ก
คำนำ
เอกสารฉบบั นจี้ ดั ทาขนึ้ เพอ่ื นาผลงานเข้ารบั การประกวดนวตั กรรมการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ประจาปี
การศกึ ษา ๒๕๖๔ สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 2 ผลงานท่ีมวี ิธกี ารปฏิบัติทดี่ ี เกมหมาก
ฮอสสตู รคูณ ของ นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ โรงเรียนวัดหนองกะขะ(บุญยง่ิ ประชานกุ ลู ) สานกั งานเขตพน้ื ท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาชลบุรี เขต 2 โดยผจู้ ัดทาได้รวบรวม สรปุ ผลงานตามหัวข้อการ ประเมินท่กี าหนด พร้อม
แนบหลักฐานเอกสารอ้างอิงไว้ด้วยแลว้ เอกสารฉบบั นี้เสร็จสมบูรณ์ได้ด้วยความรว่ มมือของผ้อู านวยการโรงเรียน
ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา โรงเรียนวดั หนองกะขะ(บุญยง่ิ ประชานุกูล) สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา
ประถมศกึ ษาชลบรุ ี เขต ๒ ท่ีได้ชว่ ยรวบรวมข้อมูลต่างๆ ทาใหส้ ะดวกต่อการ จัดทาเอกสารฉบบั นี้ หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่
วา่ เอกสารฉบบั น้ีคงจะอานวยความสะดวกให้แก่คณะกรรมการคดั เลือก ในการพิจารณาคดั เลอื กตอ่ ไป โรงเรียนวดั
หนองกะขะ(บุญยิง่ ประชานุกลู )
นางณัฏฐนชิ ทานัน
ครผู ู้ช่วย
สำรบญั ข
คานา หนำ้
สารบัญ
ชอื่ นวตั กรรม ก
ขอ้ มูลท่วั ไป ข
ความสาคญั ของนวัตกรรม ๑
วตั ถุประสงค์ ๑
กล่มุ เปา้ หมาย ๒
หลักการ แนวคิด ทฤษฎี ๓
ขน้ั ตอนการดาเนินงาน/การออกแบบหรือพัฒนานวัตกรรม ๓
ผลสาเร็จของการสรา้ งหรือพฒั นานวัตกรรม ๓
แนวทางการนานวตั กรรมไปใช้ ๗
การเผยแพร่นวตั กรรม ๘
อา้ งอิง ๙
ภาคผนวก ๙
๑๐
๑๑
๑
แบบรำยงำน “นวัตกรรมกำรพฒั นำคณุ ภำพกำรศึกษำ” ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๔
สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศกึ ษำประถมศึกษำชลบุรี เขต 2
ประเภทนวตั กรรม
ดำ้ นกำรบรหิ ำรกำรศกึ ษำ
ดำ้ นกำรบรหิ ำรสถำนศกึ ษำ
ดำ้ นกำรจดั กำรเรยี นรู้
ดำ้ นกำรนิเทศกำรศกึ ษำ
ดำ้ นกำรสง่ เสริมกำรจดั กำรศกึ ษำ
1. ช่ือนวตั กรรรม รายงานการพัฒนานวตั กรรม “พฒั นาการท่องสตู รคณู โดยใช้เกมหมากฮอสสูตรคณู สาหรบั
นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ โรงเรยี นวัดหนองกะขะ (บุญย่ิงประชานุกูล)
ดา้ นการบรหิ ารการศกึ ษา
ดา้ นการบริหารสถานศึกษา
หลักสตู รสถานศกึ ษา การวดั และประเมินผล
การจัดการเรียนรู้ การบริหารจดั การ
สื่อการเรียนการสอน
ด้านการจดั การเรยี นรู้
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การวัดและประเมนิ ผล
การจัดการเรยี นรู้ การบรหิ ารจัดการ
สือ่ การเรียนการสอน
ด้านการนิเทศการศึกษา
กลมุ่ งานที่รับผดิ ชอบ โปรดระบุ
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ โปรดระบุ
ดา้ นการส่งเสริมการจัดการศกึ ษา
2. ช่ือ-นำมสกลุ (ผู้รบั ผดิ ชอบ) นางณัฏฐนิช ทานนั ตาแหนง่ ครผู ู้ช่วย
3. โรงเรยี น/กลมุ่ งำน โรงเรยี นวัดหนองกะขะ สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชลบรุ ี เขต 2
E-mail address: [email protected] LINE ID: 2026nattanit เบอร์มือถือ 0857078892
๒
4. ควำมสำคญั ของนวัตกรรม
คณติ ศาสตรเ์ ปน็ วชิ าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการคดิ อย่างมเี หตุผล เป็นข้ันตอน เพอ่ื ใช้ แก้ปัญหาต่าง ๆ ท่ี
ซบั ซ้อน คณิตศาสตร์เข้ามามบี ทบาทตอ่ การดารงชีวติ ของมนษุ ยต์ ลอด คณติ ศาสตร์จึงเปน็ สงิ่ ทม่ี คี ่าต่อการพฒั นา
คณุ ภาพของประชาชนทกุ ชาติ เพราะคณิตศาสตร์ไมใ่ ช่แค่เร่ืองของงานดา้ นการแพทย์ วิศวะ แมง้ านด้านธรุ กจิ
จิตวทิ ยา การวิจัยคน้ หาความจริงในศาสตรต์ ่าง ๆ ทกุ ดา้ น รวมท้ังการใช้ชีวติ ประจาวนั คณติ ศาสตรก์ ็เปน็ เครื่องมือ
สาคัญท่ีจะช่วยให้ชวี ติ เรางา่ ยขึ้น ดีขึ้น ไม่ว่าจะเป็นด้านชีวติ ประจาวัน เช่น การทา บัญชรี ายรบั รายจา่ ย ดา้ น
วทิ ยาศาสตร์ เช่น การทดลอง การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดา้ นอุตสาหกรรมในการสร้าง รูปแบบและการทดลองและ
ขบวนการของเครื่องจกั ร สร้างเขอื่ น สร้างทางหลวง และในดา้ นธุรกจิ ใช้ประโยชน์ ในการดาเนินกจิ การและจดั การ
ที่เกีย่ วข้องกบั การซือ้ ขาย เปน็ ตน้ ในปัจจบุ นั มีเด็กจานวนไม่น้อยท่ไี มช่ อบเรยี นวิชาคณติ ศาสตร์ เน่ืองจากมีความคดิ
