The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by janram2244, 2020-11-18 21:25:07

CMA Way Revise 082020

CMA Way Revise 082020

วิธีแห่ง CMA (CMA WAY) 51

คานิยามสาหรับการประเมินสมรรถนะดา้ นการจดั การ (Managerial Competency Dictionary)

People Management: การบรหิ ารจัดการคน

หมายถึง ความสามารถในการบริหารจดั การความแตกต่างหลากหลายของคนในหนว่ ยงาน ให้มเี ปา้ หมายรว่ มกนั และต่าง

ปฏบิ ัติหน้าท่ีได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

ระดบั นยิ าม ชุดพฤติกรรม

ผู้ใต้บังคับบัญชาและทีมงานท่ีตนรับผิดชอบ เข้าใจ  มอบหมายงานตามศักยภาพและตามบทบาท

ระดบั ท่ี เป้าหมายของทีมงานอย่างชัดเจนและเป็นไปใน หนา้ ทค่ี วามรับผิดชอบของผูใ้ ต้บงั คับบญั ชา

1 ทิศทางเดียวกัน ตลอดจนผู้ใต้บังคับบัญชาเข้าใจใน  ร่ว มกับผู้ใต้บังคับบัญช าในการกาห น ด

เป้าหมายรายบคุ คล เป้าหมาย และชี้แจงอยา่ งทั่วถึง

 ติดตามงานและประเมินความคืบหน้าหรือผล

สามารถบริหารจัดการทีมงานให้สามารถปฏิบัติงาน การปฏบิ ัตงิ านเป็นระยะ
ระดับที่ ได้อย่างราบร่ืน ปราศจากข้อขัดแย้งรุนแรง และ  สอบถาม ดูแลเอาใจใส่ความเป็นอยู่ของ

2 สามารถบริหารจัดการให้ทีมงานท่ีตนรับผิดชอบ ผู้ใตบ้ ังคับบัญชา
มกี ารทางานเปน็ ทมี  ให้ Feedback ผ้ใู ต้บังคบั บญั ชาเปน็ ระยะ
 แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง ก า ร ต้ั ง ใ จ รั บ ฟั ง ใ น สิ่ ง ท่ี

ผู้ใตบ้ ังคบั บัญชาพดู

สามารถบริหารจัดการสมาชิกในทีมงานให้สามารถ  ไม่นิ่งเฉยกับความขัดแย้งที่เกิดข้ึนภายใน
ทีมงาน
ระดับท่ี ปฏบิ ตั ิไดต้ ามเป้าหมายของหน่วยงาน ตลอดจนไดร้ ับ
3 ความไว้วางใจจากผู้ใต้บังคับบัญชาและเพื่อน  แก้ไขหรือตัดสินข้อขัดแย้งตามหลักการหรือ
ร่วมงาน ระเบยี บปฏบิ ตั ิ

ระดับท่ี สามารถบริหารจัดการทีมงานให้มีพัฒนาการด้านผล  ให้ความช่วยเหลือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ
4 การปฏิบัติงานที่ดีขึ้นอย่างต่อเน่ือง หรือสามารถ ทมี งานอยา่ งสุดความสามารถ
บริหารจัดการทีมงานให้สามารถปฏิบัติงานได้สูงกวา่
 ช้ีแจงข้อมูลข่าวสารท่ีจาเป็นให้ทีมงานทราบ
เป้าหมายทีต่ ง้ั ไว้ อย่างถกู ต้องทัว่ ถึง

 แสดงตนเป็นผู้รับผิดชอบในความผิดพลาดที่
เกิดขึน้ จากการกระทาของผใู้ ต้บังคับบญั ชา

 ปฏิบัตกิ ับผู้ใต้บังคบั บญั ชาทุกคนอยา่ งยตุ ธิ รรม

พมิ พ์คร้งั ที่ 2
วนั ที่ 10 สิงหาคม 2563

วธิ ีแห่ง CMA (CMA WAY) 52

People Development: การพฒั นาผู้อน่ื

หมายถงึ การใหค้ วามสาคัญกับการพฒั นาความรู้ ทกั ษะ และทศั นคติ ของผู้ใต้บังคับบัญชา ตลอดจนมกี ารยกระดับผลการ

