The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal competnies) ของผู้เรียนเพื่อเป็นในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่โลกการทำงาน (Work Readiness)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Khowjaroen Chaiya Nuttakarn, 2022-10-18 09:57:33

คู่มือการพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงานของผู้เรียนเพื่อเป็นในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่โลกการทำงาน

คู่มือการพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal competnies) ของผู้เรียนเพื่อเป็นในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่โลกการทำงาน (Work Readiness)

45

แผนการดำเนินงาน กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น

ตารางที่ 3 ปฏิทินปฏบิ ัตกิ ิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ท่ี รายการกิจกรรมท่ปี ฏบิ ัติ ระยะเวลาดำเนนิ การ

1 กิจกรรมวันสำคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ตลอดภาคการศึกษา

เสริมสรา้ งคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

2 โครงการเข้าคา่ ยลูกเสอื เดยแ์ คมป์ ประดบั แถบสองสี 10 ต.ค. 63

3 โครงการไว้อาลัยวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จ-พระ 12 ต.ค. 63

ปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร

4 โครงการวันปิยมหาราช 22 ต.ค. 63

5 โครงการเลอื กต้ังนายก องการฯ 26 ต.ค. 63

6 โครงการอาชีวะต้านยาเสพตดิ 29 ต.ค. 63

7 โครงการ To Be Number One 30 พ.ย. 63

8 โครงการประกวดคลปิ วิดีโอสร้างสรรคส์ ังคม

9 โครงการรณรงค์วนั เอดสโ์ ลก 1 ธ.ค. 63

10 โครงการทำบุญถวายเป็นพระราชกุศลของ 4 ธ.ค. 63

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภมู ิพล

อดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร

11 ศกึ ษาดงู าน 4 ธ.ค. 63

12 โครงการจิตอาสาเพอ่ื พฒั นา 7 ธ.ค. 63

13 โครงการขบั ขป่ี ลอดภยั 7 ธ.ค. 63

13 โครงการประชุมองค์การและแข่งขันทักษะ 8 ธ.ค. 63

15 โครงการประเมนิ หนว่ ยมาตรฐานวชิ าชพี 24 ธ.ค.63

16 โครงการเขา้ ค่ายพักแรมและประดับแถบสามสี 25 ธ.ค. 63

17 โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร 8 ม.ค. 64

18 โครงการแขง่ ขนั กฬี าอาชวี ศกึ ษา 2 ก.พ. 64

19 โครงการคา่ ยคุณธรรม 5 ก.พ. 64

20 โครงการอบรมมาตรฐานวชิ าชพี 19 ก.พ. 64

21 โครงการทำบุญเนอื่ งในวนั มาฆบูชา 25 ก.พ. 64

22 โครงการตามรอยพระยุคลบาท 3 – 5 เม.ย. 64

23 โครงการวถิ ีพทุ ธสวดมนต์ ไหว้พระ นง่ั สมาธิ ตลอดภาคการศกึ ษา


46

ตารางท่ี 3 (ตอ่ )

ที่ รายการกิจกรรมทป่ี ฏบิ ัติ ระยะเวลาดำเนินการ

24. โครงการ Speaking English on Tuesday morning ตลอดภาคการศึกษา

25. โครงการจิตอาสาพัฒนาวิทยาลัย (ส่งิ แวดล้อม) ทุกวัน ตลอดภาคการศึกษา

ตามตารางเวรความสะอาด

ที่มา : งานกิจกรรมนกั เรยี น นักศกึ ษา
หมายเหตุ

1. โครงการวถิ ีพุทธสวดมนต์ ไหวพ้ ระ นัง่ สมาธิ ทุกเชา้ พฤหัสสบดี
2. โครงการ Speaking English on Tuesday morning ทกุ เช้าวันอังคาร
3. โครงการจิตอาสาพัฒนาวทิ ยาลัย (สิง่ แวดล้อม) ทกุ วันตามตารางเวรทำ

ความสะอาด


47

โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการการใชเ้ ทคโนโลยีปัญญาประดษิ ฐ์(AI)เพอ่ื การวดั ผลและประเมินผล
คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผ้เู รียน”
-------------------------

ตอนที่ 1 รายละเอยี ดโครงการ
1. ช่อื โครงการ: “โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การใช้เทคโนโลยปี ญั ญาประดษิ ฐ์ (AI) เพ่ือการวัด

ผลและประเมินผลคณุ ลักษณะท่พี งึ่ ประสงค์ของผู้เรียน”
2. ระยะเวลาดำเนนิ การ 28เมษายน2563
3. สถานท่ีดำเนนิ การ ณ หอ้ งประชุมวิทยาลยั การอาชพี นวมินทราชทู ิศ
4. หลักการและเหตผุ ล

ในปัจจุบันความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี ถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่องจนนำมาสู่การพัฒนา
ปญั ญาประดษิ ฐ์ Artificial Intelligence (AI) ซึง่ เป็นหัวใจของการรังสรรคใ์ ห้หุ่นยนตห์ รือเคร่ืองจักร
สามารถท่จี ะคดิ และประมวลผลข้อมลู ไดเ้ ชน่ เดียวกับมนุษย์ ปัญญาประดิษฐ์ Artificial Intelligence
(AI) คอื สถาปัตยกรรมทางวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ ท่ีสร้างให้หุ่นยนต์ หรือเคร่ืองจักร มีความเข้าใจใน
เหตุและผล มีการเรียนรู้และตอบสนองได้เฉกเช่นเดียวกับการคิดของมนุษย์ ซ่ึงปัจจุบัน
ปัญญาประดิษฐ์ (AI) กำลังเข้ามามบี ทบาทอย่างมากต่อการดำเนินชีวิตของผู้คนในทกุ ภาคสว่ น ไมเ่ ว้น
แมก้ ระทงั่ ในโลกของการศึกษา ซง่ึ ท่ผี ่านมาการส่งเสริมการศึกษาเป็นหน้าทเี่ ฉพาะของคนที่เปน็ ครู ใน
การอบรมสั่งสอนลูกศิษย์ และยากท่ีจะหาใครแทนได้ แต่ในยุคปัจจุบันน้ี ด้วยการเติบโตอย่าง
ก้าวหน้าของ AI ทุกวันนี้เรามีการนำเทคโลยี AI เข้ามาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกและส่งเสริมด้าน
การศึกษาอย่างมากมาย ซ่ึงนับว่าเป็นประโยชน์อย่างมากกับผู้เรยี น รวมถึงตัวผสู้ อนเองด้วย สำหรับ
ประโยชน์ของ AI ที่มีต่อการศึกษาน้ัน เราสามารถลดเวลาการทำงานของครู โดยปกติสำหรับคุณครู
นอกจากงานสอนที่เปน็ การส่งเสริมการเรยี นรู้โดยตรงแล้ว งานส่งเสริมการศกึ ษาอนื่ ๆ เช่น งานวัดผล
งานทะเบยี น หรืองานธุรการต่าง ๆ ในโรงเรียน ก็มีความจำเปน็ เช่นเดียวกัน การนำ AI มาช่วยในการ
ทำงาน นอกจากจะช่วยลดภาระงานของครูแล้ว ยังชว่ ยลดความผิดพลาดท่ีอาจจะเกิดขึ้นได้ เช่น การ
ตรวจการบ้านหรือการตรวจข้อสอบปัจจุบัน มีการประดิษฐ์ซอฟแวร์ท่ีช่วยในการตรวจการบ้านหรือ
ข้อสอบท่เี ป็นลักษณะเลือกตอบ ซ่ึงเปน็ ตัวช่วยให้คณุ ครูสามารถตรวจการบ้านหรอื ข้อสอบได้รวดเร็ว
และมีความถูกตอ้ งแม่นยำมากย่ิงข้ึน นอกจากน้ียังมีการนำ AI มาใชใ้ นงานทะเบยี นและวัดผล ในการ
ลงทะเบียนนักเรียน จัดตารางเรียน และคำนวณเกรดเฉล่ีย ซ่ึงช่วยให้เกิดความรวดเร็วและลด
ขอ้ ผิดพลาดได้มาก AI ช่วยสร้างสรรคเ์ นอ้ื หาสำหรบั การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพการเตบิ โตของ
AI ทำให้เกิดแอปพลิเคชั่นในการส่งเสริมการศึกษามากมาย ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถเรียนท่ีไหนก็ได้
โดยไม่จำเป็นตอ้ งอยู่เฉพาะในห้องเรียน AI จะทำหนา้ ท่ปี ระเมนิ ผลการเรียนรแู้ ละเลอื กเนื้อหาความรู้


48

ทเ่ี หมาะสมกับนักเรียน นอกจากน้ยี งั เปน็ ตวั ชว่ ยคุณครใู นการสรา้ งสรรค์เนอ้ื หาความรู้ต่าง ๆ โดยช่วย
ประมวลผลการเรียนรูข้ องนักเรียน สามารถสืบค้นข้อมูลความรู้ท่ีเก่ียวข้องได้อีกด้วย AI ช่วยเป็นติว
เตอรใ์ ห้กับนักเรียนเป็นรายบุคคล บางคร้ังการเข้าหาครูผสู้ อนแต่ละครั้งล้วนมีข้อจำกัด เช่น คุณครู
อาจไม่ว่างหรือไม่มีเวลาในการอธิบายเพิ่มเติม จากข้อจำกัดน้ี ทำให้มีการนำ AI มาสร้างสรรค์เป็น
แอปพลิเคชั่นท่ีช่วยติวเตอร์นักเรียนเพ่ิมเติม ซ่ึงจะมีการรวมรวบความรู้ให้นักเรียนได้ศึกษาในจุดท่ี
สนใจเพ่มิ เติม และนอกจากนี้ยงั มีการจัดทำการทดสอบออนไลน์ เพื่อประเมินผลผู้เรียนอีกท้งั ยังเป็น
ช่องทางพิเศษท่ชี ่วยใหน้ ักเรียนปรึกษากบั คุณครูกนั ได้สะดวกมากยิ่งข้นึ ในอนาคต ซึ่งขอ้ ดีของ AI นั้น
คอื ความแม่นยำและการประมวลผลที่รวดเร็ว โดยท่ีไม่มีอารมณ์ความรู้สึกเข้ามาเก่ียวข้อง คุณครูใน
อนาคตอาจกลายเป็นผู้ควบคุม AI แล้วทำหน้าที่ในการป้อนข้อมูลที่จำเป็นต่อการส่งเสริมการเรียนรู้
แก่นักเรยี นให้กับหุ่นยนต์ AI เพ่ือทำหน้าที่แทนตัวเอง หรือให้เป็นผู้ช่วยในการสอน ซึ่งทำให้สามารถ
สอนได้ปริมาณมากและมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น แม้ว่าAI จะเร่ิมเข้ามามีส่วนในการพัฒนา
การศึกษา จนสามารถเป็นตัวแทนของครูได้ ซึ่งคุณครูหลาย ๆ ท่านมองว่า เป็นเรื่องท่ีไม่เหมาะสม
เพราะงานครนู ั้นมีความหมายมากกว่าแค่การให้ความรู้เพียงอย่างเดียว แต่ก็ต้องยอมรับว่าโลกกำลัง
ก้าวสู่ยุค AI อยู่ทุกขณะ ปัจจุบันเคร่ืองมืออิเล็กทรอนิกส์ที่เราใช้กันอยู่ตามปกตินั้น ล้วนมีการใส่
เทคโนโลยี AI เข้าไปเพ่อื ชว่ ยใหส้ ามารถทำงานตอบสนองกับมนุษย์ได้ดมี ากยิง่ ขึน้ จึงไมใ่ ช่เรื่องแปลก
อะไร ที่ในอนาคต AI จะเข้ามาทำงานแทนเรา ดังนั้น แทนท่ีจะกลัวว่า AI จะเข้ามาทำให้เราตกงาน
เราควรที่จะเรียนรู้และรู้จักพัฒนาตัวเอง เพ่ือสามารถใช้ประโยชน์จาก AI ในการพัฒนาอย่างมี
ประสิทธิภาพ เพราะอย่างไรเสีย ความรู้สึกนึกคิด แยกแยะความดีความช่ัว และรู้จักยึดมั่นใน
คณุ ธรรมนนั้ ก็เป็นจุดแขง็ ของมนุษยท์ ่คี วรจะตอ้ งเปน็ ผคู้ วบคมุ มากกว่าที่จะโดนควบคุม

ดังน้ัน เพ่ือให้บรรลุตามภารกิจหลักของวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ ที่เน้นการ
ถา่ ยทอดเทคโนโลยที ี่ทันสมยั เพือ่ ส่งเสรมิ การผลิตนกั เรียน นักศึกษาที่มคี ุณภาพ และมที ักษะความรู้
ความสามารถให้ก้าวทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน อีกทั้งยังช่วยสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนใฝ่เรียนรู้และมี
ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ต่อไป วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ จึงได้จัดโครงการ“อบรมเชิง
ปฏบิ ัตกิ าร การใชเ้ ทคโนโลยี AI เพ่ือการวดั ผลประเมนิ ผลคณุ ลักษณะที่พึ่งประสงคข์ องผ้เู รียน
5. วัตถปุ ระสงค์