ในแงล่ บเกีย่ วกบั วิชาคณิตศาสตร์ เช่น ยาก น่าเบื่อ เรยี นไมเ่ ก่ง เด็กเกง่ เทา่ นนั้ ทจี่ ะเรยี นคณิตศาสตร์รู้เร่ือง เรยี นไป
ก็ไม่ไดใ้ ช้ เพราะมีเครือ่ งคิดเลข เปน็ ตน้ ซง่ึ จากความคดิ เหล่านจี้ ะนาพาไปส่คู วามไม่ตงั้ ใจเรยี น แตถ่ ้ามองใหล้ กึ ลงไป
ใน ปญั หาจรงิ ๆแลว้ การทนี่ กั เรียนไมช่ อบเรียนคณติ ศาสตรเ์ ปน็ เพราะมพี ืน้ ฐานในการคานวณทีไ่ ม่ดี เช่น การบวก
การลบ การคูณ การหาร หรือแม้กระทงั่ การท่องสูตรคณู ท่ีใครหลายคนมองขา้ ม ไม่สนใจ ไม่ใส่ใจในการท่อง การ
ท่องสูตรคูณเป็นสงิ่ ทีส่ าคัญในการคิดคานวณท้งั ในระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา นกั เรียนท่ีท่องสตู ร คูณไม่
คลอ่ ง จะคิดคานวณได้ช้า ไดค้ าตอบที่ผดิ และไม่สนกุ กบั การเรยี น และมีพฤติกรรมการตดิ การใชเ้ คร่ือง คิดเลขแทน
การคานวณด้วยตนเอง ซึง่ การแกป้ ัญหามดี ้วยกนั หลายวิธี เช่น การใหน้ ักเรียนท่องสูตรคูณพรอ้ ม กัน ใหท้ อ่ งเปน็
รายบุคคล เป็นต้น
จากผลการประเมนิ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นร้วู ชิ าคณิตศาสตร์เรื่องการคูณ ในปี การศึกษา 2564 ผลการ
ประเมินอยู่ในระดบั ทีไ่ ม่นา่ พอใจ และนักเรยี น ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 บางคนยงั ท่องสูตรคูณไม่
คล่อง ผูร้ ายงานในฐานะครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ได้ ตระหนกั ถงึ ปญั หาดังกล่าว จงึ หา
แนวทางท่ีจะพัฒนาปรบั ปรุงแกไ้ ขด้านการจัดการเรียนรู้เพอ่ื ใหผ้ ลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของนกั เรยี นสูงขนึ้ ดงั นนั้
วธิ ีหนงึ่ ที่จะเพ่มิ ประสิทธิภาพของการเรยี นการสอน คือ การหาสือ่ หรอื กจิ กรรมเสริม มาประกอบการเรียนการสอน
เพ่ือกระตนุ้ ความสนใจและการเรียนร้ขู องนกั เรยี น โดยจากการ สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนโรงเรยี นวัดหนอง
กะขะ(บญุ ยิ่งประชานกุ ูล) ในช่วงว่างหรือช่วงไมม่ กี ารเรยี นการสอน พบวา่ นกั เรียน จะชอบเลน่ เกมหมากฮอส และ
เล่นกันอย่างสนุกสนาน ทั้งนี้ เพราะเกมหมากฮอสเป็นเกมที่เล่นงา่ ยและเล่นได้ทง้ั เพศหญงิ และเพศชาย ดว้ ยเหตุผล
ดังกลา่ วผรู้ ายงานจึงมีความคิดท่ีจะนาเกมหมากฮอสมาประยุกตใ์ ชก้ บั การเรียนคณติ ศาสตร์ โดยได้ทาการสรา้ ง
“เกมหมากฮอสสูตรคูณ” เพื่อพัฒนาความรู้ แกป้ ัญหาการทอ่ งสตู รคูณไม่คลอ่ ง และฝึกทกั ษะการคูณ และการหาร
นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 เพอื่ ใหน้ ักเรียนใช้ฝกึ ไดท้ งั้ ในเวลาเรียน และนอกเวลาเรียน โดยมุ่งหวงั ว่าเมือ่ นาเกม
มาใชใ้ นกิจกรรมการเรยี นการสอนแลว้ จะชว่ ยแก้ปญั หาการทอ่ งสตู รคณู ไม่คลอ่ ง และพัฒนาความคิดรวบยอด
เกีย่ วกับการคูณ ซง่ึ เป็นทักษะพน้ื ฐานในการเรยี นชน้ั สงู ตอ่ ไป รวมทั้งเพอื่ ไม่ให้นกั เรยี นเกดิ ความเบื่อหนา่ ยในการ
เรียน เกิด ความร้สู กึ ท่ีดีเกยี่ วกับการเรยี นคณิตศาสตร์ เปน็ การพฒั นาการสอนคณิตศาสตรใ์ หม้ ปี ระสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้น ตลอดจนทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตรส์ งู ขน้ึ ด้วย
๓
5. วตั ถปุ ระสงค์
๕.1 เพอ่ื ใหผ้ ลสมั ฤทธ์ทิ างดา้ นการเรยี นคณิตศาสตร์ ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๓ โดยใช้ “เกม
หมากฮอสสตู รคูณ” ให้สูงขนึ้
5.2 เพอื่ พัฒนาความรแู้ กป้ ัญหาการท่องสตู รคณู ไมค่ ลอ่ ง และฝกึ ทักษะการคณู และการหาร นักเรยี นชั้น
ประถมศึกษาปที ี่ ๓
5.3 เพอื่ ศึกษาความพึงพอใจของนกั เรยี นที่มตี ่อการใช้ “เกมหมากฮอสสตู รคูณ”
6. กลมุ่ เปำ้ หมำย
ประชากร/กลมุ่ ตวั อย่าง
นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ โรงเรยี นวดั หนองกะขะ (บุญยิง่ ประชานุกลู ) สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
ประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 จานวน ๑๘ คน
7. หลกั กำร แนวคดิ ทฤษฎี
1. ศึกษำหลกั สตู รเกย่ี วกับวิชำคณิตศำสตร์
หลักสตู รแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (ฉบบั ปรับปรุง ๒๕๖๐) พทุ ธศกั รำช 2551 กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้คณติ ศำสตร์
ทำไมตอ้ งเรยี นคณิตศำสตร์
คณติ ศาสตร์มีบทบาทสาคัญย่งิ ตอ่ ความสาเรจ็ ในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เนอ่ื งจาก คณติ ศาสตร์ชว่ ยให้
