The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kornkorn041240, 2021-10-27 03:33:26

ลีลาศ 1

ลีลาศ 1

1 2 3

ความหมายของลีลาศ รปู แบบของการลีลาศ ประเภทของลลี าศ

4 5 6

ประวัตลิ ลี าศในประเทศไทย ประโยชน์ของลีลาศ มารยาททางสงั คมในการลีลาศ

1 คาวา่ ลีลาศตรงกับภาษาอังกฤษว่า Ballroom Dancing หมายถึง การ
เต้นราของค่ชู ายหญงิ ตามจงั หวะดนตรีท่ีมแี บบอย่างและลวดลายการเตน้
คาว่า ลีลาศ หรอื เต้นรา มคี วามหมายเหมือนกัน พจนานุกรมฉบับ เฉพาะตัว โดยมรี ะเบยี บของการชุมนุม ณ สถานท่ีอนั จัดไวใ้ นสังคม ใช้ใน
ราชบณั ฑติ ยสถานปพี ทุ ธศักราช 2525 ได้ใหค้ วามหมายดงั น้ี งานราตรีสโมสรตา่ งๆ และมิใช่การแสดงเพ่อื ให้คนดู นอกจากนี้ยงั มีคาอกี
คาหน่งึ ท่ีมักจะได้ยนิ กันอยู่ เสมอคอื คาวา่ Social Dance ส่วนใหญม่ กั จะ
ลลี าศ เปน็ นาม แปลว่า ทา่ ทางอนั งดงาม การเยื้องกราย เปน็ กิรยิ า นามาใช้ในความหมายเดยี วกันกบั คาว่า Ballroom Dancing
แปลวา่ เยอ้ื งกรายเดิน นวยนาด เตน้ รา เปน็ กริ ยิ าแปลว่า เคลือ่ นที่
ไปโดยมีระยะก้าวตามกาหนด ให้เขา้ กบั จงั หวะดนตรี ซ่งึ เรยี กว่า สหรัฐอเมริกาคาว่า Social Dance หมายถงึ การเต้นราทุกประเภท
ลีลาศ โดยปกตเิ ตน้ เป็นคูช่ าย หญงิ ราเทา้ ก็ว่า คนไทยนยิ มเรียกการ ทจ่ี ดั ข้ึน โดยมวี ัตถุประสงค์เพ่ือใหค้ นมาอยู่รว่ มกนั และได้มีสว่ นร่วม
ลีลาศว่า เตน้ รา มานานแลว้ ในกจิ กรรมการเต้นราเป็นหม่คู ณะ เพ่ือให้ไดค้ วามสนกุ สานเพลดิ เพลิน
จึงกลา่ วไดว้ ่า Ballroom Dancing เปน็ สว่ นหนึง่ ของ Social Dance
(ธงชัย เจริญทรพั ย์มณี 2538)

อาจสรุปไดว้ า่ “ลลี าศ” คือกจิ กรรมเข้าจังหวะประเภทหนงึ่ เป็นการ
เต้นราทีแ่ สดงออกอย่างมีศลิ ปะ โดยใชเ้ สยี งเพลงและจังหวะดนตรีเป็น
สื่อ เพ่ือให้เกดิ ความสนุกสนามเพลิดเพลนิ มลี วดลายการเตน้ (Figure)
เปน็ แบบเฉพาะตวั และมักนาลลี าศมาใชใ้ นงานสังคมท่ัว ๆ ไป

