The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลการดำเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน

รายงานผลการดำเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน

ก้าวสู่ 121 ปี


ชลประทาน งานเพื่อแผ่นดินไทย


R I D eliable เชื่อถือได้ nnovation หลากหลายนวัตกรรม evelopment น าสู่การพัฒนา T E A M R I D E A M T


บทสรุปผู้บริหาร ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน การขับเคลื่อนภารกิจกรมชลประทานภายใต้แนวทาง RID TEAM ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ประกอบด้วย 3 ประเด็น 4 กลยุทธ์ 34 แนวทาง ทุกส านัก กอง ได้น าไปใช้เป็นกรอบการขับเคลื่อนงานตามภารกิจ ให้บรรลุเป้าหมายตามที่ก าหนดไว้ โดยผลการด าเนินงานรอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2565 – มีนาคม 2566) ใน 3 ประเด็น ที่ส าคัญ มีดังนี้ ประเด็นที่ 1 องค์กรอัจฉริยะ (RID Intelligent Organization) พัฒนาระบบคาดการณ์ปริมาณน้ า ในอ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่และขนาดกลาง อัพเดตฐานข้อมูลหมุดหลักฐานเพื่อส ารวจ ออกแบบ 2,634 หมุด ปรับเปลี่ยนกระบวนการท างานสู่ Digital Platform โดยปรับเปลี่ยนทั้งในด้านกระบวนการท างานภายในองค์กร การให้บริการแก่หน่วยงานภายในและภายนอก พัฒนาระบบการให้บริการแบบ Smart Services เช่น ระบบ Smart Survey ใช้ในงานส ารวจแผนที่ภูมิประเทศ ระบบการขึ้นทะเบียนครุภัณฑ์ AMS (Asset Management System) จัดท าแบบส ารวจความพึงพอใจของเกษตรกรผู้ใช้น้ าในเขตชลประทานจากฝ่ายส่งน้ าและบ ารุงรักษาทั่วประเทศ ผ่าน Google Forms วิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อการบริหารจัดการน้ า เช่น โครงการปรับปรุงโปรแกรมวางแผนการ บริหารจัดการน้ าเพื่อการชลประทาน (Water Management Planning Program For Irrigation, WaPi) พัฒนา ทักษะความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลแก่บุคลากร 141 คน และพัฒนา SWOC เชื่อมต่อการประชุมกับภายในหน่วยงาน ของกรมชลประทานและหน่วยงานภายนอกได้หลายรูปแบบ เพื่อรับรองการท างานแบบบูรณาการ ประเด็นที่ 2 ความมั่นคงด้านน า (Water Security) สามารถเพิ่มพื้นที่ชลประทานได้ 12,100 ไร่ พัฒนาแหล่งน้ าตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ แล้วเสร็จ 3,372 โครงการ ขับเคลื่อนโครงการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) แล้วเสร็จ 7 โครงการ ตรวจสอบสภาพอ่างเก็บน้ าและอาคารชลประทานให้พร้อมใช้งาน 167 เขื่อน ติดตั้งเครื่องมือวัดพฤติกรรมเขื่อน 19 เขื่อน จัดสรรน้ าตามวัตถุประสงค์การใช้น้ า 21,079 ล้าน ลบ.ม. รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างเพื่อแก้ไขปัญหาบุกรุกที่ราชพัสดุ 3,360 ราย พัฒนางานจัดรูปที่ดินและงานจัดระบบน้ า แล้วเสร็จ กว่า 40,000 ไร่ ถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2553 จ านวน 22,038 รายการ ก าจัดวัชพืช สิ่งกีดขวางทางน้ า 3,682,39 ตัน วางแผนเตรียมความพร้อมเครื่องมือ เครื่องจักร ให้พร้อมใช้งานส าหรับทุกสถานการณ์ ประเด็นที่ 3 เพิ่มคุณค่าการบริการ (Value to Service) พัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนโดยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน ตั้งแต่กระบวนการพัฒนาแหล่งน้ า และบริหารจัดการน้ า สามารถจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ าได้ 605กลุ่ม คณะกรรมการจัดการชลประทาน (JMC) 5คณะ กลุ่มบริหาร การใช้น้ าชลประทาน 81กลุ่ม ยุวชลกร 140คน การสนับสนุนความก้าวหน้าและสร้างแรงจูงใจให้แก่บุคลากร เช่น ปรับปรุงการก าหนดต าแหน่งให้สูงขึ้น ปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งงานภายใน ปรับปรุงสภาพแวดล้อมการท างาน และจัดหาอุปกรณ์การท างานที่เหมาะสม เป็นต้น


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน สารบัญ กลยุทธ์ที่ 1 การจัดการและบูรณาการระบบฐานข้อมูล 1 กลยุทธ์ที่ 2 ปรับปรุงและพัฒนากระบวนงาน 3 กลยุทธ์ที่ 3 วิจัยและพัฒนานวัตกรรมในการท างาน 4 กลยุทธ์ที่ 4 สรรหาพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะสูงขึ้น 6 ประเด็นที่ 1 องค์กรอัจฉริยะ (RID Intelligent Organization) ประเด็นที่ 2 ความมั่นคงด้านน้ า (Water Security) กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาแหล่งน้ าและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน 8 กลยุทธ์ที่ 2 บริหารจัดการน้ าให้เป็นตามวัตถุประสงค์ 12 กลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพของโครงการชลประทาน 14 กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนารูปแบบและแนวทางที่เหมาะสมในการรับมือภัยพิบัติด้านน้ า 17 ประเด็นที่ 3 เพิ่มคุณค่าการบริการ (Value to Service) กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของผู้รับบริการและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน 19 กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพการให้บริการของหน่วยงาน 20 กลยุทธ์ที่ 3 จัดวางต าแหน่งบุคลากรและจัดท าเส้นทางความก้าวหน้าอย่างเหมาะสม 21 กลยุทธ์ที่ 4 เสริมสร้างความผาสุกของบุคลากรเพื่อให้มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 22


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน องค์กรอัจฉริยะ ประเด็นที่ 1 (RID Intelligent Organization) กลยุทธ์ที่ 1 การจัดการและบูรณาการระบบฐานข้อมูล กรมด าเนินการพัฒนาฐานข้อมูลศูนย์ปฏิบัติการน้ าอัจฉริยะ (Big data) ให้มีประสิทธิภาพ ทันสมัย รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลและการใช้งานอย่างต่อเนื่องของระบบ พร้อมสร้างรูปแบบการ น าเสนอข้อมูลเพื่อใช้สนับสนุนการตัดสินใจ สั่งการได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ ตัวอย่างเช่น การเชื่อมโยงฐานข้อมูลน้ าฝน น้ าท่า ของโทรมาตรขนาดเล็ก การเชื่อมโยงข้อมูล API ข้อมูลน้ าท่าจาก Web Application ของส่วนอุทกวิทยาและศูนย์อุทกวิทยาชลประทานภาคต่าง ๆ เชื่อมโยงข้อมูลอุตุนิยมวิทยาทุก 3 ชม. ในระบบศูนย์ข้อมูลกลางด้านน้ าและการชลประทาน เป็นต้น 1. บูรณาการข้อมูล Big data 2. สืบค้น แลกเปลี่ยนข้อมูล Data Catalog Service Portal การจัดการฐานข้อมูลงานเตรียมความพร้อมโครงการ (Big data) ทั้งการศึกษา ส ารวจ ออกแบบ ให้มีความครบถ้วน และทันสมัย สามารถสืบค้นได้และใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงเดียวกันทั้งประเทศ ประกอบด้วย - อัพเดตฐานข้อมูลหมุดหลักฐานทั้งหมด 2,634 หมุด แล้วเสร็จ 2,634 หมุด คิดเป็นร้อยละ100 - อัพเดตฐานข้อมูลแผนที่ภาพถ่ายหรือแผนที่ภาพจากดาวเทียม (ระยะที่ 15) 28 โครงการ แล้วเสร็จ 4 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 14.29 - อัพเดตฐานข้อมูลแผนที่ภูมิประเทศ 67 โครงการ แล้วเสร็จ 10 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 14.93 3. โปร่งใสและตรวจสอบได้ Open Government Data กรมชลประทาน ได้จัดท ารายงานสถานะการเบิกจ่าย เงินงบประมาณปี พ.ศ. 2566 และงบประมาณ ปี พ.ศ. 2565 (เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี) ดังนี้ 1. รายงานผลการเบิกจ่ายรายสัปดาห์ เพื่อน าเสนอผู้บริหารทราบและน าข้อมูลลงใน website กองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน 2. รายงานผลการเบิกจ่ายรายเดือน เพื่อน าเสนอผู้บริหารทราบ และเสนอกองแผนงาน เพื่อน าไปใช้ส าหรับเร่งรัดการเบิกจ่ายของ ส านัก/กอง ผ่าน Group Line ผู้บริหาร และ website กองการเงินและบัญชีกรมชลประทาน - 1 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจ าปี (พ.ร.บ.) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กรมชลประทาน = + งบรายจ่ายภาพรวม งบรายจ่ายประจ า งบรายจ่ายลงทุน 3. โปร่งใสและตรวจสอบได้ Open Government Data ผลเบิกจ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ทุกแหล่งงบประมาณ) ผลเบิกจ่าย ผลเบิกจ่าย ผลเบิกจ่าย 77,494.48 ล้านบาท 7,309.77 ล้านบาท 33,501.98 ล้านบาท 70,184.71 ล้านบาท 3,686.78 ล้านบาท 29,815.20 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ 43.23 50.44 42.48 - 2 - ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2566 รายละเอียดงบประมาณ ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ (ล้านบาท) งบประมาณ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ รวมทั งสิ น 101,561.63 43,470.38 42.80 1. งบประมาณรายจ่าย ประจ าปี พ.ศ. 2566 (กรมบัญชีกลาง) 77,494.48 33,501.98 43.23 1.1 งบรายจ่ายประจ า 7,309.77 3,686.78 50.44 1.2 งบรายจ่ายลงทุน 70,184.71 29,815.20 42.48 2. งบเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี พ.ศ. 2565 12,009.81 6,560.12 54.62 3. งบกลาง พ.ศ. 2565 4,896.45 2,790.67 56.99 3.1 รายการเงินส ารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจ าเป็น 3,872.34 2,036.36 52.59 3.2 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ (กปร.) ประจ าปี 2565 1,024.11 754.31 73.66 4. งบกลาง พ.ศ. 2566 4,714.38 116.12 2.46 4.1 รายการเงินส ารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจ าเป็น 4,207.98 101.00 2.40 4.2 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ (กปร.) ประจ าปี 2566 506.40 15.12 2.99 5. เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน ประจ าปี พ.ศ. 2566 1,411.51 51.75 3.67 6. จัดรูปที่ดิน ประจ าปี พ.ศ. 2566 1,035.00 449.74 43.45