5.1 เพอ่ื สร้างความตระหนกั เรยี นรูด้ ้านปญั ญาประดิษฐ์ (AI) ใหก้ บั ขา้ ราชการครแู ละบุคลากร
ทางการศึกษาของวทิ ยาลัย

5.2 เพื่อให้ครูผู้สอนสร้างนักพัฒนานวัตกรรมระบบปัญญาประดิษฐ์(AI) ที่มีความเช่ียวชาญ
ป้อนส่ตู ลาดแรงงาน

5.3 ส่งเสรมิ ให้ครูผู้สอนนำปัญญาประดิษฐิ์(AI) และหุ่นไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ การเรยี นการ
สอนและการศกึ ษา


49

5.4 เพ่ือพัฒนาครูผ้สู อนในการใช้เทคโนโลยปี ัญญาประดิษฐ์ (AI) ในการสร้างนวัตกรรมการ
เรียนรู้มกี ารวัดและประเมินผล ท่ีสอดคล้องกบั กิจกรรมและตรงตามสมรรถนะของสถานประกอบการ
6. เป้าหมาย

6.1 เชงิ คณุ ภาพ
ผบู้ รหิ าร ครผู ู้สอน วิทยาลยั การอาชีพนวมินทราชทู ิศ สามารถใช้เทคโนโลยี

ปญั ญาประดษิ ฐ์ (AI) ในการสร้างนวัตกรรมการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนการสอนและ
6.2 เชงิ ปรมิ าณ
ผบู้ ริหาร ครูผู้สอน วทิ ยาลยั การอาชีพนวมนิ ทราชทู ิศ จำนวน 38 คน

7. ผูร้ ับผิดชอบโครงการ
ผ้อู ำนวยการวทิ ยาลยั การอาชพี นวมินทราชทู ิศ งานบคุ ลากร และคณะกรรมการ

ดำเนินการฝา่ ยตา่ งๆ
8. ผลท่คี าดว่าจะไดร้ บั

8.1 ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาให้มีความรู้และทักษะในการใช้
นวตั กรรมปญั ญาประดิษฐ์ (AI) เพอ่ื การวดั ผลประเมินผลคุณลักษณะท่ีพง่ึ ประสงค์ของผู้เรยี น

8.2 สร้างนวตั กรรมการเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกบั กิจกรรมและตรงตาม
สมรรถนะของสถานประกอบการ

ตอนที่ 2 การดำเนินงานโครงการ
ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน

1. เสนอโครงการ
2. ประชมุ กำหนดวนั เวลาเดือนปแี ละบุคคลท่ีเกีย่ วข้องในโครงการ
3. จัดเตรยี มสถานทีเ่ พ่ือใชใ้ นการดำเนินการโครงการ
4. โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ “การใชเ้ ทคโนโลยปี ัญญาประดิษฐ์ (AI) เพ่ือการวดั
ประเมนิ ผลคณุ ลักษณะทพ่ี ่งึ ประสงค์ของผู้เรยี น”
5. ประชมุ กลุ่มย่อยในแต่ละแผนกวิชาเพ่ือมอบหมายการใช้เทคโนโลยปี ัญญาประดิษฐ์ (AI)
เพ่ือการวดั ประเมนิ ผลคณุ ลักษณะทีพ่ ึง่ ประสงคข์ องผเู้ รยี น
6. ประเมินผลความพงึ พอใจในการเข้ารว่ มกจิ กรรมตามโครงการและประเมินผลสมั ฤทธกิ์ อ่ น
และหลงั ในการเขา้ รว่ มโครงการ
7. ปรบั ปรุงแก้ไขการใช้เทคโนโลยีปัญญาประดษิ ฐ์ (AI) เพื่อการวัดประเมินผลคุณลักษณะที่
พ่งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี นใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพตามข้อเสนอแนะของครผู สู้ อนประจำแผนกวิชา
เน้ือหา/ องค์ความรู้ในการดำเนินการ


50

1. กำหนดเปา้ หมายจุดมงุ่ หมาย หลักการ วิธีการใชเ้ ทคโนโลยปี ญั ญาประดษิ ฐ์ (AI)
เพอ่ื การวัดประเมินผลคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผูเ้ รียน

2. กำหนดเสมรรถนะขา้ มสายงานทีภ่ าคประกอบการตอ้ งการเพอื่ ใหค้ รผู ูส้ อนได้ใช้เทคโนโลยี
ปญั ญาประดิษฐ์ (AI) เพื่อการวดั ประเมนิ ผลคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผู้เรยี น

3. ครูผูส้ อนวิธีการใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพื่อการวดั ประเมินผลคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงค์ของผเู้ รียน

4. ครูผู้สอนเตรียมความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพื่อการวัด
ประเมินผลคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

5. ครูผู้สอนดำเนินการจัดการเรียนการสอนและดำเนินการวัดและประเมินผลโดยใช้
เทคโนโลยปี ัญญาประดิษฐ์ (AI) เพือ่ การวัดประเมนิ ผลคุณลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผู้เรียน

6. นิเทศการใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพ่ือการวัดประเมินผลคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงค์ของผ้เู รยี น

7. ประเมินผลความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมตามโครงการ
8. ปรับปรุงแกไ้ ขการวดั และประเมินผลให้มีประสิทธิภาพตามขอ้ เสนอแนะของครูผสู้ อนที่ใช้
เทคโนโลยปี ญั ญาประดษิ ฐ์ (AI) เพื่อการวดั ประเมนิ ผลคณุ ลักษณะที่พึงประสงคข์ องผ้เู รยี น


51

ภาคผนวก ง
ตัวอยา่ งเครอ่ื งมอื การประเมนิ ผลสมรรถนะขา้ มสายงานของผเู้ รียนจากการพัฒนา
สมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal Competencies) ของผ้เู รียนเพอ่ื เตรียมความ

พร้อมเข้าสูโ่ ลกการทำงาน (Work Readiness)


52

ตารางที่ 4 ตวั อยา่ งเกณฑก์ ารประเมินสมรรถนะขา้ มสายงานของผูเ้ รยี น

ด้านความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

ประเดน็ ทีป่ ระเมิน ตวั ชวี้ ัดสมรรถนะข้ามสายงาน
1. ภาวะผนู้ ำและความรบั ผิดชอบ
1.งานตามหนา้ ท่ี
2.กระตือรอื รน้ ในการทำงาน
3.ผู้กำหนดแผนงาน
4.จูงใจให้ผู้อื่นทำงาน
5.สว่ นทำใหง้ านประสบผลสำเร็จสงู

