประเภทตา่ ง ๆ
เพ่ือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และเพิ่มอํานาจของการต่อรองทางเศรษฐกิจ เช่น การรวมตัวกันเป็น
เกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตรประเภทต่างๆ เพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรด้วยกันและเพิ่มอํานาจต่อรองกับ
กลุ่มพ่อค้าคนกลาง นอกจากน้ีการรวมกลุ่มอาชีพยังเป็นแนวทางการสร้างความสามัคคีของคนในชาติได้อีก
ทางหน่ึงด้วย

3. พลเมืองดีต้องใช้จ่ายอย่างประหยัดและไม่ควรกู้เงินของบุคคลอ่ืน โดยเฉพาะจากชาวต่างชาติ มา
ลงทุนในกจิ การทีอ่ าจใหผ้ ลตอบแทนทางเศรษฐกิจช้าหรอื มีความเสี่ยงสูง เช่น การกู้เงินต่างชาติมาทําโรงการ
พัฒนาที่ดินและปลูกหมู่บ้านจัดสรรโดยไม่ศึกษาความต้องการด้านที่อยู่อาศัยของผู้บริโภค ยังผลให้การ
ก่อสร้างบ้านจัดสระหรือคอนโดมิเนียมหลายโครงการมผู้ซ้ือน้อยราย เป็นผลให้ผู้ลงทุนไม่สามารถใช้เงินต้น
และดอกเบ้ียแกธ่ นาคารผ้ใู หก้ ู้ได้ตามกาํ หนดเวลา จนกลายเปน็ ปัญหาหนเี้ สยี จํานวนหลายหม่ืนลา้ นบาท และ
เป็นสาเหตุสาํ คัญสว่ นหนึง่ ทีท่ ําใหก้ ารฟน้ื ตัวทางเศรษฐกิจของไทย กระทําได้ยากลาํ บาก เปน็ ตน้

4. พลเมอื งดจี ะต้องเสียภาษีอากรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรัฐบาลกลางอย่างครบถ้วน ทั้งน้ี
เพื่อช่วยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรัฐบาลกลางมีรายได้สําหรับนําไปใช้ในการพัฒนาชุมชนและพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม ในทางกลับกันหากชาวไทยไม่ยอมเสียภาษีอากรหรือเสียภาษีน้อยกว่าท่ีควรจะเสียให้แก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหรือรัฐบาลกลาง องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหรือรัฐบาลกลางก็จะไม่มีรายได้มา
พัฒนาท้องถิ่น หรือจ่ายเงินเดือนให้แก่เจ้าหน้าท่ีของท้องถิ่นหรือรัฐท่ีรับผิดชอบในการพัฒนาและรักษาความ
สงบเรยี บรอ้ ยของชมุ ชนและประเทศ

5. พลเมอื งดีควรทอ่ งเท่ียวภายในประเทศและใช้ของที่ผลิตในประเทศ เพ่ือส่งเสริมการท่องเที่ยวของ
ไทย และเพือ่ ปอ้ งกนั มิใหเ้ งินตรารั่วไหลไปต่างประเทศ นอกจากนี้ จะต้องเชิญชวนชาวไทยและชาวต่างชาติ
เขา้ มาเทยี่ วในประเทศไทยดว้ ย

บทบาทหนา้ ที่ของพลเมืองดีทางดา้ นการเมอื งการปกครอง
พลเมอื งดมี บี ทบาทหนา้ ที่ด้านการเมืองการปกครองต่อชมุ ชนและประเทศ ดังน้ี
1. พลเมืองดีมีหน้าที่ไปออกเสียงเลือกต้ังผู้สมัครรับเลือกต้ังท่ีดีมีคุณภาพไปเป็นสมาชิกสภาองค์กร

ปกครองส่วนท้องถิน่ หรอื ผู้บรกิ ารท้องถิน่ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร และสมาชกิ วฒุ ิสภา
2. พลเมืองดีมีหน้าที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหรือ

สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร เมอื่ มคี ุณสมบตั ิครบตามเกณฑ์ทีก่ ฎหมายบัญญตั ิ
3. พลเมืองดีมีหน้าท่ีตรวจสอบการทํางานของสมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและ

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองอ่ืน ๆ เช่น นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ว่า
เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ หากพบว่าสมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎรทุจริตต่อหน้าท่ีหรือละเมิดรัฐธรรมนูญ ก็ควรเข้าช่ือกันฟ้องกล่าวโทษ เพื่อปลดหรือถอดถอนบุคคล
ดังกลา่ วออกจากตาํ แหน่ง

29

บทบาทหนา้ ที่ของพลเมอื งดที างด้านสงั คมและวัฒนธรรม
บทบาทหน้าทข่ี องพลเมืองดที างด้านสังคมและวัฒนธรรมต่อชมุ ชนและประเทศท่คี วรปฏบิ ัติ มดี ังนี้
1. พลเมืองดีมีหน้าที่ร่วมมือกันพัฒนาสังคมให้น่าอยู่และรักษาวัฒนธรรมท่ีดีงามของชุมชนและ

ประเทศไว้เพื่อเป็นมรดกของชาติและเพ่ือจูงใจให้ชาวต่างชาติมาเย่ียมชม และลงทุนในกิจการต่าง ๆ
เช่น แต่งกายด้วยผ้าไทยท่ีเรียบร้อยและรัดกุมในประเพณีสําคัญของชาวไทย เช่น วันลอยกระทง วัน
สงกรานต์ เปน็ ต้น

2. พลเมืองดีมีหน้าที่รักษาความสามัคคีและป้องกันมิให้กลุ่มบุคคลที่มีผลประโยชน์ต่างกัน เกิดความ
ขัดแย้งหรือทะเลาะวิวาทกันกลายเป็นการเผชิญหน้าและเป็นศัตรูกันตลอดเวลาทําให้สังคมไม่สงบ
สขุ เชน่ เตอื นสตไิ ม่ให้เพือ่ นฝงู ทะเลาะกนั เป็นต้น

3. พลเมืองดีมีหน้าท่ีป้องกันมิให้วัฒนธรรมต่างชาติมาทําลายวัฒนธรรมไทย หรือวิถีชีวิตที่ดีงามของ
ชาวไทย ในขณะเดียวกันก็ยอมรับวัฒนธรรมท่ีดีงามของชาวต่างชาติมาประยุกต์ใช้เพ่ือนพัฒนาสังคมไทยให้
เจริญก้าวหน้ายง่ิ ๆ ขึน้ ไป เชน่ การใชค้ อมพิวเตอร์ในการค้นคว้าข้อมลู ความร้ดู ้านการศึกษา เป็นตน้

4. พลเมืองดีมีหน้าที่ช่วยเหลือคนพิการหรือทุพพลภาพให้มาสมารถมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี
คุณภาพ เชน่ เม่ือพบเหน็ คนพิการข้ามถนนกค็ วรจะชว่ ยเหลอื ใหส้ ามารถข้ามไปได้อยา่ งปลอดภัย เป็นตน้

5. พลเมืองดีมีหน้าท่ีช่วยเหลือราชการในเร่ืองที่สามารถช่วยเหลือได้ เช่น ช่วยเป้นพยานให้แก่
ตํารวจเพื่อเอาคนทําผิดมาลงโทษ ช่วยสอดส่องและแจ้งเบาะแสต่อเจ้าหน้าที่ตํารวจเมื่อได้พบเห็นการกระทํา
ท่ีผดิ กฎหมาย เป็นตน้

6. พลเมืองดีที่ยังเป็นเด็กและเยาวชนหน้าที่ศึกษาเล่าเรียนให้ดีท่ีสุด เพื่อจะได้เป็นกําลังท่ีมีคุณภาพ
ของสังคมและประเทศชาติตอ่ ไป เชน่ เปน็ หมอรกั ษาผูป้ ว่ ย เป็นครูอาจารย์ เป็นต้น

กล่าวโดยสรุปว่า พลเมืองดีมีความสําคัญต่อประเทศชาติและสังคมโลกอย่างมาก ท้ังทางด้าน
สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครอง โดยพลเมืองดีจะเป็นผู้ท่ีทําประโยชน์ให้แก่สังคมส่วนรวมอย่าง
สมํ่าเสมอ เช่น ประกอบสัมมาอาชีพ ยึดม่ันในหลักการเศรษฐกิจพอเพียง สําหรับในด้านการเมืองการ
ปกครองนั้น พลเมืองดีจะเป็นผู้ท่ีเคารพกฎหมาย รู้จักสิทธิของตนเองและเคารพสิทธิของผู้อื่นเสมอรวมทั้ง
ทําหน้าทท่ี ก่ี ฎหมายกาํ หนดไวอ้ ย่างเครง่ ครัด

30

แนวทางการปฏิบตั ิตนเปน็ พลเมอื งดตี ามวิถีชีวติ ประชาธปิ ไตย
พลเมอื งดีตามวถิ ีชีวติ ประชาธิปไตยควรมีแนวทางการปฏิบัติตนดงั นี้ คือ
1) ดา้ นสังคม ไดแ้ ก่
(1) การแสดงความคดิ อย่างมเี หตผุ ล
(2) การรบั ฟงั ขอ้ คิดเห็นของผู้อืน่
(3) การยอมรบั เมื่อผู้อืน่ มเี หตผุ ลที่ดีกว่า
(4) การตัดสินใจโดยใชเ้ หตผุ ลมากกวา่ อารมณ์
(5) การเคารพระเบยี บของสงั คม
(6) การมีจิตสาธารณะ คือ เหน็ แก่ประโยชนข์ องส่วนรวมและรักษาสาธารณสมบัติ
2) ดา้ นเศรษฐกจิ ได้แก่
(1) การประหยัดและอดออมในครอบครวั
(2) การซ่ือสตั ยส์ ุจริตตอ่ อาชีพทที่ าํ
(3) การพัฒนางานอาชีพให้กา้ วหน้า
(4) การใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชนต์ อ่ ตนเองและสงั คม
(5) การสรา้ งงานและสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐใ์ หม่ ๆ เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อสังคมไทยและสงั คมโลก
(6) การเป็นผู้ผลติ และผู้บรโิ ภคทด่ี ี มีความซ่อื สัตย์ ยดึ มั่นในอดุ มการณ์ทด่ี ีต่อชาติ เป็นสําคญั
3) ด้านการเมอื งการปกครอง ไดแ้ ก่
(1) การเคารพกฎหมาย
(2) การรบั ฟงั ขอ้ คดิ เห็นของทกุ คนโดยอดทนตอ่ ความขดั แย้งที่เกิดข้ึน
(3) การยอมรับในเหตผุ ลทด่ี กี วา่
(4) การซือ่ สตั ยต์ ่อหน้าท่โี ดยไมเ่ หน็ แกป่ ระโยชนส์ ่วนตน
(5) การกล้าเสนอความคดิ เหน็ ต่อส่วนรวม กลา้ เสนอตนเองในการทาํ หนา้ ที่ สมาชกิ สภาผู้แทน

