The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wasan197152, 2020-06-24 04:52:34

SAR 2562

SAR 2562





ความเห็นของคณะกรรมการสถานศกึ ษา
โรงเรยี นตากพิทยาคม

รายงานประจาปีของสถานศกึ ษา เปน็ การสรุปผลการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา
ท่ีสะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา สมควรที่ต้องมีการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง
และนาขอ้ มลู สารสนเทศไปใชใ้ นการพฒั นาในปกี ารศึกษาถดั ไป

คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนตากพทิ ยาคม ไดม้ ีมติเห็นชอบ
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 256๒ ของโรงเรียนตากพทิ ยาคม
ในการประชุมออนไลน์ครงั้ ท่ี พเิ ศษ /2562 เม่อื วันที่ ๒๒ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563

(ลงชอ่ื )
(นายชชู าติ ช่ืนมงคลสกลุ )

ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานโรงเรียนตากพิทยาคม

-ก๓-

คานา

รายงานประจาปีของสถานศึกษา เป็นการสรปุ ผลการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ท่ีสะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ซ่ึงเป็นผลสาเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาท่ี
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรียน
ตากพิทยาคม ได้ดาเนินงานมาอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ ในปีการศึกษา 256๒ ที่ผ่านมา ได้จัดให้มี
การประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา โดยแบ่งการประเมินเป็น 3 ด้าน คือ

1. ดา้ นคุณภาพผ้เู รยี น
2. ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ
3. ด้านกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ
ผลการวิเคราะห์ จุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนา และได้ระบุแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาใน
อนาคต โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือนาเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีท่ีผ่านมา ให้ต้นสังกัดและ
สาธารณชนได้รบั ทราบ และเตรยี มความพร้อมในการรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ต่อไป

(ลงชื่อ)
(นายภูธนภัส พมุ่ ไม)้

ผูอ้ านวยการโรงเรียนตากพิทยาคม

-ข๔- หนา้

สารบัญ ข

คานา 1
สารบัญ
บทสรุปผู้บริหาร 1๖
ส่วนท่ี 1 ข้อมลู พื้นฐานของสถานศึกษา ๑๖
ส่วนท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
7๙
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผเู้ รียน
มาตรฐานที่ 2 ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ 10๓
มาตรฐานท่ี 3 ด้านกระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ 12๑
สว่ นท่ี 3 สรุปผลแนวทางการพัฒนาและความต้องการช่วยเหลือ 1๓๖
ส่วนที่ 4 ภาคผนวก

-ค๕-

บทสรปุ ผ้บู ริหาร

โรงเรียนตากพิทยาคม ตั้งอยู่เลขท่ีเลขท่ี 12 ถนนท่าเรือ ตาบลระแหง อาเภอเมือง จังหวัดตาก

63000 โทรศัพท์ 055 - 511134 โทรสาร 055 – 540248 E-mail : [email protected]

Website : http://www.tps.ac.th สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 38 สานักงาน

คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จดั การศึกษาในระดับมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-6

จานวนนกั เรียน 2,627 คน มขี ้าราชการครู จานวน ๑๓๒ คน ผู้บริหารจานวน ๔ คน ผูอ้ านวยการโรงเรยี น

คอื ดร.ภูธนภสั พมุ่ ไม้ ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรยี นตากพทิ ยาคม

1. จากผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ของ

สถานศึกษาสรุปได้ว่าอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม จากการดาเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐาน

การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พบว่า

มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ระดับคณุ ภาพ

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ยอดเยี่ยม

(ระดับ 5)

1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผู้เรยี น ยอดเยี่ยม

(ระดบั 5)

1.2 คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ ยอดเยี่ยม

(ระดบั 5)

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ยอดเยยี่ ม

(ระดับ 5)

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั ยอดเยี่ยม

(ระดบั 5)

2. จุดเด่น จุดทค่ี วรพฒั นาทง้ั 3 มาตรฐาน

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี น อยรู่ ะดับ ยอดเยยี่ ม

จดุ เดน่

1. นักเรียนทั้งหมดของโรงเรียนตากพิทยาคม ได้รับการพัฒนาศักยภาพอย่างตรงตามความต้องการ

ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีสมรรถนะที่จาเป็น สะท้อนให้เห็นถึงการดาเนินงานอย่างมีระบบ

คณุ ภาพของหลกั สูตรสถานศกึ ษา และกระบวนการพัฒนานวตั กรรมการจดั การเรียนรู้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพตาม

กระบวนการ SPSS-DSA Model

2. นักเรียนได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้นวัตกรรม 6 โครงการเพ่ือพัฒนาคุณภาพนักเรียนโรงเรียน

ตากพิทยาคม ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่จัดต่อยอดจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โรงเรียนมาตรฐานสากล และ

เป็นนวัตกรรมที่จัดให้สาหรับนักเรียนทุกคนท่ีมีศักยภาพ ความสนใจและความถนัดแตกต่างกัน แบ่งออกเป็น

6 โครงการ ได้แก่ ESMTE, SME, Pre-Engineering, MEP, EIS และ SST ซ่ึงสามารถพัฒนานักเรียนที่เข้ามา

ศึกษาในโรงเรียนตากพิทยาคมให้เป็นนักเรียนท่ีมีคุณภาพการเรียนรู้ท่ีดี สามารถพัฒนาต่อยอดสู่เวทีการ

แข่งขันระดับต่างๆและได้รับรางวัลต่างๆมากมาย

3. ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสม มีสมรรถภาพทางกายและ

น้าหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์ มีระเบียบวินัยจนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา เป็นท่ียอมรับของชุมชนโดยรอบ

ในเรอ่ื งความมีวินัย เคารพกฎกติกา ระเบียบของสังคม



4. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา 2562
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 และ ม.6 คะแนนเฉลยี่ ทุกวิชาของนกั เรยี น สงู กว่าคะแนนเฉลย่ี ระดบั จังหวัด
ระดับสังกัด ระดับประเทศและเปน็ อันดับหน่ึงของ สพม.38

5. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ม.1-3) สังคมศกึ ษาฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ ผู้เรียนมี
ผลสมั ฤทธิ์สงู กวา่ คา่ เป้าหมายทีก่ าหนด

จดุ ควรพัฒนา
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การงาน
อาชีพ ภาษาต่างประเทศ ยังต่ากว่าค่าเป้าหมายที่กาหนดไว้ สาเหตุจากโรงเรียนได้ปรับค่าเป้าหมายให้สูงข้ึน
เน่ืองด้วยเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากลและจากการคาแนะนาของคณะกรรมการประเมินจาก สมศ.และ
โรงเรียนได้ให้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จัดทาโครงการเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระวิชาฯ การทา
PLC โครงการพัฒนาครู และโครงการยกระดับระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นอยา่ งเขม้ ข้นต่อไป
2. เนื่องจากการติดตามการพัฒนาทักษะและผลสัมฤทธิ์นั้นเป็นสิ่งท่ีต้องใช้เวลาในการพัฒนาผู้เรียน
อย่างต่อเนื่อง จงึ ต้องมกี ารติดตามอย่างต่อเนอ่ื งทุกระดับช้ันและประเมนิ ผลทุกระดับชั้นเพอื่ การแก้ปัญหาและ
พัฒนาผ้เู รียนอยา่ งแท้จริง
3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ของแต่ละโครงการภายในนวัตกรรมมีความแตกต่างกันจึงให้ผลลัพธ์ต่อ
นกั เรียนท่ีแตกต่างกัน ดังนั้น ในการคัดเลือกนักเรียนเข้าสู่แต่ละโครงการควรมคี วามเที่ยงตรงสงู ท้งั ในด้านการ
ใช้เคร่ืองมอื วิธกี ารคดั เลือก เปน็ ต้น

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ อย่รู ะดบั ยอดเยีย่ ม
จุดเดน่
1. โรงเรียนได้มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบด้วยระบบคุณภาพตามแนวทางการบริหารจัดการ
ตามเกณฑ์รางวัลแห่งคุณภาพ OBECQA ด้วยรูปแบบการบริหารสถานศึกษา SPSS DSA Model โดย
ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาท่ีผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการ
นิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น
จากบุคลากรในสถานศึกษาเพ่ือวางแผนร่วมกันกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ใน
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา
แผนปฏิบัติการประจาปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรปู การศึกษา
พร้อมท้ังจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดาเนินการพัฒนาตามแผนงาน
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้โดยมีกรอบการทางานTEPS Framework มีการดาเนินการนิเทศ กากับ
ตดิ ตาม ประเมินผลการดาเนินงาน ด้วย TAKS Model และสรุปผลการดาเนินงานซึ่งการบริหารจดั การศึกษา
ดว้ ยระบบคุณภาพ
2. แนวทางการบริหารสถานศึกษาโดยใช้ SPSS-DSA Modelมคี วามสอดคล้องกบั เปา้ หมาย
วิสยั ทัศน์ (Vision)ท่วี า่ “ตากพิทยาคมเปน็ โรงเรียนคุณภาพชนั้ นา เทยี บเคียงมาตรฐานสากลบนพนื้ ฐานหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”นอกจากนย้ี ังสอดคล้องกับสมรรถนะหลกั ของโรงเรยี น (Core
competencies) ดังนี้



1. การบรหิ ารจดั การทมี่ ีคุณภาพโดยใช้ SPSS DSA Model
2. การบรหิ ารจัดการเรยี นการสอนโดยใชน้ วตั กรรม 6 โครงการเพื่อพฒั นานกั เรยี นอยา่ งรอบดา้ นตาม
มาตรฐานสากล
3. การจัดการเรียนการสอนโดยบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. พัฒนาคณุ ภาพของครแู ละบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง เพื่อเปน็ ครูมืออาชพี
โดยการบรหิ ารสถานศึกษาจะมีการบูรณาการการดาเนินงานภายในองค์กรให้มีความเกย่ี วเนือ่ งสมั พันธ์กัน โดย
บรู ณาการ Best Practice ไปใช้ทุกกลุ่มงาน โดยทกุ กิจกรรมมคี วามเช่ือมโยงสอดคลอ้ งกัน
3. ผู้บริหาร หวั หน้าโครงการ คณะครู มสี ว่ นร่วมในการกาหนดทิศทางการพัฒนาผู้เรยี นตามแนวสังคม
แห่งการเรียนรู้ PLC อย่างสมา่ เสมอมีการวิเคราะห์เพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ ผ่านกระบวนการ TAKS Model
4.โรงเรยี นตากพิทยาคมไดร้ บั รางวัล IQA AWARD ประจาปกี ารศึกษา 2562 จากสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
จุดท่คี วรพัฒนา
1. พัฒนาปรับปรงุ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยมอบหมายใหผ้ ้รู บั ผดิ ชอบจดั ทาข้อมูล
สารสนเทศให้เป็นปัจจบุ นั และใชข้ ้อมลู เป็นฐานในการพัฒนาการศึกษาไดต้ ลอดเวลา
2. ขยายเครือข่ายความรว่ มมือการจัดการศึกษากบั ต่างประเทศใหเ้ พิ่มขนึ้ เพื่อรว่ มกันขบั เคล่ือนคณุ ภาพ
การจดั การศึกษา

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ อยู่ระดบั ยอดเย่ียม
จดุ เด่น
1. ครูทกุ คนจดั กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามมาตรฐาน ตวั ชี้วดั ของหลักสูตรสถานศึกษาทเี่ น้นใหผ้ เู้ รยี นเกดิ
กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะหค์ ิดสรา้ งสรรค์ ฯลฯ และการปฏบิ ัติจริงผ่านการทาโครงงาน/กิจกรรม/การ
ฝึกปฏบิ ตั ใิ นสถานการณ์จริง และนักเรียนขยายความคิดนาไปใช้ชวี ติ ได้
2. โรงเรียนส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้พัฒนาตนเองมีคุณธรรมจริยธรรมตาม
จรรยาบรรณ วิชาชีพมีความมุ่งม่ันและอุทิศตนในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ เทคนิคการสอนอย่าง
หลากหลายสามารถใชส้ ่อื เทคโนโลยสี กู่ ารเรยี นการสอนไดด้ ี
3. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรยี นเรียนรู้จากการคิดได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธกี ารและแหล่งเรียนรูท้ ่ีหลากหลาย
พฒั นาสื่อการสอน จัดการเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน
ของสถานศึกษาและส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียนให้สูงข้ึนตลอดจนครูมีการวิเคราะห์นักเรียนและจัดทา
ผลงานวิจยั ในช้นั เรียน
4. ครูมีการใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้ท่ีคณุ ภาพอย่างหลากหลายทุกกลุ่มสาระการ
เรียนรู้มีเคร่ืองมือและประเมินที่สอดคล้องกับตัวช้ีวัดและผลการเรียนรู้ ใช้วิธีการประเมินที่หลากหลาย เน้น
คาถามกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า และวัดผลคลอบคลุมพฤติกรรมนักเรียนทุกด้าน
ในสัดส่วนที่เหมาะสมทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและผลการผลทดสอบระดับชาติ (O-NET)ของผู้เรยี นสงู ขึ้น
อยา่ งต่อเน่ืองทุกปี และสูงกว่าระดับภูมภิ าคและระดบั ประเทศ(O-NET)
จุดที่ควรพฒั นา
1. ควรพัฒนาห้องปฏิบัติการ และสื่อโสตทัศนูปกรณ์ให้เพียงพอกับจานวนนักเรยี น เพื่อให้เป็นสังคม
แห่งการเรียนรู้ เช่น ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์
ห้องศูนย์การเรียนรู้ของกลุ่มสาระต่างๆ การเพิ่มจานวนหนังสือของห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุด/มุมหนังสือ



ตามกลุ่มสาระ การจัดให้มีสัญญาณอินเตอร์เน็ต เพ่ือให้นักเรียนสามารถค้นคว้า และเรียนรู้ได้อย่าง
หลากหลายตามความตอ้ งการ

2. ภาระงานพิเศษที่ได้รับมอบหมายของครูมาก ทาให้ครูอาจจะรายงานผลการใช้เคร่ืองมือวัดและ
ประเมินผล ไดไ้ มค่ รบทุกแผนการสอนหรือทกุ คาบ

3. ควรปรับหลักสูตรโครงสร้างการเรียนในบางแผนการเรียนที่มีจานวนหน่วยกิตเกินกาหนดโครงสร้าง
ของกระทรวงศกึ ษาธิการ

3. แผนงาน/แนวทางพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้สงู ข้นึ คอื
1. ส่งเสริมให้ครูมีความรู้ ความสามารถในการใช้งานส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนาไปใช้ในการ

จดั การเรียนการสอนทุกช่องทาง
2. พัฒนาระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตใหส้ ะดวกทวั่ ถึงใชไ้ ด้จริงทุกหอ้ งเรียน
3. การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้สูงข้ึนโดยการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน ท่ีเน้นการจัดการ

เรียนรแู้ บบ Active Learning ซง่ึ เปน็ การพัฒนาบุคลากรครูในเร่อื งการออกแบบการจดั การเรยี นรูท้ ่ีเน้นผ้เู รียน
เปน็ สาคญั และจัดการเรียนรู้เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นสามารถสรา้ งความรู้ สรุปความรดู้ ้วยตนเอง และสามารถนาความรู้ที่
ได้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน

4. การใช้กระบวนการ PLC เพื่อการขับเคลื่อนบทเรียนร่วมกัน ในระดับช้ันและวิชาที่สอน เพื่อให้
บุคลากรครูเกิดกระบวนการทางานเป็นกลุ่ม มีการวางแผนเพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ มีความม่ันใจใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมถึงมีการปรึกษาหารือกัน การให้ข้อเสนอแนะ ทาให้ครูรจู้ ุดอ่อนและจุดแข็งของ
ตน ส่งผลใหก้ ารจัดกิจกรรมในหอ้ งเรียนมีคณุ ภาพมากข้ึน

5. สถานศึกษาควรจัดทาบันทึกความร่วมมือกับโรงเรียนในต่างประเทศที่มีความโดนเด่นในเร่ืองการ
จัดการศกึ ษาเพิ่มขนึ้ เพือ่ รว่ มแลกเปลีย่ นเรียนรู้ในการพัฒนาการศึกษา



รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2562

สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลพน้ื ฐานของสถานศึกษา

1.1 ข้อมูลทั่วไป

ช่ือสถานศกึ ษา โรงเรียนตากพิทยาคม สังกดั สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา

เขต 38 ตั้งอยเู่ ลขท่ี 12 ถนนทา่ เรอื ตาบลระแหง อาเภอเมอื ง จังหวัดตาก 63000

โทรศพั ท์ 055 - 511134 โทรสาร 055 – 540248 E-mail : [email protected]

Website : http://www.tps.ac.th เปดิ สอนตั้งแต่ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ถงึ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6

1.2 ข้อมูลบคุ ลากรของสถานศกึ ษา

1) จานวนบคุ ลากร

บคุ ลากร ผู้บรหิ าร ครูผู้สอน พนักงาน ครูอัตราจ้าง อนื่ ๆ

ราชการ (ช่วยราชการ)

ปีการศกึ ษา 2562 4 132 3 3 1

ครูประจาการ (ณ วันท่ี 29 กมุ ภาพันธ์ 2562)

อายุ จานวนคร้ัง
/
ท่ี ชือ่ – สกลุ อายุ ราชการ ตาแหน่ง / วฒุ ิ วชิ าเอก สอนวิชา/ ชั้น
ชว่ั โมงที่รบั
(ป)ี (ปี) วทิ ยฐานะ การพัฒนา/

1 นายภธู นภัส พมุ่ ไม้ 48 27 ผอ. (คศ.3) ปร.ด. สงิ่ แวดล้อมศึกษา - ปี
2 นางภัทราภรณ์ เนื้อไม้ บริหารการศึกษา - 70
3 นายเสรี พรหมแกว้ 55 33 รอง.ผอ.(คศ.3) กศ.ม - 60
4 นายอภิศกั ดิ์ เทยี มฉันท์ คณติ ศาสตร์ - 60
5 นางอ้อมใจ คานวณสินธ์ุ 52 29 รอง.ผอ.(คศ.3) กศ.ม อตุ สาหกรรมศิลป์ แนะแนว/ม.1 60
การจัดการท่ัวไป 50
45 23 รอง.ผอ.(คศ.2) ค.บ. แนะแนว/ม.5
จิตวทิ ยาการแนะแนว แนะแนว/ม.3 50
57 36 คศ.3 ศศ.บ. จติ วิทยาการแนะแนว หอ้ งสมดุ /ม.5 50
บรรณารกั ษศาสตร์ 50
6 นางดวงเดอื น ละมูล 50 27 คศ.2 กศ.ม และสารนเิ ทศศาสตร์ หอ้ งสมดุ /ม.1
คศ.1 ค.บ. บรรณารกั ษศาสตร์ 50
7 นางดวงพร ลแึ ฮ 36 6 คศ.2 ศศ.บ และสารนเิ ทศศาสตร์ แนะแนว/ม.2
จิตวิทยาการแนะแนว เคม/ี ม.5 50
8 นางสาวกญั ญาณัฐ อินทรศ์ วร 40 10 50
วทิ ยาศาสตร์ เคมี/ม.4
9 นางนฤมล พลมั่น 37 11 คศ.2 ศศ.บ (เนน้ เคมี) ฟสิ กิ ส์/ม.4 50
การสอนเคมี วทิ ย/์ ม.2 50
10 นางสาวณัฐสนี ยี ์ ชูประสิทธ์ิ 28 5 คศ.1 กศ.บ. ฟิสิกส์ วทิ ย์/ม.2 50
11 นางมณฑริ า มาจนั ทร์ 50 26 คศ.3 กศ.ม ชวี วิทยา ลาศึกษาต่อ 50
วิทยาศาสตร์กายภาพ วิทย/์ ม.2 -
12 นายนรนิ ทร์ เงนิ ดี 59 36 คศ.2 วท.ม วสั ดศุ าสตร์ ชีววทิ ยา/ม.4 50
คศ.3 วท.ม. บริหารการศึกษา ฟสิ ิกส/์ ม.4 50
13 นายสทุ ินธ์ คานา่ น 47 25 คศ.2 วท.บ. ชีววทิ ยา 50
คศ.2 กศ.ม. บรหิ ารการศึกษา
14 นางสมคดิ แดงอาสา 55 31 คศ.2 วท.ม
คศ.3 ศษ.ม
15 นางอารี ประเพชร 52 30 คศ.3 กศ.ม.
คศ.3 ศษ.ม
16 นายภูมิ ประยูรโภคราช 34 11

17 ว่าท่ี ร.ต.วิโรจน์ ศรีสุข 57 31

18 นางอรวรรณ จนั ทรบ์ ตุ ร 46 25

19 นางสาวทิพย์รตั น์ สง่ ประเสิรฐ 44 12



อายุ จานวนครัง้
/
ท่ี ช่ือ – สกลุ อายุ ราชการ ตาแหน่ง / วฒุ ิ วิชาเอก สอนวชิ า/ ชั้น
วทิ ยฐานะ ชัว่ โมงท่รี บั
(ปี) (ป)ี เคมี/ม.5 การพัฒนา/
คศ.3 วิทย/์ ม.3
20 นางสาวเบญชญา ธนาถริ ธรรม 39 17 คศ.2 วท.บ. เคมี ชีววทิ ยา/ม.6 ปี
21 นางสาวณิชนนั ท์ คานวณสิทธุ์ 34 11 คศ.1 กศ.ม. วทิ ย/์ ม.1 50
22 นายกติ ติพงศ์ สิรมิ ลู เครอื 29 7 คศ.3 ค.บ. วจิ ัยและประเมินผล วิทย์/ม.2 50
23 นางสาวสพุ นิ พลนิรันดร์ 57 35 คศ.2 กศ.บ. ชีววทิ ยา เคมี/ม.4 50
24 นางนารีนาฏ จนั ทมงคล 54 29 คศ.2 ค.บ. 50
25 นางอัญชลี เกิดแสง 33 9 กศ.ม. วิทยาศาสตรท์ วั่ ไป เคมี /ม.4 50
คศ.1 วิทยาศาสตร์ทวั่ ไป ฟสิ กิ ส/์ ม.4 50
26 นางสาวสุชาสนิ ี มะโต 33 5 คศ.3 วท.บ. วจิ ยั และประเมินผล
27 นางปัทมา ภสู่ วาสดิ์ 39 17 กศ.ด. ชีววิทยา/ม.1,2,3 50
คศ.1 การศกึ ษา ชีววิทยา/ม.5 50
28 นางจรรยา นมิ่ ขาว 33 5 คศ.1 วท.บ. เคมี ฟสิ ิกส/์ ม.3,5
4 คศ.1 ค.บ. วิทย/์ ม.3 50
29 นางสาวพิมลวรรณ นอ้ ยทา่ ชา้ ง 28 4 คศ.1 กศ.บ. วิจัยและประเมนผิ ล วิทย์/ม.1 50
4 คศ.1 กศ.บ. การศึกษา วิทย/์ ม.1 50
30 นายอดิพงศ์ ท่วมจอก 28 4 คศ.1 ค.บ. ชีววทิ ยา 50
4 ศศ.ม. ชวี วทิ ยา ชีววิทยา/ม.5,6 50
31 นายธนพนธ์ ชมุ่ วงศ์ 31 คศ.1 ฟสิ ิกส์ ชวี วิทยา/ม.6 50
คศ.1 ศศ.ม. ฟิสิกส์
32 นางสาวกรรณิกา สียะ 28 ศษ.บ. เคม/ี ม.6 50
คศ.1 ศษ.ม วทิ ยาศาสตรท์ ว่ั ไป ฟสิ กิ ส์/ ม.5,6 50
33 นางนิภาพร วิไล 29 คศ.1 กศ.บ. วิทยาศาสตร/์ ม.2
คศ.1 กศ.บ. การศกึ ษาวิทยาศาสตร์ ฟสิ ิกส์และดารา 50
34 นายดนัย ไทยมี 29 4 คศ.1 ค.บ. และเทคโนโลยี ศาสตร/์ ม.5 50
กศ.บ., ชีววิทยา/ม.4 50
35 นางสาววราภรณ์ ภาคสุโพธิ์ 33 8 ครผู ูช้ ว่ ย วท.บ. วิทยาศาสตร์การศกึ ษา วิทยาศาสตร์/ ม.2 50
ครูผชู้ ่วย M.S.Ed ชวี วิทยา วิทยาศาสตร์/ ม.4
36 นางสาวณฐั ธดิ า ศรีพ่มุ 26 3 คศ.2 คบ. คณติ ศาสตร์/ม.1 50
3 คศ.3 กศ.ม บรหิ ารการศกึ ษา คณิตศาสตร์/ม.4 20
37 นางสาวนนั ทยิ า จันทร์ถี 26 3 คศ.3 กศ.ม เคมี คณติ ศาสตร์/ม.5 50
3 คศ.3 ศษ.ม. ฟิสิกส์ คณิตศาสตร/์ ม.1 50
38 นางสาวประภาพรรณ จันทรพ์ รม 26 คศ.2 ศษ.ม คณิตศาสตร์/ม.3 50
คศ. 2 กศ.ม. วทิ ยาศาสตรท์ วั่ ไป คณติ ศาสตร์/ม.1 50
39 นางสาวสายทพิ ย์ จารวุ สุพนั ธุ์ 26 คศ.3 กศ.ม. คณติ ศาสตร์/ม.4 50
คศ.3 กศ.ม การศกึ ษาและฟิสกิ ส์ คณิตศาสตร/์ ม.6 50
40 นายชานนท์ คาปิวทา 28 3 คศ.3 กศ.ม (ค่ขู นาน) คณติ ศาสตร์/ม.2 50
คศ.3 กศ.ม. คณติ ศาสตร/์ ม.3 50
41 นางสาวเย็นจติ ร ม่ังคงพิพัฒน์ 24 4 เดือน คศ.2 กศ.ม. Teaching&Learning คณิตศาสตร/์ ม.4 50
คศ.2 วท.บ. วิทยาศาสตร์ทวั่ ไป คณติ ศาสตร์/ม.2 50
42 นายศภุ ฤกษ์ วงศ์ลาดวน 44 19 คศ.3 วท.บ. การบริหารมหาบัณฑติ 50
วท.บ. จติ วทิ ยาแนะแนว คณิตศาสตร์/ม.6 50
43 นางสาวนิรมล เหลอื งพิศาลพร 57 31 คศ.2 ศศ.บ. คณติ ศาสตร/์ ม.3 50
คศ.3 กศ.ม. คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร์/ม.5
44 นางสาวประไพ แดงไฝ 46 24 คศ.2 กศ.ม. 50
กศ.ม. คณติ ศาสตร์ 50
45 นางจิราภรณ์ ธรรมลงั กา 44 23 คณติ ศาสตร์ 50
คณติ ศาสตร์
46 นางสาวปริศนา วิโนสยุ ะ 45 23 การบริหารการศึกษา
คณติ ศาสตร์
47 นางสาวปณัฐชา แดงไฝ 47 25 คณิตศาสตร์

48 นางพรทิพย์ ธรรมลังกา 43 21 คณิตศาสตร์
คณติ ศาสตร์
49 นางจันทรจ์ ริ า คานา่ น 41 19 คณิตศาสตร์
คณติ ศาสตร์
50 นางอุไรรตั น์ รตั นภกั ดด์ิ ีกลุ 40 18 มธั ยมศกึ ษา-วิทยา
คณติ ศาสตร์
51 นางอัญชุลี วาวแวว 55 33 หลักสูตรและการสอน

52 นางพัชรดี า ใยระยา้ 46 25 การบริหารการศกึ ษา

53 นายสมรภมู ิ ออ่ นอนุ่ 31 9

54 นางนภาพร ศรีแสงจันทร์ 57 32

55 นางสาวกาญจนา ด้วงนา 41 16
56 นางยุพนิ วงษเ์ ปง็ 48 25
57 นายธรี วฒุ ิ อภิปรัชญาฐิติกุล 37 15



อายุ จานวนคร้ัง

ที่ ชือ่ – สกลุ อายุ ราชการ ตาแหนง่ / วฒุ ิ วิชาเอก สอนวิชา/ ชัน้ /

(ป)ี (ปี) วิทยฐานะ ช่ัวโมงที่รบั

การพัฒนา/

ปี

58 นางสาวจารวุ รรณ ปญั ญาคม 33 11 คศ.2 คบ. คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร/์ ม.2 50
59 นายเอกพงษ์ มลู แกว้ 34 11 คศ.2
60 นางจตพุ ร เกดิ พันธ์ 41 14 คศ.3 ศษ.ม คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร์/ม.2 50
61 นายวรุฒม์ เครอื แกว้ 28 4 คศ.1
62 นายดิฐษ์ยนสั ชนะชยั 28 10 เดอื น ครูผูช้ ว่ ย กศ.ม. การวจิ ยั การศึกษา คณิตศาสตร/์ ม.1 50
63 นางสาวนษิ ฐา ลิขิตสถาพร 36 7 คศ.1
64 นางพรเพญ็ สวา่ งโชติ 59 33 คศ.2 คบ. คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์/ม.4 50
65 นางพรทิพย์ วงษ์ชัย 58 31 คศ. 2
66 นางนิภาพร ทองโพธ์ิศรี 46 22 คศ.2 วท.บ. วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร/์ ม.3 30
67 นางภิญโญ มาออ่ น 59 37 คศ.2
68 นางปุณฑรา บวั งาม 38 15 คศ.2 วทบ. คณติ ศาสตร์ คณิตศาสตร/์ ม.4 50
69 นางฐติ ิพร พรมวิชยั 38 15 คศ.1
70 นางสาวพิมพไิ ล หลา้ ใจ 28 5 คศ.1 กศ.ม. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.4 50
71 นางสาวขวญั ฤทยั โพธเ์ิ สน 33 10 คศ.2
72 นางสาวเกศสุดา มุขพรม 33 9 คศ.2 ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.2 50
73 นางสาวปรียาลักษณ์ พงษ์อยู่ 44 12 คศ.2
74 นางสาวทัศนีย์ กองแก้ว 56 32 คศ.2 ค.ม. หลักสูตรและการสอน ภาษาไทย/ม.1 50
75 นางสาวพธุ ชาติ มน่ั เมอื ง 44 14 คศ.2
76 นางสาวสายพาน ทับนิล 54 27 คศ.3 คบ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.2 50
77 นางภัทรพร ขวญั มน่ั 50 25 คศ.2
78 นายสุรศกั ดิ์ เกดิ พันธุ์ 41 13 คศ.3 ศษ.ม. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.6 50
79 นางขณติ ฐา ต๋าแปง 55 31 คศ.2
80 นางนิภา แหวเมือง 46 15 คศ.2 ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.3 50

คศ.1 ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.1 50
คศ.3
ศษ.ม. เทคโนโลยีการศึกษา ภาษาไทย/ม.4 50
คศ.2
คศ.1 ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.2 50
คศ.1
คศ.2 คบ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.4 50
คศ.2
ครผู ชู้ ว่ ย ศศ.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.2 50

คศ.2 กศ.ม. เทคโนโลยีทางการศึกษา คอมพิวเตอร์ /ม.6 50
คศ.2
คศ.3 วท.ม. เทคโนโลยสี ารสนเทศ คอมพิวเตอร์ /ม.4 50
คศ.3
คศ.2 บธ.บ ธรุ กจิ ศกึ ษา–การบญั ชี การงานอาชพี ฯ/ม.3 50
คศ.2
คศ.2 กศ.ม บรหิ ารการศึกษา คอมพิวเตอร์ /ม.5 50
คศ.2
คศ.2 คบ. เกษตรศาสตร์ เกษตร/ม.3 50
คศ.2
วท.ม. เทคโนโลยีการจดั การ คอมพิวเตอร์ /ม.4 50

ระบบสารสนเทศ

81 นายวัชระ วงษ์ดี 37 9 วท.บ. วทิ ยาการคอมฯ คอมพิวเตอร์ /ม.5 50
82 นางสุนนั ทา แสงจันทร์ 51 23
กศ.ม เทคโนโลยสี ื่อสาร การงานอาชพี ฯ/ม.4 50

