The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดวางระบบและการประเมินผลการควบคุมภายใน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Promphat Apiromyanont, 2019-12-10 21:18:05

คู่มือการจัดวางระบบและการประเมินผลการควบคุมภายใน

คู่มือการจัดวางระบบและการประเมินผลการควบคุมภายใน

ค่มู ือการจัดวางระบบและ
การประเมนิ ผลการควบคมุ ภายใน
สาหรับหน่วยงานในสังกัดสานักงาน กศน.

หน่วยตรวจสอบภายใน
สานักงาน กศน.

คำนำ

ด้วยพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ หมวด ๔ การบัญชี การรายงาน
และการตรวจสอบ มาตรา ๗๙ บัญญัติให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน
และการบริหารจัดการความเส่ียง โดยให้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ท่ีกระทรวงการคลังกาหนด
ซึ่งการควบคุมภายในถือเป็นปัจจัยสาคัญท่ีช่วยให้การดาเนินงานตามภารกิจมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ
ประหยัด และช่วยป้องกันหรือลดความเส่ียงจากการผิดพลาด ความเสียหาย ความสิ้นเปลือง ความสูญเปล่า
ของการใช้ทรัพย์สนิ หรือการกระทาอนั เปน็ การทจุ รติ

เพื่อให้หน่วยงานในสังกัดสานักงาน กศน. มีแนวทางในการปฏิบัติงานเก่ียวกับระบบการควบคุม
ภายในและสามารถนาไปใช้ในการจัดวางระบบการควบคุมภายในของหน่วยงานได้ ซ่ึงเป็นการช่วยให้
การบริหารจัดการของหน่วยงานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น สานักงาน กศน. จึงได้จัดทาคู่มือ
การจดั วางระบบและการประเมินผลการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานในสังกัดสานักงาน กศน. โดยอา้ งอิง
หลกั เกณฑ์กระทรวงการคลังวา่ ด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑป์ ฏบิ ัติการควบคุมภายในสาหรบั หน่วยงานของรัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๑ เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือเล่มนี้จะช่วยสนับสนุนให้
หน่วยงานมกี ารจัดวางระบบการควบคุมภายในท่ีดตี อ่ ไป

สานักงาน กศน.
หน่วยตรวจสอบภายใน

มถิ ุนายน ๒๕๖๒

นิยำมศพั ท์

หนว่ ยงำนของรัฐ หมำยถงึ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐสภา
ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ องค์กร
ผูก้ ำกบั ดูแล หมำยถงึ อิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์กรอัยการ องค์การมหาชน
หวั หนำ้ หนว่ ยงำนของรัฐ หมำยถงึ ทุนหมุนเวียนท่ีมีฐานะเป็นนิติบุคคล องค์กรปกครอง
ฝ่ำยบริหำร หมำยถึง สว่ นทอ้ งถนิ่ และหน่วยงานอื่นตามท่กี ฎหมายกาหนด
หน่วยงำน หมำยถึง
บุคคล และคณะบุคคล ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการ
กากับดแู ลหรอื บงั คบั บญั ชาของหนว่ ยงานรัฐ

ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานของรฐั

ผบู้ ริหารทุกระดับของหน่วยงานของรฐั

หน่วยงานในสังกัด สานักงาน กศน. ได้แก่ สถาบัน
กศน.ภาค สานักงาน กศน.จังหวัด/กรุงเทพมหานคร
กศน.อาเภอ/เขต ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทย
บริเวณชายแดน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเน่ืองสิรินธร อุทยาน
วิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ ศูนยก์ ารศึกษานอก
โรงเรียนกาญจนาภิเษก ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ และ
กลุ่ม/ศูนย์สว่ นกลาง