ราษฎร หรอื สมาชิกวุฒสิ ภา
(6) การทาํ งานอยา่ งเตม็ ความสามารถ เต็มเวลา

การปฏิบัติตามกฎหมาย
บุคคลมีหน้าท่ีปฏิบัติตามกฎหมาย ซึ่งรัฐธรรมนูญได้ระบุไว้กว้าง ๆ แต่มีความหมายครอบคลุม

กฎหมายทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นกฎหมายเอกชน มหาชน หรือกฎหมายระหว่างประเทศรวมท้ังกฎหมายระดับ
ต่าง ๆ เช่น พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง เป็นต้น เม่ือเราต้องเก่ียวข้องหรือสัมพันธ์กับ
กฎหมายใด ก็ต้องปฏิบัติตามกฎหมายนั้นๆ อย่างเคร่งครัด เพราะกฎหมายแต่ละฉบับน้ันได้มีการร่างและ
ประกาศใช้ ในราชกิจจานุเบกษา อย่างเปิดเผยต่อสาธารณชน จึงเป็นหน้าท่ีของชาวไทยทุกคนท่ีจะต้องศึกษา
และทําความเขา้ ใจเรอื่ งกฎหมายเพือ่ ไม่ใหเ้ สียเปรยี บหรือไดร้ ับโทษโดยรู้เท่าไมถ่ งึ การณ์

31

การปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมอื งตามวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรม คือ แบบแผนการกระทํา หรือผลการกระทําที่พัฒนาจากสภาพเดิมตามธรรมชาติให้ดีงาม

ย่ังยืนจนเป็นที่ยอมรับของคนในสังคม ตัวอย่างแบบแผนการกระทํา เช่น กิริยา มารยาท การพูด การแต่งกาย
การรับประทานอาหาร เป็นต้น ส่วนผลจากการกระทํา เช่น เครื่องมือ เคร่ืองใช้ เครื่องนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย เป็น
ตน้ วัฒนธรรมการไหว้ เป็นวัฒนธรรมภายนอกที่มักได้รับการตอบสนองจากผู้ได้รับด้วยการไหว้ตอบนอกจากนี้
ยังมีวัฒนธรรมไทยอ่ืนๆ ที่งดงาม เช่น การกราบ การแต่งกายแบบไทยในโอกาสต่าง ๆ การทําบุญ ตักบาตร
ฯลฯ

การปฏิบัตติ นตามประเพณีไทย

ขนบธรรมเนียมประเพณี คือ สิ่งที่ปฏิบัติสืบทอดสืบทอดกันมาและถือว่าเป็นส่ิง ท่ีดีงาม ส่ิงท่ีดีงาม
ของแต่ละสังคมอาจเหมือนกัน คล้ายกัน หรือแตกต่างกันก็ได้ และ ส่ิงที่ดีงามของสังคมหน่ึงเม่ือเวลาผ่าน ไป
สังคมนั้นอาจเห็นเป็นส่ิงไม่ดีงามก็ได้วัฒนธรรมและประเพณีไทย เป็นกิจกรรมท่ีสืบทอดมายาวนานและสังคม
ยอมรับว่าเป็นส่ิงดีควรอนุรักษ์ไว้การเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคมไทยและสังคมโลก การที่บุคคลจะเป็นสมาชกที่ดี
ของสังคมไทยและสังคมโลก จะต้องคํานึงถึงสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหน้าท่ีในการปฏิบัติตนเป็น
พลเมืองดี

การปฏิบัติตนเปน็ พลเมอื งดี
บุคคลจะเปน็ พลเมืองดขี องสังคมนนั้ ตอ้ งตระหนักถงึ บทบาทหนา้ ที่ ท่ีจะต้องปฏิบัติ และมุ่งม่ันเพ่ือให้

บรรลุเป้าหมาย ดว้ ยความรับผิดชอบอยา่ งเต็มท่ี สอดคลอ้ งกับหลักธรรม วัฒนธรรมประเพณี และรัฐธรรมนญู ท่ี
กําหนดไว้ รวมท้ังบทบาททางสังคมที่ตนดํารงอยู่ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และได้ประสิทธิผลทั้งในส่วน
ตนและสังคม เม่ือสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์ย่อมเกิดความภาคภูมิใจและเกิดผลดีทั้งต่อ
ตนเองและสังคม ด้วยการ เป็นพลเมืองดีที่เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น มีความกระตือรือร้น
ที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของชุมชนและสังคม มีคุณธรรมและจริยธรรมเป็นหลักในการดําเนินชีวิต
อยา่ งผาสกุ

32

ตอนท่ี 3 การสง่ เสริมสมั พันธภาพท่ดี ใี นชีวติ ครอบครัวและชมุ ชน

ครอบครัวหรือบ้านเป็นพื้นฐานสําคัญของสุขภาพจิต หากบ้านเป็นสุข ทุกคนย่อมร่าเริงแจ่มใสโดย
อัตโนมตั ิ การสร้างบรรยากาศอนั เบกิ บานเป็นสุขข้ึนในบ้าน ทุกคนต้องร่วมมือกันโดยเฉพาะพ่อแม่ต้องเป็นผู้นํา
และตอ้ งทาํ อย่างต่อเนื่องจนกลายเปน็ วัฒนธรรมประจําบา้ นในทส่ี ดุ

ครอบครวั คืออะไร
ครอบครัวเป็น “กลุ่มบุคคลท่ีมีความผูกพันกันทางอารมณ์และจิตใจ มีการดําเนินชีวิตร่วมกัน รวมทั้งมี

การพ่ึงพิงกันทางสังคมและเศรษฐกิจมีความสัมพันธ์กันทางกฎหมาย หรือทางสายโลหิต ครอบครัวเป็นหน่วย
พื้นฐานแห่งการแลกเปลี่ยน ส่ิงสําคัญท่ีแลกเปลี่ยนกันก็คือ ความรัก โดยเริ่มต้นจากพ่อแม่ซึ่งเป็นผู้ให้ และลูก
ซึ่งเป็นผู้รับในระยะแรก ถ้าการแลกเปล่ียนความรักเป็นไปในบรรยากาศท่ีพึงพอใจ มีทั้งการไว้วางใจบุคคลใน
ครอบครัวเอื้ออาทรต่อกันและพร้อมจะเสียสละให้แก่กันถ้าสิ่งเหล่าน้ีดําเนินไปอย่างไม่เหมาะสม ก็จะเกิด
ความรสู้ กึ ทุกขใ์ จ คบั ขอ้ งใจ ความขมข่นื และความเกลยี ดชังเกิดข้ึน ความรู้สึกทางลบท่ีเกิดขึ้นในครอบครัว จะ
มีความรุนแรงย่ิงกว่าที่เกิดข้ึนในสังคมหน่วยอื่นปัญหาเกิดจากความต้องการไม่เป็นไปตามความคาดหวังความ
คาดหวังของผู้หญงิ ไทย และผูช้ ายไทย

ผหู้ ญงิ ไทย
ผู้หญิงไทยมีความคาดหวังสูงมากจากผู้ชาย หวังให้เขาเป็นทุกๆ อย่างแทนทุกๆคนในชีวิต ขอให้รักฉัน

นริ ันดรหวงั จะไดฝ้ ากฝังชีวิต หวังจะได้ผู้นําชีวิตตลอดการ หวังจะได้ท่ีพ่ึงทางร่างกายและจิตใจหวังจะได้มีคนไว้
ให้ปรนนิบัติ โดยที่ไม่ได้เตรียมที่จะรับความผิดหวัง ผู้หญิงมองชีวิตแต่งงาน แต่ในด้านของความสุข มอบหมาย
และยอมจํานน ให้อํานาจการตัดสินใจอยู่ในมือฝ่ายชาย ยึดติดที่เดิม ไม่ได้เตรียมการแก้ไขเหตุการณ์ในวันหนึ่ง
เมื่อผู้ชายเปลี่ยนไป พร้อมจะให้อภัย พร้อมจะต้ังต้นใหม่ให้เหมือนเดิม ไม่พร้อมจะเป็นตัวของตัวเองและไม่
พรอ้ มจะกําหนดชวี ิตดว้ ยตวั เอง ปฏเิ สธอาํ นาจในตวั เอง ชอบทจี่ ะเปน็ คนอ่อนแอและแสดงความออ่ นแอ

ผ้ชู ายไทย
แรกเริม่ รับปาก รับคาํ ม่นั สัญญา นานไปมีการยืดหย่นุ กวา่ สามารถเปลี่ยนแปลงตัวเอง ได้มากกว่า แต่ยัง

คาดหวงั จะใหผ้ หู้ ญิงเหมอื นเดิมไมส่ ามารถยอมรับการเปลี่ยนแปลงของผู้หญิงได้ นั่นคือ ยังคาดหวังว่าเมียจะยัง
เป็นทาสในเรือนเบี้ยต่อไป คาดหวังว่าภรรยาจะเป็นผู้ช่วยเหลือในการทํามาหากิน แต่ไม่ให้เครดิต ไม่ให้เกียรติ
คาดหวังจะได้ผู้หญิงพรหมจารี ไม่มีปากมีเสียง เป็นผู้ตาม มีหน้าที่เลี้ยงดูลูก ๆ ผู้หญิงแต่งงานแล้วไม่ควร
แบ่งปนั ใจใหช้ ายอนื่ คิดถึงชายอน่ื และไมว่ ่าจะมีปญั หาอะไร เธอทนได้รับได้ เป็นต้น

ความคาดหวังของลกู
ลูกๆ ยอมรับบทบาทของพอ่ ในฐานะเปน็ พ่อ เปน็ ผู้นําครอบครัว เป็นคนหาเงนิ จุนเจือครอบครัว เป็นผู้