มนุษย์มคี วามคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ คดิ อย่างมเี หตผุ ล เป็นระบบ มแี บบแผน สามารถ วเิ คราะหป์ ญั หาหรือสถานการณ์
ไดอ้ ย่างรอบคอบและถี่ถ้วน ชว่ ยให้คาดการณ์ วางแผน ตดั สนิ ใจ แกป้ ญั หา ได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม และสามารถ
นาไปใชใ้ นชีวติ จริงไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ นอกจากน้ี คณิตศาสตร์ยงั เป็นเครือ่ งมอื ในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และศาสตร์อื่น ๆ อนั เป็นรากฐาน ในการพัฒนาทรพั ยก์ รบุคคลของชาตใิ หม้ คี ุณภาพและพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศให้ทัดเทยี ม กบั นานาชาติ การศกึ ษาคณิตศาสตรจ์ ึงจาเป็นต้องมกี ารพัฒนาอยา่ งต่อเน่อื ง
เพ่อื ให้ทันสมยั และสอดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกจิ สงั คม และความรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีที่เจริญกา้ วหน้า
อยา่ งรวดเรว็ ในยุคโลกาภวิ ัตน์
ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั นี้ จดั ทาข้นึ โดยคานงึ ถงึ การสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนมี
ทกั ษะทจี่ าเปน็ สาหรับการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ ๒๑ เปน็ สาคญั นั่นคือ การเตรยี มผูเ้ รียนให้มีทกั ษะดา้ นการคิด
วิเคราะห์ การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ การแกป้ ญั หา การคิดสร้างสรรค์ การใชเ้ ทคโนโลยี การส่อื สารและการร่วมมือ
ซ่ึงจะส่งผลใหผ้ ้เู รียนรเู้ ทา่ ทนั การเปลีย่ นแปลงของระบบเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม สามารถ
แขง่ ขันและ อยู่รว่ มกบั ประชาคมโลกได้ ท้งั นกี้ ารจดั การเรียนรู้คณติ ศาสตร์ทปี่ ระสบความสาเร็จนน้ั จะตอ้ ง เตรยี ม
ผู้เรียนใหม้ ีความพรอ้ มทีจ่ ะเรยี นรู้สิง่ ตา่ ง ๆ พร้อมที่จะประกอบอาชีพเม่อื จบการศกึ ษา หรือ สามารถศกึ ษาต่อใน
ระดบั ท่ีสงู ขึน้ ดงั นั้นสถานศกึ ษาควรจดั การเรียนรู้ให้เหมาะสมตามศักยภาพ ของผู้เรยี น
๔
สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้
สาระท่ี ๑ จานวนและพชี คณิต
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การ ของจานวน
ผลที่เกดิ ขน้ึ จากการดาเนนิ การ สมบัตขิ องการดาเนนิ การ และนาไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสมั พันธ์ ฟงั ก์ชัน ลาดบั และอนุกรม และนาไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชน้ ิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสมั พันธ์หรือชว่ ยแกป้ ญั หาที่กาหนดให้
สาระท่ี ๒ การวดั และเรขาคณติ
มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพ้ืนฐานเกย่ี วกบั การวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสงิ่ ท่ีตอ้ งการวดั และนาไปใช้
มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบตั ขิ องรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รปู
เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
สาระที่ ๓ สถติ แิ ละความนา่ จะเป็น
มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความร้ทู างสถติ ิในการแกป้ ญั หา
มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ ใจหลักการนับเบ้ืองต้น ความนา่ จะเปน็ และนาไปใช้
ทกั ษะและกระบวนกำรทำงคณติ ศำสตร์
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรเ์ ปน็ ความสามารถที่จะนาความรไู้ ปประยุกต์ใช้ ในการเรยี นรูส้ ิง่
ตา่ ง ๆ เพ่อื ใหไ้ ด้มาซ่ึงความรู้ และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตรใ์ นที่น้ี เนน้ ทท่ี ักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ท่ีจาเปน็ และต้องการพัฒนาใหเ้ กดิ ขึ้นกับผู้เรยี น
ไดแ้ ก่ความสามารถต่อไปนี้
๑. การแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการทาความเข้าใจปญั หา คดิ วิเคราะห์ วางแผน แก้ปัญหา และ
เลือกใชว้ ิธกี ารที่เหมาะสม โดยคานึงถงึ ความสมเหตุสมผลของคาตอบ พรอ้ มท้ัง ตรวจสอบความถกู ต้อง
๒. การสอ่ื สารและการส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถในการใชร้ ูป ภาษาและสัญลกั ษณ์
ทางคณิตศาสตร์ในการสือ่ สาร ส่อื ความหมาย สรุปผล และนาเสนอไดอ้ ย่าง ถูกตอ้ ง ชัดเจน