การศึกษา

83 สบิ เอกมงคล ใจเย็น 50 26 รป.ม. รัฐประศาสนศาสตร์ พละศึกษา/ม.3 50
84 นายปริญญา กองทอง 34 5
85 นางปยิ ะพร เกษวงศ์รอต 27 5 วท.บ. วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์/ม.5 50
86 นายปรญิ วนั ธนานนั ท์ 43 10
87 นางสาวระธพี ร บุญเสม 31 7 ค.บ. คหกรรมศาสตร์ การงานอาชพี ฯ/ม.1 50
88 นางสาวนริศรา เขมน้ การไถ 37 3
กศ.บ. บริหารการศึกษา การงานอาชพี ฯ/ม.5 50

กศ.ม. กรศึกษามหาบัณฑติ คอมพวิ เตอร์/ม.2 50

บท.บ. บรหิ ารธรุ กจิ การงานอาชพี ฯ/ม.2 50

(การบัญชี)

89 นางสวรี เดชะวงษ์ 53 28 ค.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ/ม.1 50
90 นายเทวนิ ทร์ คาภาพนั ธ์ 60 36
91 นางศิริวรรณ เสือสวุ รรณ 48 26 คบ. ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.2 50
92 นายอนุชติ ธรามานิตย์ 47 24
93 นางสาวอญั ชนา บญุ อนิ ทร์ 54 15 กศ.ม ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.1 50
94 นางสาวจาเนยี ร นา้ สังข์ 36 9
95 นางสุรียพ์ ร มณศี กั ด์ิ 38 14 ศศ.ด. ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ/ม.6 50
96 นางสาวทองแข อุ่นเรอื น 54 30
97 นางศริ ิกญั ญา ใจจนั ทร์ 44 18 ศศ.ม. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ/ม.5 50
98 นางสาวจุฑารัตน์ เอย่ี มสะอาด 35 11
คบ. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ/ม.3 50

กศ.ม บรหิ ารการศึกษา ภาษาอังกฤษ/ม.4 50

ศษ.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ/ม.3 50

กศ.ม ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ/ม.1 50

ศษ.ม. บริหารการศึกษา ภาษาอังกฤษ/ม.3 50



อายุ จานวนครัง้
/
ท่ี ชอ่ื – สกลุ อายุ ราชการ ตาแหนง่ / วฒุ ิ วิชาเอก สอนวชิ า/ ชนั้
ช่ัวโมงท่รี บั
(ปี) (ป)ี วทิ ยฐานะ ศษ.ม. บรหิ ารการศึกษา ภาษาอังกฤษ/ม.1 การพัฒนา/
ศศ.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.5
99 นางรัชนี แนววิเศษ 57 8 คศ.2 กศ.ม. บรหิ ารการศกึ ษา ภาษาองั กฤษ/ม.3 ปี
คศ.1 ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ/ม.6 50
100 นายชูชาติ จารกึ 44 8 คศ.1 ศศ.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.3 50
คศ.1 ค.บ. ภาษาจีน ภาษาจนี / 1,2,6 50
101 นางสาวกาญจณี โชติสุข 36 5 คศ.1 ศศ.บ. พมา่ ศึกษา ภาษาพม่า/ม.3,6 50
คศ.1 ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ/1,3 50
102 นางสาวมลสกิ าร ก๋าคา 28 5 คศ.1 ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ/1,3 50
คศ.1 ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.2 50
103 นางสาวศิรวิ รรณ จนั ทรเ์ จริญ 37 11 คศ.1 ค.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.2 50
คศ.1 กศ.ม. บริหารการศกึ ษา 50
104 นางสาวปทุม ใจอากะ 31 4 ครผู ้ชู ่วย ค.บ. นาฎศลิ ป์ ศิลปศึกษา/ม.4 50
คศ.2 ค.บ. ศิลปศกึ ษา นาฎศลิ ป/์ ม.6 30
105 นางสาวนศิ า มิง่ เมือง 39 5 คศ. 3 ศศ.ม ดนตรศี กึ ษา ศิลปศกึ ษา/ม.1 50
คศ.2 คบ. ดนตรี ดนตรีศกึ ษา/ม.5 50
106 นางสาวนิตตยิ า เงินแดง 27 4 คศ.3 คบ. ดนตรี ดนตรี/ม.3 50
คศ.3 คบ. นาฎศลิ ป์ไทย ดนตรี/ม.3 50
107 นางมาลยั บุญทา้ วศิริ 33 3 คศ.1 กศ.บ สงั คมศึกษา นาฎศลิ ป/์ ม.2 50
คศ.2 ค.บ สงั คมศกึ ษา สงั คมศึกษา/ม.3 50
108 นางสาวภัสราภรณ์ วงศใ์ หญ่ 28 3 คศ. 3 ศศ.บ สงั คมศกึ ษา สังคมศึกษา/ม.1 50
คศ.2 คบ. สงั คมศึกษา สงั คมศกึ ษา/ม.3 50
109 นางสาวชลธิชา พัชญววิ ัฒน์ 23 10 เดือน คศ.2 คบ. สังคมศกึ ษา สงั คมศกึ ษา/ม.3 50
คศ.3 คบ. สังคมศึกษา สงั คมศกึ ษา/ม.1 50
110 นางเสาวนีย์ ธนสมั ปตั ติ 52 15 คศ.3 คบ. สังคมศกึ ษา สังคมศึกษา/ม.2 50
คศ. 2 ศศ.ม. สังคมศึกษา สังคมศกึ ษา/ม.4 50
111 นางรงุ่ เดอื น ศิริมิลินทร์ 55 30 คศ.2 คบ. สงั คมศกึ ษา สังคมศึกษา/ม.3 50
คศ.2 ค.บ. สงั คมศึกษา ประวตั ศิ าสตร/์ ม.6 50
112 นายศริ ภิ ัทร จนั ทมงคล 54 29 คศ.1 ค.บ. สังคมศึกษา สงั คมศกึ ษา/ม.6 50
คศ.1 ศศ.ม. สังคมศกึ ษา สงั คมศกึ ษา/ม.2 50
113 นายจริ โรจน์ เวยี งนาค 57 27 ครูผ้ชู ่วย คบ. สังคมศกึ ษา สงั คมศกึ ษา/ม.3 50
คศ.2 คบ. สังคมศึกษา สงั คม/ม.3,6 50
114 นายจิตติ ทองจิตติ 55 12 คศ.1 คม. หลกั สูตรการสอน สังคม/ม.4 50
คศ.2 กศ.บ. บรหิ ารจัดการกฬี า 50
115 นายภานุวฒั น์ สัญญโภชน์ 45 7 สุขศึกษา/ม.4 50
คศ.2 ศศ.บ. การฝึกและการจดั การ พลศึกษา/ม.6
116 นางสาวอุดมพร ปรชี ามานพวงศ์ 36 11 กีฬา พลศกึ ษา/ม.1,5 50
คศ.3
117 นางกาญจนา สาระนิตย์ 57 32 กศ.บ. พลศึกษา สขุ ศกึ ษา/ม.1 50
คศ.3 ศศ.บ. การจัดการทวั่ ไป สุขศกึ ษา/ม.3
118 นางหฤษฎี สทุ ธปรดี า 58 36 คศ.2 ศษ.ม. พลศึกษา พลศึกษา/ม.2,3 50
คศ.1 ศษ.ม. สขุ ศกึ ษา สุขศึกษา/ม.5 50
119 นางสาวนุสรา วตั ละยาน 33 9 คศ.1 50
134 คน คิดเป็นร้อยละ 98.๕๓ 50
120 นายดารงพล กิตติรตั นวศนิ 57 33 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1.๔๗

121 นางสุภัชชา พรหมแกว้ 51 24

122 นางเสาวลกั ษณ์ บวั แกว้ 51 24

123 นางนงนุช จนั ทร์สายทอง 46 15

124 นางสาวสวุ มิ ล ฟักทองอยู่ 56 31

125 นายปวิณ เกษวงศ์รอต 27 4

126 นายเทพประทาน พง่ึ ศาสตร์ 31 3

127 นางสาวมัลลกิ า เมอื งฤทธิ์ 25 4 เดือน

128 นางสาวสวุ มิ ล ฟกั ทองอยู่ 56 31

129 นายมงคล มากจนี 30 4

130 นางกฤษณา อุดมโภชน์ 52 26

131 นางสาวยพุ ิน มาคง 56 29

132 นายพงษ์วัฒน์ เกตุด้วง 51 25

133 นางอรสา ดานิล 56 35
25
134 นางรัตนา พลู ภักดี 55 6
4
135 ว่าท่ี ร.ต.อานนท์ ชลธรี ะเสถยี ร 33

136 นางสาวศิวพร แพทย์ขิม 29

จานวนครูทสี่ อนวชิ าตรงเอก

จานวนครูท่สี อนตรงความถนัด



ข้อมลู ข้าราชการครมู าช่วยราชการ วฒุ ิ วิชาเอก สอนวชิ า / จานวนคร้ัง/
ชัน้ ชั่วโมงท่ีรับ
อายุ การจดั การ การพัฒนา/
ที่ ชื่อ – สกุล อายุ ราชการ ตาแหน่ง / ท่ัวไป แนะแนว / ม. ปี
2
(ป)ี วิทยฐานะ 50

1 นางสริ วัศยา สาลิกา 60 34 คศ.3 บธ.บ.
นนท์

ข้อมลู พนกั งานราชการ

อายุ ตาแหนง่ / จานวนคร้ัง/
วทิ ยฐานะ
ท่ี ช่ือ – สกลุ อายุ ราชการ วฒุ ิ วชิ าเอก สอนวชิ า / ชั้น ชั่วโมงท่ีรับ
(ป)ี การพฒั นา/ปี

1 นางหนงึ่ นุช 40 15 พนักงานราชการ ศศ.บ. บริหารธรุ กิจ การงานอาชีพ 50
เหล็กเพช็ ร์ /ม.2 , ม.4

2 นายเอกชัย 30 5 พนกั งานราชการ ค.บ. สังคมศกึ ษา สังคมศึกษา 50
ผาแสนเถนิ / ม.1

3 นายภมู พิ ัฒน์ 36 7 พนกั งานราชการ ศศ.บ. วศิ วกรรมเครอ่ื งกล การงานอาชพี 50
ปานแดง /ม.3

ขอ้ มลู ลูกจา้ งประจา ปกี ารศึกษา

ท่ี ชื่อ – สกุล อายุ ประสบการณ์ วฒุ ิการศึกษา ตาแหนง่

(ป)ี การทางาน (ป)ี อนุปริญญา ชา่ งครุภณั ฑ์
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ช่างครุภัณฑ์
1 นายเดชะ เสอื เดช 58 38

2 นายกา้ นทอง กองคาสุข 57 25

ครูช่วยสอนชาวไทย

ประสบการณ์ สอนวชิ า / ช้นั จา้ งด้วยเงิน จานวนครง้ั /
ท่ี ช่ือ – สกุล อายุ การสอน (ปี) วุฒิ วิชาเอก ชว่ั โมงท่รี ับ
สพฐ. การพฒั นา/ปี
(ป)ี ค.บ. ภาษาองั กฤษ อังกฤษ/ม.3 งบโรงเรียน
ศษ.บ. นาฏศิลป์ นาฏศลิ ป/์ ม.2 งบโรงเรยี น 50
1 นายพัชราวัฒน์ หมนื ทอง 23 1 ค.บ. ภาษาองั กฤษ อังกฤษ/ม.3
50
2 นางสาวภัทราพร วงษว์ าท 28 4
20
3 นางสาวแพรพลอย 25 4 เดือน

เหลอื งสริ ิวรรณ



ครชู ว่ ยสอนชาวตา่ งชาติ ประสบการณ์ จานวน

ท่ี ช่ือ – สกุล สญั ชาติ การสอน (ป)ี วฒุ ิ วิชาเอก สอนวชิ า / ช้นั จ้างด้วยเงนิ ครั้ง/

1 Miss Vanessa Leigh Oclarit ฟิลิปปนิ ส์ ชว่ั โมงทรี่ ับ
2 Mr. Benjamin james Kenyon บริตชิ
3 Miss. Marlie Derstine อเมรกิ ัน การ
4 Mr. Dino Alfaro Molano ฟิลิปปินส์
5 Mr. Alfredo Baniaga Paet ฟลิ ิปปนิ ส์ พฒั นา/ปี
6 Mr. Warren Oro Chabahug ฟลิ ิปปนิ ส์
7 Mr. Benjamin Sogunle บริติช 11 B.Ed ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ งบโรงเรียน 50

2 B.A ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ งบโรงเรียน 50

2 B.A ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ งบโรงเรียน 50

2 BSED คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ งบโรงเรยี น 50

2 BSED วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ งบโรงเรยี น 50

6 เดือน BS วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ งบโรงเรยี น 20

6 เดือน BSC วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ งบโรงเรียน 20

การกีฬา สุขศึกษา

ข้อมูลลูกจา้ งช่ัวคราว (เจ้าหน้าที่สานกั งาน)

ประสบการณ์ ตาแหน่ง หนา้ ทีท่ ่รี บั ผิดชอบ
ท่ี ช่ือ – ชือ่ สกุล อายุ การทางาน (ปี) วฒุ ิ
เจา้ หนา้ ที่สานกั งาน กิจการนักเรยี น
1 นางอจั ฉรา ธรรมมลู ตรี 38 13 ปรญิ ญาตรี เจ้าหน้าทสี่ านักงาน วดั ผล ประเมนิ ผล
เจ้าหนา้ ทส่ี านักงาน วดั ผล ประเมนิ ผล
2 นางสาวปรารถนา คปุ ตัษเฐียร 43 15 ปริญญาตรี เจ้าหน้าที่สานักงาน
เจ้าหนา้ ทีส่ านกั งาน ธุรการ
3 นางสาวปทิตตา เครือจิโน 42 10 ปริญญาตรี เจ้าหนา้ ท่ีสานักงาน การเงิน
เจ้าหน้าทสี่ านักงาน วิชาการ
4 นางสาวปารวี พชิ าอษิ ยา 42 9 ปรญิ ญาตรี เจา้ หนา้ ที่สานกั งาน วชิ าการ
เจา้ หน้าทส่ี านักงาน งานพสั ดุ
5 นางปณุ ยนุช สายหยดุ อ่อนอุน่ 39 10 ปริญญาตรี เจ้าหนา้ ท่ีสานกั งาน งานพัสดุ
เจ้าหน้าทส่ี านักงาน ฝ่ายบรหิ ารงานทวั่ ไป
6 นางจรี ะนันท์ กัณธยิ ะ 27 2 ปรญิ ญาตรี เจ้าหนา้ ท่ีสานักงาน คอมพิวเตอร์
เจ้าหนา้ ที่สานักงาน ห้องเรียน EIS
7 นางสาวขนษิ ฐา วนั คา 35 3 ปริญญาตรี เจ้าหนา้ ทส่ี านกั งาน ห้องเรียน MEP
เจา้ หนา้ ทส่ี านกั งาน หอ้ งเรยี น SME
8 นางสาวมณพี นั ธ์ วงศ์แสน 25 2 ปริญญาตรี เจ้าหนา้ ที่สานกั งาน เจ้าหน้าทพ่ี ยาบาล
เจา้ หน้าทส่ี านักงาน
9 นางสาวศุภาพิชญ์ สียะ 28 2 ปรญิ ญาตรี เจ้าหนา้ ทส่ี านกั งาน LAB BOY
เจ้าหนา้ ท่ีสานักงาน
10 นายอลงกรณ์ สายสดุ 28 2 ปรญิ ญาตรี เจา้ หน้าที่สานกั งาน LAB BOY
เจา้ หน้าที่สานกั งาน
11 นายวสนั ต์ กัณธิยะ 35 5 ปริญญาตรี เจ้าหนา้ ท่ีสานักงาน ห้องเรยี น MEP
เจ้าหน้าทสี่ านักงาน หอ้ งเรยี น SST
12 นางสาวสพุ ัชรินธร อาวรณ์ 28 5 ปริญญาตรี
ธรุ การ
13 นายอิศรา จอมคีรี 36 5 ปริญญาตรี ห้องเรียน MEP