2. คุณลักษณะดา้ นศีลธรรม 1.กริ ยิ า วาจา สุภาพ
3. วนิ ยั ในตนเอง เคารพ กฎระเบียบ 2.ซื่อสตั ย์
4. จิตสาธารณะ 3.ไมเ่ อาเปรียบผู้อ่ืน
4.ไมเ่ สพสิง่ เสพตดิ
5.อื้อเฟอื้ เผ่อื แผ่
1.เขา้ เรยี นตรงต่อเวลา
2.แต่งกายถกู ระเบียบ
3.ส่งงานท่ีมอบหมายตามเวลา
4.ปฏบิ ัติตามคำสงั่ ครู
5.ไม่ทำผดิ กฎระเบียบ
1.ทำความสะอาดหอ้ งเรียน
2.ช่วยแนะนำเพือ่ นในการเรียน
3.อาสาชว่ ยเหลอื งานครหู รือเพอ่ื น
4.รกั ษาทรัพย์สนิ สว่ นรวม
5.เสียสละเพอื่ ส่วนรวม


53

ประเด็นท่ีประเมิน ความสามารถในการคิด
ตัวชว้ี ัดสมรรถนะขา้ มสายงาน

2.1 ความสามารถในการแก้ไข 1.ค้นพบเหตขุ องปัญหา
ปญั หาเฉพาะหน้า 2.อธิบายวิธีแกป้ ัญหาได้ชัดเจน
3.นำเสนอผลการแกป้ ญั หา
4.อธิบายวธิ ีปอ้ งกันปญั หาไมใ่ หเ้ กิดขึ้นอกี
5.เป็นผนู้ ำในการแก้ไขปัญหา

2..2 มที ศั นะคติท่ีดตี ่อองค์กรและเพอื่ น 1.ไม่พูดอคติต่อผู้อน่ื และสถานศึกษา

ร่วมงาน 2.ช่วยเผยแพร่ข่าวสารประชาสัมพนั ธ์สถานศึกษา

3.แนะนำผูอ้ น่ื ในการสมัครเข้าเรยี นสถานศกึ ษา

4.ไมพ่ ูดจาหยาบคายกา้ วร้าวกบั เพอ่ื น

5.ไม่รว่ มกจิ กรรมที่ขัดตอ่ ระเบยี บสถานศกึ ษา

2.3 รบั ฟังคำตชิ มจากผู้ร่วมงานและ 1.กลา่ วคำขอบคณุ อย่างสุภาพตอ่ คำติชม

นำมา ปรับปรงุ แกไ้ ข 2.แสดงทา่ ทางกริ ิยาท่สี ภุ าพตอ่ คำติชม

3.ปรบั ปรงุ ตามคำแนะนำที่ดี

4.ทบทวนคำติชมอย่างสม่ำเสมอ

5.นำคำตชิ มขยายผลแนะนำเพ่อื นๆใหป้ ฏิบตั ิตาม

2.4 ความคดิ สร้างสรรค์ 1.มแี นวคดิ ในการสรา้ งสรรคก์ จิ กรรมท่ีมีประโยชน์
2.ออกแบบหรือประยุกตน์ วัตกรรมเพอื่ สนับสนุน
การเรยี นรู้
3.เรียนรู้นวตั กรรมหรือแนวคดิ ใหมๆ่
4.นำเสนอแนวคดิ เพ่อื ประโยชนส์ ว่ นรวม
5.แนะนำแนวคดิ แกป้ ญั หาใหก้ ับเพ่อื นหรือผ้อู ืน่


54

ความสามารถในการแกป้ ญั หา

ประเด็นทป่ี ระเมนิ ตัวชี้วัดสมรรถนะขา้ มสายงาน

3.1 การให้ความร่วมมือกับผอู้ ื่น 1.ใหค้ วามร่วมมือเมอื่ ผอู้ ืน่ รอ้ งขอ
2.เสนอใหค้ วามรว่ มมือกับผอู้ ืน่
3.ชกั ชวนผูอ้ น่ื เพ่อื ให้ความร่วมมอื เพม่ิ มากขน้ึ
4.ไมแ่ สดงทา่ ทางกิรยิ ากา้ วรา้ วตอ่ ผูร้ ่วมงาน
5.แสดงความชื่นชมยินดีต่อผู้ร่วมงาน

3.2 เคารพสิทธ์ิของผูอ้ ืน่ 1.ไมใ่ ช้คำถามทไี่ มเ่ หมาะสม
2.ยอมรับตามลำดับมาก่อนหลัง
3.ไม่เสียงดังรบกวนผ้อู ่นื
4.ไม่ใช้โทรศัพท์ในเวลาเรียน
5.ขออนุญาตกอ่ นทุกคร้งั เมอื่ ต้องกระทำการใดกระทบ
ต่อคนหมู่มาก

3.3 ยอมรบั ความคิดของผอู้ น่ื 1.ตั้งใจรบั ฟงั ความคิดเห็นผูอ้ ่ืน

2.ไม่พูดแทรกเมื่อผอู้ น่ื ดำลังแสดงความคดิ เหน็

3.ไม่แสดงท่าทางกิริยาทแี่ สดงถงึ ความไม่พอใจใน

ความคดิ เห็นผ้อู ่นื

4.ตักเตอื นเพ่ือนเม่ือแสดงพฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสมเมอื่

ผูอ้ ่นื กำลงั แสดงความคิดเหน็

5.กลา่ วคำชมเมอ่ื ผ้แู สดงความคิดเห็นกล่าวแสดงความ

คิดเห็นจบลง

3.4 สามารถปรับตนเองเขา้ กบั ทุก ๆ 1.แต่งกายเหมาะสมกบั กาลเทศะ

คนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2.ใช้คำพดู เหมาะสมกับวัยวฒุ ิ

3.อดทนกบั สถานการณ์ที่ตนเองไมพ่ อใจ

4.ไมท่ ำอะไรตามใจตนเองจนมีผลกระทบกบั ผูอ้ ืน่

5.แสดงความเข้าใจวา่ ทุกคนย่อมแตกต่างกนั


55

ประเด็นท่ีประเมนิ ความสามารถในการสือ่ สาร
ตวั ช้ีวัดสมรรถนะขา้ มสายงาน

4.1 ความสามารถในการส่อื สาร 1.ใชภ้ าษาสุภาพเหมาะกับผฟู้ ัง
ภาษา 2.ใชภ้ าษาเข้าใจง่าย
3.เสียงดังชดั เจน
4.ไมพ่ ดู เรว็ ไม่รวบคำ
5.ไมใ่ ชค้ ำท่ีผดิ จากภาษาท่ีถกู ต้อง