ปกป้องคุ้มครอง ไม่ค่อยอยู่บ้านเป็นธรรมดา พ่อไปเท่ียวนอกบ้านเพราะพ่อเป็นชาย พ่อมีหญิงอ่ืน เพราะแม่
อ่อนแอ/พูดมาก แต่ลูก ๆ จะเห็นและยอมรับบทบาทของแม่ว่าเป็นผู้ที่รับใช้ดูแลทุก ๆ คนในบ้าน และมีชาย
อ่นื ไม่ได้ เปน็ คนดแู ลในบ้านทาํ อาหารใหพ้ อ่ และลกู ๆ อยากเห็นแม่ ทุกคร้ังท่ีเข้าบ้าน แม่น่าเบื่อกว่าพ่อเป็นต้น
เมื่อส่ิงท่ีคาดหวังไม่เป็นไป ตามความคาดหวังก็จะเกิดปัญหา ฉะน้ันครอบครัวควรจะเข้าใจความคาดหวังของ
คนในครอบครัวดว้ ย

33

ขอ้ แนะนาํ สาํ หรบั การดาํ เนนิ ชีวิตใหค้ รอบครวั มคี วามสุขก่อนแตง่ งาน
1. ท้งั หญิงชาย ควรมีความพร้อม ทง้ั ทางร่างกายและจิตใจ มกี ารเตรยี มตัวและแสวงหาขอ้ แนะนาํ ในการ

ใชช้ วี ิตคู่ ตลอดจนการวางแผนครอบครวั
2. มีการพูดคยุ กันถึงความคาดหวงั ในกันและกนั มกี ารแบ่งงานกันทําวา่ ส่วนไหนใครทํา และสว่ นไหนทํา

ดว้ ยกัน
3.ใหก้ ารยอมรับ และเคารพในสิทธสิ ว่ นบคุ คลของกนั และกนั ตระหนกั ในสิทธขิ องตนเองทัง้ หญิงและชาย
4. มีการยอมรับ และเตรียมตวั กบั ความเปลี่ยนแปลงของคู่สมรสและของตนเอง และเผชญิ ดว้ ยใจท่เี ป็น

ธรรม ยอมรบั วา่ การเปลย่ี นแปลงเป็นกระบวนการของการเจรญิ เติบโตการใชช้ วี ติ คู่

การเลือกคู่ครอง
การมีคู่ครองเป็นความปรารถนาทางเพศตามหลักธรรมชาติ เพื่อการดํารงเผ่าพันธ์ุของมนุษย์เป็น

ปัจจัยแรก ดังน้ันเมื่อย่างเข้าสู่วัยหนุ่มสาว จึงมักมีการเลือกคู่ครองตามมา เหตุผลในการเลือกคู่ครองอาจ
แตกตา่ งกนั ดงั นี้

1. เพ่ือความรักความอบอุ่น เน่ืองจากความรักเป็นพัฒนาการทางเพศ โดยมีพ้ืนฐานมาจากแรงขับ
ทางเพศหรือความต้องการทางเพศ เม่ือความสัมพันธ์ก้าวหน้ามาถึงระดับหน่ึง จากมิตรภาพหรือเพื่อนที่ดีก็
กลายมาเป็นความรัก อันจะเป็นแรงส่งไปถึงระดับของการมีสัมพันธ์ทางเพศ ความสัมพันธ์ของชายหญิงท่ี
เรียกว่า ความรักน้ัน จะทําให้มีความเข้าใจกัน เห็นอกเห็นใจอยากใกล้ชิดกันอยากใช้ชีวิตร่วมกัน ความรักที่
แท้จริงจะไม่แปรเปล่ียน การมีชีวิตคู่จะช่วยให้สมหวังในความรัก และช่วยให้เกิดความรู้สึกอบอุ่นท่ีได้อยู่ร่วม
ชวี ติ กบั ผู้ท่ตี นรกั อันเปน็ พืน้ ฐานท่ีดขี องครอบครวั ต่อไป

2. เพื่อการดํารงเผ่าพันธ์ุ นอกจากความรักแล้ว บางคนต้องการจะมีคู่ครองเพื่อมีลูกสืบสกุลต่อไป
บางคนอาจจะไม่มีความรักเลยก็ได้ แต่ต้องแต่งงานหรือมีคู่ครองเพื่อทําหน้าท่ีของความเป็นมนุษย์ที่ต้องขยาย
เผ่าพนั ธขุ์ องมนุษยใ์ ห้ดํารงสบื ตอ่ ไป อนั เป็นความตอ้ งการทางธรรมชาติ

3. เพ่ือการสร้างฐานะครอบครัว บางคนมีปัญหาในเรื่องฐานะทางครอบครัวท่ีได้กําหนด ก็อาจมี
ความคิดว่าการมีคู่ครองจะทําให้พ้นจากสภาพที่ไม่พึงปรารถนา ไปสู่สภาพครอบครัวใหม่ท่ีมีฐานะท่ีดีกว่าเดิม
หรือการมีคู่ครองจะช่วยให้ฐานะท่ีมีอยู่เดิมนั้นดีขึ้น ผู้ท่ีใช้เหตุผลนี้ในการเลือกคู่ครองมักคํานึงถึงฐานะทาง
เศรษฐกิจของอีกฝา่ ยหนึง่ เป็นสาํ คัญสมัยก่อนพ่อแม่หรือญาติผู้ใหญ่จะเป็นผู้เลือกคู่ครองให้ลูก ท้ังชายและหญิง
ไม่มีโอกาสเรียนรู้นิสัยหรือใจคอกันและกันก่อนแต่งงาน แต่ปัจจุบันค่านิยมเปลี่ยนไป ชายและหญิงมีโอกาส
ตดั สนิ ใจเลอื กค่คู รองด้วยตนเอง โดยขอคําปรึกษาจากพอ่ แมแ่ ละญาติผใู้ ห้

การเตรียมความพรอ้ มก่อนสมรสและการปรบั ตัวในชวี ติ สมรส
คู่สมรสจะต้องมีการเตรียมตัวเพื่อให้ความพร้อมในการท่ีจะจัดงานสมรสให้ราบร่ืน เพื่อให้การใช้ชีวิต

สมรสมีความราบรื่นตามมา ซึ่งนอกจากจะต้องเตรียมตัวในเรื่องการวางแผนการจัดงานตามประเพณีแล้ว คู่
สมรสจะต้องเตรียมตัวเองให้พร้อมเพื่อให้เกิดปัญหาหลังการสมรสให้น้อยท่ีสุด ข้อสําคัญท่ีควรพิจารณาในการ
เตรียมตวั กอ่ นสมรสมดี ังน้ี

1. สํารวจวุฒิภาวะทางอารมณ์ ก่อนการตัดสินใจแต่งงาน จําเป็นที่ท้ังสองฝ่ายจะต้องสํารวจตัวเองมี
ความพรอ้ มที่จะแตง่ งานแล้วหรือยงั โดยเฉพาะความพร้อมของวุฒิภาวะทางอารมณ์ ความล้มเหลวหรือผิดหวัง
ในชีวิตสมรสส่วนใหญ่ มักมีสาเหตุมาจากคู่สมรสฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายยังมีพัฒนาการทางด้านอารมณ์ไม่
เพียงพอ ซึ่งโดยปกติอายุเป็นส่วนหนึ่งที่แสดงถึงความพร้อมทางอารมณ์ ท้ังน้ีเพราะอายุมากขึ้นก็จะมี

34

พัฒนาการทางอารมณ์มากขึน้ อายุท่ีเหมาะสมกบั การแตง่ งานโดยเฉล่ียแล้ว ฝ่ายชายควรมีอายุ 23 ปี ฝ่ายหญิง
ควรมีอายุ20 ปี เป็นอย่างตํ่า ดังน้ันคู่แต่งงานจึงควรสํารวจว่าตนเองมีอายุท่ีสมควรแต่งงานได้หรือยัง
นอกจากน้ียังควรสํารวจตนเองว่ามีความพร้อมท่ีจะเผชิญปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในชีวิตสมรส เพียงพอ
หรือยัง การปรับอารมณ์ของตนเองใหพ้ รอ้ มจึงเป็นการเตรียมตัวท่สี าํ คัญ

2. สํารวจสุขภาพ เมื่อตกลงปลงใจแล้วว่าจะแต่งงาน และสํารวจว่าตนเองมีความพร้อมในด้านอ่ืนๆ
แล้ว สิ่งที่สําคัญอีกประการหนึ่ง คือ ความพร้อมด้านสุขภาพของท้ังสองฝ่าย ท้ังทางด้านร่างกายและจิตใจ คู่
สมรสจึงควรไปปรึกษาแพทย์ก่อนแต่งงาน เพื่อให้ตรวจร่างกายโดยละเอียด และขอคําปรึกษาในด้านสุขภาพ
ถ้าพบปัญหาจะได้แก้ไขได้ทันท่วงที หรือหากมีปัญหาบางประการท่ีเป็นอุปสรรคในการสมรสก็จะได้เป็นข้อมูล
ในการตดั สนิ ใจว่าจะแตง่ งานกนั หรอื ไม่

การปรับตวั ในการใชช้ ีวิตสมรส
การแต่งงานหรือการสมรส คือ การที่หญิงและชายตกลงใจท่ีจะใช้ชีวิตร่วมกันฉันสามีภรรยาช่วยกัน

เสริมสร้างหลักฐานของครอบครัว และมีบุตรธิดาสืบวงศ์ตระกูลต่อๆไป การท่ีหญิงและชายจะประสบ
ความสําเร็จในชีวิตการนั้นมิใช่ของง่าย ถึงแม้ว่าจะมีความรักเป็นรากฐานท่ีสําคัญ ก็ช่วยไม่ได้มากนัก เพราะคู่
สมรสจําเป็นจะต้องศึกษา ทําความเข้าใจซ่ึงกันและกัน รับรู้ทั้งข้อดีและข้อเสียของกันและกัน รู้จักสภาวะทาง
อารมณ์ ความต้องการ ความสนใจ เจตคติต่างๆ ของคู่ครอง ตลอดจนรู้จักผ่อนปรน และให้อภัยซ่ึงกันและกัน
หรือต้องหันหน้าเข้าหากัน เป็นทั้งคู่สุขและคู่ทุกข์ นอกจากจะทําความเข้าใจซึ่งกันและกันแล้ว คู่สมรสท่ี
รอบคอบจะวางแผนการดําเนินชีวิตร่วมกันทั้งในด้านการเงิน การงาน การพักผ่อน การออกกําลังกาย การเล่น
กีฬา และการเขา้ สมาคมตลอดจนเรอื่ งการมีบุตรโดยจะต้องคํานึงถึงอนาคตของครอบครวั เป็นสําคญั

