The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวปฏิบัติที่ดี กินอยู่ปลอดภัย ด้วยผลผลิตในศศช.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ging0810468298, 2022-07-25 22:22:26

แนวปฏิบัติที่ดี

แนวปฏิบัติที่ดี กินอยู่ปลอดภัย ด้วยผลผลิตในศศช.

แนวปฏบิ ตั ิที่ดี BEST PRACTICE

เรอ่ื ง “กินอย่ปู ลอดภัย ดว้ ยผลผลติ ในศศช.”

โดย

นางสาวนงคร์ กั ษ์ คุณความดี

สถานศึกษา ศนู ยก์ ารเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” บา้ นห้วยสินาคี
หมู่ที่ ๘ ตาบลแมต่ ื่น อาเภอแม่ระมาด จงั หวัดตาก

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอแม่ระมาด
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ตาก

สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

กรอบการเขยี นนาเสนอผลงาน “แนวปฏบิ ัตทิ ่ีดี”
การดาเนนิ งานการพฒั นาเด็กและเยาวชนในถน่ิ ทุรกันดาร
ตามแนวพระราชดาริสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี

ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๕

***********************

ชื่อผลงาน “แนวปฏบิ ตั ิที่ดี” “กนิ อยปู่ ลอดภยั ดว้ ยผลผลิตในศศช.”

๑. ประเภทผลงาน แนวปฏิบตั ิที่ดเี ปน็ รายดา้ น
 ดา้ นท่ี ๑ ด้านโภชนาการสขุ ภาพอนามัย
 ดา้ นท่ี ๒ ด้านการส่งเสรมิ คุณภาพการศกึ ษา
 ด้านท่ี ๓ ด้านการส่งเสริมทกั ษะอาชีพ
 ด้านที่ ๔ ด้านการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมทอ้ งถนิ่
 ด้านที่ ๕ ด้านคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
 ดา้ นที่ ๖ ดา้ นการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ ้าหลวง” บ้านหว้ ยสินาคี
บ้านหว้ ยสนิ าคี หมู่ ๘ ตาบลแมต่ ื่น อาเภอแมร่ ะมาด จังหวดั ตาก รหัสไปรษณีย์ ๖๓๑๔๐
สงั กดั ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอแม่ระมาด

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดตาก
สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ
โทรศัพท์ ๐๕๕-๕๘๑๓๒๑ โทรสาร ๐๕๕-๕๘๑๓๒๑
เวบ็ ไซด์ : http://๑๐๑.๑๐๙.๔๑.๖๑/maeramat_web/maeramat/

ชอ่ื – ช่อื สกลุ ผู้เสนอผลงาน นางสาวนงคร์ ักษ์ คุณความดี
โทรศพั ทม์ ือถือ ๐๘๑-๐๔๖๘๒๙๘ E-mail : [email protected]

๒. ความสอดคลอ้ งของผลงาน “แนวปฏิบัตทิ ี่ดี” ทีเ่ กี่ยวข้องกับเปา้ หมายหลักท่ี ๑ เสริมสรา้ งสุขภาพของเด็ก
ตั้งแต่ในครรภ์มารดา
แนวปฏิบตั ทิ ด่ี ดี ้านโภชนาการสุขภาพอนามยั เรอ่ื ง “กินอยู่ปลอดภัย ดว้ ยผลผลติ ในศศช.” มีความสอดคล้องกับ
เสรมิ สร้างสขุ ภาพของเดก็ ตั้งแตใ่ นครรภ์มารดา อนั ประกอบดว้ ย เดก็ และเยาวชนในโรงเรยี นมีสขุ ภาวะท่ดี ี มี
พฤติกรรมสขุ ภาพที่เหมาะสม มีผัก ผลไมท้ ่ีผลิตในศศช. ขน้ั ตอนการผลติ ปลอดภัยจากสารพษิ ตา่ งๆ ผลิตด้วยป๋ยุ
ชวี ภาพ ท่ีผลติ ข้ึนเองโดยครูและนกั เรยี น