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน กลยุทธ์ที่ 2 ปรับปรุงและพัฒนากระบวนงาน พัฒนาระบบฐานข้อมูลภายใน ส านัก/กอง เพื่อยกระดับการท างานให้คล่องตัวมากยิ่งขึ้น สามารถเข้าถึง ข้อมูลระหว่างส านัก กอง ได้อย่างรวดเร็ว เช่น ฐานข้อมูลโครงการพัฒนาระบบข้อมูลภูมิสารสนเทศและบูรณาการ งานส ารวจเพื่อการชลประทานในประเทศไทย ระบบฐานข้อมูลส่วนส ารวจท าแผนที่ภาคพื้นดิน ให้บริการโหลด แผนที่มาตราส่วน 1:50,000 และแผนที่ภูมิประเทศในประเทศไทย ระบบฐานข้อมูลหมุดหลักฐานให้บริการ แอพพลิเคชั่น RID Benchmark พร้อมหมุดหลักฐาน QR code กรมชลประทาน ระบบฐานข้อมูลภายในของศูนย์ อุทกวิทยาชลประทานภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง Network Attached Storage (NAS ) เป็นต้น 4. จัดการองค์กรภาครัฐแบบอัตโนมัติ Back Office 5. การท างานบนระบบอัตโนมัติ Smart Services ส านัก กอง ได้เร่งพัฒนาระบบให้ผู้ใช้งานทั้งภายในและภายนอกองค์กร สามารถเข้ารับบริการต่างๆ ของกรม ผ่านช่องทางออนไลน์ เช่น พัฒนา Line Official Account : HR RID เพื่อให้บุคลากรกรมชลประทาน สามารถติดต่อสื่อสารข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลได้สะดวกมากยิ่งขึ้น ระบบการขึ้นทะเบียนครุภัณฑ์ AMS (Asset Management System) โปรแกรม Smart Survey ใช้ในงานส ารวจแผนที่ภูมิประเทศ พัฒนา ระบบลูกหนี้เงินยืมราชการ สามารถเพิ่มข้อมูลการยืม - คืนเงินราชการในระบบงานได้ โดยข้อมูลการยืม - คืน เงินราชการ จะถูกจัดเก็บลงในฐานข้อมูล เป็นต้น 6. จัดท าและพัฒนาระบบนิเวศด้านดิจิทัล Co – working Space พัฒนา ปรับเปลี่ยนกระบวนการท างานของหน่วยงานจากรูปแบบเดิมสู่ Digital Platform เพื่อสอดรับ นโยบายระบบราชการ 4.0 (GOVERNMENT 4.0) ให้การขับเคลื่อนงานขององค์กร เป็นไปอย่างรวดเร็วและทัน ต่อสถานการณ์ โดยปรับเปลี่ยนทั้งในด้านกระบวนการท างานภายในองค์กร การให้บริการแก่หน่วยงานภายใน และภายนอก เช่น ใช้โปรแกรม Google Earth ก าหนดพื้นที่และขอบเขตงานส ารวจส าหรับงานชลประทาน โดยประมาณในงานส ารวจต่างๆ ใช้โปรแกรม Google Sheet ในการบันทึกข้อมูลเพื่อสะดวกต่อการเข้าถึงข้อมูล ของบุคลากร การท าแบบส ารวจความพึงพอใจของเกษตรกรผู้ใช้น้ าในเขตชลประทานจากฝ่ายส่งน้ าและ บ ารุงรักษาทั่วประเทศผ่าน Google Forms เป็นต้น - 3 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน กลยุทธ์ที่ 3 วิจัยและพัฒนานวัตกรรมในการท างาน 7. พัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาและบริหารจัดการน้ า ด าเนินการศึกษา วิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อการบริหารจัดการน้ า ให้ทันสมัยและครอบคลุมทุกมิติ ดังนี้ ด าเนินการแล้วเสร็จ - นวัตกรรมกระบวนการตรวจสภาพเขื่อนดินถมโดยวิธีธรณีฟิสิกส์ - นวัตกรรมเครื่องตอกทดลองแบบพกพา - นวัตกรรม Fast Tracking Mapping/ การผลิตแผนที่ภูมิประเทศได้อย่างรวดเร็ว - โครงการพัฒนาอากาศยานไร้นักบินส าหรับผลิตแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ เพื่อการชลประทาน - โครงการปรับปรุงโปรแกรมวางแผนการบริหารจัดการน้ าเพื่อการชลประทาน (Water Management Planning Program For Irrigation, WaPi) อยู่ระหว่างทดสอบ - พัฒนาต้นแบบชุดวัดระดับน้ าเพื่อหาอัตราการซึมผ่านผิวดินรายงานผ่านแอปพลิเคชัน - พัฒนาต้นแบบอาคารชลประทานจากวัสดุคอมพอสิตพร้อมระบบอัตโนมัติ - พัฒนาผลิตภัณฑ์ยางพาราต้นแบบ เพื่อสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ าในทางน้ าชลประทาน และล าน้ าสายหลัก - พัฒนาเครื่องตัดต้นแบบส าหรับจัดการไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra L.) แบบผสมผสานในพื้นที่ชลประทาน - พัฒนาสารผสมเพื่อควบคุมก าจัดไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra L.) ที่ปลอดภัยต่อสภาพแวดล้อม - โครงการวิจัยการบูรณาการเพื่อก าจัดจอกหูหนูยักษ์ในแหล่งน้ าชลประทาน 8. SWOC ทุกโครงการส่งน้ าและบ ารุงรักษา ศูนย์ปฏิบัติการน าอัจฉริยะ (Smart Water Operation Center : SWOC) เป็นหนึ่งในนวัตกรรม ที่ส าคัญที่ใช้เป็นเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ าและการปฏิบัติงานของทุกหน่วยงาน ในกรมชลประทาน รวมถึงหน่วยงานภายนอก ปัจจุบันมีการเชื่อมต่อการประชุมผ่านห้องประชุม SWOC ระหว่างภายในหน่วยงานของกรมชลประทานและหน่วยงานภายนอกได้หลายรูปแบบ เพื่อรองรับการท างาน แบบบูรณาการ สามารถด าเนินการเชื่อมการสื่อสาร การส่งข้อมูล การประชุมทางไกลร่วมกับ SWOC ส่วนกลาง ,SWOC ส านักงานชลประทานที่ 1-17 ,SWOC โครงการชลประทานจังหวัด และหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อประชุมและติดตามวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์น้ าทุกสัปดาห์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ - 4 - https://www.banmuang.co.th/news/social/271187