ปฏิบตั ิงานของผู้ใตบ้ งั คบั บัญชาอย่างต่อเนื่อง

ระดบั นิยาม ชุดพฤติกรรม

ทราบถึงจุดแข็ง จุดอ่อน ของผ้ใู ต้บังคับบัญชาแตล่ ะ  วิเคราะห์หาจุดแข็งจุดอ่อนของ

คน และสามารถใชข้ ้อมลู ดังกล่าวในการวางแผน ผู้ใตบ้ งั คับบญั ชาแต่ละคน

ระดับท่ี พัฒนารายบคุ คลใหก้ บั ผใู้ ตบ้ ังคับบญั ชาได้  พูดคุยให้ Feedback กับผ้ใู ต้บังคับบัญชา

1 อย่างสมา่ เสมอ

 ร่ว มกับผู้ใต้บังคับบัญช าในการ

กาหนดแผนพัฒนารายบคุ คลประจาปี

 สรรหาโอกาสในการพัฒนาให้กับพนักงานใน

ระดบั ท่ี สามารถดาเนินการเป็นพีเ่ ลย้ี งในการสอนงาน ให้ รปู แบบท่หี ลากหลาย
2 คาแนะนา ตลอดจนแสวงหาวิธีการท่หี ลากหลายใน  กระตุ้นให้พนักงานเห็นความสาคัญของการ
การพฒั นาผูใ้ ต้บังคบั บญั ชา
พัฒนา

กระตุน้ สง่ เสรมิ และสนบั สนุนใหผ้ ้ใู ตบ้ ังคบั บัญชา  ติดตามประเมินผลการพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา
ระดับที่ เห็นถึงความสาคัญของการพัฒนา และได้รบั การ แต่ละคนเปน็ ประจา

3 พฒั นา จนสามารถบรรลุผลสาเร็จของแผนพัฒนา  คอยสอน สนับสนุน และให้คาแนะนาในการ
รายบุคคลท่ตี ง้ั ไว้ ปฏิบตั ิงานกับผู้ใตบ้ งั คับบญั ชา

สามารถสร้างผู้สืบทอดตาแหนง่ (Successor) ทมี่ ี  กระตุ้นและสร้างโ อกาสให้พนักงานใน
ระดบั ท่ี ศักยภาพพร้อมท่จี ะปฏบิ ตั ิงานแทนตนเองได้ หรือมี หน่วยงานมีการแบ่งปันข้อมูล ความรู้ ระหว่าง
กัน
4 คณุ สมบตั เิ พียงพอทีจ่ ะได้รบั การเลื่อนตาแหน่ง
 กระตุ้นและติดตามให้ผู้ใต้บังคับบัญชานา
ความรจู้ ากการฝกึ อบรมมาใช้ในงาน

 วางแผนในการพัฒนาเพ่ือสร้างผู้สืบทอด
ตาแหน่ง (Successor)

พิมพ์ครง้ั ท่ี 2
วนั ท่ี 10 สงิ หาคม 2563

วธิ แี ห่ง CMA (CMA WAY) 53

Business Process Management: การบริหารจดั การหนว่ ยงาน
หมายถึง การบริหารจัดการหน่วยงานในความรับผดิ ชอบให้มปี ระสทิ ธภิ าพ ดาเนนิ งานได้อยา่ งราบรนื่ ทัง้ ในดา้ นงบประมาณ

การเงิน การวางแผนงาน อานวยการ การตัดสินใจและแก้ไขปัญหา การบริหารจดั การความเส่ียง