2 รปู แบบของการลีลาศ

ลีลาศเพ่ือนันทนาการ (Ballroom Dancing for Recreation) การลลี าศเพื่อนันทนาการ มคี วามม่งุ หมายท่ี
จะใช้การลีลาศเปน็ สือ่ ดึงความสนใจของบคุ คลตา่ ง ๆ ให้เขา้ ร่วมกจิ กรรม จะเห็นได้วา่ การจัดงานร่ืนเริงใน
โอกาสตา่ ง ๆ เช่น งานพบปะสงั สรรค์ งานฉลองในวาระสาเรจ็ การศกึ ษา งานราตรีสโมสร ฯลฯ ลว้ นแต่มี
ลีลาศเปน็ ส่วนประกอบทง้ั สิ้น การลลี าศในรูปแบบนมี้ ักไม่คอ่ ยยึดตดิ หรอื คานึงถึงรูปแบบมากนัก เพียงแตอ่ าศัย
จังหวะ และ ทานองดนตรปี ระกอบก็พอ สาหรับลีลาท่าทางหรอื ลวดลาย (Figure) ตา่ ง ๆ ในการเคลื่อนไหว
จะเน้นทคี่ วามสนุกสนาม และ ความพงึ พอใจของคู่ลลี าศเป็นสาคญั

รปู แบบของการลลี าศ (ต่อ)

ลีลาศเพ่อื การแข่งขัน (Ballroom Dancing for Sport’s Competition) การลีลาศเพ่อื การ
แข่งขัน จะคานงึ ถงึ รูปแบบทถ่ี ูกตอ้ งตามเทคนิควิธมี ีความสง่างามตามหลักของการเคล่ือนไหวตาม
ธรรมชาติเป็นสาคัญ ได้มีสมาคมลลี าศในหลาย ๆ ประเทศรวมทัง้ ประเทศไทยไดร้ ว่ มกันสง่ เสริม
ลลี าศให้มกี ารพัฒนา และพยายามจดั ใหเ้ ป็นรปู แบบของกีฬา โดยมีแนวคดิ วา่ ลีลาศคอื กีฬาชนดิ
หน่ึง ที่ให้ความบันเทงิ และสง่ เสริมสขุ ภาพพลานามยั เป็นอยา่ งดี นอกจากน้ยี ังไดร้ ว่ มกันจัดการ
แขง่ ขนั ลีลาศขึ้นในหลายระดับ ทัง้ ภายในประเทศและระหว่างประเทศ ทง้ั ประเภทอาชพี และ
สมคั รเลน่ โดยมีชอ่ื เรียกแตกต่างกนั เชน่

การแข่งขนั ลีลาศระหว่างประเทศในแถบเอเชยี แปซิฟิค
(Asian Pacific Modern Latin Dance Championship)

การแข่งขันลีลาศประเภททมี นานาชาติ
(Anniversary of Blackpool team Match)

การแขง่ ขันลีลาศชิงแชมป์โลก
(World Professional Ballroom Dancing championship)

3
ประเภทของลีลาศ

สภาการลีลาศนานาชาติ (International Council of Ballroom Dancing : I.C.B.D.)
ได้ทาการรวบรวมและแบ่งการลีลาศออกเป็น 2 ประเภท คอื

ประเภทบอลรูม (Ballroom Dancing)
ประเภทลาตินอเมรกิ นั (Latin American Dancing)

ประเภทของลีลาศ (ต่อ) จังหวะวอลซ์ (Waltz)

ลีลาศ ประเภทบอลรูม (Ballroom Dancing) จงั หวะควกิ วอลซ์ หรอื เวนสิ วอลซ์
(Quick Waltz or Vienness Waltz)
เป็นการลีลาศท่ใี ชจ้ งั หวะ นุ่มนวล สงา่ งาม ลกั ษณะของการลีลาศ
และทานองดนตรีเตม็ ไปด้วยความสภุ าพออ่ นหวาน ลาตัวของผู้ลีลาศ จงั หวะฟอกซท์ รอท (Foxtrot)
จะตง้ั ตรง ผงึ่ ผาย ในการก้าวเทา้ นิยมลากเทา้ สมั ผัสไปกับพนื้ หอ้ ง จังหวะแทงโก้ (Tango)
มักพบการลีลาศประเภทนใี้ นหมขู่ ุนนางชาวองั กฤษ จึงเรียกตดิ ปากกัน
ว่า การลีลาศแบบผดู้ อี งั กฤษ มีอยู่ 5 จงั หวะ คอื จงั หวะควกิ สเตป (Quick Step)