4.2ความสามารถในการสอื่ สาร 1.เลือกใช้เทคโนโลยีในการส่อื สารที่เหมาะสมกบั วัยผรู้ บั
เทคโนโลยี สาร
2.ข้อมูลสือ่ สารสัน้ ไดใ้ จความ
3.ใชภ้ าษาเขียนในการสอ่ื สารทางเทคโนโลยี
4.ตรวจสอบชอ่ งทางการสอ่ื สารทางเทคโนโลยอี ย่าง
สม่ำเสมอ
5.ตรวจสอบอุปกรณ์เครอื่ งมอื ใช้กรส่ือสารใหใ้ ช้งานไดอ้ ยา่ ง
มีคุณภาพ

4.3 ความสามารถในการส่ือสารกบั 1.พิจารณาทบทวนคำพูดหรอื การสือ่ สารกอ่ นเสมอ .

ผ้อู ่ืน การรบั ฟังไดอ้ ย่างถกู ต้อง 2.คำนึงถึงผรู้ บั ฟงั เพอ่ื ใชก้ ารสือ่ สารที่เหมาะสม

เหมาะสม 3.แสดงทา่ ทางกริ ิยาในการรับฟงั อย่างสุภาพออ่ นน้อม 4.มี

การกล่าวคำตอบรับแสดงการรับร้รู ับฟงั ผู้อื่นอยเู่ สมอ

5.ไม่แสดงอาการไมเ่ หมาะสมเมื่อผูอ้ ่ืนพดู ผิด

4.4 ความสามารถในการสื่อสารทาง 1.ใชท้ ่าทางประกอบช่วยในการสื่อสารเพื่อเขา้ ใจงา่ ย

กายภาพ การแสดงออกทางกาย 2.ใช้ทา่ ทางกายภาพที่เหมาะสมตามกาลเทศะในการส่ือสาร

กริ ิยาท่าทางพฤตกิ รรม 3.ใช้ท่าทางกายภาพในวาระแสดงความขอบคุณหรือเสียใจ

ไดเ้ หมาะสม

4.ควบคมุ ท่าทางกิรยิ าในสถานการณท์ ีต่ นเองไมพ่ อใจได้

5.สามารถสังเกตพฤตกิ รรมทา่ ทางผู้อื่นเพอื่ ชว่ ยในการ

สอื่ สารท่ีเหมาะสม


56

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ประเดน็ ทีป่ ระเมิน ตัวช้ีวัดสมรรถนะข้ามสายงาน

5.1 ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ 1.ใช้งานโปรแกรม Ms-Word
(Computing Literacy) 2.ใชง้ านโปรแกรม Ms-Excel
3.ใช้งานโปรแกรม Ms-Power Point
4.ใชง้ านเครื่องพิมพ์
5.การบำรุงรกั ษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

5.2 ทักษะการประยุกต์ใชง้ าน 1.การต้งั ค่าพนื้ ฐานโทรศพั ท์เคลือ่ นที่
(Application skills) 2.การดาวโหลด Application
3.ใชง้ าน Application Zoom
4.ใช้งาน Application Google Meet
5.ใชง้ านการบริการซือ้ ขายผา่ นระบบออนไลน์

5.3 เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT 1.การดาวโหลด Application Social Network
Literacy) 2.การสืบคน้ ข้อมลู ผ่าน Internet
3.การสง่ ขอ้ มูลผา่ นระบบ Internet Network
5.4 ความรเู้ ทา่ ทนั สื่อเทคโนโลยี 4.สามารถคัดกรองข้อมลู ท่ีถกู ต้องจาก Internet
Network
5.บำรงุ รักษาอปุ กรณ์ Internet Network
1.เลอื กแหลง่ Social Network ทีน่ า่ เชอื่ ถอื ได้
2.สบื ค้นข้อมลู จาก Social Network อย่างน้อย 3
แหลง่ ขอ้ มูล
3.มวี นิ ยั ในการจำกัดเวลาการใช้ Social Network
4.วเิ คราะห์ตดั สินใจขอ้ มูลถูกผดิ จาก Social Network
ได้ถูกตอ้ ง
5.แนะนำการใช้ Social Networkให้ผู้อ่ืนได้อย่าง
เหมาะสม


57

คัวอยา่ งเกณฑก์ ารประเมิน
การประเมนิ เพอื่ ให้คะแนนจากการสงั เกตพฤตกิ รรมของผู้เรยี น
หากมีรายการสมรรถนะข้ามสายงาน จำนวน (1) (2) (3) (4) (5) ตามจำนวนต่อไปนี้
[5 คะแนน = มีรายการสมรรถนะขา้ มสายงานครบทั้ง 5 ข้อ]
[4 คะแนน = มรี ายการสมรรถนะข้ามสายงานจำนวน 4 ขอ้ จาก 5 ขอ้ ]
[3 คะแนน = มีรายการสมรรถนะข้ามสายงานจำนวน 3 ขอ้ จาก 5 ขอ้ ]
[2 คะแนน = มรี ายการสมรรถนะข้ามสายงานจำนวน 2 ขอ้ จาก 5 ขอ้ ]
[1 คะแนน = มรี ายการสมรรถนะข้ามสายงานจำนวน 1 ข้อ จาก 5 ข้อ]


58

ตารางที่ 5 ตัวอยา่ งแบบบนั ทกึ การสงั เกตและประเมนิ ผลสมรรถนะข้ามสายงานรายบุคคล
ชื่อสถานศึกษา............