ระดับ นิยาม ชุดพฤตกิ รรม
 มีการวางแผนงบประมาณประจาปีและควบคมุ
เข้าใจลักษณะการดาเนินธุรกิจขององค์กร ตลอดจน
เข้าใจหลักการของการตั้งเป้าหมายให้สอดคล้องกับ ให้อย่ใู นกรอบที่วางไว้ โดยไม่มากหรอื น้อยกว่า
ระดบั ท่ี เป้าหมายองค์กร รวมถึงเข้าใจหลักการของการ จนเกนิ ไป
1 วางแผนปฏิบัติการเพื่อตอบสนองเป้าหมายท่ีวางไว้  มกี ารประเมินและจดั ทาแผนบริหารจดั การ
และหลักการของการระบุและจากัดความเส่ียงของ ความเสี่ยงของหนว่ ยงาน และปรบั ปรุงใหเ้ ป็น
การดาเนนิ งาน ปัจจบุ ันพร้อมใชง้ านได้ตลอดเวลา

สามารถควบคุมและบริหารจัดการให้หน่วยงาน  มกี ารจัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารได้อย่างรดั กุม และมี
การวเิ คราะหป์ ัจจัยแห่งความสาเร็จ (Key
ระดบั ที่ สามารถปฏิบัติตามแผนงาน หรือแผนปฏิบัติการที่ Success Factors)ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและชดั เจน
2 วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสามารถ
ตัดสินใจตามขอบข่ายความรับผิดชอบได้อย่าง  แบง่ ปนั หรอื แลกเปลยี่ นความรู้ดา้ นการบริหาร
จดั การกบั ผู้อ่นื
ถูกตอ้ ง
 มกี ารตัดสนิ ใจและแก้ไขปัญหาบนพน้ื ฐานของ
สามารถชี้แนะ ให้คาแนะนาวิธีปฏิบัติ หรือถ่ายทอด หลักการและข้อมลู ท่ีผ่านการวเิ คราะห์อยา่ ง
ความรู้ด้านบริหารจัดการหน่วยงาน ท้ังในเชิงการ ละเอยี ด
ระดบั ที่ วางแผนปฏิบัติการ (Action Plan) การระบุและ
3 จัดการความเสี่ยง การบริหารจัดการต้นทุนและ  แสวงหาความรู้ใหมๆ่ ด้านการบรหิ ารจดั การอยู่
งบประมาณ การตัดสินใจ การบริหารจัดการ เสมอ
ประจาวนั ให้กับผอู้ ่ืนได้
 ตรวจสอบและรายงานความคืบหนา้ ของ
สามารถวิเคราะห์แผนกลยุทธ์และวิสัยทัศน์ของ แผนงานทุกแผนงานในความรับผิดชอบอย่าง
ระดับที่ บริษัท ตลอดจนสภาพแวดล้อมการดาเนินงานใน สม่าเสมอ

4 ปัจจุบัน เพ่ือจัดทาแผนงานระยะสั้นและระยะกลาง  มีการวางแผนงานหรือมาตรการต่างๆ โดย
ของหนว่ ยงาน ในการสนบั สนุนเป้าหมายบริษัท พิจารณาถึงผลกระทบต่อหน่วยงานอื่นใน
องค์กรอย่างรอบคอบ

พิมพค์ รั้งที่ 2
วนั ท่ี 10 สงิ หาคม 2563

วิธีแห่ง CMA (CMA WAY) 54

Problem Solving: ทักษะการแก้ไขปญั หา

หมายถงึ ความสามารถในการแกไ้ ขปญั หาในงานโดยการวิเคราะหส์ ถานการณ์หรือสภาวะการปฏิบตั ิงานปจั จบุ ันเพื่อระบุ

ปัญหา วเิ คราะหห์ าสาเหตุ การออกแบบทางเลือกในการแก้ไข ตลอดจนการตดั สนิ ใจและดาเนินการแก้ไขปญั หาโดยอยู่บน