บทคดั ยอ่

แนวปฏิบัติท่ดี ีด้านโภชนาการสขุ ภาพอนามัย เร่ือง “กินอยู่ปลอดภัย ด้วยผลผลิตในศศช.” ของศูนย์การ
เรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” บ้านห้วยสินาคี เป็นการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนาเด็กและ
เยาวชนในถ่ินทุรกันดาร ตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับท่ี ๕ พ.ศ.
๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เป้าหมายหลักท่ี ๑ เสริมสร้างสุขภาพของเด็กต้ังแต่ในครรภ์มารดา โดยมีวัตถุประสงค์ ๑)
เพือ่ ใหน้ ักเรยี น ตงั้ แต่เดก็ ปฐมวัยมีการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการท่ี สมวัย และ ๒) เพ่อื สง่ เสรมิ ให้ เด็กและเยาวชน
ในโรงเรียนมีสุขภาวะท่ีดี กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนระดับอนุบาล– ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 48 คน
ดาเนินกิจกรรมโดยครู นักเรียน ร่วมกันวางแผนการจัดกิจกรรม “กินอยู่ปลอดภัย ด้วยผลผลิตในศศช.” ครูและ
นกั เรยี นรว่ มกันกาหนดทิศทางการดาเนินข้ันตอนการเรียนรู้ สู่การปฏิบัติโดยใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เหมาะสม
พอเพียง กบั บริบทพน้ื ท่ี จดั กิจกรรมให้ความรู้การปลูกผักสวนครัว เก่ียวกับ การเตรียมดิน การเตรียมเมล็ดพันธ์ุ
วิธีการปลูก การให้น้า การพรวนดิน การใส่ปุ๋ย การกาจัดวัชพืช และการเก็บเก่ียวพืชผัก จัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยการลงมือปฏิบัติจริง ได้ฝึกในสภาพแวดล้อมจริง ได้ฝึกคิดและลงมือทาด้วยตนเอง และแบ่ง หน้าท่ีความ
รบั ผิดชอบในการดแู ลพชื ผักสวนครวั โดยจัดเวรใหน้ กั เรียนได้เรยี นรู้จากการปฏิบัติจริง ตลอดจนครูให้ความรู้เร่ือง
สารอาหารที่ไดจ้ ากผักต่างๆ

ผลการดาเนินกจิ กรรม พบว่า
๑) นกั เรียนทกุ คนได้บรโิ ภค ผัก ผลไม้ทปี่ ลอดภยั อกี ท้ังยังได้รบั คุณค่าทางโภชนาการ
๒) นกั เรยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถงึ คุณค่าทางโภชนาการดา้ นสารอาหาร
๓) นกั เรียนไดร้ บั ประทานผัก ผลไมท้ ีผ่ ลิตเองอย่างเพยี งพอ

๑.ความสาคัญของ “แนวปฏิบัตทิ ีด่ ี”

สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเริ่มงาน
พฒั นาเด็กและเยาวชนในถิน่ ทุรกันดารมาตั้งแตป่ ี ๒๕๒๓ และทรงโปรดเกล้าฯ ให้จัดทาแผนพัฒนาเดก็ และ
เยาวชนในถิ่นทรุ กันดารฉบบั แรกข้ึนตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๓๕ จนปัจจุบนั ไดด้ าเนนิ การมาจนสิ้นสุดแผนฯ ฉบับที่ ๔ ใน
พ.ศ. ๒๕๕๙ และสานกั งานโครงการสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรม
ราชกุมารี ไดร้ ่วมกบั สถานศึกษาในโครงการตามพระราชดารทิ กุ สงั กดั และหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องจดั ทาแผนพัฒนา
เด็กและเยาวชนในถนิ่ ทรุ กันดาร ตามพระราชดาริสมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เพ่ือใหเ้ ดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทรุ กนั ดารไดร้ ับการ
เตรยี มพร้อม และพร้อมรบั กระแสการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ของสังคมในปจั จบุ นั โดยหนึง่ ในเปา้ หมายหลัก
ของแผนพฒั นาฯ ดงั กลา่ ว คอื การเสรมิ สร้างสุขภาพของเดก็ ตง้ั แตใ่ นครรภ์มารดา อันประกอบด้วยเป้าหมายท่ี
มุ่งเน้นพฒั นาปรบั ปรุงการบรกิ ารอนามยั แม่และเด็กในพ้ืนทีเ่ ฉพาะทีย่ งั มีอัตราการตายของทารกและทารกแรกเกิด
มีน้าหนักนอ้ ยกวา่ ๒๕๐๐ กรมั สงู อยู่ ใหม้ กี ารดูแลเดก็ ปฐมวัยทุกช่วงอายคุ รอบคลมุ ทกุ พืน้ ที่ เพือ่ ให้เด็กปฐมวัยมี
การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการทส่ี มวัย โดยแบง่ ความรบั ผิดชอบของแต่ละหนว่ ยงานในพ้นื ทเี่ พ่อื ใหม้ ีการเชือ่ มตอ่
ของแตล่ ะชว่ งอายุ ระหวา่ งบา้ น ศนู ย์เด็กเล็ก ช้นั อนุบาล จนถงึ ชัน้ ประถมศึกษา และยังส่งเสรมิ ให้เดก็ และเยาวชน
ในโรงเรยี นมสี ุขภาวะท่ีดี มพี ฤติกรรมสขุ ภาพท่ีเหมาะสม ลดความเสี่ยงต่อการเกดิ โรคไม่ตดิ ต่อเรอ้ื รงั ซง่ึ ปัจจบุ ันเปน็
ปญั หาสาคัญของประเทศ