หลักการปรับตวั ในการใช้ชวี ติ คู่
1. การปรบั ตวั ดา้ นความสัมพันธใ์ นครอบครวั
(1) ให้เกียรติกัน ยกย่องกัน และยอมรับซ่ึงกันและกัน ต่างฝ่ายต่างก็แนะนําให้เพื่อนและญาติพ่ีน้องได้

รจู้ กั ว่าเป็นภรรยา และสามีอยา่ งเปดิ เผย ไมป่ ดิ บงั ซอ่ งเรน้ หรือดูหมน่ิ เหยียดหยามกนั
(2) มีความซ่ือสัตย์ต่อกัน ไม่ประพฤตินอกใจ มีความจริงใจต่อกัน เมื่อมีปัญหาก็พูดหรือบอกความจริง

แกก่ นั ไม่มคี วามลบั ตอ่ กัน
(3) รู้จักผ่อนปรน อดกลั้น อดทนเม่ือเกิดความขัดแย้งกันก็ผ่อนปรนเข้าหากัน ถ้าฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง

รุนแรงมาอีกฝ่ายจะต้องโอนอ่อน ไม่แรงเข้าใส่ด้วยกัน เพราะจะทําให้เกิดความแตกร้าวกันได้ เมื่อมีความ
ลําบากตอ้ งอดทน ไม่พดู ไม่บน่ หรือแสดงกิริยาไมพ่ อใจจนทาํ ให้อกี ฝ่ายเกดิ ความไมส่ บายใจกังวลใจมากขน้ึ

(4) แสดงความสัมพันธ์อันดีต่อกัน สร้างบรรยากาศที่อบอุ่นมีความสุขให้กับครอบครัว มีความห่วงใย
เออื้ เฟ้ือเผ่อื แผ่ ชว่ ยเหลือกันและกัน

(5) มีความรับผิดชอบในหน้าท่ีของตน สามีปฏิบัติตามหน้าท่ีของสามีอย่างดี ภรรยาปฏิบัติหน้าที่ของ
ภรรยาอย่างครบถว้ น เมอ่ื มีบตุ รก็ปฏบิ ตั ิตนเป็นพ่อแม่ท่ีดมี คี วามรับผิดชอบตอ่ บตุ ร

(6) เมื่อเกิดปัญหาที่ต้องแก้ไข ทั้งสองฝ่ายจะต้องให้ความร่วมมือร่วมใจแก้ปัญหาน้ันให้ลุล่วงด้วย
เหตุผล ไม่ใชอ้ ารมณ์และความคดิ ของตนเปน็ ใหญ่

2. การปรับตวั ดา้ นเศรษฐกิจ
ปัญหาเร่ืองเงนิ มักเปน็ ปญั หาใหญก่ บั คสู่ มรสใหม่ เน่ืองจากกาํ ลงั อยู่ในชว่ งสร้างครอบครวั และมภี าวะ
ท่ีต้องใช้จ่ายมากกว่าชีวิตโสด ดังนั้นจึงต้องมีการวางแผนเก่ียวกับการใช้จ่ายให้สมดุลกับรายได้ โดยการ

35

ประหยัดและใช้ในเรื่องท่ีจําเป็น ส่วนหน่ึงต้องเก็บออมไว้ เพ่ือสมาชิกใหม่ในอนาคต ไม่ควรให้ปัญหาเศรษฐกิจ
เป็นสาเหตุของปัญหาอ่ืนๆ สร้างความขัดแย้งรบกวนความสุขในชีวิตสมรส แม้ว่าต้องประสบกับปัญหา
เศรษฐกิจเพียงใดก็ตาม ก็ยังคงต้องให้ความรักความอบอุ่นต่อกัน มีความเข้าใจกันและยังปฏิบัติหน้าที่ในด้าน
อน่ื ๆ อย่างไม่บกพร่อง

3.การปรบั ตัวด้านเพศสัมพนั ธ์
ความสัมพันธ์ทางเพศที่สมดุล ย่อมนําความพึงพอใจมาสู่ คู่สมรสและเป็นปัจจัยท่ีสําคัญอย่างย่ิงที่จะ
ช่วยให้ชีวิตครอบครัวราบรื่นและเป็นสุข เป็นการป้องกันปัญหาการนอกใจท่ีอาจจะเกิดขึ้น คู่สมรสจําเป็นต้อง
เรียนรู้ความต้องการซ่ึงกันและกัน และรู้จักปรับปรุงความสัมพันธ์ทางเพศให้เหมาะสมและสมดุลกัน โดย
คํานึงถึงสุขภาพและความสมบูรณ์ของร่างกายด้วย นอกจากน้ีการแสดงออกด้วยท่าทีวาจาในบางโอกาส ใน
สถานที่ทเี่ หมาะสมจะชว่ ยใหค้ วามสมั พันธข์ องคู่สมรสดขี ้นึ รวมท้ังมีความเขา้ ใจกนั มากขน้ึ ดว้ ย

วธิ ีการสรา้ งสมั พนั ธภาพและการรักษาสมั พนั ธภาพในครอบครวั
ครอบครัวหรือบ้านเป็นพ้ืนฐานสําคัญของสุขภาพจิต จนเรามีภาษิตท่ีคุ้นเคยอยู่บทหนึ่งว่า

“สุขภาพจิตดีเร่ิมท่ีบ้าน” นั่นหมายความว่าบ้านดี สุขภาพจิตของคนในบ้านจะดีด้วยเสมอ เม่ือบ้านเป็นสุข ทุก
คนย่อมร่าเริงแจ่มใสไปโดยอัตโนมัติ การปรับปรุงพัฒนาบ้านดังกล่าว คือ การสร้างบรรยากาศอันเบิกบานเป็น
สุขข้ึนในบ้านนั่งเอง ซึ่งน่าจะมีวิธีการต่าง ๆ หลายอย่าง ท่ีจะกล่าวถึงในท่ีนี้เป็นวิธีสร้างบรรยากาศดังกล่าวได้
อย่างหนึ่ง ทุกคนในบ้านต้องร่วมมือโดยเฉพาะพ่อแม่ต้องเป็นผู้นํา ต้องทําอย่างต่อเนื่องนานพอสมควรจน
กลายเปน็ วฒั นธรรมประจําบา้ นไปในท่สี ุด

การสง่ เสรมิ สมั พันธภาพทีด่ ใี นชวี ติ ครอบครวั และชุมชน
หลักการสร้างและรักษาสมั พันธภาพที่ดีในครอบครวั เพอ่ื น และสังคม การสรา้ งและรกั ษาสัมพันธภาพใน

ครอบครัว
1. ทกุ คนตอ้ งปฏิบตั ิตนตามกฎระเบียบของครอบครวั อย่างสม่าํ เสมอ
2. เคารพเช่อื ฟังและให้เกยี รตซิ ง่ึ กนั และกนั เด็กต้องเคารพผใู้ หญ่
3. ใหค้ วามรว่ มมอื ชว่ ยเหลอื ไมเ่ อาเปรยี บซ่งึ กนั และกนั ปฏิบัตหิ น้าที่ท่ีได้รบั มอบหมายอย่าเตม็ ความ

สามารถ
4. รักและซอื่ สตั ย์ตอ่ พอ่ แม่
5. ทกุ คนในครอบครัวควรมคี วามเอ้อื อาทรหว่ งใยซงึ่ กนั และกัน จะทาํ ให้ครบครัวอบอนุ่ และความสุข
6. รว่ มมือกนั แก้ปญั หาในทกุ เรืองทีเ่ กิดขนึ้ ดว้ ยความเขา้ ใจ
7. ขจัดปญั หาและความขัดแย้งตา่ ง ๆ ในครอบครวั ให้หมดไป

การสรา้ งสมั พนั ธภาพที่ดรี ะหวา่ งเพอ่ื น
1. รักษาช่วยเหลือซึง่ กันและกนั ในเวลาทีเ่ ปน็ ทกุ ข์เดือดรอ้ น
2. สามารถปรบั ทกุ ขแ์ ละรว่ มกันแกป้ ญั หาให้กับเพือ่ นได้
3. ยอมรบั ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะทีด่ ีตอ่ กนั
4. สนใจและเอาใจใสค่ วามรสู้ ึกของเพ่อื นเสมอ
5. ไม่เห็นแกต่ วั และไมเ่ อารดั เอาเปรยี บเพ่อื น

36

6. มีความรกั จรงิ ใจต่อเพ่ือนอย่างเสมอต้นเสมอปลาย
7. สร้างความรูท้ ด่ี ี มองเพอ่ื นในแงด่ ี คดิ ดีตอ่ กันสมา่ํ เสมอ

การสรา้ งและรักษาสัมพนั ธภาพในสงั คม
1. พัฒนาบคุ ลิกภาพใหผ้ พู้ บเหน็ เกดิ ความชื่นชมและประทับใจดว้ ยการพูด และกิรยิ าทา่ ทาง
2. การแสดงออกด้วยความใจกวา้ ง ใจดี และใจจรงิ
3. การใหค้ วามช่วยเหลอื เอาใจใสใ่ นกจิ กรรมและงานสว่ นรวมด้วยความมนี ํา้ ใจและเสียสละ
4. ใหค้ ําแนะนาํ หรือเสนอแนะสง่ิ ท่เี ปน็ ประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม
5. รวมแก้ปัญหาและข้อขัดแย้งในสังคมใหด้ ีขึน้
6. พดู คยุ หรือสนทนากบั ทกุ คนดว้ ยความยม้ิ แย้มแจ่มใส และเป็นมิตรกบั ทกุ คนอย่างเสมอหน้ากัน