๓. การเชื่อมโยง เป็นความสามารถในการใช้ความร้ทู างคณิตศาสตร์เป็นเครือ่ งมือในการ เรียนรู้
คณติ ศาสตร์ เนอื้ หาตา่ ง ๆ หรอื ศาสตร์อืน่ ๆ และนาไปใชใ้ นชีวติ จริง
๔. การให้เหตุผล เป็นความสามารถในการใหเ้ หตุผล รับฟังและให้เหตุผลสนบั สนนุ หรือ โตแ้ ยง้ เพือ่ นาไปสู่
การสรุป โดยมีขอ้ เท็จจรงิ ทางคณิตศาสตร์รองรบั
๕. การคิดสร้างสรรค์ เป็นความสามารถในการขยายแนวคดิ ทีม่ อี ยู่เดิม หรอื สรา้ งแนวคดิ ใหม่ เพอื่ ปรับปรงุ
พฒั นาองคค์ วามรู้
คุณภำพผเู้ รยี นในวิชำคณติ ศำสตร์
จบช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3
อา่ น เขยี นตวั เลข ตวั หนงั สอื แสดงจานวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ มคี วามรสู้ กึ เชิงจานวน มที กั ษะ
การบวก การลบ การคูณ การหาร และนาไปใช้ในสถานการณต์ ่าง ๆ
มคี วามร้สู ึกเชิงจานวนเก่ยี วกบั เศษสว่ นทีไ่ มเ่ กิน ๑ มีทักษะการบวก การลบ เศษส่วน ท่ีตวั สว่ นเท่ากัน และ
นาไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ
๕
คาดคะเนและวัดความยาว นา้ หนกั ปรมิ าตร ความจุ เลอื กใชเ้ ครอ่ื งมือและหน่วย ทเี่ หมาะสม บอกเวลา
บอกจานวนเงิน และนาไปใช้ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ
จาแนกและบอกลกั ษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลย่ี มมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และ
กรวย เขยี นรปู หลายเหล่ียม วงกลม และวงรีโดยใช้แบบของรปู ระบุรปู เรขาคณติ ทม่ี แี กนสมมาตรและจานวนแกน
สมมาตร และนาไปใช้ในสถานการณต์ ่าง ๆ
อา่ นและเขียนแผนภูมริ ปู ภาพ ตารางทางเดียวและนาไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ
๒. กำรเรยี นรู้โดยใชเ้ กมเปน็ ฐำน (Game-Based Learning: GBL)
๒.๑ กำรสอนโดยใช้เกม
การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใช้เกม คอื เกมการศึกษา เปน็ วิธีการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้น
ผูเ้ รียนเป็นสาคญั เป็นเกมทีม่ ีลกั ษณะการเล่นเพื่อการเรยี นรู้ “Play to learning” มีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือใหผ้ ูเ้ รียน
เกิดการเรียนรู้ในขณะหรือหลังจากการเล่นเกม เรียนไปด้วยและก็สนุกไปด้วยพร้อมกัน ทาให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้
อยา่ งมีความหมาย ดังน้ันจึงสรปุ ไดว้ ่า การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใช้เกมมปี ระโยชน์ชว่ ยใหน้ ักเรยี น
นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ควบคู่ไปกับความสนุกสนาน เกิดความคิดรวบยอดเก่ียวกับส่ิงท่ีเรียน และเป็นการพัฒนา
กระบวนการคิดของผ้เู รยี นไปโดยที่ผ้เู รียนไม่ร้ตู วั รวมทั้งส่งเสริมกระบวนการทางานและอยู่รว่ มกัน (Games Based
Learning หรือ GBL) คืออะไร
เกมการณเ์ รียนรู้ (GBL: Games- Based Learning) เป็นส่ือในการเรยี นรแู้ บบหน่งึ ซึ่งถกู ออกแบบมา
เพ่ือให้มีความสนุกสนานไปพร้อมๆ กับการได้รับความรู้ โดยสอดแทรกเนื้อหาทั้งหมดของหลักสูตรน้ันๆ เอาไว้ใน
เกมและใหผ้ ูเ้ รยี นลงมือเลน่ เกมโดยทีผ่ เู้ รยี นจะไดร้ ับความรู้ตา่ งๆ ของหลักสตู รนั้นผา่ นการเลน่ เกมนั้นดว้ ย
๒.๒ ทฤษฎีเกมกบั กำรศึกษำ
เกมในปัจจบุ ันเปน็ เกมในลกั ษณะเล่นอยา่ งเดยี ว “mere play” คือ วตั ถุประสงค์เพ่ือความเพลิดเพลิน
สนุกสนานในการเล่นเกมของผเู้ ล่น กระบวนการสร้างเกมประเภทนไ้ี มซ่ ับซอ้ นและยุง่ ยากหากตอ้ งการใหบ้ รรลุ
วตั ถุประสงคข์ า้ งต้น แต่เกมเพื่อการศกึ ษาเปน็ เกมทมี่ ลี กั ษณะการเล่นเพอ่ื การเรยี นรู้ “Play to Learning”
วตั ถุประสงคห์ ลกั เพ่ือให้ผูเ้ รียนเกดิ การเรยี นรใู้ นขณะหรือหลังจากการเล่นเกม เรียนไปดว้ ยและก็สนุกไปดว้ ยพรอ้ ม
กนั ทาใหผ้ ู้เรียนมกี ารเรยี นร้อู ย่างมีความหมาย กระบวนการสรา้ งเกมเพื่อการศึกษาจาเป็นตอ้ งผา่ นการออกแบบ
ลักษณะของเกมโดยยึดตามหลักทฤษฎตี ่างๆ ท่เี กี่ยวข้อง ดังนั้นเกมการศึกษาจึงเป็นเกมที่มกี ระบวนการสร้างท่ี
ซบั ซ้อน และใชเ้ วลามากในการสร้างและพฒั นาการใช้และการสร้างเกมเพอ่ื การศึกษาในปจั จุบนั มีลักษณะ
คลา้ ยๆกันคือ การนาเนือ้ หาทต่ี อ้ งการใหผ้ ู้เรียน เรยี นนาเขา้ ไปแทรกในเกม แลว้ ให้ผู้เรยี นได้เล่นเกมโดยเชอ่ื วา่