ประเภทของลีลาศ (ต่อ)

ลลี าศ ประเภทลาตนิ อเมรกิ ัน (Latin American Dancing)
เปน็ การลีลาศทใี่ ช้จงั หวะค่อนข้างเรว็ ใช้ความแคล่วคลอ่ งว่องไว ส่วนใหญ่จะใช้ไหล่
เอว สะโพก เข่า และขอ้ เทา้ เปน็ สาคัญ การกา้ วเดินสามารถยกเทา้ พน้ พืน้ ไดท้ านอง
และจังหวะดนตรีจะเร้าใจทาใหเ้ กิดความสนกุ สนานรา่ เริง มอี ยู่ 5 จงั หวะ คอื

จังหวะควิ บนั รมั บา้ จังหวะพาโซโดเบิล จงั หวะชา ชา ช่า
(Cuban Rumba) (Paso Doble) (Cha Cha Cha)

จังหวะแซมบ้า จังหวะไจว์ฟ
(Samba) (Jive)

ประเภทของลลี าศ (ต่อ) นอกจากนี้ยงั มลี ีลาศอีกประเภทหน่ึง ซึง่ จดั อยู่ในประเภทเบ็ดเตลด็
(Pop or Social Dance) โดยรวบรวมจังหวะที่เกดิ ข้นึ ใหม่ๆ และยงั ไมเ่ ป็น
จงั หวะบีกิน (Beguine) ที่ยอมรบั ในระดับสากล หรอื เปน็ จงั หวะทีน่ ยิ มลีลาศกันภายในบางประเทศ
จงั หวะอเมรกิ นั รัมบา้ แต่ยังไมเ่ ปน็ ทแ่ี พรห่ ลายประกอบด้วยจงั หวะตา่ งๆ ดังน้ี
(American Rumba)
จังหวะดสิ โก้ (Disco) จงั หวะตะลุงเทมโป จงั หวะออฟบีท (Off – beat)
(Taloong Tempo) จงั หวะทวิสต(์ Twist)
จงั หวะบั๊มพ์ (Bump)
จงั หวะกวั ราชา่ จังหวะฮัสเซิล (Hustle)
(Guarracha)

จงั หวะแมมโบ้ (Mambo)

จงั หวะคาลิปโซ่ (Calypso)

จังหวะร็อค แอนด์ โรล
(Rock and Roll)

4 ประวตั ลิ ีลาศในประเทศไทย

แม้จะไม่มีหลักฐานยืนยนั แน่ชดั วา่ กีฬาลีลาศแพรห่ ลายเขา้ มาสู่ประเทศไทยต้ังแต่
เมอ่ื ไหร่ แตจ่ ากการสนั นิษฐานเชื่อว่าน่าจะเกิดข้นึ ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) โดยมีบนั ทึกของหม่อมแอนนา วา่ ได้ลองแนะนาให้ทา่ นรูจ้ ักกบั
การเตน้ ของชนชัน้ สูง แตท่ า่ นกลับรู้จกั การเต้นชนิดนน้ั ได้ดีอยแู่ ล้ว จึงคาดวา่ น่าจะทรง
ศึกษาจากตาราต่างประเทศด้วยพระองค์เอง

ประวตั ิลีลาศในประเทศไทย (ตอ่ )

ตอ่ มาลีลาศคอ่ ย ๆ เปน็ ทน่ี ยิ มข้ึนเร่ือย ๆ ในสมัย พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
(รชั กาลท่ี 7) และมีการจดั ตั้ง สมาคมสมคั รเลน่ เต้นรา ข้นึ ใน พ.ศ. 2475 โดยมี
หม่อมเจา้ ไวทยากร วรวรรณ เปน็ ประธาน และจดั การแข่งขนั เต้นราขน้ึ ท่ี วังสราญรมย์
โดยมี พลเรอื ตรี เฉยี บ แสงชูโต และ คณุ ประนอม สุขมุ เป็นผชู้ นะในคร้ังนน้ั และคาว่า
“ลลี าศ” กไ็ ด้ถกู บญั ญตั ิข้ึนในปี พ.ศ. 2476 และเกดิ สมาคมครลู ีลาศแหง่ ประเทศไทย
ขึน้ มาแทน สมาคมสมคั รเลน่ เต้นรา