กลยุทธ์ที่ 3 วิจัยและพัฒนานวัตกรรมในการท างาน 9. ปรับปรุงระบบโทรมาตร 1. ติดตั้งระบบโทรมาตรในพื้นที่ลุ่มน้ าสาละวิน และโตนเลสาบ เพื่อให้ครอบคลุมลุ่มน้ าหลัก - ติดตั้งระบบโทรมาตรในพื้นที่ลุ่มน้ าโตนเลสาบ เริ่มต้นสัญญา 1 เม.ย. 2565 สิ้นสุดสัญญา 26 มี.ค. 2566 ระยะเวลาด าเนินการ 360 วัน ปัจจุบันผลการด าเนินงาน 100% - ติดตั้งระบบโทรมาตรในพื้นที่ลุ่มน้ าสาละวิน เริ่มต้นสัญญา 5 เม.ย. 2565 สิ้นสุดสัญญา 30 มี.ค. 2566 ระยะเวลาด าเนินการ 360 วัน ปัจจุบันผลการด าเนินงาน 100% 2. ปรับปรุงระบบโทรมาตรสถานีหลัก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการท างานและระบบความปลอดภัย ของสถานีหลักโทรมาตร รวมถึงรองรับการรับ - ส่ง ข้อมูลโทรมาตรทุกลุ่มน้ าหลัก เริ่มต้นสัญญา 21 มิ.ย. 2565 สิ้นสุดสัญญา 25 ธ.ค. 2565 ระยะเวลาด าเนินการ 180 วัน ปัจจุบันผลการด าเนินงาน 100% ระบบโทรมาตร คือ อุปกรณ์ที่สามารถตรวจวัดค่าทางฟิสิกส์ เคมี หรือ ชีวภาพ โดยสามารถส่งค่าการวัด ที่ก าหนดเงื่อนไขการรายงานผลไว้อย่างชัดเจน เช่น ค่าหรือข้อมูลที่ตรวจวัดเป็นอุณหภูมิความชื้น ค่าความเป็น กรด ด่าง หรือ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ า หรือ แม้กระทั่งภาพถ่าย เป็นต้น ซึ่งกรมได้มีการตรวจสอบ และปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องมืออย่างสม่ าเสมอ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ด าเนินการดังนี้ ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน - 5 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน กลยุทธ์ที่ 4 สรรหาพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะสูงขึ้น 10. SMART Organization ครอบคลุมทุกหน่วยงาน 11. พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรในด้านข้อมูล 12. พัฒนาระบบการจัดการความรู้ - แต่งตั้งคณะท างานขับเคลื่อนค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร กรมชลประทาน เพื่อก ากับดูแล ติดตามประเมินผลการด าเนินงานตามแผนการขับเคลื่อนค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร - จัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมปรับปรุงแนวคิดการปฏิบัติงานในทิศทางเดียวกัน โดยการปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมขององค์กร ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน - กรมอนุมัติแผนขับเคลื่อนค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร กรมชลประทาน ระยะ 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570) และแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร กรมชลประทาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2566 กรมก าหนดแผนพัฒนาบุคลากร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีเป้าหมายให้บุคลากรได้รับ การพัฒนาสมรรถนะและทักษะความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลทั้งหมด จ านวน 1,111 คน ปัจจุบันมี บุคลากรได้รับการพัฒนาแล้ว จ านวน 141 คน คิดเป็นร้อยละ 12.69 1. จัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาทีมงานเครือข่าย การจัดการความรู้ กรมชลประทาน ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1-3 มีนาคม 2566 ณ โรงแรมเบสท์เวสเทิร์น จังหวัดนนทบุรี 2. โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการพัฒนาทักษะการเป็นวิทยากร (Train The Trainer) รุ่นที่ 1-3 ณ โรงแรมเบสท์เวสเทิร์น จังหวัดนนทบุรี - รุ่นที่ 1 ระหว่างวันที่ 6 - 9 กุมภาพันธ์ 2566 - รุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 14 - 17 กุมภาพันธ์ 2566 - รุ่นที่ 3 ระหว่างวันที่ 13 - 16 มีนาคม 2566 3. โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร Training of Trainer เพื่อพัฒนาทักษะวิทยากร Design Thinking ระหว่างวันที่ 19 - 20 มกราคม 2566 ณ โรงแรมเบสท์เวสเทิร์น จังหวัดนนทบุรี 4. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อเรียนรู้เครื่องมือสนับสนุนการสร้างนวัตกรรม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1-2 ณ โรงแรมเบสท์เวสเทิร์น จังหวัดนนทบุรี - ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 25 - 27 มกราคม 2566 - ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 16 - 17 กุมภาพันธ์ 2566 ปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กรให้แก่บุคลากร ผ่านกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ กรมด าเนินการจัดการความรู้ (KM) พัฒนาทักษะแก่บุคลากรในองค์กรให้ครอบคลุมทุกมิติ เพื่อให้ กรมชลประทานก้าวสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมจัดการความรู้ด้านต่าง ๆ ดังนี้ - 6 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน องค์กรอัจฉริยะ ประเด็นที่ 1 (RID Intelligent Organization) สรุปผลการด าเนินงาน การด าเนินงานภายใต้ประเด็นที่ 1 องค์กรอัจฉริยะ (RID Intelligent Organization) มุ่งเน้นการน า เทคโนโลยี มาเป็นเครื่องมือขับเคลื่อนการด าเนินงาน เพื่อยกระดับกระบวนการท างานจากรูปแบบเดิม เข้าสู่การท างานบน Digital Platform สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐ 4.0 (government 4.0) และสอดรับกับ ยุทธศาสตร์กรมชลประทาน 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การปรับเปลี่ยนสู่องค์กร อัจฉริยะ ผ่านแนวทางการขับเคลื่อน 4 กลยุทธ์ ดังต่อไปนี้ กลยุทธ์ที่ 1 การจัดการและบูรณาการระบบฐานข้อมูลของกรม ให้สามารถสืบค้นข้อมูลได้ภายในเวลา อันรวดเร็ว ลดระยะเวลาการท างานและลดการสูญเสีย Man Hour พร้อมนี้ สามารถเรียกดูข้อมูลด้านน้ าได้แบบ Real Time เช่น ข้อมูลปริมาณน้ าในเขื่อน ปริมาณน้ าท่า เพื่อใช้เป็นข้อมูลส าหรับการตัดสินใจวางแผนการ ท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการเผยแพร่ข้อมูลของกรมให้หน่วยงานภายในและภายนอกองค์กรสามารถ สืบค้น และตรวจสอบความถูกต้องได้ เช่น ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง การเบิกจ่ายงบประมาณของกรม เป็นต้น สอดคล้องกับหลักการท างานบนความโปร่งใส ตรวจสอบได้ กลยุทธ์ที่ 2 ปรับปรุงและพัฒนากระบวนงาน ปรับเปลี่ยนรูปแบบกระบวนการท างานเดิม เข้าสู่การท างาน บน Digital Platform ให้เกิดความคล่องตัวในการท างานมากยิ่งขึ้น โดยพัฒนาทั้งระบบการท างานภายในองค์กร และระบบอ านวยความสะดวกในการเข้ารับบริการต่างๆ ของผู้รับบริการทั้งภายในและภายนอกองค์กร กลยุทธ์ที่ 3 วิจัยและพัฒนานวัตกรรมในการท างาน ศึกษา วิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อการบริหารจัดการ น้ าให้ทันสมัย ครอบคลุมทุกมิติ ทั้งในด้านนวัตกรรมส าหรับการส ารวจ ออกแบบ ก่อสร้าง รวมถึงการติดตามผล การด าเนินงานและการรายงานข้อมูลสถานการณ์น้ าที่เป็นปัจจุบัน กลยุทธ์ที่ 4 สรรหาพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะสูงขึ น นอกจากการพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการท างาน กรมชลประทานยังมุ่งให้ความส าคัญในการพัฒนาทักษะของบุคลากร สร้างบุคลากรให้มีคุณภาพ มีความรู้ ความเข้าใจ ในด้านภารกิจงานหลักขององค์กร รวมถึงเน้นให้บุคลากรพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล ตามนโยบายของ คณะรัฐมนตรีที่ก าหนดให้ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐจ าเป็นต้องมีทักษะด้านดิจิทัล เพื่อสามารถปรับตัวให้เท่า ทันกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และเป็นก าลังขับเคลื่อนการท างานขององค์กรภาครัฐและประเทศชาติ - 7 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน ความมั่นคงด้านน้ า 2 (Water Security) ประเด็นที่ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาแหล่งน้ าและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน 13. พัฒนาแหล่งน้ าโครงการพระราชด าริและเขตพัฒนาพิเศษ กรมชลประทานด้าเนินงานภายใต้ภารกิจจัดหาและพัฒนาแหล่งน ้าให้ทั่วถึงและเพียงพอ โดยภารกิจส้าคัญ ที่ต้องเร่งขับเคลื่อนคือ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ซึ่งด้าเนินการโดยกองประสานงานโครงการ พระราชด้าริ ปัจจุบันกรมชลประทานมีโครงการพระราชด้าริที่ต้องขับเคลื่อนทั งหมด 3,625 โครงการ สรุปความก้าวหน้าดังนี ความก้าวหน้าโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ผลการด าเนินงาน (จ านวนโครงการ/ร้อยละ) จ านวนโครงการ ร้อยละ 1. จ านวนโครงการทั งหมด 3,625 100 1.1 ด าเนินการแล้ว 3,414 94.18 - แล้วเสร็จ 3,372 98.77 - อยู่ระหว่างก่อสร้าง 42 1.23 1.2 ยังไม่ด าเนินการ 211 5.82 - เตรียมความพร้อม 203 96.21 - ต้องขับเคลื่อนสู่การเตรียมความพร้อม 8 3.79 ความก้าวหน้าโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ที่อยู่ระหว่างเตรียมความพร้อม ผลการด าเนินการ(จ านวนโครงการ/ร้อยละ) จ านวนโครงการ ร้อยละ จ านวนโครงการทั งหมด 203 100 - เร่งรัดการส ารวจ 37 18.23 - เร่งรัดการออกแบบ 33 16.26 - เตรียมความพร้อมของบประมาณ 84 41.38 - ติดตามผล IEE 5 2.46 - ติดตามผล EIA 7 3.45 - ติดตามการขออนุญาตใช้พื นที่ 37 18.23 - 8 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาแหล่งน้ าและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน 13. พัฒนาแหล่งน้ าโครงการพระราชด าริและเขตพัฒนาพิเศษ โครงการที่ต้องขับเคลื่อนสู่การเตรียมความพร้อม ความก้าวหน้าโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด าริที่ต้องขับเคลื่อนสู่ การเตรียมความพร้อม ผลการด าเนินการ(จ านวนโครงการ/ร้อยละ) จ านวนโครงการ ร้อยละ จ านวนโครงการทั งหมด 8 100 - ติดปัญหามวลชน 2 25.00 - ยังไม่ได้จัดท า EIA 3 37.50 - ยังไม่ได้รับค่าศึกษาโครงการ 3 37.50 - 9 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาแหล่งน้ าและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน 13. พัฒนาแหล่งน้ าโครงการพระราชด าริและ เขตพัฒนาพิเศษ ภาพรวมโครงการแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ าที่สนับสนุนแผนงานภายใต้โครงการ พัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) จ านวน 16 โครงการ จ าแนกตามความรับผิดชอบดังนี้ กรมชลประทาน ส านักงานทรัพยากรน้ าแห่งชาติ กรมโยธาธิการและผังเมือง 14 โครงการ 1 โครงการ 1 โครงการ ประกอบด้วย ด าเนินการแล้วเสร็จ โครงการ - โครงการระบบสูบผันน้ าคลองสะพาน-อ่างฯ ประแสร์ จ.ระยอง เพิ่มปริมาตรเก็บกักน้ า 50 ล้าน ลบ.ม. - โครงการอาคารอัดน้ าท้ายอ่างฯ ประแสร์จ.ระยอง เพิ่มปริมาตรเก็บกักน้ า 0.5 ล้าน ลบ.ม. - โครงการขุดลอกอ่างเก็บน้ าดอกกราย จ.ระยอง เพิ่มปริมาตรเก็บกักน้ า 72 ล้าน ลบ.ม. - โครงการเพิ่มความจุอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล จ.ระยอง เพิ่มปริมาตรเก็บกักน้ า 24.87 ล้าน ลบ.ม. - เพิ่มความจุอ่างเก็บน้ าหนองค้อ จ.ชลบุรี เพิ่มปริมาตรเก็บกักน้ า 2 ล้าน ลบ.ม - ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพการเก็บกักน้ าอ่างเก็บน้ าคลองสียัด จ.ฉะเชิงเทรา เพิ่มปริมาตรเก็บกักน้ า 30 ล้าน ลบ.ม. - โครงการอาคารบังคับน้ าในแม่น้ าระยอง จ.ระยอง เพิ่มปริมาตรเก็บกักน้ าได้ 0.82 ล้าน ลบ.ม. อยู่ระหว่างด าเนินการ โครงการ - โครงการปรับปรุงคลองชลประทานพานทอง เพื่อรองรับระบบการผันน้ าจากคลองชลประทานพานทอง ไปยัง อ่างเก็บน้ าบางพระ จ.ฉะเชิงเทรา เมื่อแล้วเสร็จจะสามารถเพิ่มปริมาตรเก็บกักน้ าได้ 50 ล้าน ลบ.ม. - โครงการปรับปรุงระบบระบายน้ าหน้าพระธาตุ จ.ชลบุรี เมื่อแล้วเสร็จจะสามารถเพิ่มการระบายน้ าได้ 80 ล้าน ลบ.ม./วินาที - ระบบผันน้ าจากอ่างเก็บน้ าคลองใหญ่ มายังอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล จ.ระยอง เมื่อแล้วเสร็จจะสามารถเพิ่มพื้นที่ชลประทานได้ 30,000 ไร่ - เพิ่มความจุอ่างเก็บน้ าบ้านบึง จ.ชลบุรี เมื่อแล้วเสร็จจะสามารถเพิ่มปริมาตรเก็บกักน้ าได้ 1.8 ล้าน ลบ.ม. - เพิ่มความจุอ่างเก็บน้ ามาบประชัน จ.ชลบุรี เมื่อแล้วเสร็จจะสามารถเพิ่มปริมาตรเก็บกักน้ าได้ 0.4 ล้าน ลบ.ม. อยู่ระหว่างขอตั งงบประมาณ โครงการ - เพิ่มความจุอ่างเก็บน้ าคลองระบม จ.ฉะเชิงเทรา - ผันน้ าจากอ่างเก็บน้ าประแสร์ – หนองค้อ - บางพระ จ.ชลบุรี โครงการศึกษาเพื่อจัดท า แผนหลักการพัฒนาและจัดการ ทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บรรเทาอุทกภัยคลองทับมา (ระบบระบายน้ าทับมา-ท่าบรรทุก) จ.ระยอง 7 5 2 - 10 - ปริมาตรเก็บกักน้ าเพิ่มขึ้น 180.19 ล้าน ลบ.ม.