ความร้หู รือเน้อื หานนั้ จะส่งผา่ นไปยังผเู้ รียนจนผ้เู รียนเกิดการเรยี นรู้ไดใ้ นทส่ี ุด โดยรูปแบบเกมทีส่ ร้างขึ้นส่วนใหญ่จะ
คานึกถึงเฉพาะความสะดวกและความง่ายในการสรา้ งและพฒั นาเกมสเ์ ทา่ นน้ั ทาให้เกมทางการศกึ ษาจึงมกี ารสรา้ ง
เพยี งไมก่ ่รี ูปแบบ และยังใช้เกมรูปแบบเดียวใช้สอนเนอื้ หาท่ีตา่ งกันเพอ่ื ความง่ายและสะดวกในการสร้าง ทาใหเ้ กิด
ขอ้ สงสยั ว่ารปู แบบเกมแบบเดยี ว สามารถใชก้ บั เน้อื หาทีแ่ ตกต่างกนั ได้จรงิ หรอื สิง่ ท่ีควรคานงึ ถึงในการเลอื ก
รปู แบบเกมเพอ่ื นามาใชเ้ พื่อการศึกษาจะตอ้ งคานงึ ถึงจดุ ประสงค์การเรียนร้เู ป็นหลกั โดยสามารถจาแนกลกั ษณะ
ของเกมแบ่งจดุ ประสงคข์ องการเรยี นรูก้ บั รปู แบบเกมท่เี หมาะสม ดงั นี้
1. ความจา ความคงทนในการจา ลกั ษณะเกมเปน็ ชดุ ของเนือ้ หาและแบบประเมินหลงั จากการอา่ นชดุ
เน้ือหาต่างๆ แล้ว รปู แบบเกม เชน่ เกมแบบฝึกหัด,Quiz, เกม Crossword และเกม puzzles ต่างๆ เป็นตน้
๖
2. ทกั ษะ การกระทา เป็นเกมส์ในลักษณะจาลองสถานการณเ์ ร่ืองราว การกระทา การเลยี นแบบ โดยมี
การใหผ้ ลป้อนกลับและมีตวั แปรอื่นๆ เข้ามาเก่ียวข้อง เชน่ เวลา รูปแบบเกม เชน่ เกม Simulation ตา่ งๆ เชน่ เกม
ยงิ , เกมขบั รถ เป็นตน้
3. ประยุกตค์ วามคดิ รวบยอดและกฎข้อบังคับต่างๆ เป็นเกมในลกั ษณะกฎและขั้นตอนวิธกี ารในการ
ปฏิบตั ิ มเี ง่ือนไขในการกระทา เช่น เกมกีฬาต่างๆ
4. ตดั สินใจ การแก้ปัญหา ลักษณะเป็นเกมแบบเปน็ เรอื่ งราว สถานการณ์ สามารถแสดงผลการกระทา
ไดใ้ นทนั ที Real Time รูปแบบเกม เช่น เกมวางแผน, เกมผจญภยั เป็นต้น
5. การอยู่รว่ มกบั สังคม ลกั ษณะเป็นเกมเกมเกี่ยวกบั การส่อื สาร การเลา่ เร่ืองแลว้ มีทางเลือก รปู แบบเกม
เชน่ เกมวางแผน, เกมผจญภัย, เกมเล่าเรอ่ื งราวแล้วให้เลอื ก(เกมภาษา) เปน็ ตน้
๒.๓ ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของเกมกำรศึกษำ
เกมการศึกษาเป็นสื่อการเรียนรู้และกจิ กรรมหลักตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัยพุทธศกั ราช 2546 ที่
ใชจ้ ัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย เพอ่ื พัฒนาเดก็ ให้เกิดคุณลักษณะที่พึงประสงคต์ ามมาตรฐานการศึกษา
ปฐมวัย และเน้นทางด้านสติปัญญาหรือการคิดให้แก่เด็ก เกมการศึกษามีหลายประเภท มีรูปแบบและวิธีเล่น
แตกต่างกันไป สิ่งสาคัญประการหนึ่งท่ีจะช่วยส่งเสริมความคิดให้แก่เด็กคือ การเล่นเกมการศึกษาควรมีคาถาม
กระตุ้นให้เด็กได้คิดด้วย เพราะตามธรรมชาติของเด็กมีความสงสยั ใคร่รู้อยู่เสมอ และเมื่อเด็กได้รับการกระตุ้นด้วย
คาถามซึ่งเป็นสิ่งเร้าท่ีดีชวนให้เด็กสงสัย จูงใจให้เด็กเกดิ พฤติกรรมการเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพทางความคิดที่
เดก็ มีอย่ใู นตวั ตนให้กา้ วข้ึนสู่ขดี สูงสุด และเม่อื ผใู้ หญ่เขา้ ใจธรรมชาติของเด็กได้ให้การสนับสนนุ เด็กหรอื ตอบ สนอง
เด็กด้วยความเตม็ ใจท่ีจะตอบแก่เด็ก เด็กก็เกิดความพร้อมที่จะเรียนรู้ โดยปกติแล้วเด็กปฐม วัยจะช่างสังเกตและ
สารวจสิ่งต่างๆทอ่ี ยู่แวดลอ้ มตัวเอง เม่ือจดั อปุ กรณ์หรอื สิง่ เร้ามาใหเ้ ด็กพัฒนา การสังเกต โดยใชป้ ระสาทสัมผัสรบั รู้
ทุกด้าน เด็กจะพัฒนาการคิดได้อย่างดี เกมการศึกษาเป็นส่ิงเร้าที่ดี เป็นสื่อและกิจกรรมท่ีเด็กสังเกตเห็นได้อย่าง
เดน่ ชดั เปรยี บเทยี บหาความแตกตา่ งของส่งิ ของหรือหารายละเอียดบางอย่างในภาพขณะเดียวกนั มคี าถามชวนให้
เด็กสังเกตมากขึ้น ได้คิด จะช่วยให้เด็กมีการพัฒนาเป็นผู้ใฝ่รู้และหาความจริงจากส่ิงที่เห็น หรือได้คิด ช่วยให้เด็ก
กล้าแสดงออก เรียนรู้ท่ีฟงั ผ้อู ่นื ไดต้ อ่ ไป
๒.๔ ประโยชน์ทีไ่ ด้จำกกำรเรียนกำรสอนด้วยเกม
ประโยชน์ของการเรียนรู้ผา่ นเกมมจี ุดเด่น คือ สามารถสรา้ งการมีสว่ นร่วมระหวา่ งผเู้ รยี นแต่ละคน ผเู้ รียน
สามารถสรา้ งปฏิสัมพนั ธ์ต่อกนั และกัน สามารถให้ความคิดเห็นของคนที่หลากหลายรวมกันเป็นเป้าหมายเดยี วกันได้
เปดิ โอกาสในการรบั ร้เู นอ้ื หา สามารถเชื่อมโยงความรู้เข้ากับสภาพแวดลอ้ มจริงได้ ลดความแตกตา่ งระหวา่ งผู้เรยี น
แต่ละคน เกดิ การเรยี นรู้ด้วยตนเอง จะเหน็ ไดว้ ่าเกมเพอื่ การเรียนรูเ้ ป็นส่ือการสอนทส่ี ามารถทาให้ผู้เรยี นสนใจและ
เปดิ กว้างในการรับรู้ อีกทงั้ ยงั ได้ในเรอื่ งการแลกเปลยี่ นระหว่างผู้เรียน การมสี ว่ นร่วม เปน็ ส่อื ที่นา่ สนใจในการนาเอา