• ลีลาศ หรือ การเต้นรา ไดเ้ กิดขึน้ มานับตงั้ แต่ยุคก่อนประวตั ิศาสตร์ และได้รบั การพฒั นารปู แบบการเตน้ รามาอยา่ ง
ตอ่ เน่ือง ซึ่งในอดีตการเตน้ ราเรามกั จะพบในงานพธิ ีกรรมทางศาสนา อันได้แก่ การเตน้ เพอ่ื บวงสรวงเทพเจา้

การเตน้ ราด้วยอาวุธเพื่อใชใ้ นทางทหาร
• ในยคุ ฟ้นื ฟูไดม้ ีการจดั พิมพ์หนังสอื เก่ียวกบั การเต้นรา มีการจดั เตน้ ราสวมหนา้ กาก ระบาบลั เลยไ์ ดเ้ กิดข้ึนในยุคน้ี

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรง่ั เศส ได้จดั ตงั้ โรงเรียนบัลเลย์ข้ึนเปน็ แหง่ แรก การเต้นระบาบลั เลยถ์ ือได้วา่ เปน็ พืน้ ฐานของ

การลีลาศก็วา่ ได้
• ยคุ โรแมนตกิ เกดิ การเต้นวอลซ์ ซงึ่ รบั มาจากกรงุ เวียนนา ประเทศออสเตรยี และไดแ้ พร่หลายไปในยโุ รปตะวนั ตก
• ในยุคปัจจุบนั ได้เกิดจังหวะฟอกซ์ทรอท และแทงโก้ ในยคุ นี้ไดเ้ กิดจังหวะในประเภทบอลรูม รวมท้ังสนิ้ 5 จังหวะ

ได้แก่ วอลซ์ คว๊กิ วอลซ์ สโลว์ฟอกซ์ทรอท แทงโก้ และควกิ๊ สเตป็ ในปีค.ศ 1950 ได้เกดิ จงั หวะใหม่ๆ ขน้ึ อกี ไดแ้ ก่

จงั หวะแมมโม้ ควิ บา ชา ชา ช่า และเมอเรงโก้ ในปี 1959 ได้จดั ใหม้ กี ารแขง่ ขันลลี าศชิงแชมป์โลกท่ปี ระเทศอังกฤษ

ซึ่งจังหวะที่จัดแข่งได้แก่ วอลซ์ ฟอกซ์ทรอท แทงโก้ ควกิ๊ สเต๊ป และเวนิสวอลซ์ จงั หวะรอ็ คแอนดโ์ รล ไดเ้ กิดขึน้ ในยคุ น้ี

5
ประโยชนข์ องลีลาศ

เปน็ กจิ กรรมสอื่ สมั พนั ธท์ างสังคม ช่วยพฒั นาทกั ษะทางกลไก
ผูช้ ายและผ้หู ญงิ สามารถเขา้ รว่ มใน (Motor Skill) หรอื

กิจกรรมพรอ้ มกันได้ สมรรถภาพเชิงทกั ษะปฏบิ ัติ

ชว่ ยส่งเสรมิ สุขภาพพลานามยั ทาให้มรี ูปร่างทรวดทรงงดงาม สมสว่ น เปน็ กิจกรรมท่สี ามารถ
ทั้งทางด้านรา่ งกายและจติ ใจ มีบุคลกิ ภาพในการเคลอ่ื นไหว ช่วยแกไ้ ขขอ้ บกพร่องทางกาย
ให้แข็งแรงสมบรู ณ์อนั จะทาให้มี ทดี่ แู ลว้ สงา่ งามย่งิ ขึ้น

