รายงาน
เรอ่ื ง สถานบรกิ ารเด็กปฐมวยั
เสนอ
รองศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพร พชิ ญกุล
จดั ทำโดย
นักศกึ ษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั 611818600
รายงานเล่มนเ้ี ปน็ ส่วนหนงึ่ ของรายวชิ า EEC407 การจัดและบริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์
ก
คำนำ
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา EEC407 การจัดและบริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยมี
จุดประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ทีไ่ ด้จากเรื่องประเภทของสถานบริการเด็กปฐมวัย (ภาครัฐและเอกชน) การ
เปิดดำเนินงาน/การขออนุญาตจัดตั้ง เป้าประสงค์สำคัญในการจัดตั้งสถานบริการเด็กปฐมวัย การจัด
โครงสรา้ งขององค์กร และการจดั ระบบงาน ซึ่งรายงานนม้ี ีเนอื้ หาเก่ยี วกับความรูจ้ ากหนังสือเวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ
ผู้จัดทำได้ทำรายงานเรื่องนี้ เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจและ ต้องขอขอบคุณ รอง
ศาสตราจารย์ ดร.ฐิตพิ ร พิชญกุล ข้อมูลจากหนังสอื และเว็บไซตต์ า่ ง ๆ ผูใ้ ห้ความรู้และแนวทางการศึกษา
เพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ ความช่วยเหลือมาโดยตลอดผู้จัดทำหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และเป็น
ประโยชนแ์ ก่ผู้อา่ นทกุ ๆ ท่าน
คณะผู้จัดทำ
24 มีนาคม 2565
ข
สารบญั
เรื่อง หน้า
บทที่ 1 ความหมาย ความสำคญั และ แนวคิดของสถานบรกิ ารเดก็ ปฐมวยั ......................................... 1
ความหมายของสถานบรกิ าร................................................................................................................................1
ความหมายของการบริการ ................................................................................................................................... 1
ความหมายของเด็กปฐมวยั ..................................................................................................................................2
ความสำคญั ของสถานบรกิ ารเด็กปฐมวยั ..........................................................................................................2
แนวคดิ ของสถานบริการเดก็ ปฐมวัย ..................................................................................................................2
สรุป ............................................................................................................................................................................7
เอกสารอ้างอิง..........................................................................................................................................................8
บทที่ 2 สถานบรกิ ารด้านสง่ เสรมิ ทักษะและความรู้ .............................................................................. 10
1. กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม.................................................................10
2. กระทรวงกลาโหม............................................................................................................................................17
3. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ......................................................................................................................................21
4. กระทรวงวฒั นธรรม........................................................................................................................................24
5. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์........................................................................................................................28
6. สำนกั นายกรัฐมนตรี .......................................................................................................................................30
7. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์........................................................................................................................36
8. หน่วยงานปกครองทอ้ งถ่ิน กรงุ เทพมหานคร...........................................................................................38
9. บรษิ ัท กล่มุ เซ็นทรัล จำกัด............................................................................................................................40
สรุป ..........................................................................................................................................................................41
เอกสารอ้างอิง........................................................................................................................................................42
บทที่ 3 สถานบรกิ ารดา้ นความสนุกและความบันเทิง........................................................................... 46
ค
1. บรษิ ัท อะมิวส์เม้นท์ ครเี อช่นั จำกัด (สวนสนุกดรมี เวิลด)์ ....................................................................46
สารบญั (ต่อ)
2. บรษิ ัท พราว เรยี ล เอสเตท จำกัด ..............................................................................................................47
3. บริษัท เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กร้ปุ จำกัด (มหาชน) .....................................................................................49
4. ผอู้ ำนวยการครอบครวั วิรยิ ะพันธุ์................................................................................................................51
5. ดสิ นยี ์แลนด์ ......................................................................................................................................................52
สรุป ..........................................................................................................................................................................54
เอกสารอา้ งอิง........................................................................................................................................................55
บทที่ 4 สถานบรกิ ารด้านแหล่งทอ่ งเทยี่ วตามธรรมชาติ ....................................................................... 57
1. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม.........................................................................................57
2. กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา..................................................................................................................60
3. กระทรวงมหาดไทย.........................................................................................................................................63
4. หน่วยงานปกครองทอ้ งถ่ิน กรงุ เทพมหานคร...........................................................................................65
5. คุณกานต์ ฤทธข์ิ จร เจ้าของไร่ปลูกรัก.....................................................................................................66
6. เมอร์ลนิ (Merlin Entertainments Group) ..........................................................................................67
สรุป ..........................................................................................................................................................................68
เอกสารอา้ งอิง........................................................................................................................................................69
บทที่ 5 สถานบริการดา้ นสขุ ภาพ................................................................................................................................71
1. กระทรวงสาธารณสขุ ......................................................................................................................................71
2. กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม...................................................................77
3. บรษิ ทั สินแพทย์ จำกดั ..................................................................................................................................80
4. บริษทั กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกดั (มหาชน) ...........................................................................................81
5. สภากาชาดไทย ................................................................................................................................................82
6. โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 อินเตอร์.................................................................................................................83
ง
7. โรงพยาบาลไทยนครนิ ทร์..............................................................................................................................84
สารบัญ (ตอ่ )
8. โรงพยาบาลบำรุงราษฏร์ ...............................................................................................................................86
สรปุ ..........................................................................................................................................................................86
เอกสารอา้ งองิ ........................................................................................................................................................87
สรปุ .......................................................................................................................................................... 89
บรรณานกุ รม............................................................................................................................................. 1
จ
สารบัญภาพ
ภาพที่ 1 พิพิธภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ ............................................................................................................. 12
ภาพท่ี 2 พพิ ิธภณั ฑธ์ รรมชาตวิ ทิ ยา......................................................................................................... 13
ภาพที่ 3 พพิ ธิ ภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ............................................................................................... 14
ภาพท่ี 4 พพิ ิธภณั ฑพ์ ระรามเกา้ .............................................................................................................. 15
ภาพที่ 5 พพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์และทอ้ งฟ้าจำลอง................................................................................ 16
ภาพท่ี 6 พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศและการบิน........................................................................................ 17
ภาพที่ 7 พิพธิ ภัณฑ์กองทพั บกเฉลิมพระเกยี รติ ..................................................................................... 15
ภาพที่ 8 พพิ ธิ ภณั ฑท์ หารเรอื ................................................................................................................. 16
ภาพท่ี 9 หอศิลปวฒั นธรรม..................................................................................................................... 24
ภาพที่ 10 หอภาพยนตร์.......................................................................................................................... 26
ภาพที่ 11 หออัครศลิ ปนิ .......................................................................................................................... 27
ภาพท่ี 12 พิพธิ ภณั ฑเ์ กษตรเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ............................................ 28
ภาพท่ี 13 อทุ ยานการเรยี นรู้ TK Park ห้องสมดุ มีชีวิต............................................................................ 30
ภาพท่ี 14 ห้องสมุดการ์ตูน ห้วยขวาง...................................................................................................... 31
ภาพที่ 15 พพิ ธิ ภัณฑ์การเกษตรเฉลมิ พระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว...................................... 36
ภาพที่ 16 พพิ ิธภณั ฑ์เด็กกรงุ เทพมหานคร แหง่ ท่ี 1 (จตุจักร)................................................................. 38
ภาพที่ 17 คดิ ส์ซาเนีย KIDZANIA BANGKOK ........................................................................................ 40
ภาพที่ 18 สวนสนกุ ดรีมเวลิ ด์.................................................................................................................. 46
ภาพท่ี 19 สวนน้ำ.................................................................................................................................... 48
ภาพที่ 20 Kids Cinema......................................................................................................................... 49
ภาพที่ 21 เมอื งโบราณ............................................................................................................................ 51
ภาพที่ 22 อุทยานธรรมชาติวทิ ยาสริ รี ุกชาติ เปน็ สวนสาธารณะและแหลง่ ทอ่ งเท่ียวเชงิ อนุรกั ษท์ างด้าน
พฤกษศาสตร์และสมุนไพร....................................................................................................................... 57
ภาพที่ 23 สวนสตั ว์นครราชสมี า.............................................................................................................. 59
ภาพท่ี 24 สวนนงนชุ หบุ เขาไดโนเสาร์ ................................................................................................... 60
ภาพที่ 25 ฟาร์มโชคชยั ........................................................................................................................... 61
ภาพที่ 26 สวนปาล์มฟารม์ นก................................................................................................................. 62
ภาพที่ 27 ป่าในกรงุ บางกระเจ้า............................................................................................................. 63
ภาพที่ 28 สวนหลวง ร.9......................................................................................................................... 65
ภาพที่ 29 ไร่ปลูกรกั ................................................................................................................................ 66
ภาพท่ี 30 SEA LIFE Bangkok อควอเรยี มกลางใจเมอื ง......................................................................... 67
ฉ
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ 31 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบล(รัฐบาล) ............................................................................. 71
ภาพที่ 32 โรงพยาบาลเวชชารักษ์ ลำปาง ............................................................................................... 74
ภาพท่ี 33 คลินิกเดก็ ................................................................................................................................ 76
ภาพที่ 34 โรงพยาบาลศิรริ าช ................................................................................................................. 77
ภาพท่ี 35 โรงพยาบาลรามาธิบดี............................................................................................................. 79
ภาพที่ 36 โรงพยาบาลเด็กสนิ แพทย์ ....................................................................................................... 80
ภาพที่ 37 โรงพยาบาลเด็กสมติ ิเวช ......................................................................................................... 81
ภาพที่ 38 โรงพยาบาลกมุ ารเวชศาสตร์ (เอกชน).................................................................................... 82
1
บทท่ี 1
ความหมาย ความสำคัญ และ แนวคิดของสถานบรกิ ารเด็กปฐมวัย
ความหมายของสถานบริการ
(พระราชบัญญัติสถานบริการ, 2546) สถานที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อให้บริการโดยหวังประโยชน์ในทาง
การค้า
สถานท่ตี ัง้ ขน้ึ เพ่ืออำนวยความสะดวก ใหก้ บั ผทู้ ่เี ข้ารบั บริการ
ความหมายของการบรกิ าร
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ได้ให้ความหมาย “บริการ” หมายถึง ปฏิบัติรบั
ใช้ หรอื ให้ความสะดวกต่างๆ ดังน้ัน การให้บริการจงึ หมายถึง งานท่ีมผี ้คู อยช่วยอำนวย ความสะดวกซึ่ง
เรยี กว่า “ผู้ให้บริการ” และ “ผู้มารับบริการ” กค็ ือผู้มารบั ความสะดวก