มาพัฒนาการเรยี นร้ใู ห้กับผูเ้ รยี นได้ (ฐปนนท์ สุวรรณกนษิ ฐ์, 2560) นอกจากนี้เกมมีประโยชน์ตอ่ ผเู้ รียน คอื
ช่วยเรา้ ความสนใจของผู้เรยี น เกดิ ความสนกุ สนาน ผ่อนคลายความตึงเครยี ด มีความเข้าใจในเนอ้ื หาเพิ่มมากขึน้ ได้
ฝกึ ทักษะดา้ นตา่ ง ๆ ส่งเสริมความสามัคคี การทางานร่วมกนั ฝกึ ให้ผู้เรียนมวี นิ ยั ในตนเอง และทาใหผ้ ้เู รียนมีเจตคติ
ท่ดี ีในการเรยี น (ประภาศริ ิ ปราโมทย์, 2561)
สรุปได้วา่ ประโยชน์จากการจัดการเรยี นรู้โดยใช้เกมเปน็ ฐานอนั ดับแรกทผ่ี เู้ รยี นจะได้คอื “ ความสุข” เช่ือ
เหลือเกินว่าการทาสิ่งใดแลว้ มีความสุขมันกอ็ ยากทาต่อ และ “สนกุ ” บางทนี กั เรียนบางคนเรยี นหนักจนไมร่ ้วู ่าการ
๗
เรียนก็มีความสุขเช่นกัน นอกจากนน้ี กั เรยี นยังจะได้แสดงความกลา้ แสดงออก ความคิดสร้างสรรค์ และไดร้ บั รู้
ทัศนคตขิ องนักเรยี น และการทางานเปน็ ทีม การอยกู่ ับกลุม่ เพื่อนชว่ ยกนั ทาเกิดความสามัคคีในกลุ่มเพ่อื น และ
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งครกู บั นักเรียนจะเพิม่ คงมากขึน้ เม่อื นักเรยี นวางใจครผู สู้ อนแล้ว นักเรียนจะสามารถปรึกษา
เรอ่ื งตา่ ง ๆ ของเขาได้ บางคนต้องทนกบั ความอดั อั้นใจทไี่ ม่สามารถบอกใครได้ ดังนนั้ ครูตอ้ งสรา้ งความไว้วางใจ
ใหก้ ับนักเรียนโดยใช้เกมในการสานสัมพนั ธ์
8. ขน้ั ตอนกำรดำเนนิ งำน/กำรออกแบบหรือพฒั นำนวตั กรรม
8.1 กลมุ่ เปา้ หมายในการนาไปใช้นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2565 ท่ที อ่ งสตู รคูณยังไม่
คลอ่ ง และมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเรือ่ งการคูณตา่ จานวน ๑๘ คน
8.2 ข้ันตอนการพัฒนา การพฒั นา “เกมหมากฮอสสตู รคูณ” ผรู้ ายงานได้การดาเนินงาน กจิ กรรมตาม
วงจรการบรหิ ารงานเชงิ คณุ ภาพ (PDCA) ดังน้ี
1. ศึกษาสภาพปญั หา ศกึ ษาหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ศึกษาทฤษฏี หลักการ
แนวคิด และเทคนิควธิ ีการในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชเ้ กม
2. วิเคราะห์ปญั หา ของนกั เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓ ในดา้ นการทอ่ งสตู รคูณ
3. ประชุมวางแผนร่วมกับผบู้ รหิ าร และคณะครู เพ่ือกาหนดกิจกรรมในการพัฒนาด้วย “เกม
หมากฮอสสูตรคูณ”
๑. ศึกษาสภาพปัญหา ๑. การสร้างและทดลองการใช้เครอ่ื งมือ
๒. วิเคราะหป์ ัญหา ๒. การนานวัตกรรมไปใชใ้ นสถานการณจ์ ริง
๓. ประชุมวางแผนรว่ มกับผูบ้ ริหาร และ กับนกั เรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย นกั เรยี นชนั้
คณะครู เพ่ือกาหนดกจิ กรรมในการพฒั นา ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ จานวน ๑๘ คน
ด้วย “เกมหมากฮอสสูตรคณู ”
การปรบั ปรงุ ทบทวน พฒั นา แก้ไข ๑. การตดิ ตาม ตรวจสอบ
และหาข้อผิดพลาดของกิจกรรมที่ ๒. วัดประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ
นกั เรียนปฏิบัติ ๓. ประเมนิ ความพึงพอใจ
๘
8.3 การตรวจสอบคุณภาพ ดังนี้
1. ประเมนิ นกั เรียนโดยใชแ้ บบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน
2. สงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นในการรว่ มทากิจกรรม
3. ประเมินความพงึ พอใจของนกั เรียน
กระบวนการตรวจสอบซ้าเพอื่ พัฒนาปรบั ปรงุ นวัตกรรมใหเ้ กิดผลอย่างต่อเนอ่ื ง
1 วธิ กี ารตรวจสอบซ้านวัตกรรมตรวจสอบปัญหาเพอ่ื หาสาเหตุข้อพกพร่องแตล่ ะข้ันตอน
แล้วนา นวัตกรรมมาปรบั ปรงุ แกไ้ ข แล้วนากลบั มาใช้ซา้
2 ผลการตรวจสอบซา้ เพ่อื การพัฒนาและปรับปรุงนวตั กรรมนักเรียนกลมุ่ เป้าหมาย
สามารถ พัฒนาทกั ษะการคณู โดยใช้“เกมหมากฮอสสตู รคูณ” ในการคูณได้ถูกตอ้ งและใช้
ระยะเวลาในการคิดคานวณนอ้ ยลง และเดก็ บางคนสามารถเสนอแนะเพือ่ นได้
8.4 แนวทางการนาไปใชป้ ระโยชน์ ดงั นี้
1. นา “เกมหมากฮอสสูตรคณู ” ที่สรา้ งข้ึนในครง้ั น้ีไปใชใ้ นการพัฒนาการทอ่ งสตู รคูณ การคูณ
ของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 ได้
2. นา “เกมหมากฮอสสตู รคณู ” ที่สรา้ งขน้ึ ในครงั้ นไี้ ปใชส้ ร้างแรงจงู ใจใฝเ่ รียนรขู้ องนกั เรยี นที่ท่อง
สตู รคณู การคณู และการหารไม่คล่อง มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นต่าโดยเปลยี่ นรปู แบบกจิ กรรมวชิ าการมา
เปน็ นันทนาการ ทาใหน้ กั เรยี นมคี วามสุขในการเรยี นรแู้ ละภมู ใิ จในความสามารถของตนเอง