ชีวิตยืนยาวและมคี วามสขุ

6
มารยาททางสังคมในการลลี าศ

การเตรยี มตัว

1. แต่งกายใหส้ ะอาด ถูกตอ้ ง และเหมาะสมตามกาลเทศะ
ซึ่งจะเปน็ หารสรา้ งความมนั่ ใจในบุคลกิ ภาพของตนเอง

2. มีการเตรียมตัวล่วงหนา้ โดยการฝึกซ้อมลลี าศในจงั หวะต่างๆ
เพอื่ สร้างความมัน่ ใจในการลลี าศ

3. สภุ าพบุรษุ ควรเชิญสุภาพสตรอี อกลลี าศ มารยาททางสังคมในการลลี าศ (ต่อ)
ด้วยกริยาที่สุภาพ ถา้ ถกู ปฏเิ สธก็ไม่ควรเซา้ ซี้
จนเปน็ ท่นี ่าราคาญ กอ่ นออกลีลาศ

1. พยายามทาตัวให้เป็นกันเอง และสร้างความสนทิ สนมคุ้นเคยกบั เพ่ือนใหม่ แนะนาเพอ่ื น
หญงิ ของตนใหบ้ คุ คลอน่ื รจู้ กั (ถา้ มี)

2. สุภาพบุรษุ ควรแน่ใจวา่ สุภาพสตรที ต่ี นเชิญออกลลี าศ สามารถลีลาศจงั หวะนัน้ ๆ
ไดห้ ากไมแ่ น่ใจควรสอบถามก่อน

4. สภุ าพสตรี ไมค่ วรปฏิเสธเมือ่ มีสภุ าพบุรษุ มาขอลลี าศดว้ ย 5. กอ่ นออกลีลาศควรฟังจงั หวะใหอ้ อกเสียกอ่ น
หากจาเป็นจะตอ้ งปฏเิ สธด้วยเหตผุ ลใดก็ตาม จะตอ้ งปฏเิ สธด้วย และแน่ใจว่าสามารถลีลาศในจงั หวะน้ันได้
ถ้อยคาท่ีสุภาพนุม่ นวล และไมค่ วรลีลาศกบั สุภาพบุรุษอน่ื ในจงั หวะ
ท่ีตนไดป้ ฏเิ สธไปแล้ว

มารยาททางสังคมในการลีลาศ (ตอ่ )

ขณะลลี าศ

1. ขณะที่พาสภุ าพตรีไปที่ฟลอร์ลลี าศ สภุ าพบุรุษควรเดนิ นาหน้า หรือเดินเคียงคู่กันไป เพอ่ื ให้ความสะดวกแก่สภุ าพสตรี และเมื่อไปถงึ ฟลอร์ลลี าศ
ควรใหเ้ กยี รตสิ ุภาพสตรีเดนิ ขึ้นไปบนฟลอร์ลลี าศกอ่ น
2. ในการจับคู่ สุภาพบรุ ุษตอ้ งกระทาด้วยความนุ่มนวลสุภาพ และถกู ตอ้ งตามแบบแผนของการลลี าศ ไม่ควรจบั คู่ในลักษณะทร่ี ัดแนน่ หรือยนื หา่ งจนเกนิ ไป
การแสดงออกทนี่ ่าเกลียดบางอย่างพึงละเว้น เชน่ การเอารัดเอาเปรียบค่ลู ีลาศ เปน็ ตน้
3. จะตอ้ งลีลาศไปตามจงั หวะ แบบแผน และทิศทางท่ีถกู ตอ้ งไม่ยอ้ นแนวลลี าศ เพราะจะเปน็ อปุ สรรคกีดขวางการลีลาศของคอู่ ื่น ถา้ มกี ารชนกนั เกดิ ข้นึ ในขณะ
ลีลาศ จะตอ้ งกล่าวคาขอโทษ หรือขออภยั ดว้ ยทกุ คร้งั
4. ไม่สูบบุหรี่ เคยี้ วหมากฝร่ัง หรอื ของขบเค้ียวใดๆ ในขณะลลี าศ
5. ใหค้ วามสนใจกบั คู่ลีลาศของตน ความอบอ่นุ เกดิ ขึน้ ได้จากการยมิ้ แยม้ แจม่ ใสหรือคากลา่ วชม ไม่แสดงอาการเบ่อื หนา่ ยหรือหันไปสนใจคู่ลีลาศของคนอน่ื
และอยา่ ทาตนเป็นผู้กว้างขวางช่างพดู ชา่ งคยุ กับคนทวั่ ไปในขณะลลี าศ
6. ควรลีลาศด้วยความสนุกสนานรา่ เรงิ
7. ไม่ควรพูดเร่อื งปมด้อยของตนเอง หรือของค่ลู ีลาศ
8. ไม่ควรเปลยี่ นคบู่ นฟลอร์ลีลาศ