“การบริการ” ไม่ใช่สิ่งที่มีตัวตน แต่เป็นกระบวนการหรือกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ท่ีต้องการใชบ้ รกิ ารกับผู้ให้บริการในการที่จะตอบสนองความตอ้ งการอย่างใดอยา่ ง
หนึง่ ใหบ้ รรลุผลสำเร็จ (จิตตินันท์ เดชะคุปต์, 2549.)
“การบริการ” ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Service” ในความหมายที่ว่าเปน็ การกระทำทีเ่ ปี่ยม ไป
ด้วยความช่วยเหลือ การให้ความช่วยเหลือการดำเนินการที่เป็นประโยชน์ (จิตตินันท์เดชะคุปต์, 2540.)
ซงึ่ ความหมายอกั ษรภาษาองั กฤษ 7 ตวั น้ี คือ
S = Smiling & Sympathy ยิ้มแย้มและเอาใจเขามาใส่ใจเรา เห็นอกเห็นใจต่อความลำบาก
ยงุ่ ยากของผู้มารับการบรกิ าร
E = Early Response ตอบสนองต่อความประสงคจ์ ากผูร้ ับบรกิ ารอยา่ งรวดเร็ว
R = Respectful แสดงออกถงึ ความนับถอื ใหเ้ กียรติผรู้ ับบริการ
V = Voluntariness Manner การให้บริการที่ทำอย่างสมัครใจเต็มใจทำไม่ใช่ทำงานอย่างเสีย
ไม่ได้
I = Image Enhancing การรักษาภาพลักษณ์ของผู้ให้บริการและภาพลักษณ์ขององค์กร C =
Courtesy ความออ่ นนอ้ ม อ่อนโยน สุภาพมมี ารยาทดี
E = Enthusiasm ความกระฉับกระเฉง กระตือรือร้นขณะให้บริการและให้บริการมากกว่า
ผรู้ บั บริการคาดหวงั เอาไว
สรุปได้ว่า การบริการ หมายถึง งานที่ปฏิบัติรับใช้ หรืองานที่ให้ความสะดวกต่างๆเกิดจากการ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่ต้องการใช้บริการกับผู้ให้บริการ ในรูปแบบกิจกรรมผลประโยชน์หรือความพึง
พอใจทผี่ ้ขู ายจดั ทำขน้ึ เพื่อสนองความต้องการแก่ผู้บรโิ ภค และเพอ่ื ส่งเสริมการขายใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ
2
ความหมายของเดก็ ปฐมวัย
ทศั นา แก้วพลอย (2544: 1) ได้กลา่ วว่า เดก็ ปฐมวยั หมายถงึ เดก็ ทีม่ ีชว่ งอายุต้งั แต่ 0-6 ปี เป็น
วัยเริ่มต้นของการพัฒนาการในทุกด้าน ได้แก่ ด้านสติปัญญา ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจและด้าน
สังคม จงึ เปน็ วยั ท่มี คี วามสำคัญและเป็นพ้ืนฐานของการพฒั นาบคุ คลให้เจริญเติบโตอย่างมีคณุ ภาพ
พชั รี เจตน์เจริญรักษ์ (2545: 89) กล่าววา่ เดก็ ปฐมวัย หมายถงึ วัยเดก็ ตอนต้น โดยนับต้งั แต่แรก
เกิดถึง 6 ปี เปน็ วัยท่ีเตรียมตวั เพอื่ เข้าส่สู ังคมได้รจู้ ักบุคคลอน่ื ๆ มากขึ้น
พระราชบญั ญัติการพฒั นาเด็กปฐมวยั , 2562 เดก็ ปฐมวัย หมายความว่า เดก็ ซง่ึ มอี ายตุ ่ำกว่าหกปี
บริบรู ณ์ และให้หมายความรวมถึง เดก็ ซึง่ ตอ้ งได้รับการพฒั นากอ่ นเข้ารับการศกึ ษาในระดบั ประถมศึกษา
สรปุ ได้วา่ เด็กปฐมวยั หมายถึง เดก็ ทม่ี อี ายุตง้ั แตเ่ รม่ิ ปฏสิ นธจิ นถงึ 6 ปี มีธรรมชาติท่อี ยากร้อู ยาก
เหน็ ชา่ งสงสยั ช่างซกั ถาม ชอบคน้ หา สำรวจ อยู่ไม่นงิ่ ชอบอิสระเปน็ ตัวของ ตวั เองเป็นวยั ท่ีกำลังพัฒนา
คณุ ภาพชวี ติ ทางรา่ งกาย อารมณ์ สังคมและสตปิ ญั ญาอยา่ งเตม็ ที่
จากนิยามข้างต้น สรุปได้ว่า สถานบริการสำหรบั เด็กปฐมวัย หมายถงึ เปน็ สถานท่ีท่ีต้ังข้ึนเพ่ือให้
ความสะดวกต่างๆ ให้กับเด็กปฐมวัย อาทิเช่น สถานบริการด้านความสนกุ และความบันเทิง ด้านสุขภาพ
ด้านการทอ่ งเที่ยวและธรรมชาติ ด้านการพัฒนาทักษะและให้ความรู้ โดยสถานบริการด้านต่างๆ จะช่วย
สง่ เสรมิ พัฒนาการของเดก็ ทง้ั ด้านรา่ งกาย อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา
ความสำคัญของสถานบริการเด็กปฐมวัย
สถานบริการเด็กปฐมวัยช่วยให้เด็กได้รับการพัฒนาในด้านต่างๆอย่างเหมาะสม ตามความ
ต้องการของเด็กและพ่อแม่ผู้ปกครอง เช่น การใช้สายตาสังเกตสิ่งต่างๆ รอบตัว, ได้ใช้มือทดลองทำส่ิง
ใหม่ๆ ท่ีไมเ่ คยทำ
สถานบริการเด็กปฐมวัยช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และการเรียนรู้ที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจมาก
ที่สุดก็คือ การเรียนรู้โดยการลงมือทำ (Learning by Doing) ดังนั้น ถ้าต้องการให้เด็กได้รับความรู้ด้วย
ความเข้าใจ กค็ งตอ้ งใหเ้ ดก็ ไดล้ งมือทำอะไรสกั อยา่ งเพอ่ื ให้เกิดการเรยี นรู้อย่างที่เราตงั้ เป้าหมายไว้
สถานบริการเด็กปฐมวัยเป็นสถานทีท่ ี่ทำให้พอ่ แม่ผู้ปกครองได้ใช้เวลาในการทำกิจกรรมร่วมกบั
ลูก
การพาเด็กไปสถานบริการต่างๆ ก็เปรียบเสมือนการเปิดห้องเรียนชีวิตให้เด็กๆ ได้ฝึกฝนและ
พัฒนาไปพร้อมกับการเรยี นรู้โลกกว้าง เด็กๆ จะได้เห็นอะไรใหม่ๆ ทำให้เขาได้เรยี นรู้ความแตกต่าง รู้จัก
การปรับตัวให้เขา้ กบั สภาพแวดล้อมทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป
แนวคิดของสถานบริการเดก็ ปฐมวัย
การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนด้วยความบันเทิง โดยจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพักผ่อน
หยอ่ นใจในยามว่าง ในยามผอ่ นคลายเปน็ ชว่ งเวลาหนึง่ ท่ีสามารถจัดการเรยี นรู้โดยผู้เรียนก็ยังมีความรู้สึก
ว่าเป็นการพักผอ่ นและเปน็ การใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ (เสาวพร เมืองแกว้ , 2547)
3
โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ (Howard Gardner) ศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายของสติปัญญา
(Theory of Multiple Intelligence : MI) ซึ่งการ์ดเนอร์เชื่อว่าสมองของมนุษยไ์ ด้แบง่ เป็นสว่ น ๆ แต่ละ
ส่วนไดก้ ำหนดความสามารถท่ีค้นหาและแก้ปัญหาท่ีเรยี กว่า “ปัญญา” โดยปจั จุบนั จำแนกความสามารถ
หรอื สติปัญญาของคนเอาไว้ 10 ประเภท
อริ คิ สัน (Erikson อา้ งถงึ ใน สริ มิ า ภญิ โญอนนั ตพงษ์, 2547 : 46-49) เปน็ นักจติ วทิ ยาในกลุ่มจิต
วิเคราะห์ มีอาชีพเป็นจิตแพทย์ ในปี 1955 ได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานของ The Division of
Development Psychology อิริคสัน (Erikson) ได้เน้นความสำคัญของเด็กปฐมวัยว่าเป็นวัยที่กำลัง
เรียนร้สู ่งิ แวดล้อมรอบตวั ซึ่งเป็นส่ิงท่ีแปลกใหม่และน่าตนื่ เต้นสำหรับเดก็ บุคลกิ ภาพจะสามารถพัฒนาได้
ดหี รือไมข่ น้ึ อยกู่ ับว่าแตล่ ะชว่ งของอายุเด็กประสบส่งิ ทพ่ี ึงพอใจตามขนั้ พัฒนาการต่าง ๆ ของแตล่ ะวัยมาก
เพยี งใด ถา้ เดก็ ได้รับการตอบสนองต่อส่งิ ท่ีตนพอใจในชว่ งอายนุ นั้ เด็กกจ็ ะมพี ฒั นาการทางบุคลิกภาพที่ดี
และเหมาะสมและพฒั นาครอบคลมุ ถึงวยั ผ้ใู หญ่
เพียเจต์ (Jean Piaget, 1969) นักจิตวิทยาชาวสวิสที่เป็นที่รู้จักในฐานะผู้เชี่ยวชาญในทฤษฎี
พัฒนาการทางด้านสติปัญญา หนังสือและบทความทั้งหมดซึ่งเป็นผลงานของเขาเกี่ยวข้องกับความ
เจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการทางสติปญั ญาของเดก็ ซ่งึ ทฤษฎนี ้ีเนน้ ถงึ ความสำคัญของความเป็นมนุษย์ อยู่ท่ี
มนุษย์มีความสามารถในการสร้างความรผู้ า่ นการปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กับส่งิ แวดลอ้ ม ซึ่งปรากฏอยใู่ นตวั เด็กตงั้ แต่
แรกเกดิ ความสามารถนค้ี ือการปรบั ตัว (Adaptation) เปน็ กระบวนการท่เี ด็กสร้างโครงสรา้ งตามความคิด
(Scheme) โดยการมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับสิ่งแวดล้อม 2 ลักษณะ คือ เด็กพยายามปรับตัวให้เข้ากับส่ิง
แวดบอ้ ม โดยซึมซับประสบการณ์ (Assimilation) และการปรับโครงสรา้ งสติปญั ญา (Accommodation)
ตามสภาพแวดล้อมเพ่ือให้เกิดความสมดุลในโครงสรา้ งความคดิ ความเขา้ ใจ (Equilibration)
บรูเนอร์ (Bruner, 1956) เป็นนักจิตวิทยาในยุคใหม่ ชาวอเมริกันคนแรกที่สืบสานความคิด
ของเพียเจต์ โดยเชื่อวา่ พฒั นาการและการเรียนรู้ของเด็กเกิดจากกระบวนการภายในอินทรีย์ (Organism)
เน้นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมที่แวดล้อมเด็ก ซึ่งจะพัฒนาได้ดีเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับ
ประสบการณ์และส่ิงแวดลอ้ มรอบตวั เด็ก
แนวคิดเพลิน (Plearn) = Play and learn
ทฤษฎคี อนสตรัคติวิสต์ ส่กู ารจัดการเรยี นรู้ Play + learn = Plearn ทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ สิ ต์ให้
ความสำคญั กบั ตวั ผูเ้ รียน หรอื นักเรยี นมากกว่า ครู หรือ ผู้สอน ผู้เรียนจะเปน็ ผู้ทมี่ ีปฏิสมั พันธ์ (interact)
กบั วัตถุ (object) หรอื เหตกุ ารณ์ ด้วยตัวของเขาเอง ซ่ึงจะทำใหเ้ กดิ ความเข้าใจในวตั ถุ หรอื เหตกุ ารณ์
น้นั ซงึ่ กค็ ือ การสรา้ ง (construct) การทำความเข้าใจ (conceptualization) และ การแก้ปญั หาต่าง ๆ
ดว้ ยตัวของเขาเอง ได้มผี ู้ให้ทศั นะเก่ยี วกับทฤษฎี คอนสตรคั ตวิ ิสต์ ไว้ ดงั นี้
คอนสตรัคตวิ ิสต์ (Constructivism) เปน็ ปรัชญาของการเรียนรทู้ ่ีมีรากฐานมาจากปรัชญาและ
จติ วทิ ยา โดยมแี ก่นของทฤษฎี กค็ ือ เนน้ การสรา้ งความรู้ดว้ ยตนเองและอยา่ งมีความหมายจาก
ประสบการณ์ บุคคลสำคญั ในการพัฒนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ได้แก่ John Dewey Jean piaget Lev
4
Vygotsky Jerome Bruner ในมมุ ของ Constructivist การเรียนรู้ (Learning) หมายถงึ กระบวนการที่
ผเู้ รียนสร้างความรขู้ ึน้ ภายในอยา่ งมีความหมายโดยการตีความหมาย (interpretation) แตกต่างกันตาม
ประสบการณ์ของแต่ละคนมีอยู่ เป็นกระบวนการทเ่ี กิดข้ึนอยา่ งต่อเนอื่ ง โครงสร้างความรู้ (knowledge
Structure) ปรบั แก้ (modification) ได้ตลอด ความรู้ (knowledge) เกิดไดจ้ ากการแปลความหมายของ
ความเป็นจริงในโลก และเข้าไป representation ภายใน (Bednar,Cunnigham, Dufft,Pertt, 1995)
Von glasersfeld (1987) ได้กลา่ วถงึ คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) เปน็ ทฤษฎเี ก่ยี วกบั
ความรู้ (theory of knowledge) โดยมมี มุ มองว่าเกีย่ วข้องกบั หลักการ 2 ประการ ไดแ้ ก่
- ความรู้ (knowledge) เปน็ การกระทำอยา่ งกระตือรอื ร้นโดยผเู้ รียนไมใ่ ชก่ ารทผี่ เู้ รียนจะตอ้ งมา
เป็นฝ่ายรับ อยา่ งเดียวจากสิ่งแวดล้อม (Environment)
- การรจู้ กั (know) เป็นกระบวนการปรบั ตัว (adaptation) ทต่ี ้องมีการปรบั แก้ (modify) อยู่
ตลอดเวลาโดยประสบการณ์ของผู้เรยี นเองจากโลก (world) ความเป็นจริง
fosnot (1996) กลา่ วว่า คอนสตรัคตวิ สิ ต์ เนน้ ทฤษฎีเก่ียวกับความรู้ (knowledge) และการ
เรยี นรู้
(กรมวชิ าการ,2545 อา้ งจาก nick Selly) ไดเ้ ขยี นเกย่ี วกบั ทฤษฎสี รรค์สรา้ งนิยม
(Constructivism) วา่ เป็นทฤษฎกี ารเรยี นรูท้ ผ่ี ้เู รียนทกุ คนสรา้ งความรู้จากความคิดของตนเอง แทนทจี่ ะ
รบั ความรู้ท่สี มบรู ณ์และถูกตอ้ งจากครหู รือแหล่งความร้ทู ค่ี รกู ำหนดไว้ การสรา้ งความร้เู ชน่ นี้ เป็น
กระบวนการทเี่ กดิ ขน้ึ ภายในบคุ คลโดยไมร่ ู้ตวั ซง่ึ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยการนำความร้หู ลายดา้ นมา
ตีความหมายใหม่ ความรบู้ างเรอื่ งอาจไดม้ าจากประสบการณต์ รงของตนเองและบางเรอ่ื งได้มาจากการ
แลกเปลี่ยนกับผอู้ ืน่ แล้วจงึ สรา้ งภาพท่ีสมบรู ณ์และสอดคลอ้ งกบั ของโลกโดยรวมขน้ึ มา “โลก” อาจหมาย
รวมถึงธรรมชาตดิ า้ นกายภาพ หรอื วัตถุ และด้านจติ ใจ คอื ด้านสงั คมอารมณ์ และปรัชญาตา่ ง ๆ
ดังนนั้ จงึ อาจสรปุ ได้วา่ ทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) เป็นทฤษฎกี าร
เรียนรทู้ เ่ี ช่อื วา่ ความรู้ (knowlodge) และการเรียนรู้ (Learning) จะเกดิ ข้นึ ไดด้ ้วยตนเองเป็นคนสรา้ ง
ข้ึนมาด้วยการ ตีความหมาย (interprete) ของส่ิงที่อยใู่ นโลกความเปน็ จริง (real world) ท้ังท่ีเปน็ วัตถุ
(object) หรือเหตกุ ารณ์ (event) ทอ่ี ยบู่ นฐานประสบการณ์และความรู้ ทแี่ ต่ละบุคคลมีมาก่อนเขา้ ไป
สรา้ งความหมาย (representation) ภายในจติ ใจ
PLEARN เปน็ ศัพทบ์ ญั ญัตทิ ่ีศาสตราจารย์ ดร.ชยั อนันต์ สมุทวาณิช อดีตผู้บงั คับการวชริ าวุธ
วิทยาลยั บญั ญตั ิขนึ้ จากคำว่า Play + Learn ซ่ึงเมือ่ ออกเสยี งเป็น “เพลนิ ” แลว้ ใหค้ วามหมายที่
ดี กลา่ วคือการเล่นเรยี นทำให้เดก็ เพลนิ เพราะถ้าเรยี น (learn) อย่างเดยี วกเ็ กิดความเบอ่ื เลน่ (play)
อยา่ งเดยี วก็จะเป็นการไรส้ าระจนเกินไป ดว้ ยดร.ชัยอนันต์ เหน็ ว่าการเรยี นในระบบโรงเรยี นล้มเหลว
และทำให้ทงั้ ครูและนกั เรยี นเกิดความทกุ ขเ์ พราะระบบโรงเรียนพยายามจะบงั คับใหเ้ ด็กเรยี นและรับในสิ่ง
ที่เดก็ ไมส่ นใจ แตก่ ารที่ใหท้ างเลอื กกต็ ้องให้เดก็ เข้าใจดว้ ยวา่ เดก็ ๆควรรจู้ ักเลือก ไมใ่ ช่เลือกทจ่ี ะเลน่ โดยไม่
5
เรียน และก็ไมใ่ ช่การเลือกทจี่ ะเรยี นอย่างเดียวโดยไม่เลน่ กล่าวคอื เปน็ ทางสายกลาง ซ่ึงครูควรเข้าใจและ
ตอ้ งมคี วามคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ (Creativity) จงึ จะสร้างกระบวนการเพลนิ ได้
ดังนนั้ จึงกล่าวไดว้ ่า บทสรุปเกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรคั ติวิสตท์ ก่ี ล่าวมาขา้ งต้น สรปุ เป็น
สาระสำคญั ไดด้ ังน้ี
1) ความรูข้ องบุคคลใด คอื โครงสรา้ งทางปญั ญาของบคุ คลน้นั ทีส่ ร้างข้นึ จากประสบการณใ์ นการ
คล่คี ลายสถานการณ์ท่ีเปน็ ปญั หาและสามารถนำไปใชเ้ ปน็ ฐานในการแก้ปัญหาหรอื อธิบายสถานการณ์
อ่นื ๆ ได้
2) ผู้เรยี นเปน็ ผู้สรา้ งความร้ดู ้วยวิธีการท่ีตา่ งๆ กัน โดยอาศัยประสบการณ์และโครงสรา้ งทาง
ปัญญาทีม่ อี ย่เู ดิม ความสนใจและแรงจูงใจภายในตนเองเป็นจดุ เรม่ิ ต้น
3) ครมู ีหนา้ ทีจ่ ัดนวตั กรรมการเรียนรู้ใหผ้ ้เู รียนไดป้ รบั ขยายโครงสรา้ งทางปัญญาของผเู้ รยี นเอง
ภายใต้ข้อสมมตฐิ านต่อไปน้ี
- สถานการณท์ ี่เป็นปัญหาและปฏสิ มั พันธ์ทางสังคมกอ่ ให้เกดิ ความขดั แยง้ ทางปญั ญา
- ความขัดแยง้ ทางปัญญาเปน็ แรงจงู ใจภายในให้เกิดกจิ กรรมการไตรต่ รองเพอื่ ขจดั ความขดั แยง้
นน้ั Dewey ได้อธบิ ายเกีย่ วกับลักษณะการไตรต่ รอง (Reflection) เปน็ การพิจารณาอย่างรอบคอบ
กจิ กรรมการไตรต่ รองจะเรม่ิ ตน้ ด้วยสถานการณท์ ี่เป็นปญั หา นา่ สงสยั งงงวย ยุง่ ยาก ซบั ซอ้ น เรียกวา่
สถานการณ์กอ่ นไตรต่ รอง และจะจบลงดว้ ยความแจ่มชดั ท่ีสามารถอธบิ ายสถานการณ์ดังกล่าว สามารถ
แกป้ ญั หาได้ ตลอดจนไดเ้ รยี นรแู้ ละพงึ พอใจกับผลท่ีไดร้ บั
- การไตร่ตรองบนฐานแห่งประสบการณ์และโครงสรา้ งทางปญั ญาทม่ี ีอยูเ่ ดมิ ภายใตก้ ารมี
ปฏสิ ัมพันธ์ทางสังคม กระต้นุ ใหม้ กี ารสร้างโครงสรา้ งใหม่ทางปัญญา
ดังนน้ั การจดั การเรียนรู้แบบ Play + Learn = Plearn เป็นการจดั การเรียนรทู้ เ่ี นน้ ผู้เรียนเป็น
สำคญั ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และครูเปน็ ผู้สรา้ งแรงจูงใจให้กบั ผเู้ รยี น ซ่ึงเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับ
แนวทางของทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ ิสต์
แนวคดิ การเรียนผา่ นการเล่น (PLAY-BASED LEARNING)
Play-based Learning คือการใชก้ ารเล่นเพอ่ื เรียนรู้และเปน็ บริบทของการเรยี น เปน็
กระบวนการเรยี นรทู้ ไ่ี ดร้ บั การยอมรับวา่ เหมาะสมสำหรับเด็กและได้รับความนยิ มเป็นอย่างย่งิ ในโรงเรียน
ทว่ั โลก โดยเฉพาะในสหราชอาณาจกั ร และได้ใช้กันอยา่ งแพรห่ ลาย หอ้ งเรยี นในแบบ Play-based
Learning จึงไม่มีโตะ๊ และเกา้ อ้ี แต่เต็มไปด้วยมมุ ต่าง ๆ ให้เด็ก ๆ ไดเ้ ลอื กเลน่ ‘ด้วยตวั เอง’ เพ่อื สำรวจ
ทดลอง คน้ หา สนุกสนาน ผ่านจนิ ตนาการของตัวเอง ซึง่ ความหมายของคำว่า ‘เล่น’ ในที่นี้หมายถึง การ
เลน่ อยา่ งอิสระ (free play) โดยเด็กๆ เป็นผรู้ เิ รมิ่ กิจกรรมตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง (child-initiated) ตาม
ธรรมชาติของพวกเขา หรอื การเล่นท่ีได้รับการช้ีนำ (guide play) และมคี รเู ป็นผู้ร่วมเลน่ (co-player) ใน
แต่ละกิจกรรมนัน้ ๆ ซึง่ การเลน่ ทง้ั สองรูปแบบของกระบวนการเรียนรู้ Play-based Learning จะ
สอดแทรกความรูว้ ชิ าการผ่านการสนบั สนนุ จากครู กล่าวคือ ครูกระตนุ้ การเรยี นของเดก็ ๆ ตัง้ คำถามผา่ น
6
การมีปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกนั โดยมีเป้าประสงคเ์ พ่ือขยายขอบเขตความคิดของพวกเขาให้กวา้ งไกลมากข้ึน
วิธกี ารน้ี เด็ก ๆ จงึ เปน็ ศูนย์กลางในการเรยี นรอู้ ยา่ งแทจ้ ริง แตกตา่ งจากวิธกี ารเรียนทวั่ ไปท่มี ักจะถูกนำ
โดยคุณครูหรือหลักสตู รท่ีกำหนด
“การเรียนร”ู้
– ในห้องเรยี นคณิตศาสตรท์ ่วั ไป อาจจมรี ูปแอปเป้ลิ หลายผลใหเ้ ด็ก ๆ ได้นับหรือต้งั โจทย์ปัญหา
ตามแบบฝกึ หดั ให้เขาได้ลองบวกลบคูณหาร เพื่อสรา้ งทักษะทางคณติ ศาสตร์ใหเ้ ดก็ ๆ
– ในหอ้ งเรียนแบบ Play-based Learning อาจจะไมม่ ีวชิ าเลข แตห่ ากเดก็ ๆ เลือกเลน่ บทบาท
สมมติ คุณครจู ะสอดแทรกวชิ าคณิตศาสตร์โดยใช้การต้ังคำถามและเล่นไปกับเด็ก ๆ เช่น ‘คุณครอู ยากซ้อื
แอปเป้ิลใหเ้ พือ่ น 3 ผล และใหต้ วั เอง 1 ผล คุณครคู วรจะซอ้ื แอปเปิ้ลทง้ั หมดกผี่ ล’ ดว้ ยวิธนี ี้ เด็ก ๆ จะได้
ทง้ั ทักษะคณิตศาสตร์ พรอ้ มทัง้ พฒั นาการทงั้ ดา้ นความคดิ สร้างสรรค์ การเข้าสังคม พฒั นาการด้าน
อารมณ์ การแสดงออกดา้ นความคิด ผ่านทางการเลน่ และตอบโต้กบั คนรอบข้าง
‘บทบาทของคณุ คร’ู
– ในห้องเรยี นทว่ั ไป คณุ ครูจะสอนบทเรียนตามหนังสอื ในขณะทีเ่ ด็ก ๆ น่ังฟงั หรือทำแบบฝึกหัด
– ในห้องเรียนแบบ Play-based Learning คุณครผู เู้ ชีย่ วชาญจะรับบทบาทเปน็ ผ้สู ังเกตการณ์
คอยกระต้นุ ตั้งคำถาม เพ่ือให้พวกเขาได้คดิ และแนะนำไปในการเรยี นรทู้ ถี่ ูกตอ้ งโดยไม่ตดั สนิ วา่ ถกู หรือผิด
ทำให้นอ้ ง ๆ ภูมิใจในผลงานของตวั เอง เกิดความเขา้ ใจอย่างแท้จรงิ ในส่งิ ท่ที ำ และที่สำคญั ท่ีสดุ คอื ได้
เรยี นรโู้ ดยไม่ต้องทอ่ งจำ
โดยสรปุ คอื การใช้ Play-based Learning ทำให้การเรยี นรู้เกดิ ขน้ึ อยา่ งเป็นธรรมชาติ จุด
ประกายความอยากรู้เก่ยี วกับสิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั และท่ีสำคญั คอื สนกุ และเปน็ ธรรมชาติ จงึ นำไปส่กู าร
เรียนรเู้ พิม่ เตมิ และสร้างเป็นนสิ ยั ทร่ี กั การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ
จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่าการพัฒนาเด็กในระดับปฐมวัยเป็นสิ่งสำคัญ จึง
จำเป็นต้องให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการทำกิจกรรม เพื่อที่เด็กจะไดร้ ับประสบการณ์ตรงและได้รับพัฒนาการ
ต่างๆอย่างเป็นองค์รวม ดังนั้น สถานบริการสำหรับเด็กปฐมวัยแต่ละสถานบริการที่ตั้งขึ้นโดยมี
เป้าประสงค์ที่ต่างกนั จะช่วยตอบสนองความต้องการของเด็กกับพ่อแม่ผู้ปกครองที่ต้องการรับบริการใน
ดา้ นนนั้ ๆ
Educational entertainment (also referred to as edutainment) is media designed to
educate through entertainment. It's a term used as early as 1954 by Walt Disney. Most
often it includes content intended to teach but has incidental entertainment value. It has
been used by academia, corporations, governments, and other entities in various countries
to disseminate information in classrooms and/or via television, radio, and other media to
influence viewers' opinions and behaviors.