14 นายวุฒพิ งษ์ จวิ เดช 27 2 ปรญิ ญาตรี เจ้าหนา้ ทีป่ ระจาหอ้ งเรียน DLIT

15 นางสาวพิมพ์ชนก เนือ่ งเผือก 37 2 ปรญิ ญาตรี เจา้ หนา้ ทีส่ ารสนเทศ

16 นางสาวสุชานันท์ คานวนศลิ ป์ 29 6 ปริญญาตรี

17 นางสาวพชิ ญาภัค เทดิ โรจนชัย 28 3 ปริญญาตรี

18 นางสาวอุไรวรรณ ปะตนิ ังเต 24 2 ปริญญาตรี

19 นางสาวทพิ ย์สคุ นธ์ สธุ ัมโม 28 2 ปริญญาตรี

20 นางสาวภัทรมาศ มั่นเหมาะ 26 1 ปริญญาตรี

21 นางศรีไพร สยี ะ 44 9 เดือน ปรญิ ญาตรี

22 นายพชิ ญา ปันบตุ ร 27 10 เดอื น ปรญิ ญาตรี

23 นายปรชั ญา คากล่อมใจ 24 6 เดือน ปริญญาตรี



ข้อมูลลูกจ้างชั่วคราว ประสบการณ์ วุฒิ ตาแหนง่ /
อายุ การทางาน (ปี) หนา้ ท่ที ี่รบั ผิดชอบ
ที่ ชื่อ – ชื่อสกลุ
47 7 ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 แม่บา้ น
1 นางทวิ า ใจหงิม แม่บ้าน
2 นางสุนทรี ดว้ งนา 45 6 มัธยมศึกษาปที ่ี 3 แม่บ้าน
3 นายเฉลียว คนทา แมบ่ ้าน
4 นางสมมาศ ตอ่ กร 61 3 ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 แม่บา้ น
5 นางชุติมา ไหแก้ว คนงาน
6 นางคณุ ากร ใจแดง 52 8 ประถมศกึ ษาปีที่ 4 คนงาน
7 นายธวัชชยั สอนใส คนงาน
8 นายชรนิ ทร์ รอดชัยภูมิ 48 8 ประถมศึกษาปที ี่ 6 คนงาน
9 นายอานนท์ เชียงทา ยาม
10 นายประพนั ธ์ สุกใส 52 5 ประถมศึกษาปีที่ 6 พนักงานขบั รถ
11 นายวีระศกั ด์ิ พลแสน พนกั งานอดั สาเนา
12 นายทวี โฉมงาม 53 1 ปริญญาตรี ชา่ งไฟฟ้า
13 นายฤทธเิ ดช แจม่ แจ้ง แมบ่ ้าน
14 นางสมใจ พึง่ ออ่ น 37 2 ประถมศึกษาปที ่ี 6 แมบ่ ้าน
15 นางศรสี มร จรทะผา คนงาน
16 นายวิเชียร ฝนั่ คามูล 46 15 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 แม่บา้ น
17 นางพวงทอง คงคา คนงาน
18 นายบญุ เลศิ จนั ทาทิพย์ 63 6 ประถมศึกษาปีท่ี 6

50 6 มธั ยมศึกษาปีที่ 3

52 4 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3

49 2 ปวส.(การไฟฟ้า)

41 2 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

51 2 มัธยมศกึ ษาปีที่ 3

54 4 เดือน ประถมศึกษาปที ่ี 4

44 1 ประถมศึกษาปที ี่ 6

38 1 เดือน มัธยมศึกษาปที ี่ 6

2) วุฒกิ ารศกึ ษาสูงสุดของบคุ ลากร จานวน (คน)
ระดบั 9
5
ประถมศึกษา 2
มัธยมศกึ ษาตอนต้น 0
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1
ปวช. 96
ปวส. 68
ปริญญาตรี 3
ปริญญาโท
ปริญญาเอก


3) สาขาวชิ าที่จบการศึกษาและภาระงานสอน

สาขาวิชา จานวน (คน) ภาระงานสอนเฉล่ียของครู 1 คน
ในแต่ละสาขาวิชา(ชม./สัปดาห์)
1. บรหิ ารการศึกษา 4
2. คณิตศาสตร์ 21 -
3. วิทยาศาสตร์ 32 20
4. ภาษาไทย 13 16
5. ภาษาองั กฤษ 23 21
6. สงั คมศกึ ษา 15 20.6
7. การงานอาชพี และเทคโนโลยี 16 18
8. แนะแนว 5 16.5
9. ศลิ ปะ 8 26.6
10. สขุ ศึกษา 6 13.87
143 24.5
รวม

1.3 ข้อมูลนกั เรียน
1) จานวนนักเรียนในปกี ารศกึ ษา 2562 รวม 2,627 คน (ณ วนั ท่ี 10 มิถนุ ายน 2562)
2) จานวนนกั เรียนในโรงเรยี นท้งั สิ้น 2,627 คน จาแนกตามระดับชนั้ ที่เปิดสอน

ระดับชัน้ เรียน จานวนหอ้ ง เพศ รวม เฉลีย่
ชาย หญงิ ตอ่ ห้อง
ม.1 11 458
ม.2 1๑ 216 242 419 41.63
ม.3 11 184 235 486 38.09
ม.4 11 213 273 441 44.18
ม.5 11 185 256 430 40.09
ม.6 11 151 279 393 39.09
66 147 246 2,627 35.72
รวมทั้งหมด
1,096 1,531



1.4 ข้อมลู ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นระดับสถานศึกษา

ร้อยละของนกั เรยี นที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นแตล่ ะรายวชิ าในระดบั 3.0 ข้ึนไป
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 - 6 ปีการศกึ ษา 2562

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศกึ ษาฯ สุขศกึ ษาฯ ศลิ ปะ การงานฯ ภาษาตา่ งประเทศ

ระดับชน้ั นร.ท่ไี ดร้ ะดบั นร.ทีไ่ ด้ระดับ 3.0 นร.ทไ่ี ดร้ ะดบั 3.0 นร.ทไี่ ด้ระดับ 3.0 นร.ที่ไดร้ ะดบั 3.0 นร.ที่ได้ระดบั 3.0 นร.ท่ีได้ระดบั 3.0 นร.ที่ได้ระดบั 3.0

3.0 ข้ึนไป ขึ้นไป ขน้ึ ไป ขึ้นไป ขนึ้ ไป ข้นึ ไป ข้นึ ไป ข้ึนไป

ชั้น นร. รอ้ ยละ นร. รอ้ ยละ นร. รอ้ ยละ นร. จานวน นร. ร้อยละ นร. รอ้ ยละ นร. รอ้ ยละ นร. รอ้ ยละ
ลงทะเบยี น ลงทะเบยี น ลงทะเบยี น ลงทะเบยี น ลงทะเบยี น ลงทะเบยี น ลงทะเบียน ลงทะเบียน

ม. ๑ 615 51.99 796 40.20 2127 71.52 2319 79.12 1678 91.39 896 87.84 1038 90.03 1714 63.65

ม. ๒ 438 47.10 903 45.74 2063 78.41 2195 87.45 1550 89.80 767 82.03 547 62.37 1449 64.37

ม. ๓ 496 51.19 789 40.99 1383 74.80 2528 87.11 1764 91.02 955 98.56 1533 77.35 1844 66.26

รวม ม.ต้น 1549 50.26 2488 42.32 5573 74.77 7042 84.41 4992 90.76 2618 89.53 3118 77.72 5007 64.80

ม. ๔ 818 63.02 512 33.57 2119 60.80 2704 83.33 1483 87.54 631 72.03 653 55.62 1119 53.24

ม. ๕ 558 63.41 648 43.72 2752 73.41 2737 90.18 1285 95.11 916 99.03 309 73.57 1830 77.38

ม. ๖ 867 69.81 241 30.66 1778 72.42 1453 93.74 1414 94.08 562 71.87 2126 90.28 2416 84.62

รวม ม.ปลาย 2243 65.58 1401 36.94 6649 68.62 6894 88.05 4182 91.95 2109 81.65 3088 78.20 5365 73.27
รวมทงั้ หมด 3792 58.32 3889 40.21 12222 71.29 13936 86.17 9174 91.30 4727 85.84 6206 77.96 10372 68.92

๑๐

1.5 ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT)
ไม่ได้ทดสอบ

1.6 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET)
1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา 256๒

ตาราง แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ประจาการศึกษา 256๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
คะแนนเฉลี่ยของโรงเรยี น 63.14 36.48 33.12 42.21
คะแนนเฉลี่ยระดบั จงั หวัด 52.70 24.19 29.11 30.52
คะแนนเฉล่ียสังกดั สพฐ.ทงั้ หมด 55.91 26.98 30.22 32.98
คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ 55.14 26.73 30.07 33.25

หมายเหตุ: คะแนนเฉล่ยี ทกุ วิชาของนักเรยี น สูงกวา่ คะแนนเฉลยี่ ระดบั จงั หวัด ระดับสังกัด ระดบั ประเทศทุก
รายวชิ า

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET)
ประจาปกี ารศึกษา ๒ ๖๒ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓

70
60
50
40
30
20
10
0

ตาราง แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ประจาการศึกษา 2562
ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6

ระดบั /รายวชิ า ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมฯ ภาษาอังกฤษ
คะแนนเฉลย่ี ของโรงเรียน 46.73 31.67 33.32 38.28 33.01
คะแนนเฉลย่ี ระดบั จังหวัด 38.33 21.82 27.87 34.64 25.54
คะแนนเฉลย่ี สงั กัด สพฐ.ทง้ั หมด 43.02 25.62 29.40 36.10 28.97
คะแนนเฉล่ีย ระดบั ประเทศ 42.21 25.41 29.20 35.70 29.20

๑๑

หมายเหตุ: คะแนนเฉล่ยี ทุกวิชาของนกั เรยี น สูงกวา่ คะแนนเฉล่ยี ระดบั จังหวัด ระดับสงั กดั ระดับประเทศทกุ
รายวิชา

2) เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พนื้ ฐาน ปีการศึกษา 25๖1-2562
ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3

ตาราง แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ยี จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน
ปกี ารศึกษา 25๖๐-256๑ ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3

วชิ า ปี 25๖1 ปี 2562 ผลการพฒั นา
โรงเรียน ประเทศ โรงเรยี น ประเทศ ปี 25๖1-2562
ภาษาไทย 62.90 54.42 63.14 55.14
คณิตศาสตร์ 39.84 30.04 36.48 26.73 0.24
วิทยาศาสตร์ 40.51 36.10 33.12 30.07 -3.36
ภาษาอังกฤษ 34.31 29.45 42.21 33.25 -7.39
44.39 37.50 43.74 36.30 7.90
เฉลย่ี รวม -0.65

๑๒

แสดงการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลย่ี จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้ พน้ื ฐาน
(O-NET) ปกี ารศึกษา 2561 - 2562 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3

70
60
50
40
30
20
10
0

2561 2562

ตาราง แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ยี จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน
ปีการศกึ ษา 25๖1-2562 ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6

ปี 25๖1 ปี 2562 ผลการพฒั นา
ปี 25๖1-
วิชา โรงเรียน ประเทศ โรงเรียน ประเทศ 2562
-7.58
ภาษาไทย 54.31 47.31 46.73 42.21 -9.57
คณิตศาสตร์ 41.24 30.72 31.67 25.41 -1.11
วิทยาศาสตร์ 34.43 30.51 33.32 29.20
สังคมศึกษาฯ 37.95 35.16 38.28 35.70 0.33
ภาษาอังกฤษ 36.69 31.41 33.01 29.20 -3.68
เฉลีย่ รวม 40.92 35.02 36.60 32.34 -4.32

แสดงการเปรียบเทยี บคะแนนเฉลยี่ จากผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน
(O-NET) ปีการศกึ ษา 2561 - 2562 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6

60
50
40
30
20
10
0

2561 2562

๑๓

1.7 ข้อมลู การใช้แหล่งเรียนรภู้ ายในและภายนอกโรงเรียน ประจาปกี ารศกึ ษา 2562
ตาราง แสดงจานวนนกั เรียนทใ่ี ช้แหล่งเรียนรูภ้ ายในโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2562

แหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรียน ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

1. ศนู ยก์ ารเรียนรู้ ปศ.พพ. 458 419 486 441 407 393
2. หอ้ งสมดุ 458 419 486 441 407 393
3. ห้องปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตร์ 458 419 486 441 407 393
4. ธนาคารโรงเรยี น 458 419 486 441 407 393
5. หอ้ งเรียนสเี ขียว 458 419 486 441 407 393
6. ห้องปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ 458 419 486 441 407 393
7. หอ้ งศนู ย์ ERIC 458 419 486 441 407 393
8. หอ้ งนาฎศิลป์ 458 419 486 441 407 393
9. สหกรณ์โรงเรยี น 458 419 486 441 407 393
10. สวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียน 458 419 486 441 407 393
11. แปลงเกษตร 458 419 486 441 407 393

รวมท้ังหมด 5,038 4,609 5,346 4,851 4,477 4,323

แผนภูมิ แสดงจานวนนกั เรียนท่ใี ช้แหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรยี น ปีการศึกษา 2562

๑๔

ตาราง แสดงจานวนนักเรยี นทใี่ ช้แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกโรงเรียน ปกี ารศึกษา 2562

แหล่งเรยี นรู้ภายนอกโรงเรยี น ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

1. หอ้ งสมุดประชาชน 30 30 30 30 30 30

2. โรงพยาบาลสมเดจ็ พระเจ้าตากสินฯ 0 0 0 0 30 0

3. สระว่ายน้า คา่ ยวชิรปราการ /อบจ. 50 50 50 50 50 50

4. ค่ายตชด.พระเจา้ ตาก 0 419 0 0 0 0

5. วัดดอยขอ่ ยเขาแก้วและสะพานแขวน 458 0 0 0 0 0

6. ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 458 419 486 441 407 393

7. อทุ ยานแก่งห้วยตาก 0 0 486 0 0 0

8. แหลง่ เรยี นร้ทู ัศนศึกษา ม.1 458 0 0 0 0 0
( สวนนก จ.ชัยนาท)

9. แหล่งเรียนรู้ทศั นศึกษา ม.2 0 419 0 0 0 0

( บงึ ฉวาก จ.สุพรรณบรุ ี)

10. แหลง่ เรยี นรู้ทศั นศึกษา ม.3 0 0 486 ๐ 0 0
( อพวช.-ดรมี เวิลด์ )

11. แหล่งเรยี นรู้ทัศนศกึ ษา ม.4 0 0 0 441 ๐ 0
( อพวช.-ดรมี เวิลด์ )

12. แหล่งเรยี นรู้ทัศนศึกษา ม.5 0 0 0 0 407 0
( สวนพฤษศาสตร์ จ.เชียงใหม่)

13. แหล่งเรียนรทู้ ัศนศกึ ษา ม.6 0 0 0 0 0 393

( ทะเล จ.ชลบุรี)

14. แหล่งเรียนรูท้ ะเลภาคตะวนั ออก 0 0 98 90 64 0

15. สถาบันวิจยั ไม้กลายเปน็ หินโคราช 0 0 188 0 0 0

16. วังดุม เมาเทน รีสอร์ท จ.กาญจนบุรี 72 0 0 0 0 0

17. เขาใหญ่ จ.นครราชสีมา 0 72 0 0 0 0

18. มหาวทิ ยาลยั และสถาบนั การศึกษา 20 90 90 36 30 200

อื่นๆ

รวมท้ังหมด 1,546 1,499 1,914 1,088 1,018 1,066

๑๕
แผนภูมิ แสดงจานวนนักเรียนทใี่ ช้แหลง่ เรียนร้ภู ายนอกโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2562

๑๖

สว่ นที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
ประเดน็ ท่ี 1
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน

๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน
1) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสื่อสาร และการคิดคานวณ

ระดบั คุณภาพ : ยอดเยี่ยม
1. กระบวนการพัฒนา

โรงเรียนตากพิทยาคมบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลเป็นรูปธรรมด้วย
นวัตกรรมระบบคุณภาพตามแนวทางการบริหารจดั การตามเกณฑ์รางวัลแห่งคุณภาพ OBECQA ซ่ึงมีรูปแบบ
การบรหิ ารสถานศึกษาทกุ ภาคสว่ นดว้ ยระบบ SPSS DSA Modelและใช้ระบบคณุ ภาพดงั กลา่ วกับการจัด
การเรียนการสอนดว้ ยระบบคุณภาพ ดังน้ี