พืชผัก ผลไม้ เป็นอาหารที่คนไทยนยิ มนามาใชร้ ับประทานกันมากเน่ืองจากมคี ณุ คา่ ทางอาหารทง้ั วิตามนิ
และแรธ่ าตตุ ่างๆ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ ร่างกายสงู แต่คา่ นยิ มในการบรโิ ภคผกั นัน้ มกั จะเลอื กบรโิ ภคผักทส่ี วยงามไม่มี
รอ่ งรอยการทาลายของหนอนและแมลงศัตรูพืช จึงทาให้เกษตรกรทป่ี ลกู ผกั จะตอ้ งใช้สารเคมีป้องกนั และกา จัด
แมลงฉีดพน่ ในปริมาณท่มี าก เพื่อให้ไดผ้ ักที่สวยงามตามความตอ้ งการของตลาด เมื่อผู้ซอ้ื นามาบรโิ ภคแลว้ อาจ
ได้รับอันตรายจากสารพิษทตี่ กค้างอยู่ในพชื ผักนัน้ ได้

จากสภาพปญั หาดังกลา่ ว ผ้ศู กึ ษาจงึ ได้ทาการศึกษาหาวิธกี ารท่เี หมาะสมเพื่อเป็นการแกป้ ญั หาดงั กล่าว
โดยการผลติ ผกั ผลไม้ ทป่ี ลอดภยั ภายใน ศศช.เพ่ือใหน้ ักเรียนได้บริโภค ผัก ผลไมท้ ่ีปลอดภยั

๒.วัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายของการดาเนนิ การ

๒.๑ วัตถปุ ระสงค์

๑) เพอ่ื ใหน้ ักเรยี น มี พืชผัก ผลไม้ที่ปลอดภัย มีคุณคา่ ทางโภชนาการไวบ้ ริโภค
๒.) เพ่ือใหน้ กั เรียนไดร้ ับประทานผกั ผลไม้ทีผ่ ลิตเองอย่างเพยี งพอ
๓) นักเรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถงึ คณุ คา่ ทางโภชนาการ ด้าน สารอาหาร

๒.๒ เป้าหมาย
๑) เชงิ ปริมาณ
นักเรียนศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” บ้านห้วยสินาคี ระดับอนุบาล – ชั้น

ประถมศึกษาปีที่ ๖ จานวน ๔๘ คน
๒) เชงิ คุณภาพ

นกั เรียนมคี วามรแู้ ละทกั ษะในการปลกู และดแู ลผักสวนครัว และต้นไม้ผล แบบใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และมีความรู้
เรอื่ งคณุ ค่าสารอาหารทีไ่ ด้จากผกั ต้นไม้ผล และไดร้ บั ประทานผลผลิตทางการเกษตร ผัก ไม้ผลท่ปี ลอดภัย

๓.กระบวนการดาเนินงาน

๓.๑ ครูจัดกิจกรรมให้ความรู้การปลูกผักสวนครัว เก่ียวกับ การเตรียมดิน การเตรียมเมล็ดพันธ์ุ วิธีการปลูก
การให้น้า การพรวนดิน การใสป่ ุย๋ การกาจดั วัชพชื และการเก็บเก่ียวพืชผัก ไม้ผล โดยจัดเวรให้นักเรียนได้เรียนรู้
จากการปฏบิ ัตจิ รงิ ตลอดจนครูใหค้ วามร้เู รอื่ งสารอาหารที่ไดจ้ ากผักต่างๆ

๓.๒. ครู นักเรยี นร่วมกนั วางแผนการดาเนนิ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ “กินอยู่ปลอดภัย ด้วยผลผลิตใน
ศศช.”