7
สรุป
จากความหมาย ความสำคัญ แนวคดิ ของสถานบรกิ ารเด็กปฐมวยั สรุปได้ว่า สถานบริการสำหรับ
เด็กปฐมวัย เป็นสถานทท่ี ี่ต้งั ขึน้ เพ่อื ใหค้ วามสะดวกต่างๆ ใหก้ บั เด็กปฐมวยั ช่วยให้เดก็ ได้รับการพัฒนาใน
ด้านต่างๆอย่างเหมาะสม ตามความต้องการของเดก็ และพอ่ แม่ผู้ปกครอง ช่วยใหไ้ ด้การเรียนรูโ้ ลกกว้าง ได้
เห็นอะไรใหม่ๆ ทำให้เด็กได้เรียนรูค้ วามแตกต่าง รู้จักการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลง
ไป เพราะการพัฒนาในช่วงปฐมวัย คือ ช่วงวัยที่สำคัญจำเป็นต้องให้เด็กได้เรียนรู้ เพื่อที่เด็กจะได้รับ
ประสบการณ์ตรงและได้รับพัฒนาการต่างๆอย่างเป็นองค์รวม ซึ่งสถานบริการสำหรับเด็กปฐมวัยแต่ละ
สถานบริการที่ตั้งขึ้นโดยมีเป้าประสงค์ที่ต่างกัน จะช่วยอำนวยความความสะดวก และส่งเสริมให้เด็กๆ
ไดร้ บั ประสบการณ์ความรตู้ ่างๆอย่างเหมาะสม
8
เอกสารอ้างอิง
ครูประถม.คอม. (2561). Learning by doing. [ออนไลน์], เข้าถึงไดจ้ าก:
https://www.krupatom.com/education_1637/1637-2/. (2564, 28 พฤศจิกายน).
ทฤษฎที ่ีเกี่ยวข้องกับพฒั นาการเด็กปฐมวยั . (2565). [ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://sites.google.com/site/thvsdiphathnakardekpthmway/thvsdi-thi-keiywkhxng-
kab-phathnakar-dek-pthmway. (2564, 28 พฤศจิกายน).
เทยี มยศ ปะสาวะโน. (2556). เอดูเทนเมนต์: การศกึ ษาแนวใหมท่ ี่โดนใจวยั ร่นุ . วารสารครุศาสตร์
อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ .ี 1(1): 25-35.
พระราชบัญญัติ การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๒. (2562). [ออนไลน์], เข้าถึงไดจ้ าก:
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/056/T_0005.PDF. (2564, 28
พฤศจิกายน).
พระราชบัญญัติสถานบรกิ าร. (2509). [ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ได้จาก:
http://taxclinic.mof.go.th/pdf/E044CD6_3C04_F562514CA005.pdf. (2564, 28
พฤศจิกายน).
เพลนิ (Plearn) = Play and learn. (2555). [ออนไลน]์ , เข้าถึงได้จาก:
http://nonghinschool2555.blogspot.com/2012/07/plearn-play-and-learn.html.
(2564, 28 พฤศจิกายน).
มหาวทิ ยาลยั คริสเตยี น. คำจำกดั ความของการบริการ. (2565). [ออนไลน์], เขา้ ถึงไดจ้ าก:
http://ctublog.christian.ac.th/blog_stu/A3/. (2564, 28 พฤศจิกายน).
โรงเรียนบคี อนเฮาส์แยม้ สอาดลาดพร้าว. (2565). การเรียนผา่ นการเลน่ (PLAY-BASED LEARNING).
[ออนไลน]์ , เข้าถงึ ไดจ้ าก: https://bys.ac.th/bilingual/bysladprao/index.php/th/
programme-th/play-based-learning-th. (2564, 28 พฤศจิกายน).
โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลยั แผนกประถม. (2556). การเรยี นรูโ้ ดยการลงมอื ทำ (Learning by doing).
[ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://mcpswis.mcp.ac.th/html_edu/cgi-
bin/main_php/print_informed.php?id_count_inform=20871. (2564, 28 พฤศจิกายน).
วิทยาลยั อาชีวศึกษาสพุ รรณบรุ .ี (2558). หนว่ ยที่ 1 ความร้เู บ้ืองต้นการใหบ้ รกิ าร. [ออนไลน์], เขา้ ถึง
ได้จาก: http://www.spvc.ac.th/news/Chapter1-Service.pdf. (2564, 28 พฤศจกิ ายน).
สน สวุ รรณ. (2556). ทฤษฎีท่เี กยี่ วข้องกับพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั . [ออนไลน]์ , เข้าถึงได้จาก:
https://suwanlaong.wordpress.com/2013/05/25/9E/. (2564, 28 พฤศจิกายน).
9
สืบศักดิ์ น้อยดดั . (2555). การศกึ ษาพฤตกิ รรมความมวี นิ ยั ในตนเองของเด็กปฐมวัยท่ีได้รับการจัด
ประสบการณ์แบบโครงการ. ปริญญานิพนธ์. การศึกษามหาบัณฑติ สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวยั
มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ.
สำนกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.). (2555). หลกั การ แนวคดิ ของนกั ทฤษฎี
สำหรบั เดก็ ปฐมวัย. [ออนไลน์], เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.kidactiveplay.com/content.
php?types=learn&cid=534. (2564, 28 พฤศจิกายน).
Beyond Code Academy. (2565). หลักคดิ ของการเรียนผา่ นการเลน่ . [ออนไลน]์ , เข้าถึงไดจ้ าก:
https://www.beyondcodeacademy.com/post/play-base-learning-beyondcode.
(2564, 28 พฤศจกิ ายน).
Kensington Learning Space. (2562). What is Play-based Learning? เรียนผา่ นการเลน่ เป็น
ประโยชน์อยา่ งไร. [ออนไลน์], เข้าถึงไดจ้ าก: https://klearningspace.com/news-
blogs/whatisplay-basedlearning/. (2564, 27 พฤศจิกายน).
KEWIKA POOMDEE. (2558). play and learn = plearn. [ออนไลน]์ , เข้าถงึ ได้จาก:
https://www.gotoknow.org/posts/293698. (2564, 27 พฤศจกิ ายน).
McCallum, A. (2006). “Entertainment & Education Join Forces for theMillennium”.
(Online). Available (December 3, 2021). Available From
http://www.fundandedutain .com/define.html.
prasert rk. (2555). การบรกิ าร. [ออนไลน]์ , เขา้ ถึงได้จาก:
http://www.spvc.ac.th/news/Chapter1-Service.pdf. (2564, 28 พฤศจกิ ายน).
Radick, L. (2004). “What's Edutainment? Utilizing new tools in our schools”. (Online).
Retrieved (December 3, 2021). Available from http://www.fundandedutain.com.
Sakamura, K. (1999). Entertainment and Edutainment. Japan : University of Tokyo.
White, R. (1999). “Children's Edutainment Centers: Learning Through Play”.
(Online). Retrieved (December 3, 2021). Avarible From
http://www.whitehutchinson.com.
Wikipedia, the free encyclopedia. (2021). Educational entertainment. (Online).
Retrieved (December 3, 2021). Available from
https://en.wikipedia.org/wiki/Educational_entertainment?fbclid=IwAR3lagsJ5DhXq
wiztFVIknpPaxWp2vO4QPe_FzJDlLko9N8xmhMmpozyBgY#Concept.
10
บทที่ 2
สถานบริการดา้ นสง่ เสริมทักษะและความรู้
สถานบริการท่ีสง่ เสริมดา้ นทักษะและความรทู้ ่ีอยู่ในการดูแลของภาครฐั บาล ได้แก่
1. กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม
1.1 พิพิธภณั ฑ์ในเครอื อพวช.
ความเปน็ มา
เนื่องในวาระมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ เม่ือวันท่ี 12 สิงหาคม พ.ศ. 2535 รัฐบาลสำนึกในพระมหากรณุ าธคิ ุณจึงมอบหมายให้
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ดำเนินการโครงการจัดตั้ง "องค์การพิพิธภัณฑ์
วิทยาศาสตร์แห่งชาติ" เพื่อเฉลิมพระเกียรตทิ ี่ล้นเกล้าฯ ทรงมีต่อพสกนิกรและประเทศชาติ โดยเฉพาะที่
ทรงเป็นผู้นำในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้กับศลิ ปวัฒนธรรมไทย เพื่อพัฒนาอาชพี
และยกระดับคุณภาพชวี ติ ความเป็นอยู่ของประชาชน
เปา้ ประสงค์สำคญั ในการจดั ต้ัง
- เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ที่ทรงนำวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีไปใช้ในการพฒั นา เศรษฐกจิ สังคม ส่งิ แวดลอ้ มและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพ้ืนท่ี
ชนบท
- เพอื่ กระตุ้นและส่งเสริมสงั คมไทยให้สนใจและเหน็ ความสำคญั ของวิทยาศาสตร์ที่มีต่อการพัฒนา
ประเทศ และปลกู ฝังให้เยาชนมที ศั นคติทดี่ ีต่อวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- เพื่อเป็นสถานที่ให้ความรู้และความเพลิดเพลินของครอบครัว รวมทั้งเป็นแหล่งท่อง เที่ยวของ
นกั ทอ่ งเที่ยว ทั้งชาวไทยและตา่ งประเทศ
บทบาทหนา้ ที่ สงิ่ ที่ให้กับประชาชน อพวช.เป็น
1. ความรู้รอบด้าน ความรู้ทางวิทยาศาสตร์แขนงตา่ งๆ ที่ อพวช. รวบรวมมาจากหน่วยงานของ
รฐั และนักวชิ าการภายในองคก์ ร ทีม่ กี ารสัง่ สมมาเปน็ เวลานานกว่า 26 ปี
2. ความมีประโยชน์ ประโยชน์การดำรงชีวิตที่จะเป็นแรงต่อยอดสร้างความรู้รอบด้าน ให้กับ
ตนเอง ครอบครวั และประเทศในตอนน้แี ละอนาคต
3. ความเพลิดเพลิน ความสนกุ ความสขุ ท่ีไดร้ บั และแรงบันดาลใจใฝร่ ู้ทางวิทยาศาสตร์ จากการ
เสพขอ้ มูลของ อพวช. ผา่ นทางชอ่ งทางและวิธีการตา่ ง ๆ
หน่วยงานและกระทรวงทร่ี ับผดิ ชอบ/อย่ภู ายใต้หนว่ ยงาน
รฐั วิสาหกิจในสังกดั กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม
การเปิดดำเนินงาน / การขออนุญาตจดั ต้งั
จดั ตั้งตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การพพิ ิธภัณฑว์ ิทยาศาสตร์แหง่ ชาติ เมอื่ วนั ที่ 30 มกราคม
2538
11
การจดั โครงสร้างองคก์ ร และการจัดระบบงานบรหิ าร
- แผนปฏิบัติการ อพวช. จัดทำขึ้นโดยมีความสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ
แนวทางการดำเนนิ งานตามมาตรการเพ่ือเพิ่มประสทิ ธิภาพ
- การใช้จ่ายเงินงบประมาณของรัฐบาล และเพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานใน
โครงการ/กจิ กรรมของ อพวช. ใหบ้ รรลุเป้าหมายและวัตถปุ ระสงค์
- ตามภารกิจทม่ี งุ่ เนน้ การสรา้ งแรงบันดาลใจ การสรา้ งความตระหนกั ทางวิทยาศาสตร์
วสิ ยั ทัศน์
ดินแดนแห่งการค้นพบ ความมหัศจรรย์ของวิทยาศาสตร์ A place where everyone can
discover the wonders of science
พนั ธกจิ
- สร้างแรงบันดาลใจให้ทุกคนสนุกกับการค้นพบ เรียนรู้ตลอดชีวิต ด้วยความมหัศจรรย์ของ
วิทยาศาสตร์
(To inspire people with the best learning, research and entertainment solution.) ดว้ ยการ
- สร้างแรงบันดาลใจและความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์
- ให้บรกิ ารพิพิธภณั ฑ์วทิ ยาศาสตรด์ ว้ ยมาตรฐานระดับโลก
- วจิ ัย รวบรวมวัสดุตัวอย่าง และจดั การองค์ความรู้เพ่ือการสอ่ื สารวทิ ยาศาสตร์
- พัฒนาธุรกจิ และสร้างความร่วมมอื ระดับประเทศและนานาชาติที่เกีย่ วกับพพิ ธิ ภัณฑว์ ทิ ยาศาสตร์
คา่ นิยม (Core Value) หลักการนำทางชีวิตการปฏบิ ตั งิ าน ทเ่ี ปน็ วฒั นธรรมองค์กร มดี งั ต่อไปนี้
Wisdom – Innovation – Neighborly - Spark
Wisdom : ความรอบร้ใู นมนุษย์ ธรรมชาติและศลิ ปวิทยาการ
Innovation : มีความคิดรเิ รมิ่ ค้นควา้ สรา้ งสรรค์สิง่ ใหมอ่ ย่เู สมอ
Neighborly : มอบสิ่งทดี่ ีทีส่ ุดใหก้ ับลกู ค้า เพอ่ื นร่วมงาน และสงั คม
Spark : เปน็ ประกายมชี วี ติ ชวี า มีพลงั เชิงบวก
พิพิธภณั ฑ์ในต่างประเทศ
Shanghai Science & Technology Museum พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเซี่ยงไฮ้
(Shanghai Science & Technology Museum) มีลานแสดงนทิ รรศการและโรงภาพยนตร์ ภายในมีการ
จัดแสดงหลากหลาย เกย่ี วกบั ประวตั ิศาสตร์ธรรมชาติ ไปจนถงึ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ได้รับความนิยมมาก
ในหมู่นักท่องเท่ยี วท่ีมาเป็นครอบครวั
National Museum of Natural Science, Taiwanพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ธรรมชาติแห่งชาติ
(National Museum of Natural Science) ต้ังอยู่ทเี่ มืองไทจง ประเทศไตห้ วนั
Science Museum, Londonพพิ ิธภณั ฑ์วทิ ยาศาสตร์ (Science Museum) ตั้งอยู่ในเซาทเ์ คนซิงตัน กรุง
ลอนดอน ประเทศอังกฤษ
12
Experience at Home Kahaku VR National Museum of Nature and Science ห น ึ ่ ง ใน
พิพิธภัณฑเ์ ก่าแก่ของประเทศญี่ปุ่นที่ก่อตัง้ มาตั้งแต่ พ.ศ.2420 ตั้งอยู่ท่ีสวนอูเอโนะ กรุงโตเกียว ที่นี่มีท้ัง
นิทรรศการพิเศษหมุนเวียน และส่วนจัดแสดงถาวรซึ่งจะเน้นการจัดแสดงตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ ท่ี
แสดงให้เหน็ ถงึ วิวัฒนาการ โดยเฉพาะสำหรับใครทช่ี อบหรอื สนใจเก่ียวกับสิ่งมชี วี ติ
พิพิธภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรน์ าโกย่า (Nagoya Science Museum) แหลง่ เรยี นรทู้ างวิทยาศาสตร์ที่ดี
ท่ีสดุ แหง่ หนึ่งของประเทศญี่ปุน่ ภายในมีส่วนจัดแสดงเรือ่ งราวเก่ยี วกับวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ธรรมชาติ
วทิ ยา
พิพิธภัณฑใ์ นเครือ อพวช. ประกอบด้วย
ภาพที่ 1 พิพธิ ภณั ฑ์วิทยาศาสตร์
พิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ
พิพิธภัณฑว์ ิทยาศาสตร์ เป็นอาคารที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเดน่ ด้วยรูปทรงลูกบาศก์ 3 ลูก
เชื่อมติดกัน ภายในอาคารประกอบด้วยพื้นที่นิทรรศการ 6 ชั้น โดยจัดแสดงเนื้อหานิทรรศการเกี่ยวกับ
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ ประวัติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน พลังงาน
วทิ ยาศาสตรใ์ นชีวติ ประจำวนั และวิทยาศาสตรใ์ นภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ของไทย แต่ละช้ันประกอบด้วยสาระ
ดงั นี้
ชั้นที่ 1 นักวิทยาศาสตร์รุ่นบุกเบิก และกิจกรรมเสริมศึกษา ได้แก่ Enjoy Maker Space,
Engineering Design, ภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์, การแสดงทางวทิ ยาศาสตร์ และนทิ รรศการหมนุ เวยี น
ช้นั ท่ี 2 ประวตั ิการค้นพบทางวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ช้ันท่ี 3 วิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน อุโมงคพ์ ลงั งาน และ โรงภาพยนตร์พลงั งาน 4 มิติ
ชั้นท่ี 4 โลกของเรา ธรณีวทิ ยา ภมู ศิ าสตร์ การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ เกษตรแหง่ ความสุข
และ สิง่ กอ่ สรา้ งและโครงสรา้ ง
13
ชน้ั ท่ี 5 รา่ งกายของเรา การคมนาคม คุณภาพชวี ติ วิทยาการหุ่นยนต์และระบบอตั โนมัติ และนา
โนเทคโนโลยี
ชน้ั ที่ 6 เทคโนโลยภี มู ิปญั ญาไทย
ภาพที่ 2 พิพธิ ภณั ฑธ์ รรมชาตวิ ทิ ยา
พิพธิ ภณั ฑ์ธรรมชาติวิทยา
พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวทิ ยาเปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2546 เพอื่ ใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางการศึกษาวิจัยด้าน
ธรรมชาติวิทยาและวัสดุอุเทศน์ของประเทศไทยและประเทศใกล้เคียง และยังเป็นศูนย์จัดแสดง
นิทรรศการความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งนำเสนอตัง้ แตก่ ารกำเนิดโลก สู่กำเนิดสรรพสิง่ และสิ่งมีชีวิต
ประกอบด้วยส่วนแสดงนิทรรศการถาวร 1,000 ตารางเมตร ส่วนแสดงนิทรรศการหมุนเวียน และห้อง
แสดงนิทรรศการนายแพทย์บุญส่ง เลขะกุลพร้อมด้วยตัวอย่างเขาสัตว์ที่ท่านได้มอบให้กับพิพิธภัณฑ์
ธรรมชาตวิ ทิ ยา พื้นท่ี 400 ตารางเมตร พน้ื ทีร่ วมจดั แสดง 1,400 ตารางเมตร
การจัดแสดงนทิ รรศการ ประกอบดว้ ยส่วนจดั แสดงหลกั 4 ส่วน ไดแ้ ก่
ส่วนท่ี 1 การกำเนดิ โลก
สว่ นที่ 2 การกำเนิดสงิ่ มีชีวติ
สว่ นที่ 3 ววิ ฒั นาการของส่งิ มชี ีวิต
สว่ นท่ี 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ
14
พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา ยังเป็นคลังเก็บวัตถุตัวอย่าง ประกอบด้วยคลังเก็บวัตถุตัวอย่างแห้ง
และคลังเก็บวัตถุตวั อย่างเปียก พื้นที่ 1,200 ตารางเมตร วัตถุตัวอย่างเริ่มต้นจากการบริจาคตัวอย่างนก
และสัตวเ์ ล้ยี งลกู ด้วยนมจากครอบครัว นายแพทยบ์ ญุ สง่ เลขะกุล และตวั อยา่ งปลา สตั ว์สะเทินน้ำสะเทิน
บก สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง จากสถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่ง
ประเทศไทย ต่อมาจึงได้เกบ็ ตวั อย่างพชื และสตั วท์ ุกชนดิ ต่อเน่ืองมาถึงปจั จุบนั
ภาพท่ี 3 พิพิธภัณฑเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ
พพิ ธิ ภัณฑเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
พพิ ิธภัณฑเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ จัดแสดงนิทรรศการเก่ียวกบั ความรู้ ประโยชน์ และความสำคัญ
ของเทคโนโลยีการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอื่ เตรยี มคนไทยสู่สงั คมดจิ ิทัล สรา้ งความตระหนัก
รู้เท่าทันเทคโนโลยีซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ ภายในพิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการ
ถาวรที่เล่าเรื่องราวววิ ฒั นาการของเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารนับต้ังแต่ยุคก่อนประวัตศิ าสตร์จนถึงยุคปัจจุบัน
ผ่านการนำเสนอด้วยเทคนิค แสง สี เสยี ง ท่ีทนั สมยั ประกอบดว้ ยช้ินงาน เครือ่ งเลน่ ทางวิทยาศาสตร์ ส่ือ
ประสมเชิงปฏสิ ัมพันธ์ และกิจกรรมเสริมการเรียนรู้มากมาย เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ไป
กบั การเรียนรู้ภายในพพิ ธิ ภณั ฑ์ นิทรรศการถาวร ประกอบด้วยส่วนจัดแสดงหลัก 6 สว่ น ได้แก่
ส่วนท่ี 1 ประตสู ่วู วิ ัฒนาการเทคโนโลยีสารสนเทศ
สว่ นที่ 2 การส่อื สารยคุ ก่อนประวัตศิ าสตร์
ส่วนที่ 3 การส่อื สารยุคอิเล็กทรอนกิ ส์
ส่วนท่ี 4 การคำนวณ
ส่วนที่ 5 คอมพิวเตอร์
15
สว่ นท่ี 6 เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ
ภาพที่ 4 พพิ ิธภณั ฑ์พระรามเก้า
พิพิธภัณฑ์พระรามเกา้
พิพิธภัณฑ์พระรามเก้าเป็นโครงการที่ริเริ่มเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80
พรรษาพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โดยนำเสนอ
หลักการคิด วิธกี ารทรงงาน และกระบวนการค้นหาคำตอบตามกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ องในหลวง
รชั กาลท่ี 9 ที่ทรงพระราชทานแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเพอื่ แก้ปัญหาแก่พสกนกิ รในพ้ืนท่ีต่าง ๆ
ทั่วประเทศไทย ภายในพิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมที่แสดงถึงวิวัฒนาการของโลกและ
สิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศวิทยาของภูมิภาค และความหลากหลายทางชีวภาพในภาพรวมของโลกและของ
ประเทศไทย
พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า จึงเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของประชาชนชาวไทยอย่างลึกซึ้งและ
กว้างขวาง ในการสง่ เสริมความรู้ ความเขา้ ใจและความตระหนกั ในบทบาทความสัมพันธ์ของระบบนิเวศท่ี
สำคัญของโลกและของประเทศไทย อันจะนำไปสู่การมีจิตสำนึกในการรักษา อนุรักษ์ระบบนิเวศ และ
เตรียมรบั มือกับภยั พิบัติทางธรรมชาติอย่างรูเ้ ทา่ ทนั
การจดั แสดงนิทรรศการ ประกอบดว้ ยสว่ นจัดแสดงหลัก 3 สว่ น ไดแ้ ก่
ส่วนที่ 1 บ้านของเรา กำเนดิ โลกและส่ิงมชี ีวิต
สว่ นท่ี 2 ชวี ิตของเรา ชวี นิเวศแบบตา่ ง ๆ บนโลกนี้
ส่วนท่ี 3 ในหลวงของเรา ศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารอยรู่ ว่ มกันอยา่ งยงั่ ยนื
16
1.2 พพิ ิธภัณฑว์ ทิ ยาศาสตร์และท้องฟา้ จำลอง
ภาพท่ี 5 พพิ ธิ ภัณฑว์ ิทยาศาสตรแ์ ละท้องฟ้าจำลอง
ความเป็นมา
ในปี พ.ศ. 2505 คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้กระทรวงศึกษาธกิ าร ดำเนินการสร้างท้องฟ้าจำลอง
กรุงเทพและหอดูดาว ซึ่งเป็นอุปกรณ์สำคัญและมีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการศึกษาวิชาภูมิศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และดาราศาสตร์ ตลอดจนเป็นแหล่งท่ีเยาวชนสามารถไปชุมนุมหาความรู้ได้ง่าย โดยจะได้
เรียนจากของจำลองเหมือนของจริง ทำให้เข้าใจได้ลึกซึ้งและรวดเร็วกว่าการสอนด้วยปากเปล่า รวมท้ัง
ก่อให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความมเี หตผุ ลและความเพลดิ เพลิน
เป้าประสงค์สำคญั ในการจัดต้ัง
แสดงและเผยแพร่ความรู้ เช่น การจัดนิทรรศการ บรรยายความรู้สาขาต่าง ๆ ของวิชา
วิทยาศาสตร์ และดาราศาสตร์
หนว่ ยงานและกระทรวงทร่ี บั ผิดชอบ/อยู่ภายใต้หน่วยงาน
หน่วยงานราชการ ภายใตก้ ารดูแลของกระทรวงศกึ ษาธิการ
การเปดิ ดำเนนิ งาน / การขออนุญาตจดั ต้ัง
เปิดดำเนินการคร้ังแรกเมื่อปี พ.ศ. 2507
พิพธิ ภัณฑว์ ิทยาศาสตรใ์ นต่างประเทศ
City of Arts and Sciences วาเลนเซีย สเปน
Griffith Observatory แคลฟิ อร์เนีย สหรฐั อเมรกิ า
Hayden Planetarium นวิ ยอรค์ สหรฐั อเมริกา
Nagoya City Science Museum นาโกย่า ญี่ปุ่น
17
2. กระทรวงกลาโหม
2.1 พพิ ิธภัณฑก์ องทัพอากาศและการบิน
ภาพท่ี 6 พิพธิ ภัณฑก์ องทัพอากาศและการบิน
ความเปน็ มา
พ.ศ.2457 ได้จดั ต้งั เปน็ กองบนิ ทหารบก จนกระทัง่ ได้วิวฒั นาการมาเปน็ “กองทพั อากาศ”
กองทพั อากาศได้จัดต้ังพิพิธภณั ฑ์กองทพั อากาศข้ึน”เมอื่ วันที่ 26 กันยายน พ.ศ.2495
เปา้ ประสงค์สำคญั ในการจัดตง้ั
เพื่อรวบรวม และเก็บรักษาอากาศยานเครือ่ งสื่อสาร อิเล็กทรอนิกส์ อาวุธยุทโธปกรณ์ ที่เคยใช้
ในกองทพั อากาศ ตลอดจนบริภัณฑ์ประจำตัวนักบิน เครอ่ื งแบบและพสั ดอุ ่ืน ๆ ตลอดจนเอกสารต่าง ๆ ท่ี
เหน็ สมควรเก็บรกั ษาไว้ เพอ่ื เป็นตำนาน ของกองทัพอากาศ
และเปิดโอกาสใหผ้ สู้ นใจเข้าชม
หน่วยงานและกระทรวงที่รบั ผิดชอบ/อยูภ่ ายใตห้ นว่ ยงาน
กรมสารบรรณทหารอากาศ เป็นผู้ดแู ลรับผิดชอบ พิพิธภณั ฑ์กองทพั อากาศ กระทรวงกลาโหม
การเปิดดำเนนิ งาน / การขออนุญาตจัดต้งั
สร้างข้ึนในปี พ.ศ. 2512
พพิ ธิ ภณั ฑ์กองทัพอากาศและการบนิ ในต่างประเทศ
National Air and Space Museumพิพิธภัณฑ์ยานบินและยานอวกาศแห่งชาติ (National Air
and Space Museum) ตั้งอยู่ท่ีกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นพิพธิ ภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงมาก
ทส่ี ดุ ของสถาบันสมธิ โซเนียน ภายในเปน็ แหล่งรวมวตั ถุท่ีเก่ียวขอ้ งด้านอากาศยานและอวกาศยานท่ีใหญ่
ที่สุดในโลก
18
Space Center Houston เท็กซัส สหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นศูนย์กลางการฝึกนักบินและการควบคุม
ภารกิจของ NASA ในส่วนที่เข้าชมได้นั้นจะได้ชมชิ้นส่วนหลายอย่างจากจรวดและยานอวกาศต่างๆ มี
รถรางพาชมศูนย์ควบคุมภารกิจ
Musée de l'Air et de l'Espace (Museum of Air and Space) ปารีส ฝร่ังเศส
พิพิธภัณฑ์นี้ตั้งอยู่ท่ีสนามบิน Le Bourget ทางตอนเหนือของปารีส เป็นหน่ึงในพิพิธภัณฑ์ด้านการบินท่ี
เก่าแก่ที่สุดในโลก ท่ีน่ีมีอากาศยานให้ชมกว่า 150 ลำ นับตั้งแต่ยุคเร่ิมสร้างเคร่ืองบิน บอลลูน ไปจนถึง
ยานอวกาศ มีจรวดของสวิตเซอร์แลนด์และรัสเซียให้ชมมากมาย
2.2 พพิ ิธภัณฑ์กองทพั บกเฉลิมพระเกยี รติ
ภาพที่ 7 พิพิธภณั ฑ์กองทพั บกเฉลิมพระเกยี รติ
พิพิธภณั ฑ์กองทัพบกเฉลิมพระเกียรติ ตั้งอยู่ในกองบญั ชาการกองทัพบก และได้เปดิ พพิ ิธภณั ฑ์
ให้บุคคลทั่วไปได้เข้าชมเป็นวันแรกเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.2539 ซึ่งตรงกับวันที่พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยหู่ วั (ร.9) ทรงครองสิริราชสมบตั ิครบ 50 ปภี ายในจัดแสดงนทิ รรศการถาวรเกยี่ วกับวิวัฒนาการของ
กองทัพบก ด้วยการรวบรวบและจัดแสดงวัตถุตา่ งๆ ที่เกยี่ วขอ้ งกบั กองทพั บก ประกอบด้วย
ห้องจัดแสดงตัวอย่างของอาวุธที่ใช้ในกองทัพ ธง และเคร่ืองมือเครื่องใช้ทางทหาร ห้องแสดง
เครื่องแบบเครื่องหมายทหาร ที่ใช้ตั้งแตส่ มัยกรุงสุโขทยั จนถึงเครือ่ งแต่งกายที่กำลังพลของกองทัพบกใน
ปจั จบุ ัน
ห้องจำลองเหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์ทหาร จำลองวรี กรรมและเหตุการณข์ องกองทพั บก ซ่ึงมี
ผลตอ่ ความม่ันคงของประเทศ
ห้องพระบารมีปกเกล้า ประดิษฐานพระบรมรูป รัชกาลที่ 5 ประทับยืนขนาดเท่าพระองค์จริง
และจดั แสดงภาพอดีตผู้บญั ชาการทหารบก ตง้ั แตท่ า่ นแรกจนถงึ ทา่ นทีเ่ พ่ิงจะพ้นตำแหน่งไป
หอ้ งแสดงววิ ฒั นาการกองทพั บก นำเสนองานด้านประวตั ศิ าสตร์ ตลอดจนววิ ัฒนาการของ
กองทัพบก นับต้งั แตเ่ ร่ิมมีการสถาปนาอาณาจักรไทยจนถงึ ปัจจุบนั
19
2.3 พพิ ธิ ภณั ฑท์ หารเรอื
ภาพที่ 8 พพิ ธิ ภณั ฑ์ทหารเรอื
เป็นพิพธิ ภัณฑ์สถานแบบพเิ ศษ ทำหน้าที่ รวบรวม อนรุ กั ษ์ วัตถพุ ิพธิ ภณั ฑอ์ นั ทรงคุณค่าทาง
ประวตั ศิ าสตร์ โบราณสถาน และโบราณคดีที่เกี่ยวกับกิจการทหารเรือ ภายในพิพิธภณั ฑ์ เป็นทร่ี วบรวม
ข้อมูลทางประวตั ศิ าสตร์ เก่ยี วกบั วตั ถุพพิ ธิ ภณั ฑส์ มัยโบราณของกองทัพเรือไทย ยทุ ธนาวีการรบคร้งั
สำคัญ ๆ ตลอดจนอาวุธยุทโธปกรณต์ า่ ง ๆ ท่ีเคยใชใ้ นการรบเปน็ จำนวนมาก นอกจากนี้ ยังมเี รอื จำลอง
สมัยต่าง ๆ เชน่ เรอื ท่ีใช้ในพระราชพธิ ีกระบวนเรอื พยหุ ยาตราชลมารค ในสมัยรชั กาลที่ 5 เรือหลวงพระ
ร่วง เรอื เหรา และเรือหลวงมจั ฉาณกุ ารจดั แสดงวัตถพุ ิพิธภัณฑ์ทหารเรอื แบง่ เปน็ การจัดแสดงกลางแจ้ง
อาคาร 1 และอาคาร 2 ดงั น้ี
การจัดแสดงกลางแจ้งจัดแสดง อาวธุ ยทุ โธปกรณ์ ขนาดใหญ่ จดั ตัง้ บนพ้ืนที่กลางแจ้งบริเวณ
สนามหญ้าดา้ นหน้าของตวั อาคารและบรเิ วณโดยรอบ เช่น
- เรือดำน้ำ - เรือ PBR - เครือ่ งบนิ HU-16B - ปนื ใหญโ่ บราณ
- รถสะเทินน้ำสะเทนิ บก (LVT MK4) - ปนื ลอ้ สนาม
- รถหมุ้ เกราะ V-15 - ขนาด 76/40 มม. - ปืนเรอื ขนาด 75/51 มม.
การจัดแสดงอาคาร 1 เป็นอาคาร 2 ชนั้ สร้างขึน้ เม่ือปี พ.ศ. 2515 มพี ื้นทีจ่ ดั แสดงดงั นี้ อาคาร
1 ชนั้ 1 จัดแสดง
- หอ้ งเทิดพระเกียรติ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจา้ อาภากรเกียรตวิ งศ์ กรมหลวง
ชุมพรเขตอดุ มศกั ด์ิ
- หอ้ งเทิดพระเกยี รติ สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช
- หอ้ งสรรพาวธุ อาคาร 1 ชัน้ 2 จัดแสดง
- หอ้ งเทิดพระเกียรติ จอมพลเรือ สมเด็จพระมหติ ลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
20
- ห้องเทดิ พระเกียรติ จอมพลเรือ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟา้ บรพิ ัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระ
นครสวรรค์วรพนิ ติ
- ห้องเครื่องลายคราม
- ห้องเคร่ืองแบบทหารเรือ
- ห้องธงราชนาวีและธงท่ใี ช้ในกองทัพเรอื
- ห้องอดีตผบู้ ญั ชาการทหารเรอื
การจดั แสดงอาคาร 2 เป็นอาคาร 3 ชัน้ สรา้ งขนึ้ เม่ือปี พ.ศ. 2530 มีพนื้ ที่จัดแสดง ดังนี้
อาคาร 2 ชั้น 1 จัดแสดง
- ประภาคารแห่งแรกของประเทศไทย
- ตอร์ปิโด
- ปนื เทยี่ ง
- ทุน่ ระเบดิ
- เรอื โบราณ
อาคาร 2 ชน้ั 2 จัดแสดง
- เรอื พระราชพธิ ี
- การจดั กระบวนเรอื พระราชพิธี
- เรอื สำคญั (เรอื พระทีน่ ่งั สุพรรณหงส์ เรอื พระท่นี งั่ อนนั ตนาคราช เรือพระที่น่งั อเนกชาติภชุ งค์
เรือพระทน่ี งั่ นารายณ์ทรงสบุ รรณ)
- เรือรบสมยั กรงุ รตั นโกสินทรต์ อนตน้
- ครุฑหวั เรอื
- เครอื่ งมอื เดนิ เรอื และอุปกรณ์ใชง้ านของชาวเรือ
- การจัดแสดงจำลองห้องรบั ประทานอาหาร และ ห้องนอนบนเรอื พระที่นงั่ มหาจักรี
อาคาร 2 ชัน้ 3 (นทิ รรศการพเิ ศษ) จัดแสดง เหตุการณ์การสู้รบและการทำสงครามของทหารเรอื ท่ีสำคัญ
ในชว่ งเวลาตา่ ง ๆ เชน่
- ยทุ ธนาวที ี่เกาะช้าง
- การรบทป่ี ากแม่น้ำเจา้ พระยา ร.ศ.112
- สงครามมหาเอเชียบูรพา
- สงครามเกาหลี
- ยุทธการบา้ นชำราก จังหวดั ตราด
- วรี กรรมท่ีดอนนอ้ ย จงั หวัดหนองคาย
21
3. กระทรวงศึกษาธิการ
3.1 โรงเรียนเอกชนนอกระบบ
โรงเรยี นเอกชนนอกระบบ ตามพระราชบญั ญัตโิ รงเรยี นเอกชน (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2554 หมายความ
ว่า โรงเรยี นที่จดั การศกึ ษาโดยมคี วามยดื หย่นุ ในการกำหนดจุดมุง่ หมาย รปู แบบ วธิ กี าร จดั การศึกษา
ระยะเวลาของการศกึ ษา การวัดและประเมินผล ซงึ่ เป็นเงอ่ื นไขสำคญั ของการสำเรจ็ การศึกษา และให้
หมายความรวมถงึ ศูนยศ์ ึกษาอิสลามประจำมัสยดิ (ตาดกี า) และสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ การขอจัดตง้ั
โรงเรียนนอกระบบ ต้องเปน็ ไปตามกฎกระทรวงการขอรบั ใบอนญุ าตใหจ้ ัดต้งั โรงเรียนนอกระบบ พ.ศ.