พน้ื ฐานของหลกั การ

ระดบั นยิ าม ชดุ พฤติกรรม

ตระหนักว่าปัญหาไม่ว่าเล็กหรือใหญ่เป็นสิ่งท่ีจะต้อง  แสวงหาปัญหาท่ซี ่อนอยใู่ นงานทต่ี นรบั ผิดชอบ
ระดับท่ี ไดร้ บั การแก้ไข ไม่ทนอยู่กบั ปัญหาเดมิ ๆที่เกิดขน้ึ มี  รายงานปัญหา หรือแจง้ เตือนผทู้ ีเ่ ก่ยี วขอ้ งให้

1 การสื่อสารและประสานงานเพ่ือขอความร่วมมือหรือ รบั ทราบทนั ที
ขอความเห็นจากผู้ทเ่ี กยี่ วข้อง  ไมน่ งิ่ เฉยเมือ่ ทราบว่ามีปญั หาเกิดขน้ึ

สามารถวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาทเ่ี กิดข้ึนได้อย่าง  รวบรวมขอ้ มลู เพ่ือใชใ้ นการวิเคราะห์ปัญหา
ระดับท่ี ถูกต้อง ผ่านกระบวนการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล อย่างรอบด้านเสมอ

2 อย่างเป็นขั้นเป็นตอนและสามารถระบุวิธีแก้ไขปัญหา  สร้างการมสี ่วนร่วมในการแกไ้ ขปัญหา
ได้ โดยเชญิ ทกุ ฝา่ ยทเ่ี ก่ียวข้องเข้าร่วม

ระดบั ที่ สามารถให้คาแนะนา ตรวจสอบ เกี่ยวกับวิธีการ หรือ  ตดั สนิ ใจบนพนื้ ฐานของข้อมลู
3 แนวทางในการแก้ไขปัญหากับผู้อื่นได้ โดยปัญหาน้ัน  มีการตดิ ตามตรวจสอบผลการดาเนนิ งาน
ไม่มีการเกิดซ้าอกี หรือเกดิ ซ้านอ้ ยมาก
ภายหลงั การแก้ไข
 เมือ่ ปญั หาไดร้ บั การแก้ไข ให้จดั ทาเปน็ คมู่ ือเพ่ือ

การแบ่งปนั ให้กับผู้อื่น
 สรา้ งโอกาสในการแลกเปล่ียนวธิ กี ารจัดการกบั

ปัญหาของแต่ละคน

ระดับที่ สามารถวางแผนป้องกันปัญหาสาคัญๆ หรือปัญหาที่มี
4 ผลกระทบสงู ไว้ลว่ งหน้า ก่อนทีจ่ ะเกิดขน้ึ

พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2
วันที่ 10 สิงหาคม 2563

วิธีแหง่ CMA (CMA WAY) 55

Analytical Thinking : ทกั ษะการคิดเชงิ วเิ คราะห์
หมายถงึ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างเปน็ เหตุเปน็ ผล และสามารถเข้าถงึ ข้อมูลท่ีจาเปน็ ต่อการตัดสินใจ ตลอดจนมี
การตัดสนิ ใจบนพืน้ ฐานของข้อมลู และหลกั การ

ระดบั นิยาม ชดุ พฤติกรรม
ระดับท่ี 1 ระบุได้ถึงข้อมูลทจี่ าเปน็ ตอ่ การปฏบิ ตั ิงานของตนได้อยา่ ง  หาขอ้ มลู ประกอบการตดั สนิ ใจ
ครบถ้วน หรอื สามารถระบุได้ว่าขอ้ มลู อะไรบ้าง ที่จาเป็น  ออกแบบหรือพัฒนาฐานข้อมูลที่จาเป็น
ต่อการวเิ คราะหใ์ นสถานการณ์นัน้ ๆ
ต่อการปฏิบัติงาน
สามารถออกแบบเคร่ืองมือหรือวิธกี ารเก็บข้อมูลเพื่อให้  ปรับปรุงข้อมูลท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ
ระดับท่ี 2 ได้มาซึ่งประเภทและจานวนข้อมูลทต่ี ้องการและความเปน็
ใหเ้ ป็นปจั จบุ นั
ปจั จบุ นั ของข้อมูล  ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ทั้ง