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน 14. พัฒนาแหล่งน้ า เพิ่มพื้นที่ชลประทานและปริมาณน้ าต้นทุนอย่างต่อเนื่อง 15. ศึกษาแนวทางพัฒนาแหล่งน้ าเพิ่มพื้นที่ชลประทานและปริมาณน้ าต้นทุน กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาแหล่งน้ าและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน เพิ่มพื นที่ชลประทาน ผลการด าเนินงานเพิ่มพื นที่ชลประทาน (งบ พ.ร.บ.) เป้าหมายเพิ่มพื้นที่ชลประทาน 226,268 ไร่ ผลการด าเนินงาน เพิ่มพื้นที่ชลประทานได้ 12,100 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.35 เพิ่มปริมาตรเก็บกักน า ผลการด าเนินงานเพิ่มปริมาตรเก็บกักน า (งบ พ.ร.บ.) เป้าหมายเพิ่มปริมาตรเก็บกักน้ า 136.69 ล้าน ลบ.ม. อยู่ระหว่างด าเนินการ จะสามารถเพิ่มปริมาตรเก็บกักน้ าได้เมื่อสิ้นปีงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ 2566 กรมด าเนินการจ้างที่ปรึกษาศึกษาความเหมาะสมโครงการพัฒนา แหล่งน า / งานจ้างปรับปรุงโครงการชลประทาน จ านวน 5 โครงการ ความก้าวหน้าดังนี ด าเนินการศึกษาแล้วเสร็จ 3 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 60 อยู่ระหว่างด าเนินการศึกษา 2 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 40 - 11 -