2555 ตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนเรอื่ ง การกำหนด ประเภทและลักษณะของ
โรงเรียน การจดั การเรยี นการสอน และหลกั สตู รของโรงเรยี นนอกระบบ ประกาศ ณ วนั ที่ 12 กมุ ภาพันธ์
พ.ศ. 2552
ประเภทและลักษณะของโรงเรยี นนอกระบบ แบ่งไดด้ งั นี้
- ประเภทสอนศาสนา เปน็ โรงเรยี นท่ีจัดตงั้ ขึน้ โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะการสอนศาสนา
- ประเภทศิลปะและกฬี า เปน็ โรงเรียนที่จดั ตง้ั ขึน้ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ให้การศกึ ษาเกี่ยวกบั ดนตรี
ศลิ ปะ และกฬี า
- ประเภทวชิ าชพี เปน็ โรงเรยี นท่ีจดั ตั้งขน้ึ โดยมีวัตถุประสงคใ์ ห้การศกึ ษาเกี่ยวกับวิชาชีพ เพือ่ ให้
นกั เรียนนำไปประกอบอาชพี หรือเพมิ่ เติมทกั ษะในการประกอบอาชีพ
- ประเภทกวดวิชา เป็นโรงเรยี นทจี่ ดั ตั้งขน้ึ โดยมีวัตถปุ ระสงค์เสรมิ ความร้บู างรายวชิ า ตาม
หลักสตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
- ประเภทสรา้ งเสริมทักษะชวี ิต เป็นโรงเรยี นท่จี ัดตงั้ ขน้ึ โดยมวี ัตถุประสงค์เสริมสร้างความคดิ
เชาวนป์ ัญญา และทักษะอื่น
- ประเภทศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมสั ยิด (ตาดกี า) เปน็ ศูนยก์ ารศกึ ษาที่จัดตั้งขึน้ โดยมี
วัตถุประสงคต์ ามกฎหมายว่าดว้ ยศนู ย์การศกึ ษาอิสลามประจำมัสยดิ (ตาดกี า)
- ประเภทสถาบนั ศึกษาปอเนาะ เปน็ สถาบันทจี่ ัดต้งั ขน้ึ ให้เปน็ ทางเลอื กหนึง่ ของชุมชน โดยมี
วัตถปุ ระสงคต์ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยสถาบันศกึ ษาปอเนาะ
การจัดการเรยี นการสอนของโรงเรียนนอกระบบ แบง่ ไดด้ งั นี้
1) จดั การเรียนการสอนโดยครูหรือผู้สอน
2) จัดการเรยี นการสอนโดยใชส้ อ่ื การเรียนการสอน
3) จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยมีท้ังครูหรอื ผู้สอนและสอ่ื การเรยี นการสอน
4) การจดั การเรยี นการสอนตาม (1) (2) และ (3) อาจจะร่วมกันระหว่างโรงเรยี นกบั โรงเรยี น
หรือหนว่ ยงานอน่ื ท้ังในและนอกสถานศกึ ษาอยา่ งมคี ณุ ภาพมาตรฐาน
22
กฎหมายและระเบียบท่เี กีย่ วข้องในการขอจดั ตัง้ โรงเรยี น ผู้ขอจัดต้ังจะต้องศกึ ษา
- พระราชบัญญัติโรงเรยี นเอกชน พ.ศ. 2550 และพระราชบญั ญัตโิ รงเรยี นเอกชน (ฉบบั ที่ 2)
พ.ศ. 2554
- กฎกระทรวงการขอรับใบอนุญาตใหจ้ ดั ตัง้ โรงเรียนนอกระบบ พ.ศ. 2555
- กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบตั แิ ละลักษณะต้องหา้ มของผู้บรหิ ารโรงเรยี นนอกระบบ พ.ศ. 2553
- กฎกระทรวงฉบับที่ 47 (พ.ศ.2540) ออกตามความในพระราชบญั ญตั คิ วบคมุ อาคาร พ.ศ. 2522
เร่อื ง การป้องกันอคั คภี ยั
ขั้นตอนการขออนญุ าต
1. เตรียมความพร้อม เร่ืองอาคารสถานทอ่ี ปุ กรณ์ประกอบการเรียนการสอน และ บคุ ลากร
2. ผู้ขอจัดต้ังย่นื โครงการจดั ต้งั โรงเรยี นนอกระบบ หลักสูตร และรายละเอียดเกีย่ วกบั กจิ การ
โรงเรยี น จำนวน 3 ชุด
3. หลักสูตรท่ดี ำเนนิ การจัดการเรยี นการสอน
- โรงเรียนประเภทกวดวชิ า ใช้หลักสตู รการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
- กรณใี ช้หลกั สูตรต้นแบบของ สช. (สามารถขออนุญาตใช้หลักสูตรตน้ แบบไดท้ ่ีศธจ.)
- กรณใี ช้หลกั สูตรของหนว่ ยงานอื่น/หลักสูตรของโรงเรยี นอน่ื ท่ไี ด้รบั การอนุมตั ิจาก
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารแลว้ จะต้องมีหนังสืออนญุ าต ให้ใช้หลกั สตู รจากหน่วยงานหรือโรงเรยี นนั้นๆ
- กรณโี รงเรยี นจัดทำหลกั สูตรขนึ้ เอง ตอ้ งเขียนหลักสูตรตามรปู แบบทก่ี ำหนด และได้รับ
การพิจารณาหลักสูตรโดยคณะกรรมการ ผูท้ รงคุณวฒุ โิ ดยผ้วู ่าราชการจังหวดั เป็นผอู้ นมุ ัตหิ ลกั สูตร
4. ตั้งช่อื โรงเรียนจำนวน 3 ชือ่ โดยใช้อกั ษรไทยและมีคำว่า “โรงเรียน.....” นำหนา้ ช่อื หากมีชอื่
ภาษาต่างประเทศประกอบดว้ ยต้องอา่ นแล้ว สอดคลอ้ งกับชื่อภาษาไทย หรือแปลแล้วได้ความหมาย
เชน่ เดยี วกบั ภาษาไทย
5. ศธจ. ตรวจสอบชื่อโรงเรียนไปยงั สช. กรณชี ่อื โรงเรียนผ่าน ศธจ.จะแจง้ ให้ผขู้ อจดั ตั้งยืน่ คำรอ้ ง
สช.5 เพอื่ ขอรบั ใบอนุญาตจัดต้ังโรงเรียน
6. คณะกรรมการฯ ตรวจอาคาร สถานทสี่ ื่อ อุปกรณก์ ารเรยี นการสอน เพือ่ ประกอบการ
พจิ ารณา
7. เจา้ หน้าท่ีสรปุ เรือ่ งเสนอ ศธจ. ออกใบอนญุ าตจัดต้ังโรงเรยี น
การเตรียมความพรอ้ มต่างๆ ในการจัดตง้ั โรงเรยี น
1. อาคาร สถานที่
- กรรมสทิ ธิใ์ นอาคารท่ีใช้จัดตง้ั โรงเรียน ต้องเป็นของผู้ขอจดั ตั้ง หรือผูข้ อจดั ต้ังมสี ิทธิครอบครอง
โดยการเช่า โดยมสี ญั ญาเช่าจากผูม้ ีสิทธ์ิให้เช่า มีระยะเวลาไมน่ อ้ ยกว่า 3 ปี นบั ตง้ั แตว่ ันท่ยี น่ื ค าขอจัดตัง้
โดยกำหนดวตั ถปุ ระสงค์การเช่าเพอ่ื ใช้ประกอบกิจการโรงเรียน
23
- เปน็ อาคารที่ได้รับอนญุ าตก่อสรา้ ง ดัดแปลงอาคาร หรือเปล่ยี นการใช้อาคารท่ีมีวัตถปุ ระสงค์
เพ่ือใชเ้ ป็นสถานศึกษา (แบบ อ.6)
- พน้ื ทใ่ี ช้สอยของโรงเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ 100 ตารางเมตร
- อาคารเรียนเป็นเอกเทศ หรอื กรณเี ปน็ อาคารร่วมตอ้ งแยกเป็นสัดสว่ นไมป่ ะปนกบั กจิ การอ่ืน ไม่
ใชเ้ ป็นทอี่ ย่อู าศัย
- อาคารเรยี นตอ้ งตดิ ตั้งถงั ดบั เพลงิ ตดิ ตงั้ อุปกรณ์ตัดวงจรไฟฟ้าแบบอตั โนมัติ กรณอี าคาร 4 ชั้น
ข้ึนไป ต้องมบี นั ไดหนไี ฟ
2. ห้องเรยี น ห้องประกอบ และอุปกรณป์ ระกอบการเรียนการสอน
- หอ้ งเรียนภาคทฤษฎีให้คำนวณความจุ 1 ตรม.ต่อนกั เรยี น 1 คน/ หอ้ งเรียนภาคปฏบิ ตั ิให้
คำนวณความจุ 1.5 ตรม.ตอ่ นักเรยี น 1 คน
- ห้องประกอบอ่นื ๆ เช่น ห้องธุรการ หอ้ งพกั ครู ทนี่ งั่ พกั ผอ่ นนกั เรียนและผู้ปกครอง หอ้ งส้วม
อย่างนอ้ ย 2 ห้อง (แยกชาย-หญงิ )
- อุปกรณป์ ระกอบการเรียนการสอนต้องจดั ใหเ้ พียงพอและเหมาะสมกับหลกั สูตรที่เปิดสอน
3. บคุ ลากรท่เี กี่ยวข้องกบั กจิ การโรงเรียน (ตอ้ งมีสัญชาตไิ ทย / อายุไมต่ ำ่ กว่า 20 ปบี ริบรู ณ/์ ไม่
เป็นโรคต้องหา้ มทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง)
- ผ้รู บั ใบอนญุ าต (เจ้าของ) มีสญั ชาตไิ ทย อายุไม่ต่ำกว่า 20 ปบี ริบรู ณ์ สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่า
ปริญญาตรี
- ผบู้ รหิ ารโรงเรียน (ประเภทกวดวิชา) ตอ้ งมีความรไู้ ม่ต่ำกว่าปรญิ ญาตรที างการศกึ ษา (ครุ
ศาสตร์, ศึกษาศาสตร์) และต้องมีประสบการณ์เคย ทำการสอนมาแล้ว ไมน่ อ้ ยกว่า 3 ปี ปัจจุบันต้องไมม่ ี
งานประจำทีอ่ ่นื
- ผ้บู ริหารโรงเรยี น (กรณีเปิดสอนประเภทอ่นื ๆ) ต้องมีความรู้ไมต่ ่ำกว่าปรญิ ญาตรแี ละมี
ประสบการณ์เคยทำงานในสาขาวิชาทเี่ ก่ยี วข้อง หรือ ทำการสอนในสาขาวชิ าทีเ่ กยี่ วข้องมาแล้วไม่น้อย
กวา่ 1 ปี ปัจจบุ นั จะต้องไม่มงี านประจำทอี่ น่ื
- ครแู ละผู้สอน ครู ต้องมีคุณสมบัติและไมม่ ีลกั ษณะต้องหา้ มสำหรบั ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ครตู าม
กฎหมายวา่ ดว้ ยสภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ผู้สอน อายไุ มต่ ำ่ กว่าสิบแปดปีบริบูรณ์/ ต้องมีความรู้
ตามระเบียบกำหนด ฯลฯ
โรงเรยี นเอกชนนอกระบบในต่างประเทศ
- House of Dance ประเทศมอสโก สตูดโิ อเปดิ โอกาสให้เด็กทกุ วยั และทุกระดับความสามารถ
คน้ พบตัวเองและเปิดใจในการเตน้
- Point Blank Music School ประเทศอังกฤษ มสี าขาในเมืองใหญ่ อย่างลอนดอน, LA, มมุ ไบ,
IBIZA สถานท่ีรวมหวั ใจคนดนตรีจรงิ ๆ Point Blank เปน็ โรงเรียนดนตรที ีไ่ ดร้ ับรางวัล “Best
Independent HE” จาก What Uni Awards
24
- Talento ในเยคาเตรินเบริ ์ก ประเทศรัสเซยี สโมสรชกมวยและการต่อสู้ด้วยมอื สำหรบั เด็กอายุ
ตง้ั แต่ 5 ถงึ 12 ปี กลมุ่ ฝึกได้ 8 คน กจิ กรรมทางกายภาพและการออกกำลงั กายจะถูกเลือกเปน็ รายบคุ คล
สง่ิ นค้ี ำนึงถึงสมรรถภาพทางกายและความสามารถของเด็ก ผู้ฝกึ สอนทมี่ ีประสบการณ์จะสอนวธิ กี าร
ป้องกันและเทคนิคต่างๆ
4. กระทรวงวฒั นธรรม
4.1 หอศิลปวฒั นธรรม
ภาพที่ 9 หอศลิ ปวฒั นธรรม
ความเปน็ มา
เนื่องจากในอดีตนโยบายภาครัฐ ยังไม่มีความชัดเจนในการสนับสนุนงาน ด้านศิลปวัฒนธรรม
อย่างจริงจัง และเห็นถึง ความสำคัญของการพัฒนาสติปัญญา อารมณ์ และความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็น
ส่วนสำคัญในการสนับสนุนการพัฒนา ประเทศ สิ่งนี้เองท่ีเป็นจุดเร่ิมต้นของแนว ร่วมศิลปินไทยในการ
สร้างหอศิลปะร่วม สมัย เพื่อให้มีหอศิลป์ที่ทัดเทียมกับสากล และเป็นเกียรติศักด์ิศรีกับประเทศ รวมท้งั
เพื่อให้สังคมมีแหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปวัฒนธรรม เป็นทางเลือกเพื่อจรรโลงยก ระดับจิตใจควบคู่ไปกับ
ความเจริญก้าวหน้า ทางวัตถุ หอศิลป์สำหรับประชาชน
เปา้ ประสงคส์ ำคญั ในการจดั ต้งั
เป็นแหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญ และเติมเต็มความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมให้กับระบบ
การศกึ ษา สร้างผลกระทบตอ่ ระบบเศรษฐกิจ สภาพเมอื งสงิ่ แวดลอ้ ม และการทอ่ ง เพ่ือให้สังคมมีแหล่ง
เรียนรู้ทางด้านศิลปวัฒนธรรม โดยมุ่งเนน้ การสร้างความรู้ ความเข้าใจ ของเดก็ เยาวชน และประชาชน
ในสังคม ใหต้ ระหนักถงึ คุณค่าของศิลปวัฒนธรรม
25
การเปิดดำเนินงาน / การขออนุญาตจัดต้ัง
หอศิลป์แห่งนี้เปิดอาคารแรกตั้งแต่วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2548 แต่ก่อสร้างแล้วเสร็จอย่าง
สมบูรณใ์ นปี พ.ศ. 2551
พันธกิจ
1. ขบั เคลอ่ื นใหป้ ระชาชนเขา้ ใจคุณค่าและความหลากหลายของศลิ ปวัฒนธรรมในระดับท้องถ่ิน
ไปจนถึงบรบิ ทของโลก
2. สนับสนนุ กระบวนการสรา้ งสรรคเ์ พอื่ ใหเ้ กดิ ภมู ปิ ัญญาใหม่
3. สรา้ งจินตนาการและแรงบันดาลใจทางศิลปวฒั นธรรมใหแ้ กป่ ระชาชนเพือ่ พฒั นาสงั คมไปสู่
ดุลยภาพ
4. พัฒนาการจัดการดา้ นศิลปวฒั นธรรมใหม้ มี าตรฐานในระดบั นานาชาติ
5. สร้างการมีส่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วนในการพฒั นาศิลปวฒั นธรรม
ยุทธศาสตร์
1. ใช้ความหลากหลายทางวฒั นธรรมนำเสนอผ่านกิจกรรมศิลปะเพื่อให้เห็นคุณค่าและ
ความหมายของความแตกต่าง
2. สร้างกิจกรรมให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้จากทุนทางวฒั นธรรมและสนับสนุนให้เกิดการ
พัฒนาต่อยอด
3. สร้างกิจกรรมที่สง่ เสริมให้เกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ และแรงบันดาลใจจาก
ศิลปวัฒนธรรมแก่ประชาชนทุกกลุ่ม
4. สร้างมาตรฐานองค์กรสู่ระดับสากล
5. ผลักดันศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยไทยสู่ระดับนานาชาติ
6. ประสานและเช่ือมโยงเครือข่ายเพ่อื สร้างกิจกรรมในการพัฒนาศิลปวฒั นธรรม
7. ส่ือสารให้สังคมตระหนักในคุณค่าและเหน็ ความสำคัญของหอศิลปกรุงเทพฯ
8. จัดการทรัพยากร การเงิน การบริหารองค์กร การบริหารบุคคล เพื่อสร้างความมั่นคงของ
องค์กร
พพิ ิธภัณฑ์ศลิ ปะในต่างประเทศ
พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทัน (The Metropolitan Museum of Art) ประเทศสหรัฐอเมริกา
เป็นหอศิลป์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกแห่งหนึ่ง จัดแสดงงานศิลปะตั้งแต่ยุคคลาสสิกจนถึงศิลปะยุคใหม่
นอกจากน้ยี งั มเี ครื่องดนตรีโบราณ อาวุธโบราณ เคร่ืองแตง่ กายของชนเผ่าต่างๆ และวัตถุอีกมากมายท่ีมี
ความสำคัญต่อการบอกเล่าประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของมนุษย์ ภาพเขียนทีม่ ีช่อื เสียงของจิตรกรเอก
ชอื่ ดังทัว่ โลก
26
พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ (Le Grand Louvre) ประเทศฝรั่งเศส ศิลปะอันประดุจเพชรน้ำหนึ่งด้าน
สุนทรียภาพ รวมถึงภาพ “โมนาลิซ่า” ของเลโอนาร์โด ดา วินชี นอกจากนี้ยังมีภาพวาดจิตรกรรมชื่อดงั
ผลงานสถาปตั ยกรรมอันลือช่ือ รวมถงึ วตั ถทุ รงคุณคา่ ทางประวตั ิศาสตร์
พิพธิ ภณั ฑแ์ อรม์ ทิ าช (State Hermitage) ประเทศรัสเซีย พพิ ธิ ภณั ฑ์ทไ่ี ดช้ ่อื ว่าเกา่ แก่ท่ีสุดในโลก
โดดเด่นด้วยลักษณะสถาปัตยกรรมสไตล์บาโรก ภายในจัดแสดงผลงานจิตรกรรม เครื่องประดับ เครื่อง
ทอง เคร่ืองราชกกุธภณั ฑ์ และเหรยี ญล้ำคา่ ประเภทต่างๆ
พพิ ธิ ภณั ฑ์วาติกัน (The Vatican Museums) ประเทศอิตาลี เป็นพิกัดศนู ย์รวมของงานศิลปะที่มี
เอกลักษณ์เฉพาะตัวอีกด้วย โดยเฉพาะ “พิพิธภัณฑ์วาตกิ ัน” ที่ตั้งอยู่ในนครรฐั วาติกัน เป็นสถานที่ที่จดั
แสดงศิลปะ ไม่ว่าจะเป็นจิตรกรรม, จิตรกรรมฝาผนัง, ประติมากรรม และแผนที่ที่มีความเกี่ยวข้องกับ
ศาสนาจกั ร
4.2 หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)
ภาพท่ี 10 หอภาพยนตร์
ความเป็นมา
การเรียกร้องการจัดตั้งหน่วยงานอนุรักษ์ภาพยนตร์ในประเทศไทย พ.ศ. 2524 นักวิชาการ
ภาพยนตร์ โดม สขุ วงศ์ (ตอ่ มาคอื ผรู้ ว่ มกอ่ ต้งั หอภาพยนตร์) ได้คน้ พบฟิลม์ ภาพยนตร์เก่าสมัยรัชกาลที่ 7
ของกองภาพยนตร์เผยแผข่ ่าว กรมรถไฟหลวงในอดีตจึงเรียกร้องตอ่ สาธารณะผ่านทางสอื่ มวลชน ให้ทาง
ราชการดำเนินการอนุรักษ์ภาพยนตร์เหล่านั้นและจัดตั้งหน่วยงานทำหน้าที่เก็บรวมรวมและอนุรักษ์
ภาพยนตร์ขนึ้ ในประเทศไทย
เปา้ ประสงค์สำคญั ในการจัดต้ัง
ดำเนนิ งานเผยแพร่ จดั ฉาย อบรม ให้ความรู้ ควบคไู่ ปกับแผน ยุทธศาสตร์ชาตใิ นการส่งเสริมการ
เข้าถึงวัฒนธรรมอย่างเท่าเทียมกัน หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ยังเป็นสมาชิกเต็มรูปแบบของ
สมาพันธ์หอภาพยนตร์ระหว่างชาติ (INTERNATIONAL FEDERATION OF FILM ARCHIVES) เก็บ
27
รวบรวมและการอนุรักษ์ฟิล์มหรือแถบแม่เหล็กบันทึกภาพ ตลอดจนสนับสนุนการศึกษาค้นคว้า ศึกษา
วจิ ยั และร่วมมอื กับตา่ งประเทศในการเก็บรวบรวมและการอนุรักษ์ภาพยนตร์
หนว่ ยงานและกระทรวงท่รี ับผดิ ชอบ/อยู่ภายใตห้ น่วยงาน
องคก์ ารมหาชน
การเปิดดำเนนิ งาน / การขออนุญาตจดั ตงั้
จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2552 เมื่อวันที่ 22
มถิ นุ ายน พ.ศ. 2552
วิสัยทัศน์
ปฏิบตั กิ ารอนรุ กั ษ์ไดม้ าตรฐานแผข่ ยายงานวชิ าการและบริการบริหารจดั การดว้ ยธรรมปัญญา
พันธกจิ
แสวงหา คัดเลือก ภาพยนตร์ ส่อื โสตทศั น์และสิ่งเกีย่ วเน่ืองเพือ่ เก็บรกั ษาเป็นทรัพยส์ นิ ทางปัญญา
และ มรดกศิลปวัฒนธรรมของชาติ วิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ต่างๆ ด้านภาพยนตร์ สื่อโสตทัศน์และสิ่ง
เกีย่ วเน่อื ง บรกิ ารสาธารณะเพือ่ การศึกษา ค้นควา้ และสง่ เสรมิ เผยแพร่ใหเ้ กิดการใช้ประโยชน์สูงสุดจาก
ภาพยนตร์
4.3 หออคั รศิลปิน
ภาพที่ 11 หออคั รศิลปิน
ความเปน็ มา
สำนักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ (กรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม ในปจั จุบัน) ได้จดั ต้ังหออัคร
ศิลปินขึ้น เพื่อเทิดพระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระมหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องใน
โอกาสการจัดงานฉลองสริ ิราชสมบตั คิ รบ 50 ปี
28
เป้าประสงค์สำคัญในการจดั ตัง้
สถานที่จัดแสดงนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับพระอัจฉริยภาพทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 จัดแสดงประวัติและผลงานของศิลปินแห่งชาติ ทั้ง 3 สาขา
ได้แก่ สาขาวรรณศิลป์ สาขาทัศนศิลป์ และสาขาศิลปะการแสดง และถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ทางด้านต่างๆ
ของศลิ ปินแหง่ ชาติ เพือ่ เตมิ เต็มองค์ความรใู้ ห้แก่นกั เรียน นกั ศกึ ษาและประชาชนผทู้ ีส่ นใจ
หนว่ ยงานและกระทรวงทรี่ ับผดิ ชอบ/อยภู่ ายใต้หน่วยงาน
กรมสง่ เสรมิ วัฒนธรรม กระทรวงวฒั นธรรม
การเปิดดำเนินงาน / การขออนุญาตจดั ต้ัง
เปิดอย่างเป็นทางการเม่อื วันจนั ทรท์ ่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
ขอ้ มูลหออคั รศลิ ปิน
ห้องศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ จัดแสดงภาพประวัติและผลงานของศิลปินแห่งชาติ งาน
วรรณกรรม และเป็นห้องสมุดสำหรับสืบค้นข้อมูล จัดแสดงนิทรรศการประวัติศิลปินแห่งชาติทุกแขนง
ตั้งแต่อดตี จนถึงปัจจุบัน ชั้น 2 และ 3 จดั แสดงเกี่ยวกบั พระราชประวัติ พระราชกรณียกจิ และพระปรีชา
สามารถทางด้านศิลปะของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 รวมถึงจัดแสดงผลงานจิตรกรรมฝี
พระหัตถ์ ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ และนำเสนอบทเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 9 ในรูปแบบดนตรี 3 มิติ ห้องศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง จัดแสดงด้วยการจำลอง
บรรยากาศของเวทกี ารแสดง มีประวัติของศลิ ปินแหง่ ชาตแิ ละผลงาน และยังมจี อหนังตะลุง โรงภาพยนตร์
ส่วนจัดแสดงอุปกรณ์งานสรา้ งสรรค์ศิลปะการแสดง หุ่นจำลองใส่ชุดละครรำ และยังมีจอหนังตะลุง โรง
ภาพยนตร์
5. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
5.1 พพิ ธิ ภัณฑเ์ กษตรเฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว
ภาพท่ี 12 พิพธิ ภณั ฑเ์ กษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั
29
ความเป็นมา
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จดั ตงั้ พิพธิ ภณั ฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยูห่ วั โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ เฉลมิ พระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลย
เดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในมหามงคลสมัยที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบรอบ 50 ปี ในปี
พทุ ธศกั ราช 2539 โดยสมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
เสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์การก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.