ท่มี า ปรมิ าณ ประเภทของขอ้ มลู
 ใช้หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎี ประกอบการ

วเิ คราะหข์ ้อมลู

สามารถวิเคราะห์ข้อมลู แตล่ ะประเภทได้ ทั้งท่ีเปน็ ขอ้ มลู
ระดับท่ี 3 เชงิ สถติ ิ และข้อมูลเชิงพรรณนาเพื่อให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์

ของการวเิ คราะห์นนั้

ระดบั ที่ 4 สามารถขยายขอบเขตของการวเิ คราะห์ข้อมลู จากหน้าท่ที ี่
ตนรบั ผดิ ชอบเป็นประจา ส่ปู ระเภทหรือขอบข่ายงานอน่ื ๆ
ตลอดจนสามารถแนะนาขน้ั ตอนหรอื กระบวนการ
วิเคราะห์ข้อมลู ให้กับผู้อนื่ ได้

พิมพ์คร้ังที่ 2
วนั ที่ 10 สงิ หาคม 2563

วิธแี ห่ง CMA (CMA WAY) 56

Functional Competency

พิมพค์ รงั้ ท่ี 2
วนั ที่ 10 สิงหาคม 2563

วิธีแหง่ CMA (CMA WAY) 57

เกณฑก์ ารประเมินระดับความชานาญสมรรถนะตามสายงาน
(Proficiency Level of Functional Competency)

Functional Competency Proficiency Level : ระดับความชานาญของทักษะตามสายงาน

ระดบั คานิยาม

ระดบั ที่ 1 A สาเร็จการศกึ ษามาในด้านนี้ หรอื เคยผ่านการเรยี นในวชิ านี้
ระดบั ที่ 2 B ผ่านการอบรม หรือได้รับใบประกาศในดา้ นนี้
ระดบั ที่ 3 C มคี วามเข้าใจในข้นั ตอนการปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานทก่ี าหนด
ระดบั ท่ี 4 D สามารถลงมือปฏิบัติได้ในข้ันพื้นฐาน และยงั คงต้องไดร้ บั การตรวจสอบความถูกต้องในทกุ
ขั้นตอน
E อธบิ ายได้ถงึ วธิ ีการและกระบวนการปฏิบัติงานได้อย่างเป็นข้นั เปน็ ตอน
A สามารถระบุปญั หาในการปฏิบตั ิงานเบื้องต้นได้
B สามารถแก้ไขปัญหาพืน้ ฐานทางเทคนิคเบ้ืองตน้ หรอื ปัญหาท่ีเกิดเป็นประจาได้
C หาสาเหตแุ ละแก้ไขอาการผดิ ปรกติทั่วไปได้ด้วยตนเอง
D สามารถลงมือปฏบิ ัตไิ ดเ้ องทุกข้นั ตอน แต่ยงั คงต้องตรวจสอบผลในขนั้ สุดท้าย
E มีส่วนรว่ มในการถกประเด็นปญั หาด้านเทคนิคในการปฏบิ ตั ิงาน
A มคี วามชานาญในระดับตรวจสอบความถูกต้องผลงานได้เอง
B หาสาเหตุของอาการผดิ ปรกตแิ ละแก้ไขปญั หาท่ีไมไ่ ดเ้ กิดขึ้นประจาได้
C สามารถประยุกต์ใช้เทคนคิ วิธีการแกไ้ ขปญั หาในสถานการณ์อืน่ ที่ใกลเ้ คยี งกัน
D สามารถให้คาแนะนา ถา่ ยถอดความรู้ ทักษะระดับพ้นื ฐานใหก้ ับผ้อู ่ืนได้
E สามารถปรับปรงุ กระบวนการทางาน หรอื กาหนดมาตรฐานในการทางานในเร่ืองน้นั ๆได้
A สามารถดาเนินการได้ภายใต้เง่อื นไขท่ีถูกจากัดหรือในสถานการณท์ ่ีไมป่ รกติได้
และได้ผลลพั ธใ์ นระดับมาตรฐาน
B สามารถแก้ไขปัญหาเชงิ ลกึ ทไี่ มเ่ คยเกิดขึน้ มาก่อนได้
C สามารถต่อยอดความรใู้ ห้เกดิ การพฒั นาปรบั ปรงุ หรือสรา้ งสิง่ ใหม่ที่เหมาะสมกบั การ
ปฎบิ ัติงาน
D สามารถถ่ายทอดความรู้ ทักษะขน้ั สูงให้กบั ผู้อ่ืนไดแ้ ละจัดการโครงการ (Project)นน้ั ๆได้
E สามารถวางแผนกลยทุ ธหรือกาหนดทิศทางการปฏิบตั ิงานในด้านนั้นๆให้กับหน่วยงาน
หรือองค์กรได้