1.1 การวิเคราะห์สภาพองค์กร (ตัวย่อ S : SWOT analysis)โรงเรียนตากพิทยาคมเป็นโรงเรียน
มัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ที่มีนักเรียนเข้ามาศึกษาเป็นจานวนมาก นักเรียนมีความแตกต่างกันอย่าง
หลากหลาย จึงเป็นปัจจัยท่ีครูจะต้องวิเคราะห์สภาพการณ์ต่างๆ ก่อนจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้น
ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ โดยวิเคราะห์ลีลาการเรยี นรู้, วเิ คราะห์จาแนกนักเรียนกลุม่ เก่ง กลาง และอ่อนจากผลการ
สอบและผลการเรียนรู้, วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลเพื่อให้ทราบพฤติกรรมและสภาพครอบครัวและ
วิเคราะห์ทิศทางความต้องการของนักเรียนท้ัง 6 นวัตกรรมโครงการ จึงทาให้ทราบข้อมูลความต้องการและ
ข้อมูลพืน้ ฐานต่าง ๆ เกย่ี วกับนักเรียนเป็นเบอ้ื งต้นอันจะเป็นแนวทางในการสง่ เสริมพัฒนาศักยภาพนักเรยี นให้
สอดคล้องกับความสามารถและความต้องการอย่างไร ภายใต้บริบทสาคัญท่ีเป็นจุดแข็งของโรงเรียนคือ ความ
พร้อมในด้านต่างๆ ไดแ้ ก่ โรงเรียนมีครูผูส้ อนตรงตามสาระการเรียนรู้ครบทกุ สาระ, ครูมีความร้คู วามสามารถ
ในการสร้างเสริมคุณภาพผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ, มี
สอ่ื และโสตทัศนปู กรณท์ ่ีทันสมัยท่ีครูและนักเรยี นสามารถใช้ในการสรา้ งเสริมประสิทธิภาพการเรยี นการสอนท่ี
มีคณุ ภาพ, นกั เรียนท่ีมีพืน้ ฐานความรู้ดแี ละมคี วามพร้อมท่ีจะเรียนรู้

1.2 การวางแผน (ตัวย่อ P : Plan)ครูนาผลการวิเคราะห์ผู้เรียนในประเด็นต่างๆ มาเป็นข้อมูลใน
การวางแผนพัฒนาคุณภาพการอา่ น การเขียน การส่ือสาร และการคิดคานวณ โดยการวเิ คราะห์ผู้เรียนส่งผล
ให้ครูผู้สอนมีฐานข้อมูลเก่ียวกับความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคานวณ สามารถ
กาหนดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนการ Active Learning, กระบวนการคิดวิเคราะห์, และ
วางแผนการจัดกิจกรรม/โครงการในแผนปฏิบัติงานประจาปีที่ทุกฝ่ายในโรงเรียนและ 6 นวัตกรรมโครงการ
เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนโรงเรียนตากพิทยาคมเน้นให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมคิดร่วมทาเพื่อส่งเสริมคุณภาพการ
อ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคานวณ เช่น กิจกรรมค่ายพัฒนาทักษะการสื่อสารในชีวิตประจาวัน,
กจิ กรรมพฒั นาการอ่านและการเขียนภาษาไทย, กิจกรรมค่ายพัฒนาผลสัมฤทธ์ิภาษาไทยโดยการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติ O-Net, กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพการต่อศัพท์คาคม, กิจกรรมค่ายเติมฝันเตรียมความ
พร้อมสู่ร้ัวมหาวิทยาลัย, กิจกรรมครุสดุดีมหากวีสี่แผ่นดิน พระสุนทรโวหาร, กิจกรรมร้านหมอภาษา,
กจิ กรรมแสวงหาความรู้สู่สากล, กิจกรรมวจิ ิตรภาษาคงคณุ คา่ เอกลักษณ์ไทย, กิจกรรมศูนย์พัฒนาทักษะและ
การเรยี นรู้, กิจกรรมสง่ เสริมทักษะการสอ่ื สารภาษาต่างประเทศ, และกจิ กรรมพัฒนาทักษะการคดิ คานวณท่ี
หลากหลายทั้งน้ีทุกกิจกรรม/โครงการครูได้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกการดาเนินงาน
ด้วยหลักการเข้าใจในสิ่งสาคัญจาเป็น จะทาให้สามารถเข้าถึงและนาไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรม

๑๗

ต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจะทาให้ทุกกิจกรรมบรรลุเป้าหมายเกิดการพัฒนาต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องอย่าง
แทจ้ รงิ

1.3 ร่วมทาร่วมปฏิบัติ (ตัวย่อ D : Do) ครูผู้รับผิดชอบลงมือทา ปฏิบัติ ตามแผนการพัฒนา
คุณภาพการอ่าน การเขียน การสอ่ื สาร และการคิดคานวณทกี่ าหนดไว้ เพื่อให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์เกดิ ประโยชน์
ต่อผู้เรียนเป็นสาคัญภายใต้กรอบการปฏิบัติงานTEPS Frameworkคือ บุคลากรทุกส่วนท่ีเก่ียวข้องร่วมคิด
ร่วมดาเนินการปฏิบัติงาน (Teamwork) โดยส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความเชี่ยวชาญ
(Expertise) ผู้ปฏิบัติงานมีบทบาทในการปฏิบั ติงานอย่างทั่วถึง (Participative) และเพ่ือให้เกิด
ประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมส่งเสริมต่างๆ จึงมีการกากับติดตาม
ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงาน (Self-evaluation ) เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพการอ่าน การเขียน
การสือ่ สาร และการคิดคานวณมีประสิทธภิ าพและบรรลตุ ามวัตถุประสงค์การดาเนนิ งานและ

1.4 ศึกษาผลการดาเนินการ(ตัวย่อ S: Study) เม่ือครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนา
คุณภาพการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณแล้ว สิ่งสาคัญคือครูจะต้องวิเคราะห์ประเมินผล
การดาเนนิ กิจกรรมต่างๆ ตามกระบวนการ TAKS Model พบว่า กจิ กรรมต่างๆ ทคี่ รูจัดมีความสอดคล้องกับ
แผนกลยุทธ์ของโรงเรยี น นักเรยี นได้รบั การพัฒนาคุณภาพการอ่าน การเขียน การสอ่ื สาร และการคิดคานวณ
ตามวัตถุประสงค์ เกิดความร้คู วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
ตลอดจนการคดิ คานวณอย่างเปน็ ระบบ

1.5 การพัฒนาปรับปรุง (ตัวย่อ A :Act) ครูประเมินผลการดาเนินกิจกรรมต่างๆ แล้ว เม่ือพบ
ประเด็นใดท่ีเปน็ จุดด้อย และไม่บรรลุวัตถปุ ระสงค์ นักเรียนท่ยี ังไม่สามารถพฒั นาคุณภาพการอ่าน การเขียน
การส่ือสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศตลอดจนการคิดคานวณ ครูได้ดาเนินการยกระดับคุณภาพด้วย
การสอนซ่อมเสริม และจัดกิจกรรมยกระดับคุณภาพการอ่าน การเขียน การส่ือสารภาษาไทยและภาษา
ต่างประเทศตลอดจนการคิดคานวณด้วยกิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และจะต้องจัดกิจกรรม
เพ่ือการส่งเสริมศักยภาพการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ตลอดจนการคิด
คานวณดว้ ยกิจกรรมตา่ งๆ อย่างตอ่ เนื่อง
2. ผลการพัฒนา

ผลจากการบริหารจัดการเรียนการสอนของครูท่ีดาเนินการตามแผนกลยุทธ์ของโรงเรียนท่ีมีคุณภาพ
ด้วยระบบ SPSS DSA Model ท่ีมีประสิทธิภาพ ทาให้นักเรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพการอ่าน การเขียน
การสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศและการคิดคานวณ มีผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียนท่ีเป็นไป
ตามเป้าหมายที่กาหนด และผู้เรียนใช้ความรู้ความสามารถสร้างสรรค์ผลผลงานและผลิตนวัตกรรมต่างๆ ที่
สะท้อนองค์ความร้ดู ้านการอ่าน การเขียน การส่อื สารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศตลอดจนการคิดคานวณ
ผู้เรียนดังนี้

1. ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผู้เรยี นด้านความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิด
คานวณของนักเรยี น ดงั น้ี

1) ผเู้ รียนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3 รอ้ ยละ 89.17 มีผลการทดสอบการอ่านออกเสียง
และการอา่ นคิดวิเคราะห์ตามแบบทดสอบวดั ความรูภ้ ายในของกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยแต่ละระดบั
สูงกว่าเป้าหมายท่ีกาหนดไวค้ ือรอ้ ยละ 85

2) ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4–6 ร้อยละ 96.16 มีผลการทดสอบการอ่านออกเสียงและการ
อ่านคดิ วิเคราะห์ภาษาไทยได้คะแนนร้อยละ 70 ข้ึนไป สูงกว่าเปา้ หมายท่กี าหนดไว้คอื ร้อยละ 85

๑๘

3) ผู้เรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 ร้อยละ 93.11 มีผลการทดสอบการเขียนสื่อสาร
ภาษาไทยได้คะแนนร้อยละ 70 ขน้ึ ไป สูงกวา่ เปา้ หมายที่กาหนดไว้คอื ร้อยละ 85

4) ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ร้อยละ 95.96 มีผลการทดสอบการเขียนสื่อสาร
ภาษาไทยไดค้ ะแนนร้อยละ 70 ขึน้ ไป สงู กวา่ เป้าหมายทก่ี าหนดไวค้ ือ ร้อยละ 85

5) ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 ร้อยละ 92.56 มีผลการทดสอบการพูดส่ือสาร
ภาษาไทยได้คะแนนรอ้ ยละ 70 ขึ้นไป สงู กวา่ เป้าหมายทก่ี าหนดไว้คอื รอ้ ยละ 85

6) ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ร้อยละ 96.77 มีผลการทดสอบการพูดส่ือสาร
ภาษาไทยได้คะแนนรอ้ ยละ 70 ข้ึนไป สงู กวา่ เป้าหมายที่กาหนดไว้คือ รอ้ ยละ 85

7) ผู้เรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 ร้อยละ 85.87 มีผลการทดสอบการอ่านออกเสียง
ภาษาต่างประเทศได้คะแนนรอ้ ยละ 70 ขึ้นไป สูงกว่าเปา้ หมายท่ีกาหนดไวค้ อื รอ้ ยละ 85

8) ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6 ร้อยละ 85.87 มีผลการทดสอบการอ่านออกเสียง
ภาษาต่างประเทศไดค้ ะแนนร้อยละ 70 ข้ึนไป สูงกวา่ เป้าหมายทีก่ าหนดไว้คอื รอ้ ยละ 85

9) ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 ร้อยละ 85.58 มีผลการทดสอบการเขียนสื่อสาร
ภาษาตา่ งประเทศไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป สูงกวา่ เป้าหมายทก่ี าหนดไว้คอื ร้อยละ 85

10) ผู้เรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6 ร้อยละ 85.58 มีผลการทดสอบการเขียนส่ือสาร
ภาษาต่างประเทศไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 70 ขนึ้ ไป สงู กว่าเป้าหมายท่ีกาหนดไว้คือ รอ้ ยละ 85

11) ผู้เรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 รอ้ ยละ 65.17 มีผลการทดสอบทักษะการคิดคานวณ
ได้คะแนนรอ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป ตา่ กวา่ เปา้ หมายท่ีกาหนดไวค้ ือ ร้อยละ 70

12) ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4–6 ร้อยละ 70.57 มีผลการทดสอบทักษะการคิดคานวณ
ได้คะแนนรอ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป สงู กว่าเป้าหมายท่กี าหนดไว้คือ รอ้ ยละ 70

เม่ือเปรียบเทียบผลการทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศ พบว่า ผู้เรียนมีผลการทดสอบวัดคุณภาพด้านการอ่าน การเขียน การส่ือสาร บรรลุตามท่ี
ค่าเป้าหมายกาหนดทุกรายการ ส่วนผลการทดสอบทักษะการคิดคานวณของผู้เรยี นระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่
1 – 3 ต่ากว่าเป้าหมายที่กาหนดไว้ โรงเรียนได้จัดทาโครงการพัฒนาการเรียนการสอนของทุกกลุ่มสาระวิชา
และโครงการยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นเพอื่ พัฒนานักเรยี น ในปีการศกึ ษาตอ่ ไป

2. นักเรียนนาความรู้ความสามารถด้านการอ่าน การเขียน การส่ือสารภาษาไทยภาษาต่างประเทศ
และการคิดคานวณไปสร้างสรรค์นวัตกรรมต่างๆ ท่ีนาไปเผยแพร่แลกเปล่ียนเรียนรู้กับบุคคลภายในและ
ภายนอกสถานศกึ ษา ดังนี้

1) การจดั ทาหนงั สือเลม่ เลก็
2) การจัดทาสื่อนิตยสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศท่ีสวยงามถูกต้องตามรูปแบบของการ
จดั ทาหนงั สือนิตยสาร
3) การผลิตนวัตกรรมท่ีเกิดจากการเขียนในรูปแบบต่างๆ เช่น เรื่องส้ัน สมุดภาพ การแต่ง
บทร้อยกรอง
4) การบนั ทกึ การอ่านและการเรยี นรู้ของนักเรียนทุกคน
5) การจดั ทารายงานจากการศึกษาค้นคว้า
6) สรา้ งสรรค์ผลงานอันเกิดจากทักษะการคิดคานวณ

๑๙

3. นักเรียนที่มีศักยภาพโดดเด่นท้ังด้านการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณ ได้รับ

การพฒั นาใหม้ ศี ักยภาพย่งิ ขนึ้ เพอื่ นาไปประกวดแข่งขนั ในรายการตา่ งๆ และไดร้ ับรางวลั ดงั น้ี

1) ผลการแข่งขนั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ประจาปีการศึกษา 2562

ด้านการอา่ นคดิ วิเคราะห์

ระดบั ชอื่ รายการ รางวัล ชื่อนกั เรยี น

ระดบั เขตพื้นท่ฯี การแขง่ ขนั วรรณกรรมพจิ ารณ์ เหรยี ญทองชนะเลิศ เด็กหญงิ พชิ ญาพร พานทอง

ม.1-ม.3

การแข่งขนั วรรณกรรมพิจารณ์ เหรียญทองชนะเลศิ นางสาวพรรณพชั ร หมืน่

ม.4-ม.6 ทอง

การแข่งขันพินิจวรรณคดี เหรียญทองชนะเลิศ เด็กหญิงสาธิกา ทาปนิ

ม.1-ม.3

การแขง่ ขนั พินิจวรรณคดี เหรยี ญทองชนะเลศิ นางสาวอารดา เรืองเอก

ม.4-ม.6

การแขง่ ขนั ต่อคาศัพท์ภาษาไทย เหรยี ญทองชนะเลศิ เด็กหญิงชรัลรัตน์ ป๊ดุ สาร

(คาคมเดิม) ม.1-ม.3 เดก็ หญิงพัชรีภรณ์ เถอ่ื นวร

การแขง่ ขันต่อคาศัพท์ภาษาไทย เหรียญทองชนะเลิศ นางสาวณฏั ฐณชิ า ชยั ชนะ

(คาคมเดิม) ม.4-ม.6

ระดบั ภาคฯ การแข่งขันวรรณกรรมพจิ ารณ์ เหรียญทองแดง เดก็ หญงิ พชิ ญาพร พานทอง

ระดบั ชาติ ม.1-ม.3

การแขง่ ขนั วรรณกรรมพิจารณ์ เหรยี ญทองแดง นางสาวพรรณพัชร หมนื่

ม.4-ม.6 ทอง

การแข่งขนั พินิจวรรณคดี เหรียญทอง เด็กหญงิ สาธกิ า ทาปนิ

ม.1-ม.3

การแขง่ ขันพินจิ วรรณคดี เหรียญทอง นางสาวอารดา เรืองเอก

ม.4-ม.6

การแข่งขันต่อคาศัพทภ์ าษาไทย เหรียญทอง เดก็ หญิงชรลั รัตน์ ปุด๊ สาร

(คาคมเดมิ ) เด็กหญงิ พชั รภี รณ์ เถอื่ นวร

ม.1-ม.3

การแข่งขันต่อคาศัพทภ์ าษาไทย เหรยี ญทอง นางสาวณัฏฐณชิ า ชัยชนะ

(คาคมเดมิ ) ม.4-ม.6

๒๐

ดา้ นการอ่านออกเสียง

ระดบั ชือ่ รายการ รางวลั ชื่อนกั เรียน
เหรียญทองชนะเลศิ เดก็ หญงิ นิชา สวนเส
ระดบั เขตพ้นื ท่ีฯ การแข่งขันการทอ่ งอาขยานทานอง
เสนาะ ม.1-ม.3