จ านวนเขื่อนที่ด าเนินการตรวจสอบด้วยสายตา ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน กลยุทธ์ที่ 2 บริหารจัดการน้ าให้เป็นตามวัตถุประสงค์ 16. พัฒนาโครงการเก่าให้สัมฤทธิ์ผล กรมชลประทานด าเนินการตรวจสอบสภาพอ่างเก็บน้ าและอาคารชลประทานต่าง ๆ อย่างสม่ าเสมอ ให้พร้อมใช้งานเต็มศักยภาพ เช่น ด าเนินการตรวจสอบด้วยสายตา มีแผนงานโครงการการติดตั้งเครื่องมือวัด พฤติกรรมเขื่อน มีการตรวจสอบโดยการ Walk Thru เพื่อตรวจสอบสภาพและท าแผนงานการซ่อมแซม ปรับปรุง กรมชลประทานมีเขื่อนอยู่ในความรับผิดชอบ จ านวน 1,378 โครงการ ประกอบด้วย เขื่อนขนาดใหญ่ 25 โครงการ เขื่อนขนาดกลาง 430 โครงการ เขื่อนขนาดเล็ก 923 โครงการ ดังนั้นเพื่อให้เขื่อนมีความมั่นคงแข็งแรงและปลอดภัย จึงต้องมีระบบการตรวจสอบเขื่อนอย่างสม่ าเสมอ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน โดยมีแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยเขื่อน (Action Plan) ดังนี้ การจัดท าแผนปฏิบัติการกรณีฉุกเฉิน งบประมาณปี2566 1) เขื่อนคลองสียัด จ.ฉะเชิงเทรา แผนศึกษา 8 งวดงาน ศึกษาแล้วเสร็จ 2 งวดงาน ผลงานร้อยละ 31.28 2) เขื่อนนฤบดินทรจินดา จ.ปราจีนบุรี แผนศึกษา 8 งวดงาน ศึกษาแล้วเสร็จ 2 งวดงาน ผลงานร้อยละ 31.28 3) เขื่อนล าตะคอง จ.นครราชสีมา แผนศึกษา 8 งวดงาน ศึกษาแล้วเสร็จ 2 งวดงาน ผลงานร้อยละ 31.28 ความก้าวหน้าตามแผนการติดตั งเครื่องมือวัดพฤติกรรมเขื่อน ด้านเครื่องมือวัดพฤติกรรมเขื่อน ปีงบประมาณ 2566 มีแผนการตรวจสภาพเขื่อนทั้งหมด 300 เขื่อน ด าเนินการแล้วเสร็จ 167 เขื่อน คิดเป็นร้อยละ 55.67 เขื่อนขนาดกลาง/ขนาดใหญ่ มีแผนการติดตั้งเครื่องมือระยะยาวทั้งหมด 156 เขื่อน สรุปดังนี้ 1) ปี2565 แผนด าเนินการทั้งหมด 28 เขื่อน ด าเนินการแล้วเสร็จ 28 เขื่อน คิดเป็นร้อยละ 100 2) ปี2566 แผนด าเนินการทั้งหมด 24 เขื่อน ด าเนินการแล้วเสร็จ 19 เขื่อน คิดเป็นร้อยละ 79.17 ความก้าวหน้าตามแผนปฏิบัติการกรณีฉุกเฉิน ความก้าวหน้าตามแผนปฏิบัติการกรณีฉุกเฉิน (ฝึกอบรม) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการด้านความปลอดภัยเขื่อน เพื่อเพิ่มทักษะความช านาญด้านความปลอดภัยเขื่อน ให้กับบุคลากร ปี 2566 จ านวน 4 รุ่น ด าเนินการแล้ว 4 รุ่น คิดเป็นร้อยละ 100.00 - 12 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน กลยุทธ์ที่ 2 บริหารจัดการน้ าให้เป็นตามวัตถุประสงค์ 17. บริหารจัดการน้ าให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการใช้น้ า 18. แก้ไขปัญหาการบุกรุกใช้พื้นที่ราชพัสดุ ส านักงานชลประทานที่ 1-17 ด าเนินการส ารวจจ านวนผู้บุกรุกแจ้งความด าเนินคดีและร่วมกับ ส่วนจัดการการบุกรุกพื้นที่ชลประทานรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างตามค าพิพากษา ผลการด าเนินงาน ดังนี้ จ านวนผู้บุกรุก 30,212 ราย แจ้งความด าเนินคดี 3,025 ราย รื้อถอน 3,360 ราย แผนการจัดสรรน าเพื่อการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง แผนจัดสรรน าจ านวน 27,685 ล้าน ลบ.ม. ผลการจัดสรรน า 21,079 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 76.14 จัดสรรน้ าตามวัตถุประสงค์ ดังนี้ เพื่อการอุปโภคบริโภค จ านวน 2,535 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 9.16 เพื่อการรักษาระบบนิเวศ และอื่นๆ จ านวน 8,270 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 29.87 เพื่อการเกษตร จ านวน 16,330 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 58.99 เพื่อการอุตสาหกรรม จ านวน 550 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 1.99 - 13 - แผนการจัดสรรน าเพื่อการเพาะปลูกพืชฤดูฝน อยู่ระหว่างเตรียมข้อมูลจัดท าแผนช่วงเดือนพฤษภาคม 2566


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน กลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพของโครงการชลประทาน 19. พัฒนางานจัดรูปที่ดินและงานจัดระบบน้ าอย่างเต็มศักยภาพ กองทุนจัดรูปที่ดิน ปี 2566 รายการ งบประมาณ (ล้านบาท) แผนการ ด าเนินงาน (ไร่) ผลการ ด าเนินงาน (ไร่) ร้อยละ งานจัดรูปที่ดิน 2 58.00 2,460 943 38.33 งานปรับปรุงจัดรูปที่ดิน 33 249.65 21,430 11,529 53.80 งานจัดระบบน าเพื่อเกษตรกรรม 44 591.70 49,981 23,895 47.81 งานปรับปรุงจัดระบบน า เพื่อเกษตรกรรม 13 135.65 10,258 5,232 51.00 รวม 92 1,035.00 84,129 41,599 49.45 ผลการด าเนินงานกองทุนจัดรูปที่ดิน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กรมชลประทานเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ าผ่านเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยด าเนินการขยายผลการพัฒนา ระบบแพร่กระจายน้ าในไร่นา เพื่อการจัดการน้ าในนาข้าวที่มีประสิทธิภาพสามารถลดปริมาณการใช้น้ า ในแปลงนาจ าเป็นอย่างยิ่งต้องพัฒนาระบบชลประทาน พัฒนาระบบแพร่กระจ่ายน้ าในแปลงนา โดยการส่งน้ าแบบไหลผ่านส่งต่อระดับชุมชน ส านักงานจัดรูปที่ดินกลาง กรมชลประทาน ได้ด าเนินการ พัฒนาระบบชลประทานระดับแปลงนาอย่างต่อเนื่อง - 14 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน 20. ปรับปรุงอาคารชลประทานให้พร้อม 21. ให้ความส าคัญกับการถ่ายโอนงานชลประทาน กรมด าเนินการถ่ายโอนงานชลประทานให้สอดคล้องกับระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยการถ่ายโอน ภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2553 กรมมีงานเข้าเกณฑ์ถ่ายโอน ทั้งหมด 26,087 รายการ จ าแนกได้ดังนี้ กรมชลประทาน มีโครงการส่งน้ าและบ ารุงรักษา (โครงการชลประทานขนาดใหญ่) จ านวน 101 โครงการ เป็นโครงการที่มีอายุโครงการมากกว่า 30 ปี จ านวน 81 โครงการ ซึ่งมีความเสียหายมาก ท าให้ไม่สามารถ บริหารจัดการน้ าได้อย่างมีประสิทธิภาพ และจ าเป็นต้องปรับปรุงอาคารชลประทานและระบบชลประทาน ให้มีประสิทธิภาพเหมือนเดิม โดยมีผลการด าเนินงาน ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพของโครงการชลประทาน 1.โครงการที่มีผลการศึกษาการปรับปรุงโครงการ จ านวน 41 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 40.59 ถ่ายโอนแล้ว 22,038 รายการ คิดเป็นร้อยละ 84.48 อยู่ระหว่างถ่ายโอน 656 รายการ คิดเป็นร้อยละ 2.51 ไม่ต้องถ่ายโอน 3,393 รายการ คิดเป็นร้อยละ 13.01 2.โครงการที่ยังไม่มีผลการศึกษาการปรับปรุงโครงการ จ านวน 60 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 59.41 โครงการที่ด าเนินการปรับปรุงแล้วเสร็จ จ านวน 4 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 9.76 โครงการที่อยู่ระหว่างปรับปรุง ตั้งแต่เริ่ม-ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จ านวน 32 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 78.05 โครงการที่อยู่ระหว่างเตรียมบรรจุเข้าแผนงานปรับปรุงโครงการ จ านวน 5 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 12.19 - 15 - โครงการที่อยู่ระหว่างการศึกษาปรับปรุงโครงการ จ านวน 7 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 11.67 โครงการที่มีอายุโครงการ 30 ปีขึ้นไป ที่อยู่ระหว่างประเมินเพื่อศึกษา จ านวน 33 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 55.00 โครงการที่อยู่อายุโครงการไม่ถึง 30 ปีจ านวน 20 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 33.33