พิมพค์ ร้ังท่ี 2
วนั ที่ 10 สิงหาคม 2563

วิธแี ห่ง CMA (CMA WAY) 58

สมรรถนะตามสายงาน (Functional Competency)

รหสั (Code) สมรรถนะตามสายงาน (Functional Competency)

FC-01 ความรูเ้ ก่ยี วกับธรุ กจิ และผลิตภัณฑ์ (CMA’s Business)
FC-02 มาตรฐานการจดั ทารายงานทางบัญชีและการเงนิ (Accounting & Financial Report)
FC-03 การวิเคราะห์ข้อมูลทางบญั ชีและการเงนิ ( Analyzing Accounting & Financial Information)
FC-04 บญั ชภี าษอี ากรระหวา่ งประเทศ
FC-05 บัญชสี าหรบั กิจการทไ่ี ดร้ บั การสง่ เสริมการลงทุน (BOI)
FC-06 สิทธิประโยชน์ด้านการนาเขา้ -ส่งออก (FTA)
FC-07 กระบวนการการนาเข้า - สง่ ออก (Import-Export Process)
FC-08 การดาเนนิ พธิ กี ารศุลกากร ( Customs Formality Process)
FC-09 สทิ ธปิ ระโยชนส์ าหรบั กจิ การทไ่ี ด้รับการส่งเสริมจาก BOI (Right for BOI Privilege)
FC-10 ระบบป้องกันไวรสั (Anti-Virus System)
FC-11 การจดั การระบบ CCTV (CCTV Network)
FC-12 ระบบปฏบิ ัติการ Software (Software in Use)
FC-13 การดูแลรกั ษา Server & Domain (Server & Domain)
FC-14 การซ่อมบารุงระบบ Hardware เบอื้ งต้น (Basic Hardware Maintenance)
FC-15 การดแู ลระบบสัญญาณโครงขา่ ยและสายสญั ญาณ (Networking System)
FC-16 SQL & Java Script
FC-17 การออกแบบ Website (Web Design)
FC18 คา่ นยิ มองค์กร (Core Values)
FC-19 การบริหารจดั การช่างฝีมือชาวตา่ งชาติภายใตก้ ารส่งเสริม BOI
FC-20 การบรหิ ารจดั การสวสั ดิการและสทิ ธิประโยชน์พนกั งาน
FC-21 ระบบการบริหารและพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ (HRM & HRD System)
FC-22 เทคนิคการสัมภาษณง์ าน (Job Interview Techniques)
FC-23 ระบบบรหิ ารผลการปฏิบตั ิงาน ( Performance Management System)
FC-24 การบริหารจดั การโครงสรา้ งเงินเดือน (Salary Structure Management)
FC-25 กฎหมายแรงงานและ พรบ.ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ( Labor Law and Concern Law)
FC-26 การบรหิ ารจดั การงานธรุ การ (General Affairs Management)
FC-27 ภาษีป้าย ภาษที ี่ดินและสิ่งปลูกสรา้ ง ( Signboard Tax, Land and Building Tax)