มารยาททางสังคมในการลีลาศ (ต่อ)

9. ควรลลี าศในรูปแบบหรอื ลวดลายที่ง่ายๆ กอ่ น แล้วจงึ เพิ่มรูปแบบหรือลวดลายท่ียากขึ้นตามความสามารถของค่ลู ลี าศ
เพราะจะทาให้คูล่ ีลาศรสู้ กึ เบ่ือหน่าย และไมค่ วรพลกิ แพลงรูปแบบการลลี าศมากเกินไปจนมองดนู า่ เกลียด
10. ถือวา่ เป็นการไม่สมควรท่จี ะรอ้ งเพลง หรอื แสดงออกอยา่ งอื่นในขณะลลี าศ หรือลีลาศดว้ ยท่าทางแผลง ๆ ด้วยความคกึ คะนอง
11. ไม่ควรสอนลวดลายหรอื จงั หวะใหม่ๆ บนฟลอร์ลีลาศ
12. ไมค่ วรลีลาศดว้ ยลวดลายทใ่ี ชเ้ น้ือทีม่ ากเกนิ ไป ในขณะท่ีมคี นอยบู่ นฟลอร์เปน็ จานวนมาก
13. ในการลลี าศแบบสภุ าพชน ไมค่ วรแสดงความรกั ในขณะลลี าศ
14. การนาในการลลี าศเป็นหนา้ ทขี่ องสุภาพบรุ ุษ สภุ าพสตรไี ม่ควรเป็นฝาุ ยนา ยกเว้นเปน็ การชว่ ยในความผิดพลาดของสภุ าพบรุ ุษ
เปน็ ครงั้ คราวเทา่ นัน้
15. การให้กาลังใจ การใหเ้ กียรติ และการยกย่องชมเชยด้วยใจจริง จะช่วยให้คูล่ ีลาศเกิดความรสู้ กึ อบอุ่นและเชอ่ื มั่นในตนเองยิ่งขน้ึ
คู่ลลี าศทีด่ จี ะต้องชว่ ยปกปดิ ความลบั หรือปญั หาทเ่ี กดิ ขึ้นและมองข้ามจุดออ่ นของคู่ลลี าศ
16. ไม่ควรผละออกจากค่ลู ีลาศโดยกระทันหนั หรือก่อนเพลงจบ

สุภาพบรุ ษุ ต้องเดนิ นาหรอื เดินเคยี งคู่กันลงจากฟลอรล์ ีลาศ มารยาททางสังคมในการลลี าศ (ตอ่ )
และนาสภุ าพสตรีไปสง่ ยงั ทน่ี ัง่ ให้เรียบรอ้ ย พรอ้ มทั้งกลา่ วคาขอบคณุ
เมื่อสนิ้ สดุ การลลี าศ
สภุ าพสตรี และสภุ าพบรุ ษุ อ่ืนทน่ี ่ังอย่ดู ว้ ย

เม่อื ถึงเวลากลบั ควรกล่าวคาชมเชย และขอบคุณเจา้ ภาพ (ถา้ ม)ี

สภุ าพบรุ ษุ จะต้องพาสภุ าพสตรีทต่ี นเชญิ เข้างาน ไปส่งยงั ทพ่ี ัก


Click to View FlipBook Version