37

ตอนที่ 4 การวางแผนชวี ติ และครอบครวั

การวางแผนชีวิต คือ การกําหนดเป้าหมายของชีวิตในด้านต่างๆ การวางแผนชีวิตเป็นกระบวนการ
ไปสู่วัตถุประสงค์ท่ีวางไว้ โดยมีแนวทางท่ีแน่นอน ซ่ึงประกอบด้วยหลักการ และเหตุผลที่มีประสิทธิภาพ
เป็นการวางแผนชวี ติ ของบุคคลจะชว่ ยให้บคุ คลปฏบิ ตั ติ ามแนวทางหรอื กรอบทวี่ างไว้ ซง่ึ เปรยี บเสมือนพิมพ์
เขียว ของการสร้างบ้านก็ว่าได้ เพราะเม่ือช่างก่อสร้างได้ดูพิมพ์เขียวแล้วก็ลงมือทําการก่อสร้างบ้านได้ตาม
แผนที่วางไว้ ฉะนั้นการวางแผนชีวิตจึงมีความสําคัญอย่างมาก การตระเตรียมชีวิตเพ่ือนําไปสู่ความสําเร็จ
หรือเป้าหมายท่ีวางไว้ การวางแผนชีวิตเป็นกระบวรการบริหารจัดการไว้ล่วงหน้าว่าจะทําอะไร ทําอย่างไร
ทําเม่ือไร ใครเป็นคนทํา และจะใช้วัสดุอุปกรณ์อะไรบ้าง งบประมาณเท่าไร ซึ่งเป้าหมายแนวทางสําหรับ
ปฏิบัตใิ ห้สาํ เรจ็ ตามเป้าหมายและวัตถปุ ระสงค์ที่กาํ หนดไว้ ทําใหบ้ ุคคลเกิดความม่ันใจท่ีจะทําให้การดําเนิน
ชีวิตเป็นไปอย่างต่อเนื่อง หากไม่ได้มีการวางแผนชีวิตไว้เหมือนกับชีวิตขาดเป้าหมายและอาจพบปัญหา
มากมาย ทาํ ให้ชวี ิตไมเ่ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ทกี่ าํ หนดไว้ ไมไ่ ดผ้ ลเท่าที่ควรท้ังที่มีการวางแผนไว้อย่างดี ใน
บางคร้ังเรากําหนดเป้าหมายและแผนของชีวิตไว้เป็นอย่างดีแล้วแต่ก็ไม่สามารถไปถึงเป้าหมายที่วางไว้ มี
อุปสรรคเกิดขึ้นจนได้ แต่เราก็สามารถตรวจสอบได้อย่างรวดเร็วว่าที่เราปฏิบัตินั้นมีข้ันตอนไหนผิดไปจาก
แผนที่กําหนดไว้ การวางแผนหรือการกําหนดเป้าหมายของชีวิตก็ยังทําให้เราสามารถตรวจสอบเรื่องท่ี
ผิดพลาดได้ง่ายว่าที่ผิดพลาดน้ันเกิดจากสาเหตุหรือขั้นตอนใด และทําให้สามารถหาแนวทางแก้ไขได้ทัน
ดังน้ันการดําเนินชีวิตให้อยู่อย่างมีความสุขหรือประสบความสําเร็จในชีวิตจึงจําเป็นต้องมีการกําหนด
เป้าหมาย และวางแผนชีวิตไว้ล่วงหน้าชีวิตจึงจะมีความสุขการวางแผนชีวิตครอบครัว หมายถึง การ
วางแผนรว่ มกนั ของคูส่ มรสในเรือ่ งที่จะทาํ ให้ชวี ติ สมรสยั่งยืนผาสุก ซ่ึงได้แก่ การจัดการในบ้าน ความม่ันคง
ทางเศรษฐกิจของครอบครัว ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว เครือญาติ และเพื่อน การวางแผน
ครอบครวั การอบรมเลย้ี งดใู หก้ ารศกึ ษาและวางอนาคตให้แก่บุตร

การวางแผนชวี ิตและครอบครวั
การวางแผนก่อนแต่งงาน การศึกษาชีวิตครอบครัวคือมาตราการทางการศึกษาที่จะเตรียม

ประชาชนให้พร้อมท่ีจะเผชิญปัญหาต่างๆ เช่น ปัญหาเก่ียวกับร่างกาย จิตใจ สังคม และศีลธรรม ซ่ึงมีผล
ตอ่ การสมรสและครอบครัว

1. ความพร้อมทางร่างกาย
2. ความพร้อมทางจิตใจ
3. ความพรอ้ มทางสงั คม
4. ความพรอ้ มทางเศรษฐกิจ

การวางแผนครอบครวั มี 3 แบบ
1. การเร่งกําเนิดคือ การทแ่ี พทย์ช่วยใหค้ สู่ มรสที่มบี ุตรยาก มีบตุ รไดต้ ามต้องการ
2. การเลือกกําเนิดคือ การเลืกเพศของบุตรท่ีมี โดยทําตามคาํ แนะนําของแพทย์
3. การคมุ กําเนดิ หรอื การชะลอการเกดิ คอื การป้องกันการปฎิสนธิ มใิ ห้ไขใ่ นรงั ไขข่ องเพศ

หญิง ประโยชนข์ องการวางแผนครอบครัวช่วยใหค้ ่สู มรสมโี อกาสปรบั ตวั กอ่ นมีบตุ ร ชว่ ยใหม้ ลี ูกไม่มาก
ทําให้เลย้ี งดบู ุตรไดด้ ี มกี ารศกึ ษาสูงชว่ ยใหช้ ีวติ ความเปน็ อยูด่ ีสมฐานะและมีความสุข
การคมุ กําเนดิ มี 2 วธิ ีคือ

38

1. การคุมกําเนิดแบบช่ัวคราว เพื่อเว้นช่วงการมีบุตร เมื่อเลิกคุมกําเนิดก็สามารถมีบุตรได้ตามปกติ
ได้แก่การกินยาคมุ กําเนดิ การใส่หว่ งอนามัย การฉดี ยาคุมกาํ เนดิ การใชถ้ ุงยางอนามัย ฯลฯ

2. การคุมกาํ เนดิ แบบถาวร ใช้ในกรณที ีค่ รอบครัวไม่ต้องการมบี ุตรอีกแลว้ ได้แก่การทาํ หมนั ชายและ
การทําหมนั หญิง

ความหมายของการวางแผนครอบครวั
การวางแผนครอบครวั หมายถึง การทีค่ ู่สมรสคดิ และกาํ หนดระยะเวลาการมีบุตร จํานวนบุตร โดย

ใช้เหตุผลต่างๆ ประกอบ เช่น ความพร้อมในด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพร่างกาย ตลอดจนคุณภาพชีวิตที่คู่
สมรสต้องการและเม่ือมีบุตรตามจํานวนท่ีต้องการแล้วควรจะคุมกําเนิดไว้ ด้วยเหตุผลดังกล่าว นอกจากน้ี
ยังรวมไปถึงการส่งเสริมให้มีการเกิด (เร่งกําเนิด) ในคู่สมรสที่ต้องการมีบุตร แต่มีบุตรยาก และการเลือก
เพศบตุ ร (เลอื กกาํ เนดิ ) ทัง้ นเ้ี พ่อื ผลสําเร็จ ในการครองเรอื นของคูส่ มรสตลอดไป

วิธกี ารวางแผนครอบครวั
เมือ่ คสู่ มรสตัดสนิ ใจวางแผนครอบครวั ควรจะปรกึ ษาแพทย์หรือพยาบาลเพ่ือรับคําแนะนําท่ีถูกต้อง

และเหมาะสม เพราะวิธีการวางแผนครอบครัวนั้นมีหลายอย่าง แพทย์หรือพยาบาลจะได้แนะนําให้
เหมาะสมกับแต่ละคู่สมรสโดยเฉพาะ เมื่อคู่สมรสยังไม่พร้อมท่ีจะมีบุตร หรือต้องการจํากัดขนาดของ
ครอบครัวใหแ้ นน่ อน ควรจะไปขอรบั บรกิ ารการวางแผนครอบครวั ได้ตามหน่วยงานต่าง ๆ เช่น

1. โรงพยาบาล
2. ศูนยก์ ารแพทยแ์ ละอนามัย
3. สถานอี นามยั
4. สํานกั งานผดงุ ครรภ์
5. ศูนยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ
6. ศนู ยอ์ นามยั แมแ่ ละเดก็

การคุมกําเนิด
วิธีการคุมกําเนิด คือ การป้องกันการตั้งครรภ์โดยการสกัดก้ันไม่ให้ไข่ของเพศหญิงและเชื้ออสุจิของ

เพศชายมาผสมกัน คือการป้องกันไม่ให้เกิดการปฏิสนธินั่นเอง ในปัจจุบันการคุมกําเนิดมีให้เลือกหลายวิธี
เชน่

1. การใช้ถุงยางอนามัย เป็นวิธีการคุมกําเนิดวิธีเดียวที่สามารถป้องกันการติดโรคร้ายต่างๆ จาก
การมีเพศสัมพันธ์รวมถึงโรคเอดส์ และยังป้องกันการต้ังครรภ์ได้ถึง 95% ถุงยางอนามัยผลิตจากยางชนิด
บางมีลักษณะเป็นปลอกคลุมอวัยวะเพศชายท่ีมีการแข็งตัวก่อนการมีเพศสัมพันธ์ ขณะท่ีสวมถุงยางต้อง
ระวังอย่าใหม้ อี ากาศอยภู่ ายในเมอ่ื มกี ารหลง่ั อสจุ ิก็จะอยู่ในถุงยาง ไมเ่ ข้าไปผสมกบั ไขใ่ นอวยั วะเพศหญิง

2. การใชย้ าเมด็ คุมกําเนิด ยาเม็ดคุมกําเนิดเป็นสารสังเคราะห์ของฮอร์โมน สามารถป้องกันการ
ปฏิสนธิโดยทาํ ให้เกิดการเปลย่ี นแปลงระดับฮอร์โมนร่างกาย ทําให้ไข่ไม่สุกและมีมูกเหนียวที่ปากมดลูก ทํา
ให้เชื้ออสุจิผ่านเข้าไปไม่สะดวกโดยทั่วไปยาเม็ดคุมกําเนิดจะมี 2 ชนิด คือยาชนิด 28 เม็ดใช้กินทุกวันตอน
เย็นหรือก่อนนอน และยาชนิด 21 เม็ด ให้เริ่มกินวันท่ี 5 ของการมีประจําเดือนเมื่อหมดแผงแล้ว ก็รอ
จนกว่าจะถึงวันที่5ของการมีประจําเดือนของเดือนถัดไป การตัดสินใจว่าจะใช้ยาชนิดใด ควรปรึกษาแพทย์