๓.๓. ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนดทิศทางการดาเนินขั้นตอนการเรียนรู้ สู่การปฏิบัติโดยใช้ทรัพยากรอย่าง
คมุ้ ค่า เหมาะสม พอเพียง กับบริบทพื้นที่

๓.๓.๑.เดือนพฤศจิกายน แบ่งหน้าท่ีรับผิดชอบ ลงมือปฏิบัติ ทาน้าหมักชีวภาพ เตรียมแปลงผัก ดูแล
ตกแต่งตน้ ไมผ้ ล การใส่ปุ๋ยชีวภาพ

๓.๓.๒.เดือนธันวาคม-มิถุนายน นักเรียน ลงมือปฏิบัติ ปลูกผักสวนครัว ดูแลไม้ผล ใส่ปุ๋ยชีวภาพ เก็บ
ผลผลติ

๓.๔. นาผลผลิตจากการปลูกผักมาประกอบอาหารกลางวันโดยการปรุงอาหารท่ีถูกสุขลักษณะ และแบ่งให้
นักเรยี นไปประกอบอาหารที่บา้ น

๓.๕ สรปุ ผลการดาเนินงานและรายงานผลการจัดกิจกรรมให้ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาทราบ

๔.ผลการดาเนินงานและประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ
๔.๑ ผลการดาเนนิ งาน
จากการจดั กิจกรรม “กนิ อยู่ปลอดภัย ด้วยผลผลิตในศศช.” พบวา่
๑) นกั เรยี นทุกคนได้บรโิ ภคผัก ผลไม้ ทีป่ ลอดภยั อีกท้ังยงั ไดร้ ับคุณค่าทางโภชนาการ
๒) นักเรยี นทุกคนได้รบั ประทานผกั ผลไม้ ท่ปี ลกู และดแู ลเอง
๒.) นักเรยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถงึ คณุ ค่าทางโภชนาการ ด้าน สารอาหาร

๔.๒ ประโยชนท์ ี่ได้รับ
๑) นกั เรียนได้บรโิ ภคผกั ทีป่ ลอดภยั และไดค้ ุณค่าดา้ นสารอาหาร
๒) นกั เรยี นมที กั ษะในการปลกู ผกั และดูแลผกั
๓) นกั เรียนมคี วามภาคภูมใิ จในผลผลิตทไี่ ดจ้ ากการลงมือปฏบิ ัติของตนเอง

๕.การเผยแพร่
๑) จัดทาแผ่นพับผลงานแนวปฏิบัติท่ีดี เร่ือง กินอยู่ปลอดภัย ด้วยผลผลิตในศศช. เพื่อเผยแพร่ผลงาน

ให้กบั เพือ่ นครใู นกลมุ่ บ้านตลอดจนผทู้ ่มี ีความสนใจ
๒) จัดทาเอกสารสรปุ รายงานตน้ สังกัด (กศน.อาเภอแมร่ ะมาดและสานกั งาน กศน.จังหวัดตาก)

๖. ปัจจยั ความสาเรจ็
-นกั เรียนมคี วามรบั ผิดชอบในหนา้ ที่การปลกู การดูแล ผกั ไม้ผล
-นักเรยี น ชาวบา้ น มีการรว่ มดแู ลต้นไม้ผลเดิมที่มีอยู่แลว้ ใหต้ ่อเนื่อง
-นักเรยี น นาผกั ไมผ้ ลปลูกเพิ่มเติม เช่น กลว้ ยน้าว้า ฟักเขียว

๗. ปญั หาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ
ปัญหาอปุ สรรค
-มีสัตว์เลี้ยงเข้ามาทาลายผักใน ศศช.
ขอ้ เสนอแนะ
-ควรมีการทารั้วท่ีมั่นคงเพ่ือกันสัตว์ไม่ให้มาทาลายผักใน ศศช.และขอความร่วมมือกับเจ้าของสัตว์
เล้ยี งในการดูแลสัตว์ไมใ่ หม้ าทาลายผกั ท่ีปลกู

๘. แนวทางการพัฒนาตอ่ เนื่อง
นาผัก ผลไม้ตา่ งๆท่ีปลกู มาแปรรูปเป็นอาหารทห่ี ลากหลาย

๙. เอกสารอ้างองิ

สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ. (๒๕๖๐). แนวทางการนาเสนอ
แนว ปฏิบตั ทิ ่ดี ี (Best Practice). ลาปาง : บอยการพิมพ์.

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. (๒๕๖๐). ประชุมวิชาการการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่ิน
ทรุ กันดาร ตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปีการศึกษา ๒๕๕๙.
เชียงใหม่ : บริษทั นันทพันธพ์ รน้ิ ติ้ง จากดั .

สานกั งานโครงการสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร.ี (๒๕๖๐). แผนพัฒนาเด็กและเยาวชน
ในถนิ่ ทุรกันดาร ตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ พ.ศ.
๒๕๖๐ – ๒๕๖๙. กรงุ เทพ : แอคทฟี พริน้ ท์ จากดั .


Click to View FlipBook Version