3. เป็นแบบอยา่ งการพัฒนาสือ่ ทีท่ นั สมัย แปลกใหมแ่ ละนาไปใชพ้ ัฒนานักเรียนที่ทท่ี ่องสตู รคณู
การคูณ และการหารไมค่ ลอ่ ง มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นต่าไดจ้ รงิ ในการพัฒนาการคณู และการหารของ
นักเรียนใหด้ ีขนึ้
9. ผลสำเรจ็ ของกำรสร้ำงหรือพัฒนำนวตั กรรม
9.1 ผลสัมฤทธ์ิทางดา้ นการเรียนคณิตศาสตร์ ของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 โดยใช“้ เกมมากฮอส
สตู รคณู ” สูงข้ึน
ตำรำงที่ ๑ ผลกำรทดสอบกอ่ นและหลงั ใชน้ วัตกรรมในกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน
นวัตกรรม จำนวน ผลกำรทดสอบ (๑๐๐ คะแนน)
นกั เรยี น
ท้ังหมด กอ่ นใช้นวตั กรรม ร้อยละ หลงั ใชน้ วตั กรรม ร้อยละ
85.05
หมากฮอสสูตรคูณ ๑๘ 1,159 64.38 1,531
9.2 นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ทอ่ งสูตรคณู ได้คล่องขนึ้ มที ักษะการคูณได้ถูกต้องมากขึ้น (อ้างอิงจาก
ตารางผลการทอ่ งสูตรคูณในภาคผนวก หน้า ๑๕)
9.3 นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 มีความพึงพอใจต่อการใช้“เกมหมากฮอสสูตรคณู ” อยใู่ นระดบั
มากท่สี ดุ (อ้างอิงจากตารางผลการทอ่ งสูตรคูณในภาคผนวก หน้า ๑๗)
๙
10. แนวทำงกำรนำนวัตกรรมไปใช้
1.นำนวตั กรรม “หมำกฮอสสูตรคูณ” ไปใช้แก้ปญั หำในเรอ่ื งกำรเรียนกำรสอน เชน่
1.1 ปัญหาเร่อื งวธิ กี ารสอน ปัญหาทม่ี กั พบอยเู่ สมอ คือ ผสู้ อนสว่ นใหญย่ งั คงยดึ รปู แบบการสอน
แบบบรรยายโดยมคี รูเป็นศูนยก์ ลางมากกวา่ การสอนในรปู แบบอน่ื การสอนดว้ ยวิธีการแบบน้ีเป็นการสอนทข่ี าด
ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลในบัน้ ปลาย เพราะนอกจากจะทาใหน้ กั เรยี นเกิดความเบื่อหน่ายขาดความสนใจ
แลว้ ยังเป็นการปดิ กั้นความคดิ และสติปัญญาของผ้เู รยี นให้อยใู่ นขอบเขตจากัดอีกด้วย
1.2 ปญั หาดา้ นเน้ือหาวชิ ายากแกก่ ารเข้าใจ จงึ จาเป็นจะตอ้ งนาเทคนิคการสอนและสอื่ มาชว่ ย
1.3 ปัญหาด้านการวดั และประเมนิ ผล เช่น ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่าครผู ู้สอนนาไปใชใ้ นการ
ปรบั กิจกรรมการเรยี นการสอนให้มปี ระสิทธภิ าพย่งิ ขึน้ หรอื ใชผ้ ลการประเมินเปน็ ข้อมลู ยอ้ นกลบั ในการพฒั นา
คุณภาพการจัดการเรียนการสอนได้
1.4 ปัญหาเร่อื งอปุ กรณ์การสอน บางเนอ้ื หามสี ่ือการสอนเปน็ จานวนน้อยไม่เพยี งพอตอ่ การ
นาไปใช้เพ่อื ทาให้นกั เรียนเกดิ ความรคู้ วามเข้าใจในเน้อื หาวชิ าได้งา่ ยขึน้ จึงจาเป็นตอ้ งมีการพัฒนาคิดคน้ หาเทคนิค
วธิ ีการสอน และผลิตสอ่ื การสอนใหม่ ๆ เพ่ือนามาใชท้ าให้การเรียนการสอนบรรลุเป้าหมายได้
2. นำนวตั กรรม “หมำกฮอสสตู รคูณ” ไปใชใ้ นกำรพฒั นำกำรเรียนกำรสอน การสรา้ งองคค์ วามรูใ้ หม่ให้
มีประสิทธภิ าพยง่ิ ข้นึ และเป็นประโยชน์ต่อการศกึ ษาโดยการใช้ “เกมหมากฮอสสูตรคูณ” ในการเรยี นการสอนน้นั
ไปเผยแพร่สูค่ รูและบุคลากรท่านอนื่ ๆ หรือเพื่อเป็นตัวอย่างอีกรูปแบบหนงึ่ ให้กับครแู ละบคุ ลากรทส่ี อนในวิชา
เดียวกนั ไดน้ าแนวความคดิ ไปปรับปรุงใชห้ รอื ผลิตสอ่ื การสอนใหม่ ๆ เพื่อนามาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน
ต่อไป
3. นำนวตั กรรม “หมำกฮอสสูตรคูณ” ไปใชเ้ ปน็ ผลงำนทำงวชิ ำกำร นวัตกรรมการเรยี นรนู้ อกจากจะ
เป็นประโยชน์ในดา้ นการปรับปรุงและพัฒนางานหรือการจัดการเรยี นการสอนแลว้ ยงั เปน็ ประโยชน์ ต่อการพฒั นา
วิชาชีพอกี ดว้ ย โดยผูส้ ร้างนวัตกรรมสามารถนาผลจากการนานวัตกรรมไปใช้เปน็ ผลงานวชิ าการได้
11. กำรเผยแพรน่ วตั กรรม
๑๑.๑ เผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ ผา่ นเว็บไซต์โรงเรียนวัดวดั หนองกะขะ(บุญยง่ิ ประชานกุ ลู )/เพจFacebook
โรงเรยี นวัดหนองกะขะและPedlet
๑๑.๒ นาเสนอปญั หาและวธิ กี ารดาเนนิ งานพร้อมถึงแจ้งผลการใช้นวัตกรรมในกิจกรรม PLC ของโรงเรยี น
วัดหนองกะขะ(บญุ ยงิ่ ประชานกุ ลู )
ข้าพเจา้ ขอรับรองว่า ข้อความท่รี ะบใุ นแบบเสนอเปน็ ความจริง และยนิ ยอมปฏิบัตติ ามขอ้ กาหนดและ
เงื่อนไขของ สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต ๒
ลงช่อื .....................................................ผเู้ สนอ
(นางณฏั ฐนชิ ทานนั )
๑๐
อ้ำงองิ
สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร.
ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง ๒๕๖๐).