การแขง่ ขันการทอ่ งอาขยานทานอง เหรียญทองชนะเลศิ นายธนกร ทิพยป์ ระมวล
เสนาะ ม.4-ม.6

ระดบั ภาคฯ การแขง่ ขันเรียงร้อยถ้อยความ(การ เหรียญทอง เด็กหญงิ ชนิดาภา เหลือ
ระดบั ชาติ เขยี นเรียงความ) ม.1-ม.3 เหรียญทอง บญุ นุ่ม

การแขง่ ขนั การท่องอาขยานทานอง เดก็ หญงิ นชิ า สวนเส
เสนาะ ม.1-ม.3

ดา้ นการเขยี นส่ือสาร

ระดับ ชอ่ื รายการ รางวลั ช่ือนกั เรยี น
เหรยี ญทองชนะเลศิ
ระดบั เขตพนื้ ทีฯ่ การแข่งขันคัดลายมือส่ือภาษาไทย เด็กชายฐาปณพงษ์ ด้วง
ม.1-ม.3 เหรยี ญทองชนะเลิศ นุ้ย

การแข่งขันคดั ลายมอื สื่อภาษาไทย นางสาวปภาดา บวั แกว้
ม.4-ม.6

การแขง่ ขันเรยี งร้อยถ้อยความ(การ เหรยี ญทองชนะเลศิ เดก็ หญิงชนดิ าภา เหลือ
เขียนเรียงความ) ม.1-ม.3 เหรยี ญทอง บญุ น่มุ

การแข่งขนั เรยี งร้อยถ้อยความ(การ นางสาวกชกร จนั ทรช์ มุ่
เขียนเรียงความ) ม.4-ม.6

การแขง่ ขันกวเี ยาวชนคนรนุ่ ใหม่ เหรียญทองชนะเลิศ เด็กชายกฤตนิ ันท์ จบี โจง
กาพย์ยานี ๑๑ (6 บท) ม.1-ม.3 เหรียญทองชนะเลิศ เดก็ ชายพรี พัฒน์ สัจจ
โสภติ
การแข่งขนั กวีเยาวชนคนรุน่ ใหม่ เหรยี ญทอง
โคลงสี่สุภาพ ม.4-ม.6 นายนพณัฐ แตงทอง

การแขง่ ขันคดั ลายมอื ส่ือภาษาไทย นายผดุงเดช จอ่ นแดง
ม.1-ม.3
เด็กชายฐาปณพงษ์ ด้วง
นุ้ย

๒๑

ระดบั ภาคฯ การแข่งขันคดั ลายมอื สื่อภาษาไทย เหรยี ญทอง นางสาวปภาดา บัวแก้ว
ระดับชาติ ม.4-ม.6 เหรยี ญเงนิ
เหรียญเงนิ เดก็ หญงิ ชนดิ าภา เหลอื
การแข่งขนั เรยี งร้อยถ้อยความ(การ บุญนมุ่
เขยี นเรยี งความ) ม.1-ม.3 เหรยี ญทองชนะเลศิ
เดก็ ชายกฤตนิ นั ท์ จีบโจง
การแขง่ ขันกวีเยาวชนคนรนุ่ ใหม่ เดก็ ชายพรี พัฒน์ สัจจ
กาพย์ยานี ๑๑ (6 บท) ม.1-ม.3 โสภติ

การแข่งขนั กวเี ยาวชนคนรุ่นใหม่ นายนพณัฐ แตงทอง
โคลงสีส่ ุภาพ ม.4-ม.6 นายผดุงเดช จอ่ นแดง

2) ผลการแขง่ ขนั กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ ประจาปกี ารศึกษา 2562

ระดับ ชือ่ รายการ รางวัล ชอ่ื นกั เรียน

ระดับเขตพื้นทฯ่ี การแขง่ ขนั เล่านทิ าน เหรียญทอง นางสาวปานไพลนิ มณีรัตน
ภาษาองั กฤษ ชนะเลศิ โสภณ
การแข่งขันต่อคาศัพท์
ภาษาอังกฤษ (ครอสเวริ ์ด) เหรยี ญทอง เด็กชายปิตวิ ฒั น์ สมานมิตร
ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนต้น ชนะเลศิ
การแขง่ ขันต่อคาศัพท์
ภาษาองั กฤษ (ครอสเวิรด์ ) เหรยี ญทอง เด็กชายนัทธพงษ์ กเี กียง
ระดับชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ชนะเลิศ
การแขง่ ขันต่อคาศพั ท์
ภาษาองั กฤษ (ครอสเวิร์ด) เหรียญทอง นายศภุ จักร ธญั ญโยธนิ
ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย รองชนะเลศิ อันดบั
การแข่งขันMulti Skill
competition 1
ระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย
การแข่งขั้นละครสัน้ ภาษาอังกฤษ เหรียญทอง นางสาวชุติกาญจน์ สรุ ะวาศรี
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ชนะเลิศ

การแข่งขันประกวดสุนทรพจน์ เหรียญทอง เดก็ หญงิ ศิริญาภรณ์ เสากุล
รองชนะเลศิ อนั ดบั เดก็ ชายลิปปกรณ์ แข็งเขตกรณ์

1 เดก็ หญงิ กฤตกิ า หนจู นี เส้ง
เด็กหญงิ นิลาวัลย์ บุญอินทร์
เด็กหญิงสุพชิ ฌาย์ พรี จิตวรกุล

เหรียญทอง เด็กหญิงศุภรดา วงษ์กาวิน
ชนะเลิศ

๒๒

ระดับ ช่ือรายการ รางวลั ชอื่ นกั เรียน

ระดบั ภาคฯ ภาษาองั กฤษระดับมัธยมศกึ ษา เหรยี ญทอง นางสาวธญาณี วตั แดง
ระดับชาติ ตอนต้น ชนะเลิศ
การแขง่ ขันประกวดสุนทรพจน์
ภาษาองั กฤษระดับช้ัน รองชนะเลศิ อนั ดบั นายบูรพา สทุ ธิดี
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1
การแขง่ ขนั ประกวดสุนทรพจน์
ภาษาพม่าระดบั ช้ันมธั ยมศึกษา เหรยี ญทอง นางสาวปานไพลนิ มณรี ตั น
ตอนปลาย ชนะเลิศ โสภณ
การแข่งขนั โตว้ าทีภาษาอังกฤษ นางสาวดลนภา จาปาหอม

การแขง่ ขันโตว้ าทีภาองั กฤษ นายวศนิ ศรีรัศมี

การแข่งขันสะกดคาศพั ท์ เหรียญทอง นางสาวปภาดา บัวแก้ว
ภาษาองั กฤษ
ชนะเลิศ นางสาวภทั ชา บัวนอ้ ย
การแขง่ ขนั เล่านทิ าน นางสาวสริ ิญาภรณ์ เสากุล
ภาษาองั กฤษ
การแขง่ ขันประกวดสุนทรพจน์ รองชนะเลศิ อันดับ นายวิทวสั ตง้ั ศรวี รกานต์
ภาษาองั กฤษระดับชัน้ 2 นายธนญ ชัยมงคล
มัธยมศึกษาตอนปลาย
นางสาวขวญั ข้าว รนื่ รวย

เหรยี ญทอง นางสาวปานไพลิน มณรี ตั น
ชนะเลิศ โสภณ

เหรียญทอง นางสาวธญาณี วัตแดง
ชนะเลศิ

3) ผลการแขง่ ขันกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ประจาปีการศกึ ษา 2562

ลาดับ ชือ่ รายการการแข่งขนั วัน/เดือน/ปี รายช่ือนกั เรียนเขา้ รว่ ม รางวัลที่ได้รับ ครผู ู้ควบคุม
ที่ 19 ส.ค. 62 แข่งขนั นางพัชรีดา
เขา้ รอบชิง ใยระยา้
1 ตอบปญั หาทางคณติ ศาสตรร์ ะดบั 2 ส.ค.62 1.ด.ช.อังคศุรัฐ ทาปนิ ชนะเลศิ 10
2 ส.ค.62 2.ด.ญ.สนิ นิ าฏ แสงกระจา่ ง ทีมสุดท้าย นายวรุตม์
ม.ตน้ เนื่องในงานสัปดาห์ 3.ด.ญ.ขวัญจริ า จสู ิงห์ จาก 64 ทมี เครอื แก้ว
4.ด.ญ.สิริพิชชา บุญยะทิม ครูจตพุ ร
วิทยาศาสตร์แห่งชาติ คร้ังท่ี 30 ระดับภาค
1.นายสพสั เจนสิราสรุ ชั ต์ เขา้ ร่วม
ประจาปีการศกึ ษา 2562 ณ 2.นายบรุ ิศ เสรีวัฒนะ ระดบั ภาค
ด.ญ.จิรชั ญา ตว่ นเครอื ทองแดง
มหาวิทยาลยั นเรศวร พษิ ณุโลก

2 การแขง่ ขนั คิดเลขเรว็ ณ

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์

3 คณิตคดิ เลขเร็ว ม.ต้น

๒๓

ลาดับ ชอ่ื รายการการแข่งขัน วัน/เดอื น/ปี รายชือ่ นักเรยี นเขา้ ร่วม รางวลั ทีไ่ ดร้ บั ครผู ้คู วบคุม
ท่ี แขง่ ขนั

(ระดบั เขตพน้ื ท)ี่ ระดบั เขต เกดิ พนั ธุ์

4 คณติ คดิ เลขเร็ว ม.ต้น 2 ส.ค.62 1.ด.ญ.จริ ชั ญา ตว่ นเครือ เข้ารว่ ม ครจู ตุพร
2 ส.ค.62 2.ด.ญ.พรพิมพ์ คอเมือง ระดบั ภาค เกดิ พนั ธุ์
(ระดบั ภาคเหนือคร้งั ท่ี 13)
นายณัฐภัทร แหกาวี ทอง ครูจารุวรรณ
5 คณิตคดิ เลขเร็ว ม.ปลาย ระดับภาค ปญั ญาคม

6 การแข่งขนั ต่อสมการคณิตศาสตร์ 21-22 ธ.ค. เด็กชายนวพล สงั ข์คา ทอง น.ส.ปรศิ นา
ระดบั ชาติ วโิ นสยุ ะ
(A-math) ระดบั ม.1-3 2562 เดก็ หญิงนาถนภา สริ มาศ นายดิฐษ์ยนัส
ชนะชัย
งานศลิ ปหตั ถกรรมคร้ังที่ 69 จากการ

ระดบั ชาติ ภาคเหนอื ชนะเลิศระดับ

ณ โรงเรยี นสวรรคอ์ นนั ต์วทิ ยา เขตเมื่อ 24

จ.สโุ ขทัย ระดบั ชาติ ก.ย.2562

7 การสร้างสรรคผ์ ลงานคณิตศาสตร์ 21-22 ธ.ค. นายณภัทร แสงอรณุ ทอง นางอุไรรตั น์
ระดบั ชาติ รตั นภกั ดิ์ดีกลุ
โดยใช้ GSP ระดับชั้น ม.4-6 2562 นางสาววรรณฤดี
นายเอกพงษ์
งานศลิ ปหัตถกรรมคร้ังท่ี 69 จากการ ประการแก้ว มูลแกว้

ระดับชาติ ภาคเหนอื ชนะเลิศระดบั

ณ โรงเรยี นสวรรค์อนนั ตว์ ิทยา เขตเมื่อ 24

จ.สุโขทัย ก.ย.2562

8 การแขง่ ขนั ต่อสมการคณติ ศาสตร์ 21-22 ธ.ค. นายธนสิน หม่ืนอาจ ทอง นายธรี วุฒิ
ระดับชาติ อภิปรชั ญาฐติ ิ
(A-math) ระดับ ม.4-6 2562 กุล

งานศลิ ปหตั ถกรรมครงั้ ท่ี 69 จากการ

ระดับชาติ ภาคเหนือ ชนะเลศิ ระดบั

ณ โรงเรียนสวรรค์อนนั ต์วิทยา เขตเมื่อ 24

จ.สุโขทัย ก.ย.2562

9 การแข่งขนั โครงงานคณติ ศาสตร์ 21-22 ธ.ค. เด็กชายกิตติศัพท์ จันตะโพธิ์ เงิน นางยุพนิ
ระดับชาติ วงษเ์ ปง็
ประเภทสรา้ งทฤษฎีหรือ 2562 เดก็ ชายพีระณัฐ ครฑุ ทงุ่
น.ส.ประไพ
คาอธบิ าย ม.1-3 จากการ เด็กชายภวู นัย จนั ทร์ทอง แดงไฝ

งานศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 69 ชนะเลศิ ระดบั

ระดบั ชาติ ภาคเหนือ ณ โรงเรียน เขตเม่ือ 24

สวรรค์อนนั ต์วิทยา จ.สุโขทัย ก.ย.2562

10 การแขง่ ขันโครงงานคณิตศาสตร์ 21-22 ธ.ค. เดก็ หญงิ นันทน์ ภัส เงิน นางพชั รดี า
อยปู่ ระเสริฐ
ประเภทบูรณาการความรู้ใน 2562 ระดับชาติ ใยระย้า
คณติ ศาสตร์ไปประยุกตใ์ ช้ ม.1-3 จากการ เด้กหญิงบุญศริ ิ ใจหนุน
งานศลิ ปหตั ถกรรมคร้งั ที่ 69 ชนะเลิศระดบั เด็กหญิงหทัยชนก ดว้ งนา

ระดบั ชาติ ภาคเหนือ เขตเมื่อ24 น.ส.ปณัฐชา
แดงไฝ
ณ โรงเรียนสวรรคอ์ นันต์วิทยา ก.ย.2562

จ.สโุ ขทยั

๒๔

ลาดับ ชอ่ื รายการการแข่งขัน วนั /เดือน/ปี รายชอ่ื นกั เรียนเข้ารว่ ม รางวัลที่ได้รับ ครผู คู้ วบคุม
ท่ี แข่งขนั
21-22 ธ.ค. เงิน น.ส.กาญจนา
11 งานศิลปหัตถกรรมคร้งั ที่ 69 2562 นายธนาธปิ ศรกี าวี ระดับชาติ ดว้ งนา
จากการ
ระดบั ชาติ ภาคเหนอื
ชนะเลิศระดับ
ณ โรงเรียนสวรรคอ์ นนั ต์วทิ ยา เขตเม่ือ 24
ก.ย.2562
จ.สุโขทยั

12 การแขง่ ขนั โครงงานคณิตศาสตร์ 21-22 ธ.ค. นางสาวนันทน์ ภัส เงนิ นางจนั ทร์จริ า
ระดับชาติ คานา่ น
ประเภทสร้างทฤษฎีหรือ 2562 จงั พินจิ กุล
น.ส.ประไพ
คาอธบิ าย ม.4-6 จากการ นางสาวภทรพรรณ ใยระย้า แดงไฝ