ครั้งท่ี ………… เรื่อง ................................................................
รหัสวิชา.............ช่ือวิชา..............แผนกวิชา...............ระดับช้ัน..........ภาคเรียนท่ี…....ปีการศกึ ษา………

ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ

ภาวะผนู้ ำและ คุณลกั ษณะด้าน วินยั ในตนเอง จิตสาธารณะ รวม

ที่ ช่ือ – ความรบั ผิดชอบ ศีลธรรม เคารพ คา่ เฉล่ีย

สกุล กฎระเบยี บ

5 4321543215432154321

เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน

ค่าเฉลย่ี 4.51–5.00หมายถงึ มีสมรรถนะในระดับมากท่สี ุด ระดับคะแนน5 หมายถึงระดับมากทสี่ ุด

คา่ เฉลี่ย 3.51–4.50หมายถึงมีสมรรถนะในระดับมาก ระดบั คะแนน4 หมายถึงระดบั มาก
คา่ เฉล่ีย 2.51–3.50หมายถงึ มสี มรรถนะในระดับปานกลาง ระดบั คะแนน3 หมายถึงระดบั ปานกลาง
ค่าเฉลย่ี 1.51–2.50หมายถึงมสี มรรถนะในระดบั นอ้ ย ระดบั คะแนน2 หมายถึงระดบั น้อย
ค่าเฉลย่ี 1.01–1.50หมายถึงมสี มรรถนะในระดบั น้อยทส่ี ดุ ระดับคะแนน1 หมายถึงระดบั นอ้ ยทสี่ ุด

ลงช่ือ ................................................ครผู สู้ อน / ผปู้ ระเมนิ
()


59

ตาราง 6 ตวั อยา่ งแบบบันทกึ การสงั เกตและประเมินผลสมรรถนะข้ามสายงานรายบคุ คล
ชื่อสถานศกึ ษา............

ครงั้ ที่ ………… เรอ่ื ง ............................................................... รหสั วิชา ..............ชื่อวิชา.....................
แผนกวิชา..................ระดับชน้ั ................ ภาคเรยี นท่ี…....ปกี ารศกึ ษา……
2. ความสามารถในการคดิ

ความสามารถแกไ้ ข มีทศั นะคตทิ ่ีดีตอ่ รับฟังคำติชมจาก ความคิดสรา้ งสรรค์ รวม

ที่ ช่ือ – สกุล ปญั หาเฉพาะหน้า องคก์ รและเพื่อน ผู้รว่ มงานและ คา่ เฉล่ีย

รว่ มงาน นำมาปรบั ปรุง

แกไ้ ข

543 2154 32154 3215 4 3 21

เกณฑ์การประเมนิ เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ค่าเฉล่ยี 4.51–5.00หมายถึงมสี มรรถนะในระดบั มากทส่ี ุด ระดับคะแนน5 หมายถึงระดับมากที่สุด
คา่ เฉลย่ี 3.51–4.50หมายถงึ มสี มรรถนะในระดบั มาก ระดบั คะแนน4 หมายถงึ ระดับมาก
คา่ เฉล่ีย 2.51–3.50หมายถึงมสี มรรถนะในระดบั ปานกลาง ระดบั คะแนน3 หมายถงึ ระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 1.51–2.50หมายถึงมสี มรรถนะในระดบั น้อย ระดับคะแนน2 หมายถึงระดบั นอ้ ย
คา่ เฉลี่ย 1.01–1.50หมายถึงมสี มรรถนะในระดับน้อยทีส่ ุด ระดับคะแนน1 หมายถงึ ระดบั นอ้ ยทส่ี ดุ

ลงช่อื ................................................ครูผสู้ อน / ผปู้ ระเมนิ
()


60

ตาราง 7 ตวั อย่างแบบบันทกึ การสังเกตและประเมนิ ผลสมรรถนะข้ามสายงานรายบคุ คล
ชื่อสถานศึกษา............

คร้งั ที่ ………… เรอ่ื ง .......................................................รหัสวชิ า ...............ชอ่ื วิชา........................
แผนกวิชา................ระดบั ช้นั .................... ภาคเรยี นที่…....ปกี ารศึกษา……
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา

การทำงานเปน็ ทีม เคารพสทิ ธขิ์ อง ยอมรบั ความคิด สามารถปรบั รวม

ที่ ชื่อ – การใหค้ วาม ผ้อู น่ื ของผ้อู นื่ ตนเองเข้ากับทกุ ๆ ค่าเฉลย่ี

สกุล รว่ มมือกบั ผอู้ ื่น คนได้อย่าง

เหมาะสม

54321543215432154321

เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑ์การให้คะแนน

คา่ เฉลย่ี 4.51–5.00หมายถงึ มีสมรรถนะในระดบั มากท่ีสดุ ระดับคะแนน5 หมายถงึ ระดับมากท่สี ุด
คา่ เฉลยี่ 3.51–4.50หมายถึงมีสมรรถนะในระดบั มาก ระดบั คะแนน4 หมายถงึ ระดับมาก
คา่ เฉลย่ี 2.51–3.50หมายถงึ มสี มรรถนะในระดบั ปานกลาง ระดับคะแนน3 หมายถงึ ระดับปานกลาง
ค่าเฉลยี่ 1.51–2.50หมายถงึ มสี มรรถนะในระดบั น้อย ระดบั คะแนน2 หมายถึงระดับนอ้ ย
คา่ เฉลย่ี 1.01–1.50หมายถึงมีสมรรถนะในระดบั น้อยท่ีสุด ระดับคะแนน1 หมายถงึ ระดบั น้อยทส่ี ดุ

ลงช่อื ................................................ครูผ้สู อน / ผปู้ ระเมิน
()


61

ตาราง 8 ตวั อย่างแบบบันทึกการสังเกตและประเมินผลสมรรถนะขา้ มสายงานรายบคุ คล
ช่ือสถานศึกษา............

ครัง้ ท่ี ………… เรอื่ ง ..........................................................รหัสวชิ า ................
ชอื่ วิชา..................... แผนกวิชา....................ระดับช้ัน......... ภาคเรียนท่ี…....ปกี ารศึกษา…………

4. ความสามารถในการสอื่ สาร
ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน รวม
ท่ี ช่ือ – สกุล การสอื่ สารดา้ น การสอื่ สารกบั ผอู้ น่ื การส่ือสารทาง การส่ือสารทาง คา่ เฉลย่ี

วาจา การรบั ฟังได้อย่าง กายภาพ การ ภาษาต่างประเทศ
ถูกต้องเหมาะสม แสดงออกทางกาย
กิริยาทา่ ทาง
พฤติกรรม

54321543215432154321

เกณฑ์การประเมนิ เกณฑ์การให้คะแนน

ค่าเฉลย่ี 4.51–5.00หมายถงึ มีสมรรถนะในระดับมากท่ีสุด ระดับคะแนน5 หมายถงึ ระดบั มากทีส่ ุด
ค่าเฉลีย่ 3.51–4.50หมายถึงมีสมรรถนะในระดับมาก ระดับคะแนน4 หมายถงึ ระดบั มาก
ค่าเฉล่ยี 2.51–3.50หมายถึงมีสมรรถนะในระดบั ปานกลาง ระดับคะแนน3 หมายถึงระดบั ปานกลาง
คา่ เฉลย่ี 1.51–2.50หมายถงึ มสี มรรถนะในระดับน้อย ระดับคะแนน2 หมายถงึ ระดบั น้อย
คา่ เฉลยี่ 1.01–1.50หมายถึงมสี มรรถนะในระดับน้อยที่สดุ ระดบั คะแนน1 หมายถึงระดับนอ้ ยท่สี ดุ

ลงช่ือ ................................................ครผู สู้ อน / ผ้ปู ระเมนิ
()


62

ตาราง 9 ตวั อย่างแบบบันทึกการสังเกตและประเมนิ ผลสมรรถนะขา้ มสายงานรายบุคคล
ชื่อสถานศกึ ษา............