กรุงเทพฯ: ถนนราชดาเนินนอก เขตดสุ ติ
ฐปนนท์ สุวรรณกนิษฐ์, 2560. การเรยี นการสอนผา่ นเกม. ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์:
มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่
ประภาศิริ ปราโมทย์, 2561. หลกั สตู รและการสอน. ครุศาสตรมหาบณั ฑิต: มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
จิตรดา ภถู าวร, (๒๕๕๕). การจดั การเรียนร้โู ดยใช้เกม. มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชียงราย
นายอดเิ ทพ บบุ ผาสวุ รรณ, ๒๕๖๓. การวางแผนปฏิบตั ิงานโดยใชก้ ระบวนการ PDCA. โรงเรยี นราชประชา
นุเคราะห์๑๕ (เวยี งเกา่ แสนภูวิทยาประสาท) อาเภอเชยี งแสน จังหวัดเชยี งราย
วิทยากร เชียงกูล. (2549). การเรยี นรู้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ. กรุงเทพฯ : สายธาร
ภาคผนวก
๑๑
กำรพัฒนำนวตั กรรม “พฒั นำกำรทอ่ งสูตรคณู โดยใช้เกม “หมำกฮอสสตู รคณู ”
โรงเรยี นวดั หนองกะขะ(บญุ ยิง่ ประชำนุกูล)
สำนกั งำนเขตพืน้ ท่กี ำรศกึ ษำประถมศึกษำชลบุรี เขต ๒
๑๒
กำรพัฒนำนวตั กรรม “พฒั นำกำรทอ่ งสูตรคณู โดยใช้เกม “หมำกฮอสสตู รคณู ”
โรงเรยี นวดั หนองกะขะ(บญุ ยิง่ ประชำนุกูล)
สำนกั งำนเขตพืน้ ท่กี ำรศกึ ษำประถมศึกษำชลบุรี เขต ๒
๑๓
กำรพัฒนำนวตั กรรม “พฒั นำกำรทอ่ งสูตรคณู โดยใช้เกม “หมำกฮอสสตู รคณู ”
โรงเรยี นวดั หนองกะขะ(บญุ ยิง่ ประชำนุกูล)
สำนกั งำนเขตพืน้ ท่กี ำรศกึ ษำประถมศึกษำชลบุรี เขต ๒
๑๔
เอกสำรสำหรบั เผยแพร่
๑๕
แบบบนั ทึกคะแนนกำรท่องสตู รคูณ
เลขที่ ชอื่ -นำมสกุล กอ่ นเรยี น หลงั เรยี น
๑ เด็กชายกฤตธิ ี เผื่อแผ่ 65 88
๒ เด็กชายปรเมธ เชยี งวอ่ ง 62 85
๓ เดก็ ชายพีรวชิ ญ์ เนตรวเิ ชียร 57 80
๔ เด็กชายมนตรี คาผง 70 90
๕ เด็กชายศุภกฤต วงศ์ละคร 75 93
๖ เดก็ หญิงมณธิชา พุทธรักษา 63 80
๗ เดก็ หญิงลดั ดา 53 79
๘ เดก็ หญิงวรรณิษา สาทิพย์จันทร์ 75 90
๙ เด็กหญงิ สุชนันท์ พมิ พซ์ า 79 94
๑๐ เด็กหญงิ อภิชญา กฬี าภักตร์ 69 90
๑๑ เดก็ หญิงเชยี ง เรนิ 75 92
๑๒ เด็กชายวรวิทย์ ภู่ทอง 66 85
๑๓ เดก็ หญิงกมลชนก มะลิทอง 60 85
๑๔ เด็กชายพรี วิชญ์ บุญโกมล 50 75
๑๕ เดก็ ชายกฤติมาพงศ์ บญุ แพง 80 95
๑๖ เด็ฏชายพิริยะพล จิตประสาน 65 80
๑๗ เด็กหญิงรงุ่ ทพิ ย์ เกตมุ าลา 40 70
๑๘ เดก็ ชายสิรวชิ ญ์ ธิจีน 55 80
รวม
คำ่ เฉลีย่ 1,159 1,531
ร้อยละ 64.38 85.05
64.38 85.05
๑๖
แบบทดสอบกำรท่องสตู รคูณ
๑๗
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
โรงเรยี นวัดหนองกะขะ(บุญยงิ่ ประชานุกลู ) อาเภอพานทอง จงั หวดั ชลบุรี
**********************************************************
ช่อื นวตั กรรรม รายงานการพัฒนานวัตกรรม “พฒั นาการทอ่ งสูตรคูณ โดยใช้เกมหมากฮอสสตู รคูณ
สาหรบั นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวดั หนองกะขะ (บุญย่ิงประชานกุ ูล)
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์
คาช้ีแจง: ทาเครือ่ งหมาย ลงในชอ่ งทต่ี รงกบั ระดับความพึงพอใจ
เกณฑก์ ารประเมนิ ระดับ 5 หมายถึง มากที่สดุ ระดบั 4 หมายถงึ มาก
ระดบั 3 หมายถึง ปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง นอ้ ย
ระดบั 1 หมายถึง น้อยท่สี ุด
ท่ี รายการประเมนิ ระดบั ความพึงพอใจ คา่ เฉล่ยี
5 4 321
4.94
1 ความสอดคลอ้ งของเนือ้ หา ๑๗ ๑ - - - ๔.๐๐
๕.๐๐
2 กจิ กรรมมคี วามสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์ - ๑๘ - - - ๔.๘๓
๔.๕๐
3 กจิ กรรมเหมาะสมกับระดับผเู้ รยี น ๑๘ - - - - ๔.๐๐
๔.๕๔
4 ความน่าสนใจของกิจกรรม ๑๕ ๓ - - - ๙๐.๘๐
5 ไดแ้ ก้ปัญหาระหวา่ งปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ๑๒ ๓ ๓ - -
6 ไดร้ บั ความรูเ้ พม่ิ เตมิ จากการปฏิบตั กิ ิจกรรม - ๑๘ - - -
รวม ๖๒ ๔๓ ๓ - -
ร้อยละ
สรปุ ผลการประเมนิ 80- 100 ระดับความพงึ พอใจมากทส่ี ุด
70-79 ระดับความพงึ พอใจมาก
60 -69 ระดับความพึงพอใจปานกลาง
50-59 ระดบั ความพึงพอใจนอ้ ย
นอ้ ยกว่า 50 ระดับความพงึ พอใจนอ้ ยทส่ี ุด