งานศลิ ปหัตถกรรมครง้ั ที่ 69 ชนะเลิศระดบั นางสาวอารยา ภญิ ญาคง

ระดับชาติ ภาคเหนือ เขตเม่ือ 24

ณ โรงเรียนสวรรคอ์ นันตว์ ิทยา ก.ย.2562

จ.สุโขทยั

13 การแข่งขนั โครงงานคณติ ศาสตร์ 21-22 ธ.ค. นางสาวกัญญ์วรสี ์ เงิน นางจันทรจ์ ริ า
ระดับชาติ คานา่ น
ประเภทบูรณาการความรู้ใน 2562 สนิ พรมมา
นางจิราภรณ์
คณติ ศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ม.4-6 จากการ นางสาวกีรติญา บุญปลอ้ ง ธรรมลงั กา

งานศิลปหตั ถกรรมครง้ั ท่ี 69 ชนะเลิศระดับ นายจารุพชิ ญ์ พฤกษา

ระดบั ชาติ ภาคเหนือ เขตเม่ือ 24

ณ โรงเรียนสวรรคอ์ นันต์วิทยา ก.ย.2562

จ.สุโขทัย

14 การแข่งขันการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน 21-22 ธ.ค. เด็กชายจโิ รจน์ ขากระแสร์ ทองแดง นางอญั ชุลี
ระดบั ชาติ วาวแวว
คณติ ศาสตร์โดยใช้ GSP ระดับช้ัน 2562 เด็กชายรัชชานนท์
นายเอกพงษ์
ม.1-3งานศิลปหตั ถกรรมคร้งั ที่ จากการ ทพิ ทามูล มลู แก้ว

69 ระดบั ชาติ ภาคเหนอื ชนะเลิศระดับ

ณ โรงเรยี นสวรรคอ์ นนั ต์วิทยา เขตเมื่อ 24

จ.สโุ ขทยั ก.ย.2562

15 การแขง่ ขนั ซูโดกุ ระดบั ช้ัน 21-22 ธ.ค. เดก็ ชายธนกฤต ศรีธวนนท์ เขา้ รว่ ม นางอญั ชุลี
ระดับชาติ วาวแวว
ม.1-3งานศลิ ปหตั ถกรรมครั้งที่ 2562

69 ระดับชาติ ภาคเหนือ จากการ

ณ โรงเรยี นสวรรคอ์ นนั ต์วิทยา ชนะเลศิ ระดบั

จ.สโุ ขทัย เขตเมื่อ 24

ก.ย.2562

16 การแขง่ ขันอจั ฉรยิ ภาพทาง 21-22 ธ.ค. เด็กชายอิงคศุรฐั ทาปนิ เข้ารว่ ม น.ส.ปณฐั ชา
ระดบั ชาติ แดงไฝ
คณติ ศาสตร์ ระดบั ช้ัน ม.1-3 2562

งานศลิ ปหตั ถกรรมครงั้ ที่ 69 จากการ

๒๕

ลาดับ ชื่อรายการการแข่งขัน วนั /เดือน/ปี รายช่ือนกั เรยี นเขา้ รว่ ม รางวลั ทีไ่ ด้รับ ครูผ้คู วบคมุ
ที่ แข่งขนั

ระดบั ชาติ ภาคเหนือ ชนะเลิศระดับ

ณ โรงเรียนสวรรค์อนนั ต์วทิ ยา เขตเมื่อ 24
จ.สุโขทัย ก.ย.2562

3. จดุ เดน่

1. โรงเรียนตากพิทยาคมมีความพร้อมในการจัดการเรยี นการสอนภายใต้วิสัยทัศน์ พันธกิจที่ชัดเจน
มีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบด้วยรูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพ SPSS DSA Model ที่เน้น
การมสี ว่ นรว่ มของบุคลากรทกุ ภาคสว่ น

2. ครูมีความรู้ความสามารถ มีจานวนเพียงพอกับการจัดการเรียนการสอน และครูได้สอนตรงตาม
ความถนัด ได้รับการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพใน
การจัดการเรียนการสอน

3. นักเรียนท่ีเข้ามาศึกษาในโรงเรียนตากพิทยาคมเป็นนักเรียนท่ีมีคุณภาพการเรียนรู้ที่ดี หลายคน
สามารถพฒั นาต่อยอดสู่เวทกี ารแข่งขันระดบั ต่างๆ

4. คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ผ้ปู กครอง ชุมชน และผู้เกย่ี วขอ้ งในชุมชนให้ความสาคัญ

และมีสว่ นร่วมในการบริหารจดั การศกึ ษาให้มีคุณภาพ

4. จุดควรพฒั นา
1. การเขา้ ร่วมแขง่ ขันในรายการต่างๆ ควรเพิ่มจานวนครั้งใหม้ ากข้ึนและมคี วามหลากหลาย
2. จดั กิจกรรมส่งเสริมศกั ยภาพให้แก่นักเรยี นอยา่ งหลากหลายเพ่ิมขึ้น

๒๖

ประเด็นที่ ๒
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน

1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น
2) มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และ

แกป้ ัญหา
ระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม

1. กระบวนการพฒั นา
จากผลการประเมินของสมศ. รอบ 4: ระบุวา่ คา่ เป้าหมายมาตรฐานด้านการคิดวเิ คราะหท์ โี่ รงเรียนตงั้

ไว้ตั้งต่ากว่าเกณฑ์โรงเรียนมาตรฐานสากลซ่ึงส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จากปัญหาดังกล่าวโรงเรียน
ตากพิทยาคมจึงกาหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียนด้าน มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ให้เทียบเคียงโรงเรียนมาตรฐาน
รวมทั้งจัดทาโครงการและกิจกรรมท่ีส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณรู้จักอภิปราย
แลกเปล่ียนความคิดเห็นและแก้ปัญหาโดยครูศึกษาหลักสตู รแกนกลาง หลกั สูตรสถานศึกษา จุดเนน้ เชิงบูรณา
การ ความรู้เชิงเนื้อหา เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดทาส่ือการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
จิตวิทยาในการสอน และจิตวิทยาในวัยรุ่น เพื่อนามาเป็นข้อมูลในการออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ในแผนการ
จัดการเรียนรู้ตามบริบท และศักยภาพของผู้เรียน จากนั้นทาการวิเคราะห์ผู้เรียนเพ่ือให้รู้จักผู้เรียนเป็น
รายบุคคล เชน่ การวเิ คราะหจ์ ากผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ลีลาการเรียนรู้ ความถนัด ความสนใจ เพอ่ื นามาเป็น
ข้อมูลในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับโครงการต่าง ๆที่โรงเรียนเข้าร่วม เช่น บูรณาการ
กับสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากน้ียังจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
นอกห้องเรียนเพ่ือเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน
ความคิดเห็น และแก้ปัญหาในรูปแบบของโครงการและกิจกรรมตามความสามารถของผู้เรียน ได้แก่ กิจกรรม
ย่อยตามโครงการอบรมแกนนาศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง กิจกรรมการเรียนฐานศูนย์
การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ค่ายวิทยาศาสตร์บูรณาการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน อบรม
เชิงปฏิบัติการ “งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น หลกั สูตร 3 สาระการเรียนรู้ ธรรมชาติแหง่ ชีวิต สรรพส่ิงล้วน
พันเก่ียว ประโยชน์แทแ้ กม่ หาชน”

เพ่ือให้การดาเนินการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน และโครงการบรรลุตามวัตถปุ ระสงค์โรงเรียนตาก
พิทยาคม ได้จัดกิจกรรมการนิเทศและพัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นการสอนของครู ตรวจสอบคุณภาพของ
แผนการจัดการเรียนรู้ การนิเทศการจัดการเรียนการสอน และชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ในทุก
รายวิชาโดยการเทียบเคียงกับการวิเคราะห์แบบประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเองของแต่ละโครงการกับ
TAKS model ประกอบด้วย

T เป้าหมายของโครงการสนองกลยทุ ธข์ องโรงเรยี น
A มีการบรรลเุ ป้าหมาย ตามค่าเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้
K ผู้เรียนสามารถคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ รูจ้ ักการอภปิ รายแลกเปล่ยี นความ
คิดเหน็ และแกป้ ญั หา
S ผเู้ รียนมกี ารทางานอยา่ งเปน็ ระบบ มีการประชุม วางแผน แบง่ งานรับผดิ ชอบ มีการ
ดาเนนิ การตามแผน สรุป อภปิ รายผลและสรุป และนาผลการพัฒนามาตงั้ ค่าเป้าหมายให้

๒๗

อยู่ในระดับที่สูงขึ้นจึงส่งผลให้ผู้เรียนมีการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ รู้จักการอภิปราย
แลกเปลีย่ นความคิดเห็น และแก้ปญั หาในระดับคุณภาพ ยอดเยีย่ ม
2. ผลงานการพฒั นา (วดั จากค่าเป้าหมาย)

1) ผู้เรียนร้อยละ 86.0 ของ ม.1-ม.3 ผ่านการประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ได้คะแนน
ร้อยละ70 ขน้ึ ไป ตามการประเมินกจิ กรรมหรอื โครงการทโ่ี รงเรยี นจดั ทาข้ึน

2) ผู้เรียนร้อยละ 89.5 ของ ม.4-ม.6 ผ่านการประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ได้คะแนน
รอ้ ยละ70 ขึ้นไป ตามการประเมนิ กจิ กรรมหรอื โครงการที่โรงเรยี นจัดทาข้นึ

3) ผู้เรียนร้อยละ 85.0 ของ ม.1-ม.3 ผ่านการประเมินความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ไดค้ ะแนนร้อยละ70ขึ้นไป ตามการประเมนิ กิจกรรมหรอื โครงการทีโ่ รงเรยี นจัดทาขึน้

4) ผู้เรยี นร้อยละ 87.5 ของ ม.4-ม.6 ผ่านการประเมินความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป ตามการประเมินกจิ กรรมหรอื โครงการท่ีโรงเรียนจดั ทาข้ึน

5) ผู้เรียนร้อยละ 89.0 ของ ม.1-ม.3 สามารถอภปิ รายแลกเปล่ียนความคิดเห็นและแก้ปัญหาได้รอ้ ย
ละ 70 ขน้ึ ไปตามการประเมินกิจกรรมหรือโครงการท่ีโรงเรียนจดั ทาข้ึน

6) ผู้เรียนร้อยละ 90.5 ของ ม.4-ม.6 สามารถอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหาไดร้ ้อย
ละ 70 ขน้ึ ไปตามการประเมินกิจกรรมหรือโครงการท่ีโรงเรียนจัดทาข้ึนตามการประเมินกิจกรรมหรือโครงการ
ที่โรงเรียนจัดทาขึ้น

ตาราง แสดงร้อยละของผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน (ครูประเมิน
นักเรียน) ตามความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ และ
แกป้ ญั หา ปกี ารศกึ ษา 25๖๒

ระดับช้ัน คดิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปรายและแก้ปญั หา
ม.ตน้ 86.0 85.0 89.0
ม.ปลาย 89.5 87.5 90.5

จากกราฟแสดงผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน (ครูประเมิน

๒๘

3. จดุ เด่น
โรงเรียนตากพทิ ยาคมได้รบั รางวัลเชิงประจกั ษร์ ะดบั ภาค ระดบั ชาติ
1. โรงเรียนปลอดขยะโรงเรียนตากพิทยาคมได้รับการคัดเลือก เป็นโรงเรียนปลอดขยะดีเด่น (zero

waste school) ปี 2562 ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ประเภทสถานศึกษามัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ จาก
สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 38

2. Independent Study (IS) ไดร้ บั รางวลั ภาคเหนือตอนล่างโรงเรียนตากพิทยาคมไดร้ ับรางวัลระดับ
เหรียญทอง ในการประกวด IS งานเวทีศักยภาพโรงเรยี นมาตรฐานสากล ระดับชาติ คร้ังที่ 3

3. นักเรียนได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ในการนาเสนอโจทย์ฟิสิกส์สัปประยุทธ์กับเครือข่าย
ภาคเหนือตอนล่าง

4. นักเรียนได้รับโล่และเกียรติบัตรรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ในการแข่งขันหุ่นยนต์ระดับประเทศ
ประเภท Maze Runner Robot รุ่น Junior ณ ศนู ย์การคา้ เซียรร์ งั สิต

5. นักเรียนได้รับโล่และเกียรติบัตรรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 วิชาคณิตศาสตร์ ในการสอบแข่งขัน
วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ชิงทุนการศึกษาระดบั ประเทศ "NAKHONSAWAN S-M-E Contest"

6. นักเรียนได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดบั 1 การประกวดสง่ิ ประดษิ ฐ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ภายใต้ช่ือชิ้นงาน: รองเท้าช่วยพยุงเดิน ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัด
พษิ ณุโลก

7. นักเรียนได้รับคดั เลือกเป็นตัวแทนของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดตาก เข้าร่วมโครงการสรร
หา "เยาวชนคนดศี รีสังคม ศาลเยาวชนและครอบครวั จังหวัดตาก ประจาปี 2562”

8. นักเรียนได้รับรางวัลท่ี 10 ในโครงการสอบตอบปัญหาศีลธรรมเพื่อสันติภาพโลก ระดับเยาวชน
นานาชาติ The 12 th World Peace Ethics Contest (World-PEC) 2019 จากชมรมสง่ เสรมิ ศีลธรรมเพ่ือ
สนั ติภาพโลกโดยการเขยี นสมดุ บันทึกความดี Diary of Inner Peace จากผู้สมคั รเขา้ แข่งขนั ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย จากประเทศไทย เนปาล อินเดีย พมา่ และบงั คลาเทศ จานวน 700 คน

9. นักเรียนได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 เหรียญทอง "ส่ิงประดิษฐ์ Boxfeed " ในการแข่งขัน
"ล้านนาตาก เรียนรู้วิทย์ คิดสร้างสรรค์ เสริมสร้างเทคโนโลยี (RMUTL-STEAM3)" ปีการศึกษา 2562 ของ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก

10. นักเรียนได้รางวัลชนะเลิศการแข่งขัน Mini วิทยสัประยุทธ์ ได้รับเงินรางวัล 10,000 บาท
เกยี รติบตั รพร้อมโลร่ างวลั จากท่านเจริญฤทธิ์ สงวนสตั ย์ ผู้วา่ ราชการจงั หวัดตาก

11. นักเรียน ได้รับรางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง "บ้านไอเย็น" การแข่งขันกิจกรรมการประกวด
สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในหวั ข้อ "ลา้ นนาตาก รกั ษโ์ ลก ดว้ ยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี"

12. นักเรียน ได้รับโล่และเกียรติบัตรรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ในการประกวด Astro
Multimedia Creator Awards ค้นฟ้าคว้าดาว นักรังสรรค์ส่ือดาราศาสตร์ ชิงถ้วยพระราชาทนสมเด็จพระ
กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสครบรอบ 10 ปี แห่ง
การกอ่ ต้ังสถาบนั วิจยั ดาราศาสตรแ์ ห่งชาติ (องค์การมหาชน)

13. แข่งขันทักษะภายนออกผู้เรียนได้รับรางวัลเชิงประจักษ์จากหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังในระดับเขต
ระดับภาค และระดับชาติ

๒๙

4. จุดควรพฒั นา
- ด้านการจัดการเรียนการสอน โดยสังเกตจากบันทึกหลังการสอน และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนยังไม่

โดดเดน่ เนื่องจาก เวลา กิจกรรมมีมาก นักเรียนมภี าระงานมาก ปัญหาเรือ่ งวสั ดุอุปกรณ์
- ด้านโครงการ ทุกโครงการเป็นโครงการท่ีดี แต่นักเรยี นไม่ได้เข้าร่วมครบทุกโครงการ โครงการควร

มีการจัดแบบตอ่ เน่อื ง

๓๐

กระบวนการบรหิ ารงานโดยใช้รูปแบบ SPSS-DSA
โรงเรยี นตากพทิ ยาคม

S: SWOT

การวิเคราะหผ์ ลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรยี นดา้ น มคี วามสามารถ

ในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความ

คิดเหน็

และ แกป้ ญั หา

- พิจารณาจากผลการประเมิน สมศ. รอบ 4: ค่าเป้าหมาย

มาตรฐานด้านการคิดวิเคราะห์ที่โรงเรียนต้ังไว้ตั้งต่ากว่าเกณฑ์

โรงเรียนมาตรฐานสากลส่งผลต่อการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
S: Sufficiency Economy Philosophy