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน กลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพของโครงการชลประทาน 22. ผลักดันการปรับปรุงกฎหมายด้านชลประทานให้แล้วเสร็จ การปรับปรุงพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พ.ศ. 2485 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้บทบัญญัติ ของกฎหมายมีความสอดคล้องกับเศรษฐกิจ สังคมในปัจจุบัน ตลอดจนบริบทของการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ าในภาพรวมของประเทศ เพื่อให้การด าเนินภารกิจของกรมชลประทานทั้งในด้านการบริหาร จัดการ การส่งเสริมและพัฒนา และการจัดการแบ่งปันการใช้ประโยชน์จากการชลประทาน เป็นไปอย่างมี ระบบ ยั่งยืน เป็นธรรม และสามารถบูรณาการการด าเนินงานร่วมกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องได้อย่างเป็น รูปธรรม ทั้งในเรื่องค านิยามที่ชัดเจนยิ่งขึ้น การก าหนดเขตชลประทาน การก าหนดทางน้ าชลประทาน การใช้ที่ดินเพื่อการชลประทาน การก าหนดอ านาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานหรือนายช่างชลประทาน ในเขตชลประทาน การแก้ไขภาวะการขาดแคลนน้ าในเขตชลประทาน สิทธิการใช้น้ า การเก็บค่า ชลประทานหรือค่าใช้น้ าให้มีความแตกต่างกันไปตามประเภทของการใช้น้ าชลประทาน เงินทุนหมุนเวียน เพื่อการชลประทานเปลี่ยนเป็นกองทุนการชลประทาน เพื่อให้สามารถรับเงินและจ่ายเงินได้ตาม วัตถุประสงค์ยิ่งขึ้น การก าหนดข้อห้ามการด าเนินการในเขตชลประทาน การก าหนดหลักเกณฑ์การใช้ ประโยชน์ที่ดิน การจัดการกับสิ่งกีดขวางการใช้ประโยชน์ทางน้ าชลประทาน การก าหนดความรับผิดทางอื่น นอกจากทางอาญา ผลการด าเนินงาน สรุปได้ดังนี้ 1. ฝ่ายกฎหมาย ส่วนนิติการ ได้ท าหนังสือ ที่ กษ 0307/155 ลงวันที่ 11 พฤศจิกายน 2565 เรื่อง ขอเข้าร่วมโครงการ/ขอใช้บริการระบบกลางทางกฎหมาย (Law Portal) ไปยังส านักงานพัฒนา รัฐบาลดิจิทัล (สพร.) โดยเจ้าหน้าที่ส านักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัลจะด าเนินการส่งรหัส Token Key มายังไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้กรมชลประทานด าเนินการน าร่างพระราชบัญญัติการชลประทาน พ.ศ. .... ลงในระบบกลางทางกฎหมาย (http://www.law.go.th) เพื่อรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน อย่างน้อย 15 วัน แล้วสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นไปประกอบการเสนอขอ อนุมัติคณะรัฐมนตรีต่อไป 2. ฝ่ายกฎหมาย ส่วนนิติการ ได้รับรหัส Token Key จากเจ้าหน้าที่ส านักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล และด าเนินการน าร่างพระราชบัญญัติการชลประทาน พ.ศ. .... ลงเผยแพร่รับฟังความคิดเห็นในระบบกลาง ทางกฎหมาย (http://www.law.go.th) ตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม 2566 ถึงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นระยะเวลา 30 วัน 3. ฝ่ายกฎหมาย ส่วนนิติการ ด าเนินการน าความคิดเห็นของผู้ที่มาแสดงความคิดเห็นทั้งหมดมา สรุปเป็นประเด็นต่าง ๆ และเผยแพร่ในระบบกลางอีกครั้ง และในขณะนี้ อยู่ระหว่างด าเนินการสรุปความ คิดเห็นของผู้ที่มาแสดงความคิดเห็นผ่านระบบกลางทางกฎหมาย อีกทั้ง ได้มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้มี หนังสือแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติการชลประทาน พ.ศ. .... อีกด้วย จึงต้องมีการด าเนินการสรุปความคิดเห็นรวบรวมประกอบด้วย เพื่อเป็นเอกสารประกอบการเสนอ - 16 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนารูปแบบและแนวทางที่เหมาะสมในการรับมือภัยพิบัติด้านน้ า 23. ปรับเปลี่ยน ควบคุมการใช้น้ าภาคการเกษตรให้เหมาะสมกับสถานการณ์ 24. ปรับปรุงระบบระบายน้ า เพื่อป้องกันและบรรเทาอุทกภัย ติดตามและเฝ้าระวังสถานการณ์น้ าฝน - น้ าท่า ในช่วงพายุและร่องมรสุมของพื้นที่ภาคใต้ การวิเคราะห์การไหลของน้ า ตาม Hydrograph ในพื้นที่ลุ่มน้ าต่าง ๆ ตามสถานการณ์น้ าท่า การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยน้ าล้นตลิ่งในพื้นที่ต่าง ๆ พัฒนาการคาดการณ์ปริมาณน้ าหลากด้วยปริมาณน้ าฝนพร้อมแสดงผลเป็นแผนที่เส้นชัย มีระบบแผนที่เส้นชั้นน้ าฝนและคาดการณ์ปริมาณน้ าหลากได้อย่างรวดเร็ว วิเคราะห์สภาพน้ าท่าจากสถานีส ารวจรวจทางอทกวิทยาในลุ่มน้ าหลักต่าง ๆ ร่วมกับค่า ENSO Index จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การพัฒนาแบบจ าลองอุทกวิทยา (hydrological Model) เพื่อวางแผนการจัดการทรัพยากรน้ าได้อย่างแม่นย า ก าจัดวัชพืช สิ่งกีดขวางทางน า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีแผนก าจัดวัชพืช จ านวน 660 รายการ จ าแนกดังนี - ด าเนินการแล้วเสร็จ 420 รายการ คิดเป็นร้อยละ 63.64 - ก าจัดวัชพืช แผน 5,633,631 ตัน ผล 3,682,396 ตัน คิดเป็นร้อยละ 65.36 - พื นที่รับประโยชน์ แผน 34,187 ไร่ ผล 25,345 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 74.14 งบประมาณ - งบประมาณหลังโอนเปลี่ยนแปลง 302.3966 ล้านบาท - ผลเบิกจ่าย 206.1102 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 68.16 25. เตรียมความพร้อมด้านเครื่องมือเครื่องจักรในการใช้งาน ตรวจสอบเครื่องจักร เครื่องมือ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน และสนับสนุนเครื่องจักร เครื่องมือ เพื่อช่วยเหลือและบรรเทาภัยน าท่วมในพื นที่เสี่ยงภัย ดังนี เครื่องสูบน้ า 1,295 เครื่อง รถสูบน้ าเคลื่อนที่ 35 คัน เครื่องผลักดันน้ า 339 เครื่อง รถขุด 159 คัน เรือขุด 55 ล า รถแทรกเตอร์ 74 คัน รถบรรทุก 202 คัน รถบรรทุกน้ า 51 คัน เครื่องจักรกลสนับสนุน 298 คัน สะพานเหล็ก 8 สะพาน - 17 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน สรุปผลการด าเนินงาน ความมั่นคงด้านน้ า 2 (Water Security) ประเด็นที่ การด าเนินงานภายใต้ประเด็นที่ 2 ความมั่นคงด้านน้ า (Water Security) มุ่งเน้นพัฒนาแหล่งน้ าและเพิ่มพื้นที่ ชลประทาน บริหารจัดการน้ าให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์เพิ่มประสิทธิภาพของโครงการชลประทาน พัฒนารูปแบบ และแนวทางที่เหมาะสมในการรับมือภัยพิบัติด้านน้ าสอดรับกับยุทธศาสตร์กรมชลประทาน 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาแหล่งน้ าและเพิ่มพื้นที่ชลประทานตามศักยภาพลักษณะลุ่มน้ า ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ าอย่างบูรณาการตามวัตถุประสงค์การใช้น้ า และประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 3 การป้องกันความเสียหายและสนับสนุนการบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ า ผ่านแนวทางการขับเคลื่อน 4 กลยุทธ์ ดังต่อไปนี้ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาแหล่งน าและเพิ่มพื นที่ชลประทาน อย่างต่อเนื่องและเต็มศักยภาพ สามารถเพิ่มพื้นที่ ชลประทานได้ 12,100 ไร่ พัฒนาและบริหารจัดการแหล่งน้ าโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ แล้วเสร็จ 3,372 โครงการ ขับเคลื่อนโครงการแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ าที่สนับสนุนแผนงานภายใต้ โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) แล้วเสร็จ 7 โครงการ และด าเนินการศึกษาแนวทางพัฒนา แหล่งน้ าใหม่เพิ่มปริมาณน้ าต้นทุน แล้วเสร็จ 3 โครงการ กลยุทธ์ที่ 2 บริหารจัดการน าให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ด าเนินการพัฒนาศักยภาพโครงการชลประทานเก่า ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ตรวจสอบสภาพอ่างเก็บน้ าและอาคารชลประทานให้พร้อมใช้งาน จ านวน 167 เขื่อน ติดตั้ง เครื่องมือวัดพฤติกรรมเขื่อน จ านวน 19 เขื่อน จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะความช านาญด้านความปลอดภัย เขื่อนให้กับบุคลากร จ านวน 4 รุ่น จัดสรรน้ าให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการใช้น้ า 21,079 ล้าน ลบ.ม. ปรับปรุง แก้ไขปัญหาการบุกรุกและการใช้พื้นที่ราชพัสดุ แจ้งความด าเนินคดีแล้ว 3,025 ราย ด าเนินการรื้อถอน 3,360 ราย พัฒนางานจัดรูปที่ดินและงานจัดระบบน้ า แล้วเสร็จกว่า 40,000 ไร่ กลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพของโครงการชลประทาน ปรับปรุงอาคารชลประทานที่มีอายุโครงการมากกว่า 30 ปี แล้วเสร็จ 4 โครงการ ถ่ายโอนงานชลประทานตามระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยการถ่ายโอนภารกิจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2553 จ านวน 22,038 รายการ ด าเนินการน าร่างพระราชบัญญัติการชลประทาน พ.