39

หรือเจา้ หน้าทว่ี างแผนครอบครวั กอ่ น เพราะผหู้ ญงิ แตล่ ะคนอาจจะเหมาะสมท่จี ะใช้ยาต่างชนิดกัน บางคร้ัง
อาจมีผลขา้ งเคยี งอาจทําให้อว้ น หรือรสู้ ึกไม่สบาย

3. ยาฉีดคุมกําเนิด การใช้ยาฉีดคุมกําเนิดเป็นฮอร์โมนสังเคราะห์ที่มีผลระงับการผลิตไข่ทําให้
ผู้หญิงที่มารับการฉีดยาไม่มีประจําเดือนเป็นเวลา 3 เดือน ผู้ที่ต้องการฉีดยาคุมกําเนิดต้องไปท่ีสถานี
อนามัยหรือโรงพยาบาล เพ่ือรับการฉีดยาทุก 3 เดือน ผลการใช้ฉีดคุมกําเนิดอาจมีผลข้างเคียงทําให้
คลืน่ ไส้อาเจยี น หรือมีเลือดกะปริบกะปรอยหลงั การใชย้ าไปนาน ๆ อาจทําใหป้ ระจาํ เดือนมาไมส่ มา่ํ เสมอ

4. วิธีนับระยะปลอดภัย เป็นวิธีการคุมกําเนิดแบบธรรมชาติงดการมีเพศสัมพันธ์ในระยะไข่สุก
โดยการนับระยะปลอดภัย และมีเพศสัมพันธ์ในช่วงนั้น เป็นวิธีท่ีเหมาะสมสําหรับคนที่มีประจําเดือนมา
สมํ่าเสมอ วิธีการหาระยะปลอดภัยก็คือต้องจําไว้ว่าไข่จะสุกประมาณช่วงกลางของรอบเดือน คือ
วันที่ 14 นับจากวันแรกของการมีประจําเดือนระยะท่ีปลอดภัยจึงจะอยู่ช่วงหลังและก่อนท่ีประจําเดือน
มา 7 วนั

5. ห่วงอนามัย เป็นห่วงพลาสติกที่ใช้สอดเข้าไปในโพรงมดลูกทําให้เกิดภาวะเปล่ียนแปลงที่
สามารถกีดขวางท้ังการเดินทางของเชื้ออสุจิ และการเจริญเติบโตของไข่ แม้การคุมกําเนิดโดยใช้ห่วง44นา
มัยจะได้รับการยืนยันว่ามีประสิทธิภาพสูงแต่ก็เป็นวิธีที่ต้องคอยติดตามผลเพราะอาจมีอาการข้างเคียงได้
หลายอย่างต้ังแตอ่ าการปวด ตะครวิ จนถงึ การอกั เสบเกิดเนอื้ งอก มีเลอื ดออกเปน็ ตน้

6. การทําหมันหญิง เป็นวิธีการคุมกําเนิดแบบถาวรมีประสิทธิภาพสูงและปลอดภัยเหมาะ
สําหรับผู้ที่ตัดสินใจว่าไม่ต้องการมีบุตรอีก เป็นการผ่าตัดปิดกั้นท่อรังไข่ ไม่ให้ผ่านออกมาเพ่ือผสมอสุจิ ใน
การผ่าตัดท่อรังไข่นี้ต้องผูกท่อรังไข่หรือใช้ท่ีหนีบหรือจี้ด้วยไฟฟ้าซึ่งทําได้ด้วยการใช้ยาชาเฉพาะบริเวณที่
ผ่าตดั โดยการทาํ ศลั ยกรรมผนังช่องทอ้ ง

7. การทําหมันชาย ทําได้โดยการผ่าตัดท่ออสุจิให้ขาดจากกันทําให้เชื้ออสุจิไม่สามารถผ่าน
ออกมาได้ เป็นวิธีการคุมกําเนิดที่สะดวกและไม่มีผลข้างเคียงต่อฝ่ายหญิง การทําหมันชายเป็นการ
คุมกําเนิดถาวรสําหรับครอบครัวท่ีมีลูกเพียงพอแล้ว นอกจากนี้ยังมีการคุมกําเนิดอีกหลายวิธี เช่น การใช้
ถุงยางอนามัยสตรี การใช้ยาคุมกําเนิดชนิดฝัง ใช้ยาเม็ดสอดช่องคลอด ใช้ยาครีมสอดช่องคลอด หรือใช้
หมวกยางครอบปากมดลูก เป็นต้น ส่วนยากินหลังร่วมเพศไม่ใช่การคุมกําเนิด แต่เป็นยาท่ีแพทย์ใช้เพ่ือ
ช่วยเหลือผู้หญิงท่ีถูกข่มขืนไม่ให้ต้ังครรภ์ จึงเป็นยาท่ีมีผลข้างเคียงอย่างมาก หากรับประทานบ่อยจะทําให้
มีผลต่อรา่ งกาย

40

ตอนท่ี 5 การตั้งครรภ์ และการดแู ล

ทาํ ไมต้องฝากครรภ์
การฝากครรภ์มีความสําคัญมากสาํ หรบั คณุ แม่ เพราะจดุ มุ่งหมาย ในการฝากครรภ์น้ันเพือ่ ให้แนใ่ จว่า

คุณแมแ่ ละทารกใน ครรภย์ ังคงมสี ขุ ภาพดี แขง็ แรงตลอดการต้ังครรภ์ หากมีปัญหาหรอื สง่ิ ผดิ ปกติเกดิ ขน้ึ ใน
ระหวา่ งนัน้ คณุ แม่จะได้รีบปรึกษาคณุ หมอและเขา้ รบั การรักษาได้ทันทว่ งที

การทราบลว่ งหนา้ ว่ามารดาหรอื ทารกมคี วามเสีย่ งด้านสขุ ภาพจะทาํ ใหแ้ พทยส์ ามารถแกป้ ญั หาได้
อย่างเหมาะสม เชน่ การดแู ลครรภ์อย่างใกล้ชดิ กาํ หนดวธิ คี ลอด และระยะเวลาทจ่ี ะคลอด รวมท้งั การดูแล
หลังคลอด ตัวอย่างแมท่ ี่อายุมาก มีโรคทถี่ า่ ยทอดทางพนั ธุกรรม หรือการเจรญิ เติบโตของทารกในครรภ์ไม่
เปน็ ไปตามเกณฑ์ กอ็ าจตอ้ งตรวจหาความผดิ ปกติของทารก ถ้าทารกมขี นาดใหญม่ ากหรือแม่มเี ชิงกรานแคบ
อาจตอ้ งวางแผนทําการผ่าตดั คลอด ถา้ เลือดแม่กบั ลูกเข้ากันไม่ได้ ก็ตอ้ งเตรียมการถ่ายเลอื ดภายหลังคลอด
เปน็ ต้น

หญงิ มีครรภต์ อ้ งมีความรเู้ กีย่ วกบั การปฏบิ ัตติ นดา้ นโภชนาการ การใช้ยาต่างๆ เพศสมั พนั ธ์ การเตรียม
ตวั สําหรับการคลอด และการให้นมบุตร รวมทง้ั การวางแผนครอบครวั หลังจากคลอดบุตรแลว้ นอกจากนัน้ ยัง
ต้องรูจ้ กั สงั เกตความผดิ ปกติของการต้งั ครรภแ์ ละอาการเจบ็ ครรภ์ ซึ่งสิง่ เหลา่ น้หี ญงิ มีครรภจ์ ะได้รบั คําแนะนํา
จากแพทยห์ รอื พยาบาลเมอื่ มาฝากครรภ์
การตรวจสุขภาพของมารดาและทารกเมอ่ื ไดร้ ับการฝากครรภ์

เม่ือหญิงมคี รรภม์ าฝากครรภ์ แพทยจ์ ะซักประวัติ ตรวจรา่ งกาย และตรวจทางห้องปฏิบัตกิ ารท่ีจาํ เป็น
แพทย์จะซักประวัตกิ ารขาดประจําเดือน โรคประจําตัวต่างๆ การต้งั ครรภ์และการคลอดในอดีต ตลอดจน
สภาวะของทารกในครรภ์ก่อนๆ เพื่อวินิจฉยั ว่ามกี ารต้ังครรภ์และคน้ หาสภาวะทตี่ ้องระวงั สําหรับการตั้งครรภ์
คร้งั น้ี

การตรวจร่างกายโดยละเอยี ด จะทาํ ใหแ้ พทย์ทราบถึงสุขภาพของหญงิ มีครรภ์ การตรวจขนาดของ
มดลูกจะสามารถบอกสภาวะของเด็ก เช่น ถ้ามดลูกเล็กกวา่ ทค่ี วรอาจเป็นเพราะเด็กไม่หรอื พกิ าร แตถ่ า้ มดลูก
ใหญอ่ าจเปน็ เพราะเดก็ ตวั ใหญเ่ กินไป เป็นเด็กแฝด หรอื มปี รมิ าณน้าํ ครา่ํ มากผดิ ปกติ

นอกจากนั้นการตรวจครรภ์ยังสามารถบอกท่าของเด็กท่ีอย่ใู นครรภ์ และการฟงั เสยี งหวั ใจเด็กกช็ ว่ ย
บอกว่าเดก็ ยังมีชีวิตอยู่หรอื เสียชวี ติ แลว้

การตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ ารบางอย่างจําเป็นตอ้ งทาํ เมือ่ มกี ารตัง้ ครรภ์ เชน่ การตรวจปัสสาวะเพื่อ
ยนื ยนั การต้งั ครรภ์ ตรวจความเขม้ ขน้ ของเลอื ด เพราะทารกตอ้ งใชธ้ าตุเหล็กจากแมเ่ พ่ือการสร้างเลือด จึงอาจ
ทําใหแ้ ม่มีสภาวะโลหติ จางได้ และการตรวจไข่ขาวในปัสสาวะเพอื่ คน้ หาความผิดปกตขิ องไตหรอื สภาวะครรภ์
เป็นพษิ (pre-eclampsia)