พิมพ์ครงั้ ที่ 2
วนั ท่ี 10 สิงหาคม 2563

วิธีแหง่ CMA (CMA WAY) 59

รหัส (Code) สมรรถนะตามสายงาน (Functional Competency)
FC-28 เทคนิคการเจรจาต่อรอง (Negotiation Technique)
FC-29 การบรหิ ารจัดการกระบวนการจัดซอ้ื (Purchasing Management System)
FC-30 ความรพู้ ้นื ฐานในงานจัดซอื้ (Purchasing Fundamental)
FC-31 การวางแผนการจัดหาวตั ถุดบิ (Material Planning)
FC-32 ข้อมลู ผ้ขู าย (Vendor Insight)
FC-33 การบริหารสัญญาจัดซือ้ (Purchasing Contract Management)
FC-34 การบริหารจัดการค่คู ้า (Supplier Management)
FC-35 ระบบบรหิ ารด้านคณุ ภาพ ISO 9001 ( Quality System ISO9001)
FC-36 ระบบบริหารด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14001 (Environment System ISO14001)
FC-37 ระบบการควบคุมเอกสาร (Document Control System)
FC-38 การตรวจติดตามภายใน (Internal Auditing)
FC-39 ระบบการจดั การความลับทางการค้า (Trade Secret Management)
FC-40 กิจกรรมไคเซ็น (Kaizen Activity)
FC-41 การอนรุ ักษ์พลังงาน (Energy Saving)
FC-42 กฎหมายความปลอดภัยและอาชวี อนามัยในโรงงาน (Safety Law for Industrial Factory)
FC-43 การวางแผนและการจัดการดา้ นความปลอดภยั (Safety Management))
FC-44 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น (First Aid)
FC-45 ระบบบาบัดนา้ เสีย (Water Treatment)
FC-46 การจัดการขยะและของเสีย (Waste Management)
FC-47 การบรหิ ารงานขาย ( Sales Management)
FC-48 การบรกิ ารหลังการขาย (After sales service)
FC-49 โครงสร้างของเคร่อื งจกั ร (Machine structure)
FC-50 วงจรไฟฟา้ เคร่ืองจักร (Machine Electric Diagram)
FC-51 ระบบควบคมุ การทางานในเครือ่ งจักร ( Machine Operation Control)
FC-52 การตั้งคา่ ศูนยข์ องเครอ่ื งจกั ร (Alignment center of machine)
FC-53 การถอดและการประกอบเครื่องจักร (Assemble and De-Assemble Machine)
FC-54 การประสานงานกบั ตวั แทนจาหนา่ ย (Coordinate with dealers).
FC-55 หลักการพ้ืนฐานเครื่องกล (Basically Mechanical Fundamental)
FC-56 โปรแกรมเขียนแบบเคร่อื งกล (Mechanical drawing program)