ศ. .... ลงในระบบกลางทางกฎหมาย (http://www.law.go.th) เพื่อรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้ง ภาครัฐ และภาคเอกชน กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนารูปแบบและแนวทางที่เหมาะสมในการรับมือภัยพิบัติด้านน า ปรับเปลี่ยน ควบคุมการใช้ น้ าภาคการเกษตรให้เหมาะกับสถานการณ์ ผ่านการวางแผน วิเคราะห์ความเสี่ยงจากปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อปริมาณ น้ า ปรับปรุงระบบระบายน้ า ก าจัดวัชพืช สิ่งกีดขวางทางน้ า แล้วเสร็จ 3,682,396 ตัน เตรียมความพร้อมเครื่องมือ เครื่องจักร ให้พร้อมใช้งานส าหรับทุกสถานการณ์ - 18 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน เพิ่มคุณค่าการบริการ 3 (Value to Service) ประเด็นที่ กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของผู้รับบริการและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน สร้างความรู้ความเข้าใจในงานด้านพัฒนาแหล่งน้ าของกรมชลประทานให้แก่ประชาชนและเกษตรกร ส่งเสริมการมีส่วนร่วมด้านการบริหารจัดการน า (5 ระดับ) ระดับ 1 - 2 (การให้ข้อมูลข่าวสารและรับฟังความคิดเห็น) = การเตรียมมวลชนงานจัดรูปที่ดิน และจัดระบบน้ าเพื่อเกษตรกรรม ประชุมชี้แจง แผน 181 ครั้ง ผล 107 ครั้ง อบรม/ประชุมเชิงปฏิบัติการ/เวที ประชาคม แผน 62 ครั้ง ผล 18 ครั้ง โครงการยุวชลกรเรียนรู้งานชลประทานหลักสูตร 1 วัน แผน 102 ครั้ง ผล 2 ครั้ง หลักสูตรในรั้วโรงเรียน แผน 142 ครั้ง ผล 1 ครั้ง เสริมสร้างความรู้แก่อาสาสมัครชลประทาน แผน 154 ครั้ง ผล 154ครั้ง ระดับ 3 - 4 (การเกี่ยวข้องและความร่วมมือ) = โครงการเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ าที่มี การด าเนินการแบบมีส่วนร่วมในระดับการร่วมมือบริหารงานจัดการน้ าในงานชลประทาน (ระดับ 4) แผน 655 โครงการ ผล 64 โครงการ ระดับ 5 (เสริมอ านาจแก่ประชาชน) = โครงการพัฒนาเครือข่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน แผน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการพัฒนาเครือข่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน (คส.ชป.) อ่างเก็บน้ าห้วยแฮต อ.ภูเพียง จ.น่าน โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน พื้นที่ลุ่มน้ าลาวตอนกลาง - ตอนล่าง ปีที่ 3 กรณีฝายแม่ลาวฝั่งซ้าย ฝายเจ้าวรการบัญชา ฝายถ้ าวอก และฝายชัยสมบัติ 26. พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมด้านชลประทาน ครอบคลุมภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน 27. สร้างเครือข่ายการบริหารจัดการน้ าให้ครอบคลุมพื้นที่ชลประทาน จัดตั งเครือข่ายผู้ใช้น า ประกอบด้วย 1. กลุ่มผู้ใช้น้ าชลประทาน แผน 1,448 กลุ่ม พื้นที่ 937,256 ไร่ ผล 605 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 41.78 พื้นที่ 313,569 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 33.46 2. กลุ่มบริหารการใช้น้ าชลประทาน แผน 236 กลุ่ม พื้นที่ 1,405,066 ไร่ ผล 81 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 34.32 พื้นที่ 581,355 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 41.38 3. คณะกรรมการจัดการชลประทาน (JMC) แผน 43 คณะ พื้นที่ 1,219,550 ไร่ ผล 5 คณะ คิดเป็นร้อยละ 11.63 พื้นที่ 720,124 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 59.05 4. อาสาสมัครชลประทาน แผน 195 คน พื้นที่ 638,605 ไร่ ผล 195 คน คิดเป็นร้อยละ 100 พื้นที่ 638,605 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 100 5. ยุวชลกร แผน 6,230 คน ผล 140 คน คิดเป็นร้อยละ 2.25 - 19 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพการให้บริการของหน่วยงาน 28. ให้โครงการชลประทาน โครงการส่งน้ าฯ เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ 29. เสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อการพัฒนาและบริหารจัดการน้ า ด าเนินการจัดตั้งสถานีทดลองการใช้น้ าชลประทานเป็นศูนย์พันธมิตรกับศูนย์เรียนรู้การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ในการขยายองค์ความรู้จากศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชด าริ เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ย่อยให้กับศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) พร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการใช้น้ าชลประทานของพืชที่ปลูกโดยวิธีเกษตรปลอดภัย เพื่อ เป็นแปลงต้นแบบให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ได้เข้ามาแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ต่อไป โดยมีสถานีทดลองการใช้น้ า ชลประทานทั้ง 9 แห่งกระจายอยู่ทั่วประเทศ โดยในรอบ 6 เดือนที่ผ่านมา (ต.ค. 65 - มี.ค. 66) มีผู้เข้าศึกษา ดูงานทั้ง 9 สถานีฯ จ านวน 2,404 ราย กรมชลประทาน ด าเนินการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างการรับรู้และความเข้าใจภารกิจ การด าเนินงานของกรมชลประทาน รวมถึงภารกิจที่ได้รับมอบหมายตามนโยบายรัฐบาล กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ตลอดจนการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและแก้ไขประเด็นข่าวเชิงลบในภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้นกับองค์กร ให้ประชาชนรับทราบอย่างต่อเนื่องโดยการผลิตและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารขององค์กรผ่านช่องทาง การสื่อสารที่หลากหลาย เช่น สื่อโทรทัศน์ สื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อหนังสือพิมพ์ สื่อนิทรรศการและ ป้ายประชาสัมพันธ์ สื่อออนไลน์ สื่อกิจกรรม สื่อเอกสารสิ่งพิมพ์ จัดท าสื่อและกิจกรรมสร้างภาพลักษณ์ องค์กรระดับกรมและระดับภูมิภาค เป็นต้น - 20 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน กลยุทธ์ที่ 3 จัดวางต าแหน่งบุคลากรและจัดท าเส้นทางความก้าวหน้าอย่างเหมาะสม 30. บริหารทรัพยากรบุคคลตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ 31. หมุนเวียนบุคลากรสู่ Smart Officer การปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งงาน (อยู่ระหว่างเสนอกระทรวงฯ พิจารณา) 1.1 ส านักพัฒนาแหล่งน้ าขนาดใหญ่ จาก 13 ส านักงาน เป็น 16 ส านักงาน 1.2 ส านักเครื่องจักรกล จาก 7 ส่วนบริหารเครื่องจักรกล เป็น 8 ส่วนบริหารเครื่องจักรกล 1.3 ส านักกฎหมายและที่ดิน เพิ่มส่วนจัดการการบุกรุกพื้นที่ชลประทาน 1.4 ส านักบริหารจัดการน้ าและอุทกวิทยา เพิ่มส่วนพัฒนาการบริหารจัดการน้ าและการมีส่วนร่วม แผนการก าหนดต าแหน่งเพื่อปรับปรุงการก าหนดต าแหน่ง เป็นระดับสูงขึ้นของกรมชลประทาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2568 (216 ต าแหน่ง) ประกอบด้วย ปี 2566 จ านวน 103 ต าแหน่ง ปี 2567 จ านวน 88 ต าแหน่ง ปี 2568 จ านวน 25 ต าแหน่ง คณะอนุกรรมการสามัญประจ ากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มีการประชุมเพื่อพิจารณาแผนฯ ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2566 โดยมีมติให้กรมชลประทานทบทวนจ านวนต าแหน่งที่ขอปรับปรุง และให้เสนอคณะกรรมการฯ พิจารณาต่อไป ส่งเสริมให้บุคลากรให้ปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร (WATER for all) กรมชลประทานส่งเสริมให้บุคลากรภายในหน่วยงาน ยึดถือปฏิบัติงานตามค่านิยมของกรม เพื่อให้ สามารถร่วมกันขับเคลื่อนภารกิจองค์กรไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นหนึ่งเดียวกัน ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรมผู้บริหารการจัดการความรู้ (CKO) การแจกคู่มือค่านิยมกรมชลประทานให้กับข้าราชการบรรจุ ใหม่ที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการพลเรือนสามัญที่อยู่ระหว่างทดลองการปฏิบัติหน้าที่ ราชการ เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร - 21 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน กลยุทธ์ที่ 4 เสริมสร้างความผาสุกของบุคลากรเพื่อให้มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 32. เสริมสร้างความผาสุกคุณภาพชีวิตบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ 33. สนับสนุนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัย โครงการเช่าใช้สัญญาณระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและระบบเครือข่าย VPN กรมชลประทาน ด าเนินการจัดซื้อแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2565 พัฒนารถปฏิบัติการเคลื่อนที่เพื่อให้สามารถจัดตั้งเป็นศูนย์หรือหน่วยปฏิบัติการวิทยุสื่อสาร ด าเนินการแล้วเสร็จ ด าเนินการจัดท าโครงการเพื่อเสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณประจ าปี พ.ศ.2567 โดยผ่านความเห็นชอบ ในหลักการจากคณะกรรมการบริหารจัดการระบบคอมพิวเตอร์ ด าเนินการปรับปรุงเกณฑ์ราคากลางและคุณลักษณะพื้นฐานการจัดหาอุปกรณ์และระบบคอมพิวเตอร์ กรมชลประทาน (Spec) ให้มีความทันสมัยเป็นปัจจุบัน 1) จัดท าแผนสวัสดิการชลประทานสัมพันธ์กรมชลประทาน ประจ าปี 2566 2) จัดท าแผนสวัสดิการส่งเสริมกีฬากรมชลประทาน ประจ าปี 2566 3) จัดท าการรดน้ าขอพรผู้บริหาร กรมชลประทาน เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2566 4) จัดเตรียม งานเกษียณอายุ ข้าราชการและลูกจ้างประจ า กรมชลประทาน ประจ าปี 2566 กรมชลประทานให้ความส าคัญในการจัดกิจกรรมสวัสดิการและนันทนาการต่างๆ ให้แก่บุคลากร ภายในหน่วยงานเป็นประจ าทุกปีมาอย่างต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีการด าเนินงาน ดังนี้ - 22 -