การตรวจนา้ํ เหลืองเพอื่ ดูภมู ิคุ้มกันต่อเชื้อซิฟลิ ิส ไวรัสตบั อกั เสบชนิดบี และเอชไอวี ก็มคี วามจาํ เป็น ซง่ึ
ถา้ เปน็ บวกแพทยจ์ ะต้องวางแผนป้องกันการถา่ ยทอดโรคจากมารดาไปส่ทู ารก

บางกรณอี าจต้องมีการตรวจพเิ ศษ เช่น การตรวจด้วยคลืน่ เสียงความถสี่ ูง (อตั ราซาวนด์) เพ่อื ดอู ายุ
ครรภ์ทแี่ นน่ อน ดูความผิดปกติของทารก เช่น ความพิการต่างๆ รวมทัง้ การเตน้ ของหัวใจ เพอื่ ประเมนิ ว่าเด็กมี
ชวี ติ หรือไม่

41

การเฝา้ ตดิ ตามพฒั นาการของทารกในครรภ์
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์สามารถประเมินได้จากขนาดของมดลูกท่ีใหญข่ ึ้นเปน็ สดั สว่ นกับอายุ

ครรภ์ และนา้ํ หนักของแมท่ ่ีเพิ่มข้นึ
สามเดือนแรกของการต้งั ครรภ์ มดลูกจะอยู่ในอุ้งเชงิ กราน อายคุ รรภ์ครบหา้ เดอื น ยอดมดลกู อยทู่ ี่

ระดับสะดือ และอยเู่ กือบถึงลิ้นปเ่ี ม่ือครรภค์ รบกําหนด
สว่ นน้ําหนกั ของแม่ในสามเดอื นแรกของการตั้งครรภ์จะเพ่มิ ข้ึนเพยี งเลก็ นอ้ ย เพราะหญงิ มคี รรภ์มกั มี

อาการคลน่ื ไสอ้ าเจียนและรบั ประทานอาหารได้น้อย หลังจากนน้ั น้าํ หนักจะเพ่ิมขน้ึ เปน็ ลําดับประมาณเดอื นละ
1-1.5 กิโลกรมั โดยตลอด การตง้ั ครรภน์ ้ําหนกั ของแมจ่ ะเพ่ิมข้ึนประมาณ 10-12 กโิ ลกรัม ท้ังนเ้ี ปน็ ส่วนของ
เดก็ รก และนํา้ คร่ําประมาณ 5 กิโลกรมั เปน็ สว่ นของมดลกู และส่วนอ่ืนของแม่อกี 7 กิโลกรัม

กรณที ่ีนาํ้ หนักของแม่เพม่ิ น้อย หยดุ เพมิ่ หรอื นํา้ หนักลดลง รวมทั้งยอดมดลกู ไมส่ งู ขึ้น อาจแสดงถึง
ความผิดปกตขิ องทารกในครรภ์ เช่น เดก็ โตชา้ หรือเด็กเสียชวี ติ ในครรภ์ ซงึ่ จะต้องมีการตรวจและเฝา้ ติดตาม
อยา่ งใกลช้ ิด สว่ นกรณีตรงกนั ข้ามอาจเกิดจากครรภแ์ ผด นาํ้ คราํ่ มากผดิ ปกติ หรือมเี นื้องอกของมดลกู และรงั ไข่
ซงึ่ จําเป็นตอ้ งวินิจฉยั สาเหตทุ แี่ น่นอนเชน่ กนั
สิ่งท่หี ญิงมีครรภ์ควรสงั เกตและระมดั ระวงั

ยาหลายชนิดมอี ันตรายต่อทารกในครรภ์ ทาํ ใหเ้ กดิ ความพิการชนิดต่างๆ การเจรญิ เตบิ โตช้า หรือ
สมองเส่ือม ดังนั้นการใช้ยาขณะตงั้ ครรภ์โดยเฉพาะในช่วงสามเดือนแรกควรปรึกษาแพทยก์ อ่ น

บหุ ร่ี ทําใหท้ ารกมีน้าํ หนกั นอ้ ย แมจ่ งึ ควรหยดุ สูบบุหร่ีเมอื่ ต้ังครรภ์ สรุ าก็ทําใหเ้ ด็กซมึ และด้นิ น้อยลง
จึงอาจมองขา้ มความผิดปกตอิ ย่างอื่นของเด็ก

การด้ิน แสดงถงึ ความแข็งแรงของทารก ถ้าทารกดนิ้ นอ้ ยลงหรอื หยดุ ดิน้ ตอ้ งรีบไปพบแพทย์
การบวม โดยเฉพาะการบวมทั้งตัว มกั แสดงถงึ พยาธิสภาพของไตหรอื ภาวะครรภเ์ ป็นพิษ จึงควรมารบั
การตรวจเพ่มิ เติมเพอ่ื วินจิ ฉัยโรคให้แน่ชดั ถา้ มีสภาวะครรภ์เป็นพิษตอ้ งไดร้ บั การดแู ลเปน็ พเิ ศษ
นํา้ เดนิ เกดิ จากการทถี่ ุงนา้ํ ครํา่ รัว่ หรอื แตกซงึ่ ควรจะมีลกั ษณะเปน็ น้ําใสๆ ไมใ่ ชม่ ูก ถ้ามีนํา้ เดนิ และยงั
ไม่มีการเจบ็ ครรภภ์ ายใน 24 ช่วั โมง ควรพบแพทย์เพื่อดูแลรกั ษาในโรงพยาบาลเพราะอาจเกดิ การติดเชื้อในแม่
และทารก หรอื ทารกเสียชีวิตได้
อาการเลือดออกเลก็ นอ้ ย โดยเฉพาะท่มี ีมกู ปน มกั เปน็ อาการนาํ ของการเจบ็ ครรภ์คลอด แต่ถา้
เลอื ดออกมาก ไมว่ ่าจะเป็นช่วงครรภ์ก่อนครบกาํ หนดหรือครบกาํ หนดแลว้ และจะร่วมกับการเจบ็ ครรภ์หรือไม่
ก็ตาม ตอ้ งรีบมาพบแพทย์เพราะอาการดังกลา่ วอาจเกิดจากสภาวะรกเกาะตํ่าหรอื รกลอกตัวก่อนกาํ หนด ซึง่
เป็นอันตรายร้ายแรงต่อชีวติ ของแมแ่ ละทารก
ในเดอื นสุดท้ายของการต้งั ครรภ์หญิงบางคนจะมอี าการเจบ็ ครรภเ์ พราะมดลูกรดั ตัว แตไ่ มส่ มํา่ เสมอ
และอาการปวดมักจะอยู่บรเิ วณทอ้ งน้อยหรอื ขาหนีบ อาการเจ็บครรภแ์ บบน้ีเรยี กวา่ เจ็บเตอื น ซง่ึ จะหานไปเม่ือ
ไดห้ ลบั พักผ่อน แต่ถ้าอาการเจบ็ เกดิ ขึ้นอยา่ งสมาํ่ เสมอ ถข่ี น้ึ และรนุ แรงขน้ึ เร่อื ย ๆ ควรรีบไปโรงพยาบาล
เพราะกระบวนการคลอดได้เริม่ ข้นึ แลว้

42

ตอนที่ 6 ค่านิยมเกีย่ วกับชีวติ ครอบครวั และพฤติกรรมทางเพศ

ค่านยิ มทางเพศทถี่ กู ต้อง
คา่ นยิ มทางเพศในเรอื่ งที่ไมถ่ กู ต้องสาํ หรบั คนไทย ได้แก่

1. การไมเ่ ผยแพรค่ วามจรงิ ในเร่ืองเพศหรือการไม่ให้ความรู้เร่ืองเพศแก่บตุ รหลาน
โดยคดิ ว่าเป็นเรอื่ งหยาบคาย หรอื นา่ อาย

2. การไม่สนบั สนนุ หรอื ส่งเสรมิ ใหบ้ ุคคลในสงั คมพูดคุยกนั ในเรือ่ งเพศอย่างเปิดเผย
3. การยกยอ่ งให้เพศชายเป็นใหญก่ ว่าเพศหญิง
4. การมเี พศสมั พนั ธ์ก่อนการสมรสโดยถือวา่ เพศชายไมผ่ ิด
ค่านยิ มเหล่านี้ทําให้บคุ คลในสังคมมที ัศนคตทิ ่ไี ม่ถกู ตอ้ งรวมทั้งมพี ฤตกิ รรมทางเพศทีไ่ ม่ถูกต้อง
เช่น การเอาเปรยี บเพศตรงกันขา้ มเมื่อมีโอกาส ความไม่เสมอภาคระหว่างเพศ การดถู ูกเพศตรงกนั ขา้ ม
อนั เปน็ ผลต่อความรกั ความผกู พัน ความสงบสุข ในครอบครัวและสังคมโดยรวม

เร่อื งท่ี 6.1 การสรา้ งคา่ นยิ มโดยยดึ ถอื วฒั นธรรมตามประเพณีท่ดี ีงาม

ในประเทศไทย มีความเป็นไทย มีขนบธรรมเนียมประเพณแี ละวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณเ์ ฉพาะตัว
โดยเฉพาะคา่ นิยมในเร่ืองเพศ ซงึ่ มีมุมมองได้ 2 ทาง ดังน้ีคอื