พิมพค์ รง้ั ที่ 2
วนั ที่ 10 สิงหาคม 2563

วธิ ีแหง่ CMA (CMA WAY) 60

รหัส (Code) สมรรถนะตามสายงาน (Functional Competency)
FC-57 การอา่ นแบบเคร่ืองกล (Reading mechanical drawing)
FC-58 การตัดแต่งข้นึ รปู โลหะ (Metal Forming process)
FC-59 วัสดุศาสตร์ (Materials Science)
FC-60 มาตรฐานขนาดและความเที่ยงตรงของชนิ้ งาน (Geometric Dimension &Tolerance)
FC-61 การออกแบบการทดลอง (Design of Experiment)
FC-62 การใชง้ าน ระบบ SFA System
FC-63 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ทางสถิตเิ บือ้ งต้น (Basic Statistical Information Analysis)
FC-64 การเขยี นโปรแกรมตดั ชน้ิ งาน (Programming Cutting Machine with G Code M Code)
FC-65 การติดตั้งอปุ กรณ์เสรมิ ในเคร่ืองจกั ร (Tooling & Options)
FC-66 การออกแบบอุปกรณ์สนับสนนุ การทางาน (Design of Jig & Fixture)
FC-67 การออกแบบแผนผังกระบวนการ (Design of Work Process & Layout)
FC-68 ระบบไฟฟา้ เคร่อื งจักร (Machine Electric System)
FC-69 ระบบ Hydraulic และ ระบบ Pneumatic (Hydraulic and Pneumatic System)
FC-70 ระบบแกส๊ และเคร่ือง Burner (Gas System and Burner)
FC-71 กระบวนการเชือ่ มโลหะ (Gliding Process)
FC-72 การใช้เครนเหนือศรษี ะ (Overhead Crane Using)
FC-73 ระบบไฟฟ้าโรงงาน (Factory Electrical System)
FC-74 การบารุงรกั ษาหมอ้ แปลงไฟฟ้า (Transformer Maintenance)
FC-75 การซ่อมบารุงเคร่ืองจกั ร (Machine Maintenance)
FC-76 การซ่อมบารุงมอเตอร์ (Motor Maintenance)
FC-77 การซอ่ มบารุงระบบสาธารณปู โภคในโรงงาน (Facility Maintenance Systems)
FC-78 ความรูพ้ ืน้ ฐานแบบโครงสร้างโรงงาน (Factory Structure Fundamental)
FC-79 ระบบปฏบิ ตั กิ าร K2 coding (K2 Operation System)
FC-80 การคดิ วิเคราะห์ข้อมูล ( Information Analysis)
FC-81 ความรู้พื้นฐานด้านกระบวนการผลติ (Production Flow Chart)
FC-82 การวางแผนการผลิต (Production Planning)
FC-83 การวางแผนการจัดหาวัตถุดิบ (Material Planning)
FC-84 ระบบปฏบิ ตั ิการ M3 (M3 Operations System)
FC-85 ระบบบริหารจัดการคลังสนิ คา้ (Store Management)

พมิ พ์ครั้งที่ 2
วนั ท่ี 10 สิงหาคม 2563

วธิ ีแหง่ CMA (CMA WAY) 61

รหัส (Code) สมรรถนะตามสายงาน (Functional Competency)
FC-86 การขบั ข่รี ถโฟล์คลิฟ (FORKLIFT Driving)
FC-87 การใช้รถแฮนดล์ ฟิ (Hand Lift Using)
FC-88 การใช้เครือ่ งมอื และเคร่อื งมอื วดั (Measurement Tools and Equipment Using)
FC-89 การสอบเทียบเครื่องมือวดั (Calibration Process)
FC-90 มาตรฐานการตรวจสอบคุณภาพงาน (Quality Inspection Standard)
FC-91 การตรวจสอบกระบวนการ (Process Auditing)
FC-92 การจัดการคุณภาพของ Supplier (Supplier Quality Management)
FC-93 ความร้พู ้นื ฐานเคร่อื งจกั ร Cincom (Cincom Machine Fundamental)
FC-94 การใชอ้ ปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ในการทางาน ( Tools and Equipment Using)
FC-95 การใช้นา้ มนั และสารเคมี ( Oil and Chemical Using)
FC-96 กระบวนการทาน้ามนั กนั สนมิ (Rust Prevention Process)
FC-97 คมู่ ือในการปฏบิ ัติงาน (Work Manual)
FC-98 ระเบียบวธิ ปี ฏิบตั ิงาน (Work Procedure)
FC-99 ขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ าน (Work Instruction)
FC-100 มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Work Standard)

พิมพค์ รั้งท่ี 2
วนั ท่ี 10 สิงหาคม 2563

วิธีแหง่ CMA (CMA WAY) 62

บนั ทกึ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………........
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................…

พมิ พค์ ร้ังที่ 2
วันท่ี 10 สงิ หาคม 2563

วธิ แี ห่ง CMA (CMA WAY) 63

มุ่งม่ันดว้ ยวถิ ที ำงของเรำ

พมิ พ์ครั้งท่ี 2
วนั ท่ี 10 สงิ หาคม 2563


Click to View FlipBook Version