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน 34. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมการท างาน โครงการสถานที่ท างานน่าอยู่น่าท างาน (Health Work Place) สรุปผลการด าเนินงานภาพรวมของส านัก/กอง เฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 96.32 โครงการการจัดสรรหรือปรับปรุงบ้านพักและจัดระบบและมาตรการรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินบริเวณบ้านพักของบุคลากร สรุปผลการด าเนินงานภาพรวมของส านัก/กอง เฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 97.37 โครงการสร้างความสุขในการท างานและสร้างประโยชน์แก่ส่วนรวม สรุปผลการด าเนินงานภาพรวมของส านัก/กอง เฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 97.37 โครงการอยู่ดี มีสุข ในยุค Thailand 4.0 สรุปผลการด าเนินงานภาพรวมของส านัก/กอง เฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 90.53 - 23 - กรมชลประทานสืบสานประเพณีวันสงกรานต์ สรงน้ าพระและรดน้ าขอพรผู้บริหาร เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2566 ณ กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร


ผลการด าเนินงาน RID TEAM 2566 รอบ 6 เดือน กรมชลประทาน สรุปผลการด าเนินงาน เพิ่มคุณค่าการบริการ 3 (Value to Service) ประเด็นที่ การด าเนินงานภายใต้ประเด็นที่ 3 เพิ่มคุณค่าการบริการ (Value to Service) มุ่งเสริมสร้างการมีส่วนร่วม ของผู้รับบริการและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน พัฒนาคุณภาพการให้บริการงานหน่วยงาน จัดวางต าแหน่งบุคลากร และจัดท าเส้นทางความก้าวหน้าอย่างเหมาะสม และเสริมสร้างความผาสุกของบุคลากรเพื่อให้มีแรงจูงใจในการ ปฏิบัติงานสอดรับกับยุทธศาสตร์กรมชลประทาน 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้าง เครือข่าย และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการน้ าชลประทานในระดับพื้นที่ ผ่านแนวทางการ ขับเคลื่อน 4 กลยุทธ์ ดังต่อไปนี้ กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของผู้รับบริการและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ผ่านการจัดประชุม สร้างความรู้ความเข้าใจเตรียมมวลชนงานจัดรูปที่ดินและจัดระบบน้ าเพื่อเกษตรกรรม 107 ครั้ง ส่งเสริมการมีส่วน ร่วมด้านการบริหารจัดการน้ า ผ่านโครงการต่างๆ เช่น โครงการยุวชลกร โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ โครงการ เสริมสร้างความรู้แก่อาสาสมัครชลประทาน เป็นต้น ด าเนินการจัดตั้งเครือข่ายผู้ใช้น้ า ประกอบด้วย กลุ่มผู้ใช้น้ า ชลประทาน 605 กลุ่ม กลุ่มบริหารการใช้น้ าชลประทาน 81 กลุ่ม คณะกรรมการจัดการชลประทาน (JMC) 5 คณะ ยุวชลกร 140 คน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพการให้บริการของหน่วยงาน ด าเนินการจัดตั้งสถานีทดลองการใช้น้ าชลประทาน เป็นศูนย์พันธมิตรกับศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ในการขยายองค์ความรู้จาก ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด าริ เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ย่อยให้กับศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) รวมถึงการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่องค์กร แก้ไขประเด็นข่าว เชิงลบในภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้นกับองค์กรให้ประชาชนรับทราบอย่างต่อเนื่องโดยการผลิตและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ขององค์กรผ่านช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย เช่น สื่อโทรทัศน์ สื่อนิทรรศการป้ายประชาสัมพันธ์ สื่ออินเตอร์เน็ต เป็นต้น กลยุทธ์ที่ 3 จัดวางต าแหน่งบุคลากรและจัดท าเส้นทางความก้าวหน้าอย่างเหมาะสม ด าเนินการปรับปรุง โครงสร้างภายในส านัก กอง ให้สอดรับกับแนวทางการด าเนินงาน ก าหนดแผนปรับปรุงต าแหน่งของ กรมชลประทาน 216 ต าแหน่ง ภายในปี 68 การจัดกิจกรรมส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับค่านิยม และวัฒนธรรมองค์กร (WATER for all) เช่น กิจกรรมผู้บริหารการจัดการความรู้ (CKO) ส านัก กอง สื่อสาร เผยแพร่ ค่านิยม วัฒนธรรมกรมชลประทานเพื่อให้สามารถร่วมกันขับเคลื่อนภารกิจองค์กรไปได้อย่าง มีประสิทธิภาพและเป็นหนึ่งเดียวกัน กลยุทธ์ที่ 4 เสริมสร้างความผาสุกของบุคลากรเพื่อให้มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน จัดกิจกรรมสวัสดิการ และนันทนาการต่างๆ ให้แก่บุคลากร เช่น กิจกรรมรดน้ าขอพรผู้บริหาร กรมชลประทาน จัดท าแผนสวัสดิการ ชลประทานสัมพันธ์กรมชลประทาน จัดท าแผนสวัสดิการส่งเสริมกีฬากรมชลประทาน รวมถึงสนับสนุนอุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัยให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ - 24 -


Click to View FlipBook Version