1. ค่านยิ มทางเพศทดี่ ขี องสังคมไทย
1.1 หญิงไทยมกั จะรักนวลสงวนตัว ไม่มเี พศสัมพนั ธ์ก่อนการแต่งงาน
1.2 ชายไทยไมค่ วรสาํ สอ่ นทางเพศเพราะอาจเกิดผลเสียโดยการตดิ โรค
1.3 ชายไทยมคี วามรบั ผิดชอบต่อเพศหญงิ ไมห่ ลอกลวง ไมข่ ม่ เหงนํ้าใจ
1.4 ชายไทยรบั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครัว
วัยรุ่นในปัจจุบันควรมีเจตคติที่ดีว่าทั้งสองเพศมีความสําคัญเท่าเทียมกัน การสร้างสรรค์สังคมจึงจะ
เกิดข้ึน ค่านิยมดังกล่าวเป็นส่ิงที่ดีและยังใช้ได้ในสังคมปัจจุบัน วัยรุ่นจึงควรรักษาค่านิยมที่ดีไว้เพื่อป้องกัน
ปญั หาท่ีจะตามมา เชน่ ครอบครัวแตกแยก โรคทางเพศสัมพันธ์ การตัง้ ครรภน์ อกสมรส การคา้ ประเวณี การสํา
ส่อนทางเพศ เป็นต้น หลักในการเลือกคู่ครองสภาพปัจจุบันชายและหญิงมักตัดสินใจเลือกคู่ครองด้วยตนเอง
โดยไม่ขอคําปรึกษาจากพ่อแม่และญาติพี่น้อง หรือผู้ใหญ่ จึงทําให้ชีวิตมีท้ังประสบผลสําเร็จและล้มเหลวได้
หลกั ในการเลือกคู่ครองโดยทัว่ ไปพอสรุปได้ดังนี้
มคี วามรกั เปน็ พนื้ ฐาน เพราะความรักเปน็ การแสดงความรสู้ กึ ถึงความผกู พนั ความหวงแหน ความ
ห่วงใย จึงมีความรกั ใคร่ในคคู่ รองท่เี ราเลือกและควรเลอื กค่คู รองท่รี กั เรา
2. มีสภาวะด้านต่าง ๆ เหมาะสม เชน่
2.1 อายุ ควรอยใู่ นเกณฑ์ท่บี รรลุนติ ิภาวะแล้ว ชายควรมีอายุ 25-30 ปี ฝ่ายหญิง ควรมีอายุ 20-25
ปี มคี วามพร้อมทางร่างกาย
2.2 สขุ ภาพรา่ งกาย การแต่งงานนนั้ นอกจากมีความพรอ้ มทางรา่ งกายท่จี ะให้กาํ เนดิ ลูกไดแ้ ลว้ ควร
จะตอ้ งคาํ นึงถึงสุขภาพด้วย เช่น โรคประจาํ ตวั โรคทางพันธุกรรม เพราะส่งิ เหล่านีจ้ ะมีผลกระทบตอ่ ชีวติ
สมรสได้ ดังนน้ั จงึ มคี วรตรวจสขุ ภาพและถา้ พบวา่ มโี รคภัยไข้เจบ็ ต้องรกั ษาใหห้ ายเสยี ก่อน
2.3 วฒุ ิภาวะทางอารมณ์ นับว่าเปน็ สิ่งสาํ คญั ยงิ่ สําหรบั ผคู้ รองเรือน เพราะวุฒิภาวะทางอารมณ์จะเป็น
ผ้สู ุขมุ รอบคอบ มีเหตุผล มคี วามรบั ผดิ ชอบ ยอมรบั ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล และสามารถปรบั ตัวได้ดี

43

2.4 ระดับสติปัญญา คสู่ มรสควรมรี ะดบั สติปญั ญาใกลเ้ คียงกนั เพราะหากสติปญั ญาแตกตา่ งกันมกั จะ
คยุ กนั ไมร่ ูเ้ รอ่ื ง

2.5 คสู่ มรสควรมบี คุ ลกิ ภาพและรสนิยมใกล้เคียงกัน
2.6 ศาสนาแต่ละศาสนาจะมศี าสนพธิ แี ตกต่างกันถา้ คสู่ มรสตา่ งศาสนาควรมกี ารพดู คยุ ตกลงเก่ียวกบั
การปฏบิ ัติตนในพธิ ีกรรมของศาสนาแตล่ ะฝา่ ยเพอ่ื ไมใ่ ห้เกิดปัญหาในครอบครวั
2.7 วฒั นธรรม เป็นวิธกี ารดาํ เนินชีวติ สืบทอดกนั มา วัฒนธรรมทคี่ ล้ายกนั ย่อมปรบั ตวั เข้ากันไดง้ ่าย
2.8 ฐานะทางเศรษฐกิจ ต้องใกลเ้ คยี งกัน มกี ารวางแผนการจบั จา่ ยในครอบครวั
วัฒนธรรมไทยให้ความสําคัญในเรื่องความถูกต้องดีงามในเรื่องเพศ ซึ่งเป็นส่ิงที่สมาชิกในสังคมไทย
ยึดถอื ปฏบิ ัติ รวมท้ังการอบรมส่ังสอนถา่ ยทอดความเช่อื และค่านิยมสืบต่อกันมาทางสถาบันครอบครัวโดยมีพ่อ
แม่เป็นผู้คอยสั่งสอน อบรมชี้แนะลูกให้ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติในการดํารงชีวิต ดังสุภาษิตสอนหญิงของสุนทรภู่
ท่วี ่า

“จงรักนวลสงวนงามหา้ มใจไว้ อย่าหลงใหลจงจาํ คําทพี่ รํ่าสอน
คดิ ถงึ หนา้ บดิ าและมาดร อยา่ รีบรอ้ นเรว็ นกั มักไม่ดี
เม่อื สุกงอมหอมหวนจึงควรหล่น อย่กู บั ต้นอยา่ ใหพ้ รากไปจากท่ี
อย่าชงิ สุกก่อนห่ามไมง่ ามดี เมอ่ื บุญมคี งจะมาอยา่ ปรารมภ”์

44

ตอนที่ 7 การจดั การกบั ปญั หาชวี ิตและครอบครวั

ครอบครัวอบอุ่น คือครอบครัวท่ีสมบูรณ์แบบ การ มีครอบครัวท่ีอบอุ่นทําให้เราดําเนินชีวิตได้อย่าง
ปกตสิ ขุ คนทมี่ ีครอบครวั อบอนุ่ ยอ่ มมีความไดเ้ ปรียบ เพราะสามารถ ทาํ หนา้ ท่ไี ด้เหมาะสม และทําให้สมาชิกใน
ครอบครัวมีสขุ ภาพจติ ดไี ปดว้ ย
นยิ าม "ครอบครัวที่อบอนุ่ "

1. มขี อบเขตทเี่ หมาะสม ทั้งขอบเขตสว่ นบคุ คล และคนในครอบครวั
2. มีความผกู พนั ทางอารมณท์ ี่เหมาะสม ไมห่ ่างเกิน ไป และไมใ่ กลช้ ดิ กนั เกินไป สมาชกิ ในครอบครวั มี
ความเปน็ ตวั ของตัวเอง แตย่ งั คงความเป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกนั ในครอบครัวได้
3. มีการจดั ลาํ ดบั อํานาจ และความเปน็ ผู้นําที่ชดั เจน
4. สมาชิกมบี ทบาทหนา้ ทชี่ ัดเจน และปฏิบตั ิหนา้ ท่ไี ดอ้ ย่างสอดคล้องกัน
5. โครงสร้างและการปฏิบัติหนา้ ทขี่ องครอบครวั มคี วามยดื หยุ่นดแี ละเหมาะสม
6. สามารถแกไ้ ขความขดั แยง้ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
7. มีการจัดระบบภายในครอบครัวอยา่ งมีประสิทธ-ิ ภาพ
8. มีการส่อื สารทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ
9. มีเครือข่ายทางสังคมท่ดี ี และมีความสมั พนั ธ์ทด่ี ีกับครอบครวั
10. สมาชิกในครอบครวั ใช้เวลาอยูร่ ว่ มกนั ตามสมควร
ความผูกพัน : ตัวแปรความอบอนุ่ ในครอบครัว
ครอบครัวจะมีแรงผลักดันอยู่ 2 แรงท่ีต่อสู้กันอยู่เสมอคือ แรงท่ีดึงสมาชิกให้เข้าหากัน เป็นอันหน่ึงอัน
เดียว กัน ท้ังความคิด ความรู้สึก การกระทํา และแรงผลักดันท่ีทําให้สมาชิกอยู่ห่างออกจากกัน เพื่อใช้ชีวิต
อย่างอิสระและเป็นตัวของตัวเอง แรงผลักดันทั้ง 2 จะสมดุลกันในครอบครัวที่อบอุ่น แม้บางครั้งแรงผลักดัน
แบบหนึ่งอาจมากกว่าอีกแบบหน่ึง แต่ก็จะเป็นอยู่ช่ัวคราว และจะกลับคืนสู่สภาวะสมดุลในที่สุด โดยความ
ผกู พันทางอารมณแ์ บ่งได้เปน็ 2 ลกั ษณะคือ

1. ครอบครัวท่ผี กู พนั แน่นแฟ้นเกนิ ไป
เกิดขึ้นจากการท่ีสมาชิกในครอบครัวทําในส่ิงท่ีแตกต่างไปจากท่ีเคยทํามา ก็จะเกิดความเครียดข้ึนมา

ในครอบ-ครัวทันที ความเครียดนี้อาจกระทบถึงความสัมพันธ์ และการปฏิบัติหน้าท่ีด้านอื่นๆ ของครอบครัว
เช่น ลูกทําใน ส่ิงท่ีพ่อแม่ไม่ชอบ หรือไม่เห็นด้วย และให้ลูกตัดสินใจว่า จะทําตามใจตัวเอง หรือยอมทําตามที่
พ่อแม่ต้องการ ผลของความผูกพันท่ีมากเกินไปน้ัน จะทําให้สมาชิกในครอบครัวไม่สามารถพ่ึงพาตนเองได้
เช่น แม่ท่ีผูกพันแน่นแฟ้นกับลูกมากเกินไป อาจทําให้พ่อห่างเหินไปโดยอัตโนมัติ โดยเด็กจะพ่ึงแม่ไปโดย
อตั โนมัตแิ ละไมร่ ู้จักโต
2. ครอบครัวท่เี หนิ ห่างทางอารมณ์

สําหรับครอบครัวที่ผูกพันระหว่างกันน้อย แม้สมาชิก ในครอบครัวจะมีอิสระมาก ก็จะเป็นความอิสระ
ที่ไม่สมบูรณ์ เพราะขาดความรู้สึกเป็นส่วนตัวและความรู้สึกท่ีพ่ึงพิงกันในยามจําเป็น นอกจากน้ี การที่ต่างคน
ต่างอยู่จะทําให้ไม่สามารถร่วมทําภารกิจที่สําคัญให้สําเร็จได้ เช่น ครอบครัวที่พ่อกับแม่ไม่มีความผูกพันใกล้ชิด
กัน ย่อมไม่สามารถร่วมมือกันปกครองลูกได้ ความผูกพันทางอารมณ์ที่เหมาะสมท่ีสุดคือ ความผูกพัน
ระดับกลาง เพราะคนในครอบครัวจะมีความเป็น อิสระ แต่ยังคงความผูกพันกับครอบครัวเดิมอยู่ ท้ังน้ี การจะ


Click to View FlipBook Version