ครง้ั ที่ ………… เรื่อง ..........................................................รหสั วิชา ..............
ชื่อวิชา.................. แผนกวิชา...................ระดบั ชนั้ ................. ภาคเรียนที่…....ปีการศึกษา…………

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ทักษะดา้ น ทักษะการ เทคโนโลยี ความรู้เท่าทนั สื่อ รวม

ท่ี ชอ่ื – สกุล คอมพวิ เตอร์ ประยกุ ต์ใช้งาน สารสนเทศ (ICT เทคโนโลยี ค่าเฉลี่ย
(Computing
(Application Literacy)

Literacy) skills)

54321543215432154321

เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน

ค่าเฉล่ยี 4.51–5.00หมายถึงมีสมรรถนะในระดบั มากทสี่ ดุ ระดบั คะแนน5 หมายถงึ ระดับมากทีส่ ุด
คา่ เฉลี่ย 3.51–4.50หมายถงึ มีสมรรถนะในระดบั มาก ระดับคะแนน4 หมายถึงระดับมาก
ค่าเฉล่ยี 2.51–3.50หมายถึงมีสมรรถนะในระดับปานกลาง ระดบั คะแนน3 หมายถึงระดบั ปานกลาง
ค่าเฉลย่ี 1.51–2.50หมายถงึ มสี มรรถนะในระดับน้อย ระดับคะแนน2 หมายถึงระดับน้อย
ค่าเฉลย่ี 1.01–1.50หมายถงึ มสี มรรถนะในระดับน้อยทส่ี ุด ระดบั คะแนน1 หมายถึงระดบั นอ้ ยที่สดุ

ลงชือ่ ................................................ครผู ูส้ อน / ผปู้ ระเมนิ
()


6336

ภาคผนวก จ
บทคดั ยอ่ งานวิจัย


64

ชอ่ื เร่อื ง : การพฒั นาสมรรถนะขา้ มสายงาน (Transversal Competencies) ของผเู้ รียน
ในการเตรียมความพรอ้ มเข้าส่โู ลกการทำงาน (Work Readiness) วิทยาลัยการ
อาชพี นวมินทราชทู ิศ

ผู้วิจยั : ภาณทั ทกา วงษากิตตกิ ุล
ปที ี่ทำการวิจัย : 2562 - 2563

บทคดั ย่อ

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพ่ือศึกษาสมรรถนะข้ามสายงานของผู้เรียนท่ีภาค
ประกอบการต้องการ2)เพื่อพัฒนาคูม่ อื การพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal Competencies) ของ
ผเู้ รียนในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่โลกการทำงาน (Work Readiness) วิทยาลยั การอาชีพนวมินท
ราชูทิศ 3) เพื่อการศึกษาประสิทธิผลของการพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal Competencies)
ของผู้เรียนในการเข้าสู่โลกการทำงาน (Work Readiness) จากการใช้คู่มือการพัฒนาสมรรถนะข้าม
สายงาน(Transversal Competencies) ของผู้เรียนในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่โลกการทำงาน
(Work Readiness) วิทยาลยั การอาชีพนวมินทราชทู ิศ และ 4) เพ่ือเผยแพร่การพัฒนาสมรรถนะขา้ มสาย
งาน (Transversal Competencies) ของผู้เรียนในการเข้าสู่โลกการทำงาน (WorkReadiness) ดำเนินการวิจัย
เป็น 4ตอน เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม การตรวจสอบสมรรถนะข้ามสายงานของผู้เรียนที่ภาคประกอบการ
การสรา้ งและการตรวจสอบคุณภาพคู่มอื การพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal Competencies) ของ
ผ้เู รยี นในการเตรียมความพรอ้ มเขา้ สู่โลกการทำงาน (WorkReadiness) ประสทิ ธผิ ลของการพัฒนาสมรรถนะข้ามสาย
งาน (Transversal Competencies) จากการใช้คู่มือการพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal
Competencies)ที่วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ การเผยแพร่การพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal
Competencies)การวิเคราะหข์ ้อมลู โดยการหาคา่ รอ้ ยละ คา่ เฉล่ีย สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหเ์ น้อื หา

ผลการวจิ ัยพบว่า
1. สมรรถนะข้ามสายงานของผ้เู รียนที่ภาคประกอบการตอ้ งการ 1) ความสามารถในการใช้
ทกั ษะชีวติ 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการ
สอ่ื สาร 5) ความ สามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
2. การพัฒนาคู่มือการพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงาน (TransversalCompetencies) ของผู้เรียนในการ
เตรียมความพร้อมเข้าสู่โลกการทำงาน (WorkReadiness) วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ 1) ผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจสอบเพ่ือยืนยันสมรรถนะข้ามสายงานของผู้เรียนท่ีภาคประกอบการต้องการ อยู่ในระดับมาก
ที่สุด 2) สภาพสมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal Competencies) ของผู้เรียนตามความคดิ เห็น
ของผูเ้ รียนและครูผู้สอน มคี วามคิดเหน็ สอดคล้อง อยใู่ นระดบั ปานกลาง และสภาพการจดั การเรยี นรู้
ของครูอยู่ในระดับมาก 3) การพัฒนาคู่มือการพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal


65

Competencies) ของผู้เรียนในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่โลกการทำงาน (Work Readiness)
วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ (1) การสรา้ งคู่มือ ใช้หลักการบรหิ ารคุณภาพ (PDCA) 4 ข้ันตอน
คือการวางแผน การปฏิบัติ การตรวจสอบและปรับปรุง ดำเนินการพัฒนา 5ด้านไดแ้ ก่การพฒั นาครู พฒั นาแผนการ
เรยี นรู้ พัฒนาการเรียนการสอนพัฒนากจิ กรรมการเรยี นรู้ และพัฒนาการวัดและประเมนิ (2)ตรวจสอบคุณภาพคูม่ ือ
พิจารณาคู่มือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน ประชุมสนทนากลุ่ม (Focus group)มีความคิดเห็นสอดคล้องกันในการนำ
หลกั การบรหิ ารคุณภาพ (PDCA)พฒั นาแต่ละขัน้ ตอน(2)พิจารณาความเหมาะสมและความเปน็ ไปได้ผ้ทู รงคุณวุฒิ 50
คน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากท่ีสุดท้ังคู่ (3)ตรวจสอบคุณภาพของคู่มือจากการทดลองใช้ ณ วิทยาลัยเทคนิค
กาญจนาภิเษกมหานคร ผู้บริหารและครูผู้สอนมีความพึงพอใจต่อคู่มอื ในระดับมากที่สุด คู่มือการพัฒนาสมรรถนะ
ข้ามสายงาน (Transversal Competencies) ของผู้เรียนในการเตรียมความพร้อมเขา้ สู่โลกการทำงาน
(Work Readiness) วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ มีโครงสร้าง ดังน้ี คำช้ีแจงการใช้คู่มือ คำนำ
สารบัญ บทที่ 1 บทนำ บทท่ี 2 การใช้คู่มือการพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงาน บทที่ 3 ศึกษาผลของ
การใช้คู่มือ บรรณานกุ รม และภาคผนวก

3. ประสิทธิผลของการพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal Competencies)
ของผู้เรียน จากการใช้คู่มือการพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal Competencies) ของ
ผ้เู รียนในการเตรยี มความพร้อมเข้าสู่โลกการทำงาน (Work Readiness) วิทยาลัยการอาชีพนวมินท
ราชูทิศ ผู้บริหารและครผู ู้สอนมีความคิดเห็นต่อข้ัน ตอนในการพัฒนาคู่มือการพัฒนาสมรรถนะข้าม
สายงานอยู่ในระดบั มากที่สุด มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และสมรรถนะข้ามสายงานของผูเ้ รียน
จากการใช้คู่มือการพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal Competencies) ของผู้เรียนใน
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่โลกการทำงาน (Work Readiness) วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ
ตามความคิดเห็นของผู้เรียน อยู่ในระดับมากที่สุด และภาคประกอบการ มีความพึงพอใจต่อ
สมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal Competencies) ของผู้เรียน จากการใช้คู่มือการพัฒนา
สมรรถนะขา้ มสายงาน (Transversal Competencies) ของผเู้ รยี นในการเตรยี มความพร้อมเข้าสู่โลก
การทำงาน (Work Readiness) ในปีการศึกษา2563 และเข้าฝึกอาชีพในสถานประกอบการ ภาคการศึกษาที่ 1
ปีการศึกษา2564อยู่ในระดับมากท่สี ุด ประสิทธผิ ลทเ่ี กิดขึ้นในสถานศึกษา 9รายการ40 รางวัล

4. การเผยแพร่การพัฒนาสมรรถนะข้ามสายงาน (Transversal Competencies) ของ
ผู้เรียนในการเข้าสู่โลกการทำงาน (Work Readiness) ได้รับการเผยแพร่ 6 แบบ 1) การประชุมผู้บริหารผ่าน
ระบบZoomMeeting จำนวน 50คน สถานศึกษา12 แห่ง 2)ประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ
ผ่านระบบ Zoom Meeting 3)เว็บไซต์ 2เว็บไซด์ 4)ประชุมผู้บริหารและบุคลากรสถานศึกษา 2แห่ง และ 5)
สถานศึกษา 50แหง่ ทางระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนกิ ส์ 6)วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศกึ ษา

คำสำคญั : การพัฒนาสมรรถนะขา้ มสายงาน / โลกการทำงาน


66

Title : TransversalCompetenciesDevelopmentProcessforWorkReadiness
Institution : Nawamintrachutit Industrial and Community College
Researcher : Panattaka Wongsakittikul
Year of Research : 2019-2020

Abstract
The objectives of this research are: 1. to study the Transversal Competencies of
learners that the business sector needs. 2. To develop a manual for Transversal
Competencies Development of learners for Work Readiness, Nawamintrachutit
Industrial and Community College. 3. To study the effectiveness of Transversal
Competencies of learners using a manual for Transversal Competencies
Development of learners for Work Readiness, Nawamintrachutit Industrial and
Community College. 4. To disseminate Transversal Competencies Development of
learners for Work Readiness. By four stages of research process, collecting and
checking information/data with questionnaire, creating and checking manual’s quality
effectiveness of manual and disseminating of Transversal Competencies
Development of learners for Work Readiness and analyzed in percentage, mean,
standard deviation and content analysis.
The results showed that

1. The results of Transversal Competencies Development of learners that the
business sector needs are summarized in five aspects as follows: 1) Life skills ability
2) Thinking ability, 3) Problem solving ability, 4) Communication ability 5) Technology
ability.

2. Results of the development of a manual for Transversal Competencies of
learners for Work Readiness of Nawamintrachutit Industrial and Community College.1)
Approved by specialists was at the highest level. 2) The opinion of teacher and
learners to Transversal Competencies Development were accordance at the average
level and Learning and Teaching condition was at high level 3) Development of a
manual for Transversal Competencies of learners for Work Readiness. (1) Creating
manual by quality management principles Deming Cycle (PDCA) which consists of


67

four steps: Planning(Plan) , Implementation(Do), Monitoring(Check), and
Improvement(Act) to develop teachers, lesson plan learning and teaching learning
activity and assessment and evaluation. (2) Manual’s quality approved by 9
specialists on focus group was at the highest level (3) A sample of manual used at
Kanchanaphisek Technical College Mahanakorn was at the highest level.

3. The result of finding effectiveness of Transversal Competencies
Development of learners from using the manual as follows: Administrators and
teachers’ satisfaction to steps of the development of Transversal Competencies
development of learners for Work Readiness was at the highest level. Learners’
satisfaction was at the highest level. And business sectors’ satisfaction to Transversal
Competencies development of learners for Work Readiness in academic year 2020
was at the highest level. The effectiveness at the college was 9 items and 40
rewards.

4. The results of dissemination of Transversal Competencies Development of
learners for Work Readiness in five categories : 1) Executive meetings via Zoom
Meeting 50 teachers from 12 colleges 2 ) Academic conferences and national
research presentations through Zoom Meeting 3) On the website, 4) Executive and
staff meetings, and 5) 50 colleges under the Office of Vocational Education
Commission through e-Office system. 6) Journal of Industrial Education.

Keywords: Transversal competencies development/work readiness


Click to View FlipBook Version