2539 และพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เสด็จพระ
ราชดำเนนิ เป็นองคป์ ระธานในพธิ ีเปดิ เมอ่ื วันที่ 21 มกราคม พ.ศ.2545 ต่อมากระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ดำเนินการจัดตั้งสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การ
มหาชน) เพื่อดำเนินการบริหารงานตามพระราชกฤษฎีกา จัดตั้งสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระ
เกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2552 โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 23
มถิ ุนายน 2552
การเปิดดำเนนิ การ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดเมื่อวันที่ 21
มกราคม พ.ศ.2545
เป้าประสงค์สำคัญในการจดั ต้ัง
1. ให้เกิดการเรยี นรูแ้ ละตระหนกั รู้ในพระเกยี รตคิ ุณและพระอัจฉรยิ ภาพดา้ นการเกษตร ของ
พระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์
2. สง่ เสริมสนับสนนุ การนอ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการเกษตรเพ่ือการสืบ
สาน รักษา ต่อยอด
3. เปน็ ศนู ย์การเรยี นรู้ท่รี วบรวมองคค์ วามรู้ ภูมปิ ัญญา นวัตกรรมด้านการเกษตร บนพน้ื ฐานหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4. สรา้ งเครอื ข่ายและภาคีความร่วมมอื ในการขยายผลการน้อมนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี งด้านการเกษตร
วิสยั ทัศน์
พพิ ธิ ภณั ฑ์ช้นั นำแห่งการเรยี นรู้ พระเกียรตคิ ุณและพระอจั ฉริยภาพของกษตั ริยเ์ กษตรและเป็น
ศูนย์กลางการเรียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นวตั กรรมด้านการเกษตรของประเทศ
30
6. สำนกั นายกรัฐมนตรี
6.1 อทุ ยานการเรียนรู้ TK Park ห้องสมดุ มชี วี ิต
ภาพท่ี 13 อทุ ยานการเรยี นรู้ TK Park ห้องสมุดมีชวี ิต
ความเป็นมา
สถาบนั อทุ ยานการเรยี นรู้ กอ่ ต้ังข้นึ เม่ือวันท่ี 18 มถิ ุนายน 2547 เป็นหนว่ ยงานสร้างสรรค์แหล่ง
การเรียนรู้เพื่ออนาคตของสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) หรือ สบร. เปิด
ให้บริการแก่ประชาชนเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2548 เป็นที่รู้จักในนาม “ทีเคพาร์ค” (TK park) ปัจจุบัน
ตง้ั อยู่ท่ชี นั้ 8 อาคารศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวลิ ด์ พืน้ ที่ 3,700 ตารางเมตร ไดร้ บั การออกแบบให้เป็นสถานที่
ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่ทันสมัย ผ่านสื่อการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ เช่น หนังสือ ดนตรี
มัลติมีเดีย รวมถึงร่วมมือกับองค์กรภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ
แลกเปลีย่ นเรยี นร้สู ำหรับเดก็ และเยาวชน
เปา้ ประสงค์สำคัญในการจดั ตง้ั
เปน็ แหล่งเรียนรทู้ เี่ น้นการปลูกฝงั และส่งเสริมนิสยั รักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยบรรยากาศ
ที่ทันสมยั ส่งเสรมิ ให้เด็กและเยาวชนมนี ิสยั รกั การอ่าน แสวงหาความรู้ และเรยี นร้อู ย่างสร้างสรรค์ตลอด
ชีวิต ตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนมีโอกาสพัฒนา แลกเปลี่ยนและแสดงผลงานทีม่ ีความคดิ
สร้างสรรค์ สามารถสร้างนวัตกรรม ผลผลิตหรือชิ้นงานจากการผสมผสานด้านศิลปะ วัฒนธรรม ค่านิยม
หรือวถิ ีชวี ิต นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีรปู แบบทห่ี ลากหลาย
เปน็ สถานท่ีสง่ เสริมการอ่านและการเรียนรู้ท่ีทันสมัย ผา่ นสื่อการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ เช่น
หนังสอื ดนตรี มัลติมีเดีย ในการจัดกิจกรรมสง่ เสริมการแลกเปลย่ี นเรียนรูส้ ำหรับเดก็ และเยาวชน
หน่วยงานและกระทรวงทรี่ บั ผดิ ชอบ/อยภู่ ายใตห้ นว่ ยงาน
องค์การมหาชน สำนกั งานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้
31
การเปดิ ดำเนนิ งาน / การขออนญุ าตจดั ต้ัง
เปิดให้บริการแก่ประชาชนเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2548 เป็นที่รู้จักในนาม “ทีเคพาร์ค” (TK
park)
การจดั โครงสรา้ งองค์กร และการจดั ระบบงานบริหาร
วิสยั ทศั น์ ร่วมสรา้ งสรรค์สงั คมแห่งการเรียนรู้
6.2 หอ้ งสมุดการ์ตนู ห้วยขวาง
ภาพที่ 14 หอ้ งสมุดการ์ตูน ห้วยขวาง
ความเปน็ มา
สืบเนื่องจากปีพ.ศ.2556 กรุงเทพมหานครได้รับการคัดเลือกให้เป็น “กรุงเทพฯ เมืองหนังสือ
โลก” ซึ่งเป็น 1 ในพันธกิจที่กรุงเทพฯ ได้เสนอต่อองค์การยูเนสโก คือพิพิธภัณฑ์การ์ตูน จึงได้ปรับปรุง
ห้องสมุดเพอ่ื การเรยี นรู้หว้ ยขวาง ให้มอี ตั ลักษณ์ด้านการ์ตนู ภายใตแ้ นวคิด “การ์ตนู ..แรงบันดาลใจสู่การ
อา่ น”
หลักการสำคัญในการจัดตงั้ / เป้าประสงค์สำคญั ในการจดั ตงั้
มวี ัตถุประสงค์เพื่อเปน็ ต้นแบบของการจัดกิจกรรมทนี่ ำการ์ตนู มาเป็นสื่อในการสร้างแรงบันดาล
ใจในการอ่าน รู้จักการสร้างจนิ ตนาการรูปแบบใหม่ๆ ผา่ นการต์ ูนและนำไปสู่การอา่ นอย่างยงั่ ยืน
การเปิดดำเนนิ งาน / การขออนุญาตจัดตัง้
หอ้ งสมดุ เพอื่ การเรยี นรูห้ ้วยขวาง เปดิ ดำเนนิ การเมือ่ วนั ที่ 1 ตุลาคม 2554
6.3 ศนู ยศ์ ึกษาการพัฒนาพิกุลทองอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ จงั หวัดนราธวิ าส
ความเป็นมา
จากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมเยียนราษฎรในเขตพื้นท่ี
ภาคใต้ ทรงพบว่าพื้นที่จำนวนมากมีสภาพเป็นพรุ ซึ่งเป็นดินเปรี้ยวและมีคุณภาพต่ำไม่สามารถนำมาใช้
ประโยชน์ทางการเกษตรได้ จึงพระราชทานพระราชดำรใิ หจ้ ดั ต้งั ศนู ย์ศึกษาการพฒั นาพิกลุ ทองฯ ขนึ้ เม่ือ
วันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๒๔ เพื่อศึกษา ค้นคว้า วิจัย ทดลอง และพัฒนาดนิ อินทรีย์และดินที่มีปญั หาอ่นื ๆ
ในพ้ืนทพ่ี รุ เพอ่ื นำมาใชป้ ระโยชนท์ าดา้ นการเกษตรรวมทง้ั แสวงหาแนวทางและวธิ ีการพัฒนา ทั้งทางด้าน
32
การเกษตร การเลี้ยงสตั ว์ และการเกษตรอุตสาหกรรมทมี่ ีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกับสภาพพื้นท่ีภาคใต้
เพอื่ ใหเ้ ปน็ ตน้ แบบแหง่ ความสำเรจ็ ใหพ้ ้ืนทอี่ ื่นๆ
เป้าประสงค์
เพื่อศึกษา ค้นคว้า วิจัย ทดลอง และพัฒนาดินอินทรีย์และดินที่มีปัญหาอื่นๆ ในพื้นที่พรุ เพ่ือ
นำมาใช้ประโยชนท์ าดา้ นการเกษตรรวมท้งั แสวงหาแนวทางและวธิ กี ารพฒั นา ทงั้ ทางด้านการเกษตร การ
เลี้ยงสัตว์ และการเกษตรอุตสาหกรรมที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพพื้นที่ภาคใต้ เพื่อให้เป็น
ตน้ แบบแห่งความสำเร็จให้พ้นื ท่ีอ่ืนๆ
หนว่ ยงานและกระทรวงที่รบั ผิดชอบ/อยู่ภายใต้หน่วยงาน
สำนักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน
กปร.)
6.4 ศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาห้วยฮ่องไครอ้ ันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ จงั หวดั เชยี งใหม่
ความเปน็ มา
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวไดเ้ สด็จฯ ผ่านพื้นทล่ี มุ่ น้ำห้วยฮ่องไคร้และพบว่า
พื้นทล่ี มุ่ นำ้ ดังกลา่ วเป็นป่าเตง็ รังที่เสื่อมโทรมมคี วามลาดชันไมส่ ูงมากนักไมม่ ีราษฎรอาศยั อย่ใู นเขตพ้ืนที่
ดังน้นั จึงได้พระราชทานพระราชดำรทิ จี่ ะใช้ลมุ่ นำ้ ดงั กล่าว เป็นลุม่ น้ำสำหรับศึกษา ในการพฒั นารปู แบบ
ตา่ ง ๆ โดยใชร้ ะบบน้ำชลประทานเปน็ แกนนำ และเนอื่ งมาจากสภาพป่าเต็งรงั ที่เสือ่ มโทรมนีเ้ ป็นสภาพลุม่
น้ำที่มีอยูค่ ่อนข้างมากในพืน้ ท่ภี าคเหนอื หากว่าพนื้ ที่ลมุ่ นำ้ ชนิดน้ีได้รับการพัฒนาแล้วก็จะทำให้ พื้นที่ตน้
น้ำลำธารของภาคเหนือ รวมท้งั ความเปน็ อย่ขู องราษฎรในพืน้ ที่ล่มุ น้ำชนิดนีม้ ีสภาพดีข้นึ ไปด้วย ดังน้ันสืบ
เนอื่ งมาจากแนวพระราชดำรนิ ้ี กิจกรรมต่าง ๆ เพอื่ ศึกษาการพฒั นาก็ไดเ้ ร่ิมขน้ึ ทลี่ มุ่ น้ำห้วยฮ่องไคร้
เปา้ ประสงค์
มพี ระราชประสงค์ทีจ่ ะใหเ้ ป็นศูนย์กลางในการศึกษา ทดลอง วจิ ัย เพอื่ หารูปแบบการพัฒนาด้าน
ต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ภาคเหนือ และเผยแพร่แก่ราษฎรให้สามารถนำไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง
ต่อไป
หนว่ ยงานและกระทรวงทร่ี ับผดิ ชอบ/อยู่ภายใต้หนว่ ยงาน
สำนักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน
กปร.)
6.5 ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาภูพานอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ จงั หวัดสกลนคร
ความเปน็ มา
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เปน็ ภาคท่ีมีพ้ืนทกี่ ว้างใหญ่มากทส่ี ดุ ของประเทศ โดยมพี ืน้ ที่ถึง 106.4
ลา้ นไร่ หรือ 170,218 ตารางกโิ ลเมตร คิดเปน็ ร้อยละ 33.1 ของพ้นื ทท่ี งั้ ประเทศ ซง่ึ ประสบกบั ปญั หา
หลักๆ 3 ประการ คอื ปัญหาเก่ยี วกบั ดนิ เนอื่ งจากความสมบูรณ์ของทรพั ยากรป่าไม้ ดนิ นำ้ แร่ธาตุตา่ งๆ
ดนิ มคี ณุ ภาพต่ำไม่สามารถอมุ้ น้ำได้และมีความเค็ม ปญั หาดา้ นแหลง่ นำ้ และป่าไม้ แหล่งน้ำธรรมชาติมไี ม่
33
เพียงพอ ทำให้ดินขาดความช่มุ ชน้ื สง่ ผลตอ่ การเพาะปลกู พชื มกี ารแผว้ ถางปา่ เพอ่ื การประกอบอาชพี จน
ทำให้แหลง่ ต้นนำ้ ลำธารและระบบนเิ วศวทิ ยาถูกทำลาย ปัญหาดา้ นวิทยากร นอกจากปญั หาปัจจัยการ
ผลติ การเกษตรขา้ งต้นที่ไมพ่ ร้อมแล้ว ผลจากการขาดความร้พู ืน้ ฐานที่จำเป็นตอ่ การดำรงชีวติ โดยเฉพาะ
เทคนิควิชาการเกษตรทีถ่ ูกตอ้ ง การปรับปรงุ บำรุงรักษาคุณภาพของปจั จัยการผลิตอย่างมหี ลักวชิ า เช่น
เร่ืองปา่ ไม้ การใช้ประโยชนจ์ ากที่ดนิ การแปรรปู ผลผลิตและเรื่องการตลาด จากสภาพภมู ิประเทศ และ
ทรพั ยากร ตลอดจนขนบธรรมเนยี มประเพณีท่แี ตกต่างไปจากภาคอ่ืน จงึ มีการศึกษาถงึ ปัญหาสภาพ
ทอ้ งถนิ่ หรือวิถชี ีวิตของราษฎรเพื่อจัดหารูปแบบการพฒั นาท่ีเหมาะสมกบั ภาคอีสาน ดงั นน้ั
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว จึงทรงคดั เลือกพื้นท่จี ัดตง้ั ศูนย์ฯ ดว้ ยตนเอง เพอื่ เปน็ พ้นื ท่ตี วั แทนของภาค
อสี านทงั้ หมด ดว้ ยพน้ื ท่นี ้ีมีลกั ษณะสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และวงจรทางชีวภาพทคี่ ลา้ ยคลึงกับ
ภูมภิ าคโดยทั่วไปของภาคอีสาน ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จึงถือกำเนิดขึ้น
เมอื่ วันที่ ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๕ เพอื่ เปน็ แบบจำลองของภาคอสี านและเปน็ พื้นทีส่ ว่ นย่อทมี่ ีความ
เหมาะสมสอดคล้องกบั การแก้ไขปัญหา ด้วยวธิ ีการต่างๆ เพอ่ื พัฒนาให้ภมู ภิ าคนเ้ี กดิ ความอุดมสมบูรณ์
ยิง่ ขน้ึ
เป้าประสงค์
เพ่อื ใหเ้ ปน็ สถานศกึ ษา ทดลอง ดา้ นการพฒั นาทุกรูปแบบ และถา่ ยทอดเทคโนโลยแี ผนใหม่ให้แก่
เกษตรกร เพื่อส่งเสริมให้มีการบำรุงรักษาและพัฒนาป่าไม่ในเขตปริมณฑลของศูนย์ฯ ภูพาน ด้วยระบบ
ชลประทาน เพ่ือการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชเศรษฐกิจและนำผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูปเป็นสินค้า
เกษตรกรรม เพ่อื สง่ เสริมการพัฒนาอาชพี ทางการเกษตรตา่ ง ๆ
หน่วยงานและกระทรวงที่รับผดิ ชอบ/อยภู่ ายใต้หนว่ ยงาน
สำนักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน
กปร.)