(SEP)

บรู ณาการด้วยหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง P:Plan

เขา้ ใจ: ครูมีความเขา้ ใจในเน้อื หา วธิ กี ารสอน การวางแผนการบริหารงาน S: School-based Management (SBM)
และครูมีความเขา้ ใจกลยทุ ธโ์ รงเรียน -ก่าหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียนด้าน มี การบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน
ทกุ ภาคสว่ นมีสว่ นรว่ ม
ข้อที่ 1 และ 2 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย
เข้าถงึ :รู้จักนกั เรียนเป็นรายบคุ คล - โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แลกเปล่ียนความคิดเห็น และ แก้ปัญหาเทียบเคียงโรงเรียน - โครงการศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลกั
มาตรฐาน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
พัฒนา: ครูไดร้ บั การนเิ ทศการสอนทง้ั - โครงการและกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่างมี ด้านการศึกษาโรงเรียนตากพิทยาคม
แผนการสอนและนเิ ทศการสอน วิจารณญาณร้จู กั อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแกป้ ัญหา
ผลการดาเนินการ
ทา่ ให้มีการปรบั ปรุงแผนและ
(ผลการดาเนินการ
วธิ สี อน D:Do (1) ผู้เรียนรอ้ ยละ 86.0 ของ ม.1-ม.3 ผ่านการ
ประเมนิ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ ได้คะแนน
การปฏบิ ตั ิสูค่ ณุ ภาพ รอ้ ยละ70 ขน้ึ ไป ตามการประเมินกจิ กรรมหรือโครงการ
ทโี่ รงเรยี นจดั ทาขึน้
-กจิ กรรมส่งเสริมโครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและ (2) ผเู้ รียนร้อยละ 89.5 ของ ม.4-ม.6 ผา่ นการ
ประเมินความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ ได้คะแนน
โค ร ง ก า ร ศู น ย์ ก า ร เรี ย น รู้ ต า ม ห ลั ก ป รั ช ญ า เศ ร ษ ฐ กิ จ รอ้ ยละ70 ขึ้นไป ตามการประเมินกจิ กรรมหรือโครงการ
ท่โี รงเรยี นจัดทาขนึ้
พอเพียงดา้ นการศกึ ษา (3) ผู้เรียนร้อยละ 85.0 ของ ม.1-ม.3 ผา่ นการ
ประเมินความสามารถในการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ ได้
-บูรณาการโครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและหลัก คะแนนรอ้ ยละ70ข้ึนไป ตามการประเมินกจิ กรรมหรอื
โครงการทโ่ี รงเรียนจัดทาขน้ึ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดการเรียนรู้เพ่ือส่งเสริม (4) ผูเ้ รยี นร้อยละ 87.5 ของ ม.4-ม.6 ผ่านการ
ประเมนิ ความสามารถในการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ ได้
ให้นักเรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป ตามการประเมนิ กิจกรรมหรือ
โครงการทีโ่ รงเรียนจัดทาขึ้น
รู้จักอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ใน (5) ผูเ้ รียนร้อยละ 89.0 ของ ม.1-ม.3 สามารถ
อภปิ รายแลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแก้ปัญหาไดร้ ้อย
รูปแบบของกจิ กรรมการเรียนการสอนทุกรายวชิ า ละ 70 ขึ้นไปตามการประเมินกจิ กรรมหรอื โครงการที่
โรงเรยี นจัดทาขน้ึ
S: Study (6) ผู้เรียนร้อยละ 90.5 ของ ม.4-ม.6 สามารถ
วดั ผล/วเิ คราะห์/ประเมนิ ผล อภิปรายแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นและแก้ปัญหาไดร้ ้อย
ละ 70 ขึ้นไปตามการประเมนิ กิจกรรมหรอื โครงการที่
- รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ การตามโครงการ โรงเรยี นจดั ทาขึน้ ตามการประเมินกจิ กรรมหรอื
- โครงการนิเทศการสอน โครงการทโี่ รงเรยี นจัดทาขึ้น
(6)ผู้เรียนร้อยละ 85.83 ของ ม.4-ม.6 สามารถ
A: Act พัฒนาอยา่ งต่อเนื่องสู่ความเป็น อภิปรายแลกเปล่ยี นความคดิ เห็นและแก้ปัญหาได้ร้อย
ปรบั ปรุงและพฒั นาอย่างเปน็ ระบบ เลิศ ละ70 ขึ้นไปตามการประเมินกจิ กรรมหรือโครงการท่ี
- คณะครปู ระจ่าวชิ าทา่ การประกนั คุณภาพทางการเรียน โรงเรียนจดั ทาขึ้น
- คณะครจู ัดท่ายกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิในรายวิชาทีส่ อน อย่างยงั่ ยนื
-สรปุ ผลการด่าเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแบบTAKS - แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ (PLC)
model - ประเมินการควบคมุ ภายในดว้ ยตนเอง
CSA

๓๑

ประเด็นท่ี 3

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผ้เู รยี น
1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรียน

3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม

1.กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนตากพิทยาคม ดาเนินโครงการนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ โดยนากระบวนการบริหาร

แบบ SPSS-DSA Model มาใช้ในการสร้าง ปรับปรุง มีการดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล
การดาเนนิ งาน ดว้ ยTAKS Model และยดึ หลักการบรหิ ารแบบมีสว่ นรว่ มตามแนวทางการดาเนนิ งาน ดงั น้ี

1. ตั้งคณะกรรมการเพื่อ วิเคราะห์บริบทของโรงเรียน วิสัยทัศน์ นโยบายและเป้าหมายการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา รวมถึงศึกษาข้อมูลสารสนเทศขั้นพื้นฐาน เร่ือง ความต้องการของบุคลากร สภาพภายใน
และภายนอก สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
นักเรียน วิธีการพัฒนาศักยภาพนักเรียน วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง กาหนดจุดมุ่งหมายของการพัฒนาและ
แนวการพฒั นา

2. นาข้อมูลท่ีได้จากการประชุมของคณะกรรมการศึกษาข้อมูลฯ มาเสนอต่อท่ีประชุมคณะกรรมการ
บริหารโรงเรียน และร่วมกันกาหนดร่างจุดมุ่งหมายของการพัฒนาและแนวทางการพัฒนา และนาร่างผลสรุป
จากการประชุมของคณะกรรมการบริหารโรงเรียน เสนอต่อที่ประชุมครูโรงเรียนตากพิทยาคม หารือร่วมกันและ
กาหนดจุดมุ่งหมายของการพัฒนา แนวทางการพฒั นา

3. แต่งตั้งคณะกรรมการศึกษาออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้เพ่อื ดาเนนิ การ
4. คณะกรรมการออกแบบออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ศึกษานวัตกรรมแบบต่างๆและศึกษา
ดูงานโรงเรียนที่ประสบความสาเร็จ ได้แก่ โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม โรงเรียน
สามเสนวิทยาลยั
5. คณะกรรมการออกแบบนวัตกรรมท่ีได้รับมอบหมาย ร่วมออกแบบนวัตกรรม โดยกาหนดเป็น
“นวัตกรรม ๖ โครงการเพ่ือพัฒนาคุณภาพนักเรียนโรงเรยี นตากพิทยาคม” ซึ่งเป็นนวัตกรรมท่ีจัดต่อยอดจาก
หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน โรงเรยี นมาตรฐานสากล และเปน็ นวตั กรรมทจี่ ดั ใหบ้ ริการสาหรบั นกั เรียนทุกคน
ท่ีมีศักยภาพและความสนใจแตกต่างกัน แบ่งออกเป็น 6 โครงการ ได้แก่ ESMTE, SME, Pre-Engineering,
MEP, EIS และ SST
6. คณะกรรมการออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้นาเสนอร่างนวัตกรรมต่อท่ีประชุม
คณะกรรมการบริหารโรงเรียนกลน่ั กรอง
7. แต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบการบริหารงาน การนา “นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้โรงเรียน
ตากพทิ ยาคม” ไปใช้ในการพฒั นาศักยภาพนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1-6
8. คณะกรรมการบริหารงานนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้จัดทาแผนการใช้งบประมาณ แผนการจัด
กิจกรรมในหลักสูตรและเสริมหลักสูตร เพื่อให้ตอบสนองการพัฒนาศักยภาพนักเรียนตามคุณลักษณะ ความ
แตกต่างและความสนใจของนักเรียนแต่ละกลุ่ม ให้เป็นตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย สมรรถนะ หลักการ
และวัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2551 และหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
9. ดาเนินการพัฒนาศักยภาพนักเรยี นทุกคน โดยใช้โครงการพัฒนาคุณภาพนักเรยี นฯ ๖ โครงการตาม
แผนท่ีกาหนดไว้

๓๒

10. คณะกรรมการนิเทศ ตดิ ตามผลทไ่ี ด้รบั แต่งตง้ั นเิ ทศเปน็ ระยะๆ ต่อเนื่องตลอดปี
11.นาผลทไี่ ดจ้ ากการดาเนินการ การประชุมนิเทศ มาวเิ คราะหเ์ พอ่ื พัฒนาและปรบั ปรงุ
ผา่ นกระบวนการ TAKS Model
ตามแผนภาพข้ันตอนการดาเนนิ งานจดั ทานวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนตากพิทยาคม

๓๓

แผนภาพแสดงการดาเนินการจัดทานวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ โรงเรียนตากพทิ ยาคม

แตง่ ต้งั คณะกรรมการดาเนินการ

คณะกรรมการทกุ ภาคสว่ นประชมุ วเิ คราะหบ์ รบิ ทโรงเรยี นวิสยั ทัศน์ S
นโยบายและเปา้ หมายการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาผลการประเมิน

ขอรับความเห็นชอบจาก นาขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการประชมุ ของคณะกรรมการศึกษาข้อมลู ฯ มาเสนอต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษา ทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียน และร่วมกันกาหนดรา่ ง
จดุ มุ่งหมายของการพัฒนาและแนวทางการพัฒนา

กาหนดวิสยั ทัศน์ เป้าหมาย และกลยุทธ์ ในการดาเนินงาน เพื่อนาไปสูก่ ารบรรลุ PSS
ความสาเร็จตามกลยทุ ธท์ ีก่ าหนด การดาเนินงานของโรงเรยี นตากพิทยาคมได้มีการ D

ดาเนินการตาม SPSS DSA Model

ดาเนินงาน ตามเป้าหมายที่วางไว้ตามกรอบการทางาน
TEPS Framework

ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน TAKS ไมผ่ า่ น
Model ตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ าน/
S
นิเทศ กากบั ตดิ ตาม A

ไม่ผา่ น
นาผลการดาเนนิ งานไปปรับปรุงพฒั นาการดาเนินโครงการ

รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั ิการ

๓๔

กลไกการดาเนินงานจดั ทานวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ โรงเรียนตากพทิ ยาคมโดยบูรณาการหลกั
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรยี นตากพิทยาคม รูปแบบ SPSS-DSA (SPSS-DSA)

S-SWOT
= วิเคราะห์
สภาพองค์กร

A-ACT P-PLAN S:SBM
=การพฒั นา =การวางแผน
ปรับปรงุ โรงเรยี นเป็นฐาน
พฒั นาอยา่ งต่อเน่อื งสู่
ความสาเรจ็ อย่างย่งั ยืน โรงเรยน

S:SEPM

บรู ณาการหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

โรงเรยน

ไม่ D-DO
=รว่ มทารว่ ม
ผ่าน ผ่าน
ปฏิบัติ
S-STUDY
=ศกึ ษาผลการ
ดาเนนิ งาน

T AK S T E P S
Target
Achivement Knowledge System Teamwork Expertise Participative Self-Evaluation

หลกั ในการประเมินผลการดาเนนิ งาน กรอบการทางาน

๓๕

2. ผลการพัฒนา

1. จากการดาเนินการจัดต้ังนวัตกรรม ทาให้ได้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 6 โครงการท่ีมีจุดเน้น
แตกตา่ งกัน เพือ่ ใหน้ ักเรียนไดร้ บั การจดั การเรียนร้ตู ามศักยภาพและความถนดั ของตนเองได้แก่

1) โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม (ESMTE :
Enrichment Program of Science Mathematics Technology and Environment)

2) โครงการพัฒนานักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ
(SME : Science Math English)

3) โครงการเตรียมวศิ วกรรมศาสตร์ (Pre - Engineering)
4) โครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ (MEP : Mini
English Program)
5) โครงการจดั การเรยี นการสอนวิชาวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์โดยใช้ภาษาอังกฤษ
เปน็ สื่อ (EIS : English for Integrated Studies)
6) โครงการจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษาและเทคโนโลยี (SST : Social Science and
technology)
2. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นมีแนวโน้มสูงขึ้น
3. นักเรียนมีผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนในระดับขึ้นไป ปีการศึกษา 2559–
2561 มแี นวโน้มสูงขน้ึ
4. คะแนนเฉล่ียการทดสอบ O-net ระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และรับดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
มแี นวโน้มท่ีดี
5. นักเรียนได้รบั รางวลั ในระดับภาคและประเทศอย่างต่อเน่อื ง

๓๖

โครงการห้องเรียนพเิ ศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม
(ESMTE : Enrichment Program of Science Mathematics Technology and Environment)

๓๗

โครงการพัฒนานักเรียนผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษดา้ นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และภาษาอังกฤษ
(SME : Science Math English)

๓๘

โครงการเตรียมวศิ วกรรมศาสตร์
(Pre - Engineering)

๓๙

โครงการจดั การเรียนการสอนตามหลักสตู รกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ
(MEP : Mini English Program)

๔๐

โครงการจดั การเรียนการสอนวชิ าวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตรแ์ ละคอมพิวเตอร์โดยใชภ้ าษาองั กฤษเปน็ ส่อื
(EIS : English for Integrated Studies)

๔๑

โครงการห้องเรยี นสงั คมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
(SST : Social Sciences and Technology)

๔๒

ตาราง แสดงผลการประเมนิ ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ปี 2562

ประเดน็ ผลการดาเนินงาน

1. ผู้เรียนร้อยละ 85 ของ ม.1 – ม.3 สามารถ 1. นักเรยี นระดับช้นั ม.2 และ ม.5 รอ้ ยละ 100

รวบรวมความรู้ไดด้ ว้ ยตนเองและการทางานเป็นทมี ผา่ นกิจกรรมการนาเสนอผลการศกึ ษาค้นคว้าด้วย

เชือ่ มโยงองคค์ วามรู้ ตนเอง

2. นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1/1 – 1/2 ร้อยละ

100 เข้าร่วมกจิ กรรม และเห็นความสาคัญของการ

เรยี นรแู้ บบสะเต็มศึกษา ควบคู่กับการอนรุ ักษ์

พลังงาน ผ่านกิจกรรม ค่าย STEM Education

Camp

3. นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2/1 – 2/2 รอ้ ยละ

100 เข้ารว่ มกจิ กรรม และเห็นความสาคัญของการ

เรียนรแู้ บบสะเตม็ ศึกษาโดยบูรณาการผา่ นการ

เรยี นรู้ธรรมชาติ ผ่านกจิ กรรม ค่าย STEM แรง

บันดาลใจจากธรรมชาติ สู่วทิ ยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี

๔. นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑/๑ - ๑/๒ ร้อยละ

๑๐๐ เขา้ ร่วมกจิ กรรมและรู้จักบทบาทของการเป็น

ผนู้ า ผตู้ ามท่ีดี การรับฟงั ผู้อน่ื และทส่ี าคัญยงั ปลูก

จติ สานกึ ใหพ้ ่ึงพาตนเองและปฏิบตั ิตัวเป็นแบบอย่าง

ท่ดี ีผา่ นกจิ กรรมคา่ ย Studet Leadership’s Camp

๕. นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑/๑ – ๑/๓ ร้อยละ

100 เข้าร่วมกิจกรรม และเห็นความสาคญั ของการ

เรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 พฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์

โดยผ่านการประดษิ ฐ์ของเล่น และอธิบายดา้ น

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ผา่ นกิจกรรม คา่ ย
พัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 (21st Century

Skills)


Click to View FlipBook Version