6.6 ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาอา่ วค้งุ กระเบนอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ จังหวดั จันทบุรี
ความเป็นมา
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ ได้เริ่มก่อตั้งตามพระราชดำริ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธี
เปดิ พระบรมราชาอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทีจ่ ังหวดั จันทบุรี เมื่อวนั ที่ ๒๘ ธนั วาคม พ.ศ.
๒๕๒๔ โดยมีพระราชดำริแก่ผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี "ให้พิจารณาพื้นที่ท่ีเหมาะสมจัดทำโครงการ
พฒั นาดา้ นอาชพี การประมง และการเกษตรในเขตพ้นื ท่ดี นิ ชายฝัง่ ทะเลจนั ทบุรี" และไดพ้ ระราชทานเงินที่
ราษฎรจงั หวดั จนั ทบุรีได้ร่วมทูลเกล้าทูลกระหมอ่ มถวายโดยเสด็จพระราชกุศลในโอกาสดังกล่าว เป็นทุน
รเิ ริม่ ดำเนินการ
ตอ่ มาเมอื่ วันท่ี ๓๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวไดม้ ีพระราชดำริเพมิ่ เติม
ณ พระตำหนกั จิตรลดารโหฐาน สาระโดยสรุปว่า "ใหพ้ ิจารณาจัดหาพ้ืนทป่ี า่ สงวนเสอื่ มโทรม หรือพนื้ ท่ี
34
สาธารณประโยชนเ์ พื่อจดั ต้งั ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนา เชน่ เดียว กับศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาเขาหินซอ้ น ให้เปน็
ศูนยศ์ กึ ษาเกี่ยวกับการพฒั นาในเขตท่ีดินชายทะเล"
และเม่ือวันท่ี ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๓๑ ได้มพี ระราชดำริเก่ียวกับศูนย์ศึกษาการพฒั นาอา่ วคุง้ กระเบน
ฯ ในโอกาสที่ประธานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำรินำ
ผู้เข้าร่วมสัมมนาและบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเฝ้าฯ เพื่อรับพระราชทานพระบรมราโชบายเกี่ยวกับการ
ดำเนินงานในช่วงต่อไป ณ ศาลาดุสดิ าลยั สาระโดยสรุป คุง้ กระเบนเปน็ การศกึ ษาเก่ยี วกบั ชายทะเล ต้นไม้
ต่าง ๆ ชายทะเล และปลา การประมง
เปา้ ประสงค์
เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการทรัพยากรชายฝั่งอย่างยั่งยืน เพื่อเป็นศูนย์กลางในการอบรมและ
เผยแพร่ผลการศึกษาการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง เพื่อยกระดับฐานะความเป็นอยู่ อาชีพของราษฎร
บริเวณรอบอ่าวคุ้งกระเบน และ พื้นที่ใกล้เคียง เพื่อพัฒนาด้านการประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
ชายฝั่งเพ่ือเปน็ การเพม่ิ ผลผลติ ของประเทศ
หนว่ ยงานและกระทรวงทีร่ บั ผดิ ชอบ/อยูภ่ ายใตห้ นว่ ยงาน
สำนักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน
กปร.)
6.7 ศูนย์ศึกษาการพฒั นาหว้ ยทรายอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ จงั หวัดเพชรบรุ ี
ความเป็นมา
แตเ่ ดมิ สภาพภมู ิประเทศในเขตพื้นท่ีจงั หวัดเพชรบุรี จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์ และจังหวดั ใกล้เคียง
อื่นๆ มีความอุดมสมบูรณ์เป็นอย่างมาก แต่ภายหลังได้มีราษฎรเข้ามาบุกรุกแผ้วถางป่า ทำลายป่า ทำ
การเกษตรอยา่ งผิดวิธี และใช้สารเคมที ี่ส่งผลเสียต่อดนิ และน้ำ ขาดการบำรงุ รักษาคณุ ภาพดนิ ทำให้พ้ืนท่ี
บริเวณดังกล่าวเปลี่ยนแปรสภาพไปอย่างรวดเร็ว หน้าดินถูกชะล้างความอุดมสมบูรณ์ไปหมดสิ้น ดิน
กลายเป็นดินทรายและดินดานที่ไม่มแี ร่ธาตุ ความสมดุลทางธรรมชาติถกู ทำลายโดยสิ้นเชิง เกิดภาวะฝน
ท้งิ ชว่ งความแห้งแล้งของพืน้ ท่ีแผข่ ยายเปน็ วงกวา้ ง พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั มพี ระราชดำรัสเกี่ยวกับ
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ ความตอนหนึ่งว่า “...ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อำเภอชะอำ
จังหวัดเพชรบุรี : เดิมเป็น ป่าโปร่ง คนไปตัดไม้สำหรับเป็นฟืนและสำหรับเผาถ่าน ต่อจากน้ัน มีการปลูก
พชื ไรแ่ ละสบั ปะรดจนดนิ จืดกลายเป็นทราย ถูกลมและนำ้ ชะล้างไปหมด จนเหลอื แตด่ นิ ดาน ซ่ึงเป็นดินที่
แข็งตัวเมื่อถูกอากาศ ดินนี้ก็ไม่มีแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์...” ด้วยเหตุนี้ เมื่อวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๒๖
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงมีพระราชดำริให้พัฒนาพื้นที่เป็นศูนย์ศึกษาการพัฒนาเพื่อฟื้นฟู
สภาพแวดล้อมดว้ ยการปลูกป่า และจดั หาแหลง่ น้ำโดยจัดให้ราษฎรที่ทำกนิ เดิมได้มีส่วนร่วมในการรักษา
ป่าไมแ้ ละ ไดป้ ระโยชนจ์ ากป่าไม้ควบค่ไู ปกบั การพฒั นาเกษตรกรรมทเ่ี หมาะสมเพื่อพัฒนาอาชีพ
35
เปา้ ประสงค์
เพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟู ปรับปรุง และรักษาป่าไม้และสภาพแวดล้อมให้เกิดความชุ่มชื้น เพ่ือ
เป็นศูนย์รวมในการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัย และแสวงหาแนวทาง เพื่อพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ
ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชวี ติ ให้กับราษฎรในบรเิ วณศนู ย์ฯ เพือ่ ให้ศูนยฯ์ เปน็ สถานที่ให้ความรู้และศึกษาดู
งานแกเ่ กษตรกรและประชาชนทว่ั ไป
หนว่ ยงานและกระทรวงทร่ี บั ผดิ ชอบ/อยภู่ ายใตห้ นว่ ยงาน
สำนักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน
กปร.)
6.8 ศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาเขาหินซ้อนอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ความเป็นมา
เมอ่ื วันที่ ๘ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๒๒ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวเสดจ็ พระราชดำเนนิ มาเปิดศาล
พระบวรราชานุสาวรีย์ ของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ตำบลเขาหินซ้อน อำเภอพนมสาร
คาม จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ณ ที่น้ัน ราษฎร ๗ ราย ไดน้ ้อมเกลา้ ฯ ถวายทีด่ ิน บรเิ วณหมู่ ๒ ตำบลเขาหนิ ซ้อน
อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชงิ เทรา จำนวน ๒๖๔ ไร่ เพอื่ ต้องการให้สรา้ งพระตำหนัก ด้วยเห็นว่าพระ
เจ้าอยู่หัวเสด็จไปทไ่ี หนก็พยายามทจ่ี ะพัฒนาทำให้ที่ดนิ เจรญิ ข้นึ เน่ืองจากผนื ดินเสือ่ มโทรมไม่สามารถทำ
การเกษตรได้ ดงั พระราชดำรสั “...ประวัติมวี า่ ตอนแรกมที ด่ี ิน ๒๖๔ ไร่ ท่ผี ู้ใหญบ่ า้ นให้เพ่ือสร้างตำหนัก
ในปี ๒๕๒๒ ทีเ่ ชงิ เขาหนิ ซอ้ นใกล้วดั เขาหนิ ซอ้ น ตอนแรก กต็ อ้ งคน้ คว้าว่าทต่ี รงน้ันคอื ตรงไหน กพ็ ยายาม
สืบถามก็ได้พบบนแผนที่พอดี อยู่มุมบนของระวางของแผนที่ จึงต้องต่อแผนที่ ๔ ระวาง สำหรับให้ได้
ทราบว่าสถานท่ีตรงน้นั อยตู่ รงไหน ก็เลยถามผทู้ ่ใี หท้ ่ีนนั้ นะ ถา้ หากไมส่ ร้างตำหนกั แตว่ า่ สรา้ งเป็นสถานที่
ทีจ่ ะศกึ ษาเกยี่ วกับ การเกษตรจะเอาไหม เขาก็บอกยินดี ก็เคยเริม่ ทำในทน่ี นั้ ...” การดำเนนิ งานของศนู ยฯ์
เขาหนิ ซ้อนฯ ได้ดำเนินการตามแนวพระราชดำริ เพอื่ เปน็ แหลง่ รวบรวมการศกึ ษา ทดลอง วจิ ัย และการ
พฒั นาปรบั ปรุงพืน้ ที่ดนิ ทรายจดั เพือ่ เกษตรกรรม ซึง่ มีรปู แบบการให้บรกิ ารแบบเบด็ เสร็จ ณ จดุ เดียว โดย
ใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชนและเกษตรกรทีเ่ ข้ามาศกึ ษาหาความรู้ ณ ท่แี ห่งเดยี วในทกุ สาขาวิชาชีพ เสมือน ”
พิพิธภัณฑ์ธรรมชาตทิ ่ีมีชีวติ ” เป็นตัวอยา่ งแห่งความสำเร็จในด้านการเกษตรกรรม และการพัฒนาอาชพี
เพื่อเป็นต้นแบบ และแนวทางให้แก่เกษตรกรและผู้สนใจนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติในพื้นที่ต่อไป
โดยเฉพาะหมู่บ้านเปา้ หมาย จำนวน ๑๕ หมู่บ้าน เนื้อที่ ๑๑๓,๒๑๔ ไร่
เป้าประสงค์
เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมการศึกษา ทดลอง วิจัย และการพัฒนาปรับปรุงพื้นที่ดินทรายจัดเพ่ือ
เกษตรกรรม เพ่อื ให้บริการแก่ประชาชนและเกษตรกรท่เี ขา้ มาศกึ ษาหาความรู้
หนว่ ยงานและกระทรวงที่รับผดิ ชอบ/อยู่ภายใต้หนว่ ยงาน
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน
กปร.)
36
7. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
7.1 พิพธิ ภณั ฑก์ ารเกษตรเฉลิมพระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั
ภาพท่ี 15 พิพิธภณั ฑ์การเกษตรเฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั
ความเป็นมา
พิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่บริเวณตรงข้าม
โรงพยาบาลการญุ เวช นวนคร ตำบลคลองหน่ึง อำเภอคลองหลวง จังหวดั ปทมุ ธานี พิพธิ ภณั ฑม์ ีชีวติ แหลง่
ทอ่ งเทยี่ วเพือ่ การเรยี นร้เู กษตรเศรษฐกจิ พอเพียง แหล่งเรียนรูพ้ ระเกียรตคิ ณุ และพระอัจฉริยภาพ เรียนรู้
ศาสตร์พระราชาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการเกษตร บนพื้นท่ี 374 โดยกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ จัดตั้ง พพิ ธิ ภัณฑก์ ารเกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพ่ือเฉลิมพระเกียรติ
ในโอกาสมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ
บพิตร ทรงครองสริ ิราชสมบตั ิครบรอบ ๕๐ ปี ในปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๓๙ ต่อมาในปพี ุทธศักราช ๒๕๕๒ ได้
มีพระราชกฤษฎีกา จัดตั้งสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
(องค์การมหาชน) เพื่อบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้พระเกียรติคุณและพระอัจฉริยภาพ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ด้านการเกษตรและ
ความสำคัญของการเกษตรกับสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ดิน น้ำ
ป่า เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้เกษตรเศรษฐกิจพอเพียงและการถ่ายทอดองค์ความรู้ ด้านภูมิปัญญา
นวตั กรรมเกษตร ส่กู ารปฏบิ ตั ิและปรับประยุกตใ์ ช้ไดจ้ ริงในชีวติ ประจำวัน ในรูปแบบพิพิธภณั ฑม์ ีชีวติ
นอกจากนีพ้ พิ ธิ ภัณฑ์การเกษตรฯ ยังมีกิจกรรมทุกวันเสารแ์ ละวนั อาทิตย์ตลอดทั้งเดือน โดยทุก
สัปดาห์แรกของเดือน พิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติฯ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี จัดให้มี "ตลาด
นัดเศรษฐกิจพอเพียง" เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเกษตรเศรษฐกิจพอเพียงและเพื่อเผยแพร่พระ
อัจฉริยภาพดา้ นการเกษตรของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรม
นาถบพิตร โดยระดมปราชญ์เศรษฐกิจพอเพียงและเครือข่ายองค์ความรู้ด้านต่าง ๆ ทั่วประเทศ มาจัด
37
แสดงและจำหน่ายสินค้าเก่ียวกับเกษตรอินทรียแ์ ละสุขภาพ ตลอดจนเปดิ สอนอาชีพวิชาของแผ่นดินและ
อบรมเชิงปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเกษตรกรตัวจริง ชม ชิม ช้อป ไปกับสินค้าปลอดภัยจาก
เครือข่ายพพิ ธิ ภณั ฑ์การเกษตรฯ ทว่ั ประเทศ
สว่ นในวันเสาร์อาทติ ย์ ที่ 2 3 และ 4 ของเดอื น พบกบั “กิจกรรมทอ่ งเท่ยี วสุขสันต์ ที่พิพิธภัณฑ์
การเกษตรฯ” สร้างประสบการณ์ด้านการเกษตรให้กับทุกคนในครอบครัว เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง ด้านการเกษตร สัมผัสกับวิถีชีวิตแบบพอเพียง ผ่านการชมนิทรรศการในอาคารพิพิธภัณฑ์ฯ
ต่างๆ ชมฐานการเรียนรเู้ กษตร ลงมือปฏิบตั ิ เพื่อนำไปประยกุ ต์สู่วถิ ขี องตนเอง
เส้นทาง สืบสาน รักษา ต่อยอด Wisdom Farm เป็นการส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้ และการมี
ส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมายผ่านกจิ กรรมสร้างสรรค์ด้านวิถีเกษตร พร้อมกระตุ้นการเข้าชม ศึกษาเรียนรู้
เกษตรเศรษฐกิจพอเพียง ตามรอยศาสตร์พระราชา ส่งเสริมคุณภาพชีวิต พัฒนาสังคมและจิตใจ ในการ
น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ จากความมุ่งมั่น สู่ความตั้งใจ
สร้างสรรค์พ้ืนที่ภายในพิพิธภัณฑ์การเกษตรฯ รวมทั้งการพัฒนาพื้นที่จัดแสดงเพื่อการเรียนรู้เกษตรใน
รูปแบบพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้กลางแจ้ง สู่เส้นทาง สืบสาน รักษา ต่อยอด WISDOM FARM เพื่อสอดรับ
สังคมการเรียนรู้ กระตุ้นการท่องเที่ยวพิพิธภัณฑ์ที่หลากหลาย และยั่งยืน พร้อมส่งเสริมและจำหน่าย
ผลผลิตและผลิตภัณฑ์ด้านเกษตร สู่การพัฒนาขยายผล และนำมาซ่ึงการสร้างรายได้ แก่ภาคเกษตรและ
เครือขา่ ยตลอดจนการใช้ประโยชนพ์ ้นื ที่ พพิ ธิ ภัณฑก์ ารเกษตรฯ เพ่อื การเรียนรู้ และการสร้างแรงบันดาล
ใจในการทำเกษตร
เปา้ ประสงค์
เพอ่ื เป็นแหลง่ เรียนรู้และศึกษา
หนว่ ยงาน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การเปดิ ดำเนนิ
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวเสด็จพระราชดำเนนิ เปน็ องคป์ ระธานในพธิ ีเปิดเม่อื วนั ท่ี 21
มกราคม พ.ศ.2545
38
8. หน่วยงานปกครองท้องถ่ิน กรุงเทพมหานคร
8.1 พพิ ิธภัณฑเ์ ด็กกรุงเทพมหานคร แห่งที่ 1 (จตุจกั ร)
ภาพที่ 16 พพิ ิธภัณฑเ์ ดก็ กรุงเทพมหานคร แห่งที่ 1 (จตุจักร)
ความเป็นมา
พิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นตามพระราชปรารภในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชนิ ีนาถ ท่ีมพี ระราชประสงค์ให้เดก็ ไทยไดเ้ รยี นรอู้ ยา่ งเพลิดเพลินในรปู แบบของพพิ ิธภณั ฑเ์ ดก็
เปา้ ประสงคส์ ำคัญในการจัดต้ัง
กระบวนการเรียนรู้ (Method of Learning) ทม่ี ีแรงจูงใจ (Motivation) ทหี ลากหลาย สอดคล้อง
กับพัฒนาการและศักยภาพของเด็ก โดยคัดสรรสาระความรู้ที่เหมาะสมเพื่อบ่มเพาะจิตสร้างสรรค์ให้
เกดิ ขึน้ เป็นแหลง่ เรยี นรู้ ช่วยพัฒนาทักษะใหเ้ ดก็ ๆ
หน่วยงานและกระทรวงทรี่ บั ผิดชอบ/อยู่ภายใต้หน่วยงาน
กรุงเทพมหานคร
การเปดิ ดำเนินงาน / การขออนุญาตจัดตั้ง
เปิดให้บริการเมื่อวันที 17 สิงหาคม พ.ศ.2544 หลังจากเปิดดำเนินการไปแล้ว 9 ปี
กรุงเทพมหานคร ได้ปรับปรุงพิพิธภัณฑ์เด็ก ให้มีรูปแบบการเรียนรู้ที่ทันสมัยภายใต้แนวคิด “Learning
for Young Creative Mind” ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ (Method of Learning) ที่มีแรงจูงใจ
(Motivation) ทีหลากหลาย สอดคล้องกับพัฒนาการและศักยภาพของเด็ก โดยคัดสรรสาระความรู้ท่ี
เหมาะสมเพ่ือบม่ เพาะจิตสรา้ งสรรคใ์ ห้เกดิ ข้นึ
พิพิธภัณฑเ์ ดก็ ในตา่ งประเทศ
พิพิธภัณฑ์เด็กแห่งชาติเกาหลี(Children’s Museum of National Museum of Korea) เป็น
ศนู ย์กลางมอบประสบการณ์ใหแ้ ก่เด็กและผู้ใหญ่ สำหรบั การเรยี นรู้เกยี่ วกับประวัติศาสตร์ และมรดกทาง
วัฒนธรรมของเกาหลีผ่านโปรแกรมและเกมต่างๆ ภายในมีความหลากหลายของนิทรรศการ ได้แก่ การ
39
ดแู ลรักษาและบำรุงรักษาของทรัพย์สนิ ทางวฒั นธรรม, การสำรวจพฒั นา และวิจยั ทรพั ยส์ ินทางวฒั นธรรม
, นทิ รรศการต่างประเทศและในประเทศของสนิ ทรัพยท์ างวัฒนธรรมเกาหลี
พิพิธภัณฑ์เด็กแห่งชาติ (National Children's Museum) เป็นพิพิธภัณฑ์สำหรับเด็กที่กำลัง
ก่อสร้าง และจะเปิดให้เข้าชมในปี พ.ศ. 2551 ในเมือง วอชิงตัน ดี.ซี. เป็นพิพิธภัณฑ์ที่สร้างต่อมาจาก
พิพิธภัณฑ์เด็กแคปิตอล (Capital Children's Museum) ที่ปิดตัวลงในปี พ.ศ. 2547 พิพิธภัณฑ์เด็ก
แห่งชาติหลังใหม่มีพื้นที่ประมาณ 13,000 ตร.ม. (140,000 ตร.ฟุต)ตั้งอยู่บริเวณสถานีรถไฟเมโทร ห่าง
จากเนชันแนลมอลล์ ไป 2 บล็อก พิพิธภัณฑ์ออกแบบโดย เซซาร์ เปลลี ผู้ออกแบบตึกเปโตรนาสใน
กวั ลาลมั เปอร์ มาเลเซีย ตึกคทู่ ี่สงู สดุ อันดบั 2และ3 ของโลก
พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์, ฝรั่งเศส พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ในปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นสุดยอดพิพิธภัณฑ์
อลงั การอนั ดับแรกของเราในวนั นี้ ท่ีนคี่ รองตำแหนง่ พพิ ิธภัณฑท์ ม่ี ีชือ่ เสยี งและมีผ้เู ข้าชมมากท่ีสดุ ในโลกมา
หลายสมัย โดยจำนวนผู้เข้าชมของปี 2016 มีมากถึง 7.3 ล้านคน ความอลังการของพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์
เริ่มต้นจากสถาปัตยกรรมภายนอกไปถึงการตกแต่งภายใน ตัวอาคารพิพิธภัณฑ์เป็นสถาปัตยกรรมแบบ
ฝรง่ั เศสดั้งเดิม ในขณะทีพ่ รี ะมดิ แกว้ ด้านหนา้ เปน็ สถาปัตยกรรมยุคใหม่ ซง่ึ พีระมิดแกว้ นกี้ ็ได้กลายมาเป็น
แลนดม์ ารค์ สำคญั ของพิพิธภัณฑ์ในปัจจุบนั
พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ (National Museum of Natural History), สหรัฐอเมริกา
พิพธิ ภัณฑ์ประวตั ิศาสตร์ธรรมชาติกอ่ ต้งั ข้นึ เมอื่ ปี ค.ศ.1910 ความอลังการของที่นี่คือมีขนาดใหญ่เท่ากับ
สนามฟุตบอล 18 สนาม ตัวอาคารตกแตง่ ด้วยสถาปตั ยกรรมสไตล์วิคตอเรยี นสวยงามและดูยิง่ ใหญ่ นา่ ต่นื
ตาตื่นใจ ภายในจัดแสดงนิทรรศการประวัติศาสตรแ์ ละพัฒนาการของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์น้ำ และ
แมลงตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมถึงนิทรรศการการสำรวจสิ่งมีชีวิตยุคโบราณ เช่น ไดโนเสาร์ ช้าง
แมมมอธ นอกจากนยี้ งั มีนิทรรศการเก่ยี วกับประวัติศาสตรม์ นุษย์ มโี บราณวตั ถุจากประเทศตา่ งๆ ท่ัวโลก
จัดแสดงเพื่อบอกเล่าเรือ่ งราวเกี่ยวกับตน้ กำเนิดและการตัง้ ถ่ินฐานของมนุษย์ในแต่ละทวีป ความโดดเด่น
ของพิพธิ ภณั ฑป์ ระวัติศาสตร์ธรรมชาติคือความยิ่งใหญ่อลงั การของสถานที่และการนำเสนอที่ดึงดูดความ
สนใจของผเู้ ขา้ ชม เชน่ การนำรา่ งสัตว์ทสี่ ตัฟฟไ์ ว้หรือโครงกระดูกไดโนเสารข์ องจรงิ มาจัดแสดง
พพิ ิธภณั ฑ์ยานบินและยานอวกาศแห่งชาติ (National Air and Space Museum), สหรฐั อเมรกิ า
พิพิธภัณฑ์ยานบินและยานอวกาศแห่งชาติเป็นพพิ ิธภัณฑ์ขนาดใหญ่ ความอลังการของท่ีนีน่ อกจากเรื่อง
ขนาดแล้วก็คือสิ่งของและเครื่องมือต่างๆ ที่จัดแสดงนั่นเอง เพราะเกือบทั้งหมดได้ผ่านการใช้งานจริง
มาแล้วทั้งสิ้น ตัวอย่างวัตถุเกี่ยวกับยานบินและยานอวกาศที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ คือ โมดู ล
หอ้ งควบคุมของยานอพอลโล 11, จรวดโซเวียต SS – 20 และแคปซูลยานอวกาศ Friendship 7 นอกจาก
การจดั แสดงวตั ถตุ ่างๆ แลว้ ยงั มีโซนกจิ กรรม เชน่ เครื่องเลน่ จำลองการอย่ใู นอวกาศ ห้องขบั เครอื่ งบนิ เจ็ท
แบบตอ่ สใู้ ห้ไดล้ องทำกนั อยา่ งสนกุ สนาน
40
สถานบรกิ ารท่สี ่งเสริมดา้ นทักษะและความรทู้ ี่อยู่ในการดแู ลของภาคเอกชน ไดแ้ ก่
9. บริษทั กลุ่มเซน็ ทรัล จำกัด
9.1 คดิ สซ์ าเนยี KIDZANIA BANGKOK
ภาพท่ี 17 คดิ ส์ซาเนีย KIDZANIA BANGKOK
ขอ้ มูลพิพิธภัณฑ์
คดิ ส์ซาเนีย คอื แหลง่ เรียนรู้ควบคคู่ วามบนั เทิงสำหรบั เด็ก เปน็ เมืองจำลองขนาดย่อสว่ น ท่ีสร้าง
ขนึ้ สำหรบั เด็กและเยาวชนวนั 4-14 ปี มีจุดมงุ่ หมายท่จี ะปลกู ฝงั จิตใจและความตั้งใจของเด็กๆ โดย
สนบั สนุนใหเ้ ด็กๆเหล่านนั้ ได้เรยี นรู้ เกดิ ความเข้าใจในทกั ษะพ้นื ฐานดา้ นการประกอบอาชีพ ใส่ใจ
สิง่ แวดล้อม รจู้ กั แบง่ ปัน ฝึกฝนใหเ้ กดิ ความคิดเชงิ สร้างสรรค์ ไดเ้ ลน่ อย่างสนกุ สนาน และช่วยกนั พัฒนา
โลกยคุ ปจั จุบันใหน้ า่ อยยู่ ิง่ ข้ึน
ในเมอื งคดิ ส์ซาเนีย จะมสี ่วนประกอบภายในเมืองเช่นเดยี วกับเมืองจรงิ โดยเดก็ ๆ จะไดส้ วม
บทบาทในการประกอบอาชพี แบบผู้ใหญ่ ได้ทำกิจกรรมการเรยี นร้ผู า่ นการทำงานในแต่ละอาชพี และจะ
ได้เรียนรู้ทกั ษะทจ่ี ะเปน็ ประโยชนใ์ นการใช้ชีวติ จรงิ เชน่ การเคารพตนเองและผ้อู ื่น การพงึ่ พาตนเอง การ
อยรู่ ว่ มกบั คนในสังคม การทำงานเป็นทมี และการรู้ถงึ คณุ คา่ ของเงนิ
สถานประกอบการและอาชีพบทบาทสมมุตใิ นเมือง มใี หไ้ ด้เลือกเลน่ มากกว่า 80 อาชีพ 56 สถาน
ประกอบการ อาทิ คลนิ กิ สัตวแพทย์ ธนาคาร รา้ นตดั ผม ร้านอาหารญป่ี ุ่น ศาล ศนู ย์บริการซ่อมบำรุง
รถยนต์ ศูนย์ปฏิบัตกิ ารบินจำลอง สถานดี บั เพลิง สถานีตำรวจ โรงละคร เป็นต้น
วัตถุจัดแสดงทม่ี ีความสำคญั / ส่ิงท่นี า่ สนใจ
เดก็ ๆสามารถทดลองและเรยี นรู้เป็นบคุ คลในอาชีพต่างๆ เช่น นกั ดบั เพลิง สัตวแพทย์ กัปตนั ขับ
เครือ่ งบนิ พนักงานตอ้ นรบั บนเครอ่ื งบนิ เป็นต้น
เป้าประสงคส์ ำคัญในการจดั ตง้ั
- มุ่งเนน้ ให้เด็กได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ ผ่านการเลน่ ที่สนุกสนาน
41
- ส่งเสรมิ พฒั นาการทง้ั ทางด้านรา่ งกาย จิตใจ พร้อมทั้งยงั ปลกู ฝงั ให้เกดิ แรงบันดาลใจในการ
ประกอบอาชีพท่ใี ฝ่ฝันในอนาคต
- เกดิ ความเข้าใจในทกั ษะพ้นื ฐานดา้ นการประกอบอาชพี และใสใ่ จในสิ่งแวดล้อม ปลกู ฝัง
จิตสำนึกในการแบง่ ปัน เพื่อให้เกดิ ความคดิ เชิงสรา้ งสรรค์ และชว่ ยกนั พัฒนาโลกยุคปัจจุบันให้น่าอยู่ยงิ่ ขน้ึ
บริษัท คดิ ส์ เอด็ ดเู ทนเมน้ ท์ โฮลด้ิงส์ (ประเทศไทย) จำกดั ประกอบธุรกจิ และใหบ้ รกิ ารท่ี
เก่ียวขอ้ งกบั ธรุ กจิ สวนสนกุ ของเดก็ เพอ่ื วัตถปุ ระสงค์ด้านการศึกษาและความบันเทงิ
หมวดธุรกิจ : กจิ กรรมด้านสวนสนุกและธีมปาร์ค
KIDZANIA ในต่างประเทศ
25 facilities all over the globe from Mexico City to Tokyo to London, KidZania
receives more than 9 million visitors yearly in over 15 countries, with 10 more facilities
currently under development.
สรปุ
สถานบริการที่ส่งเสริมด้านทักษะและความรู้ให้กับเด็กปฐมวัยที่อยู่ในการดูแลของภาครัฐบาล
โดยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ได้แก่ พิพิธภัณฑ์องค์การพิพิธภัณฑ์
วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช) , ได้แก่ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และท้องฟ้าจำลอง กระทรวงศึกษาธิการ
ได้แก่ โรงเรียนเอกชนนอกระบบ , กระทรวงกลาโหม ได้แก่ พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศและการบิน ,
กระทรวงวฒั นธรรม ได้แก่ หอภาพยนตร์ หอศลิ ปวฒั นธรรม หออัครศิลปนิ , กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ได้แก่ พิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว , สำนักนายกรัฐมนตรี ได้แก่
อุทยานการเรียนรู้ TK Park ห้องสมุดมีชีวิต ห้องสมุดการ์ตูน ห้วยขวาง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอัน
เนื่องมาจากพระราชดำริ หน่วยงานปกครองท้องถิ่น กรุงเทพมหานคร ได้แก่ พิพิธภัณฑ์เด็ก
กรงุ เทพมหานคร แหง่ ท่ี 1 (จตจุ กั ร) และสถานบรกิ ารที่ส่งเสริมด้านทักษะและความรู้ให้กับเด็กปฐมวัยท่ี
อยู่ในการดูแลของภาคเอกชน ได้แก่ บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำกัด ได้แก่ KIDZANIA BANGKOK โดยสถาน
บรกิ ารต่างๆในดา้ นนี้ จะช่วยใหเ้ ด็กได้รับทักษะและความรเู้ ม่ือเข้าไปในสถานท่ีเหลา่ น้ัน
42
เอกสารอ้างอิง
กรุงเทพธุรกจิ . (2563). ใครคิดถึงคดิ ส์ซาเนยี ชกิ ะและเออบาโน พาทอ่ งเมืองคดิ ส์ซาเนีย. [ออนไลน์],
เข้าถงึ ได้จาก: https://www.bangkokbiznews.com/pr-news/biz2u/271051. (2564, 21
พฤศจิกายน).
กลุ่มส่งเสริมสถานศกึ ษาเอกชน สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสงิ ห์บรุ ี. (2559). การขอ
จดั ตง้ั และการขอดำเนินกจิ การโรงเรียนเอกชนนอกระบบ. [ออนไลน์], เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
http://pit.singarea.org/private_data/1.pdf?-4rocjK3_1KxJ6aIAEteShhlTdYJA. (2564,
28 พฤศจกิ ายน).
บริษัท กราเซีย ทราเวล จำกัด. (2563). พพิ ธิ ภัณฑ์ลูฟวร.์ [ออนไลน์], เข้าถงึ ได้จาก:
https://grazietravel.com/travel-info/-louvre-museum-%E0%E0%B8%87/. (2564, 27
พฤศจิกายน).
7 ประเภทของ รร.เอกชนนอกระบบ. (2558). [ออนไลน]์ , เขา้ ถึงได้จาก:
https://www.kroobannok.com/77362. (2564, 21 พฤศจกิ ายน).
พิพิธภณั ฑก์ องทัพอากาศและการบินแหง่ ชาติ. (2562). ประวัตพิ พิ ิธภัณฑก์ องทพั อากาศและการบนิ
แห่งชาติ. [ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://www.rtaf-museum.com/%B9%8C/. (2564,
21 พฤศจิกายน).
พิพิธภัณฑ์กองทพั บกเฉลมิ พระเกียรติ. (2562). ประวัตพิ พิ ธิ ภณั ฑ์กองทัพบกเฉลมิ พระเกียรติ.
[ออนไลน]์ , เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://armyprcenter.com/ (2564, 21 พฤศจิกายน).
พิพธิ ภัณฑเ์ ดก็ กรงุ เทพมหานคร แห่งท่ี 1 (จตจุ ักร). (2560). ประวัตคิ วามเป็นมา. [ออนไลน]์ , เขา้ ถึงได้
จาก: http://www.cdm-bangkok.com/b2.html. (2564, 29 พฤศจิกายน).
พพิ ิธภณั ฑ์ทหารเรือ.(2562). ประวัตพิ พิ ิธภัณฑ์ทหารเรือ.
[ออนไลน]์ , เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.google.com/ (2564, 21 พฤศจกิ ายน).
เพยี งใจ. (2564). พิพิธภณั ฑย์ านบนิ และยานอวกาศแห่งชาติ แหง่ สหรฐั อเมริกา. [ออนไลน์], เข้าถงึ
ได้จาก: https://board.postjung.com/1350776. (2564, 21 พฤศจกิ ายน).
มวิ เซยี มไทยแลนด์. (2563). พพิ ิธภณั ฑ์เดก็ กรุงเทพมหานคร แหง่ ท่ี 1 (จตจุ ักร). [ออนไลน์], เขา้ ถึงได้
จาก: https://www.museumthailand.com/th/museum/Childrens-Discovery-
Museum-Bangkok-1-Chatuchak. (2564, 21 พฤศจิกายน).
มวิ เซียมไทยแลนด์. (2564). ศูนย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษา(ทอ้ งฟ้าจำลองกรุงเทพ). [ออนไลน์],
เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://www.museumthailand.com/th/museum/Science-Center-for-
Education-Bangkok-Planetarium. (2564, 21 พฤศจิกายน).
43
มวิ เซียมไทยแลนด.์ (2564). หออคั รศิลปิน. [ออนไลน์], เขา้ ถึงได้จาก:
https://www.museumthailand.com/th/museum/The-Supreme-Artist-Hall-. (2564,
21 พฤศจกิ ายน).
สำนักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนกั งาน กปร.).
(2564). ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาเขาหนิ ซ้อนอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ จังหวัดฉะเชงิ เทรา.
[ออนไลน]์ , เขา้ ถึงได้จาก: https://www.khaohinsorn.com/ (2564, 29 พฤศจิกายน).
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพอื่ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.).
(2564). ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาพิกุลทองอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ จงั หวัดนราธิวาส.
[ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://sites.google.com/site/skruknowledgecenter/51
(2564, 29 พฤศจกิ ายน).
สำนักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ (สำนกั งาน กปร.).
(2564). ศนู ย์ศึกษาการพฒั นาภูพานอันเนอื่ งมาจากพระราชดำริ จังหวัดสกลนคร.
[ออนไลน]์ , เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.porpeang.org/content/6037/ (2564, 29
พฤศจิกายน).
สำนกั งานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.).
(2564). ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยทรายอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ. [ออนไลน์], เข้าถงึ ได้
จาก: http://www.phetchaburi.go.th (2564, 29 พฤศจกิ ายน).
สำนกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนกั งาน กปร.).
(2564). ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาหว้ ยฮ่องไครอ้ นั เน่ืองมาจากพระราชดำริ จงั หวัดเชียงใหม่.
[ออนไลน]์ , เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.rid.go.th/royalproject/index.php?option=com
(2564, 29 พฤศจกิ ายน).
สำนักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.).
(2564). ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคงุ้ กระเบนอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ จังหวัดจนั ทบรุ ี.
[ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.tsdf.nida.ac.th/th/royally-initiated-projects
(2564, 29 พฤศจกิ ายน).
สำนกั งานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ (สำนกั งาน กปร.).
(2564). ศนู ย์ศึกษาการพฒั นาอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ. [ออนไลน]์ , เขา้ ถึงได้จาก:
http://www.rdpb.go.th/th/Studycenter. (2564, 27 พฤศจิกายน).
สำนักงานพิพิธภณั ฑเ์ กษตรเฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั (องคก์ ารมหาชน). (2561).
พพิ ธิ ภณั ฑเ์ กษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั . [ออนไลน์], เข้าถงึ ไดจ้ าก:
https://www.wisdomking.or.th/th/page/history. (2564, 29 พฤศจกิ ายน).