สารบญั หน้า

คำนำ ๑
นิยำมศัพท์ ๑
บทท่ี ๑ มำตรฐำนกำรควบคุมภำยในสำหรบั หน่วยงำนภำครฐั ๑

ควำมหมำยของกำรควบคุมภำยใน ๓
วตั ถปุ ระสงค์ของกำรควบคมุ ภำยใน ๘
แนวคิดพื้นฐำนของกำรควบคุมภำยใน ๘
องคป์ ระกอบของมำตรฐำนกำรควบคุมภำยใน ๙
บทท่ี ๒ กำรจัดวำงระบบกำรควบคุมภำยในของหน่วยงำนในสงั กัดสำนกั งำน กศน. ๑๐
แนวทำงกำรควบคมุ ภำยใน ๑๔
ขน้ั ตอนกำรกำหนดและออกแบบระบบกำรควบคุมภำยใน ๑๔
เปรยี บเทียบควำมแตกตำ่ งของกำรควบคุมภำยใน ๑๕
บทท่ี ๓ กำรประเมินผลและกำรรำยงำนผลกำรควบคุมภำยใน ๑๕
เครอ่ื งมอื กำรประเมนิ ผลกำรควบคุมภำยใน ๑๖
หน่วยงำนที่มีหน้ำทีร่ ำยงำนตำมหลักเกณฑ์ ๑๗
หน้ำทผี่ ตู้ รวจสอบภำยใน ๒๑
กำรประเมินผลกำรควบคุมภำยในและกำรจดั ทำรำยงำน ๒๙
ขน้ั ตอนกำรจัดทำรำยงำนกำรประเมินองค์ประกอบของกำรควบคุมภำยใน (แบบ ปค. ๔)
ขั้นตอนกำรจดั ทำรำยงำนกำรประเมินผลกำรควบคุมภำยใน (แบบ ปค. ๕) ก
ขอ้ สังเกตจำกกำรสอบทำนรำยงำนกำรควบคุมภำยใน ฐ
ภาคผนวก ฒ
ตัวอย่ำงแบบประเมินองคป์ ระกอบของกำรควบคุมภำยใน ณ
รำยงำนกำรประเมนิ องค์ประกอบของกำรควบคุมภำยใน (แบบ ปค. ๔) ถ
คำอธิบำยรำยงำนกำรประเมินองค์ประกอบของกำรควบคุมภำยใน (แบบ ปค. ๔) ท
ตวั อย่ำงรำยงำนกำรประเมนิ องค์ประกอบของกำรควบคุมภำยใน (แบบ ปค. ๔) ธ
รำยงำนกำรประเมินผลกำรควบคุมภำยใน (แบบ ปค. ๕)
คำอธบิ ำยรำยงำนกำรประเมินผลกำรควบคุมภำยใน (แบบ ปค. ๕)
ตัวอย่ำงรำยงำนกำรประเมินผลกำรควบคมุ ภำยใน (แบบ ปค. ๕)

สารบญั รูปภาพ หนา้

รูปภำพ ๑ องค์ประกอบของมำตรฐำนกำรควบคุมภำยใน ๕
รปู ภำพ ๒ แผนภูมคิ วำมเสี่ยง ๑๖
รปู ภำพ ๓ ขน้ั ตอนกำรประเมินผลกำรควบคุมภำยในและกำรจัดทำรำยงำน ๑๘
รปู ภำพ ๔ ตวั อย่ำงกำรประเมินองคป์ ระกอบของกำรควบคุมภำยใน
๑๘
ตำมแบบประเมินองคป์ ระกอบของกำรควบคุมภำยใน ๑๙
รปู ภำพ ๕ ตวั อย่ำงสรุปผลกำรประเมนิ ตำมแบบประเมินองค์ประกอบของกำรควบคุมภำยใน ๑๙
รปู ภำพ ๖ ตวั อยำ่ งข้อมลู ทร่ี ะบุคอลัมน์ท่ี ๑ “องค์ประกอบของกำรควบคุมภำยใน” ๒๐
รปู ภำพ ๗ ตัวอย่ำงกำรระบคุ อลมั นท์ ่ี ๑ และ ๒ ของแบบ ปค. ๔
รูปภำพ ๘ ตวั อย่ำงผลกำรประเมนิ โดยรวมของรำยงำนกำรประเมินองค์ประกอบของ ๒๑
๒๒
กำรควบคมุ ภำยใน (แบบ ปค. ๔) ๒๓
รูปภำพ ๙ ตัวอย่ำงแบบรำยงำนกำรประเมินผลกำรควบคุมภำยใน (แบบ ปค. ๕) ๒๔
รปู ภำพ ๑๐ ตัวอยำ่ งกำรกรอกข้อมูลของแบบ ปค. ๕ คอลมั นท์ ่ี ๑ ๒๕
รูปภำพ ๑๑ ตวั อยำ่ งกำรกรอกข้อมูลของแบบ ปค. ๕ คอลัมนท์ ่ี ๒ ๒๖
รปู ภำพ ๑๒ ตัวอยำ่ งกำรกรอกข้อมลู ของแบบ ปค. ๕ คอลมั น์ท่ี ๓ ๒๗
รูปภำพ ๑๓ ตวั อยำ่ งกำรกรอกขอ้ มลู ของแบบ ปค. ๕ คอลมั นท์ ี่ ๔ ๒๘
รูปภำพ ๑๔ ตวั อย่ำงกำรกรอกข้อมลู ของแบบ ปค. ๕ คอลัมนท์ ่ี ๔ และ ๕
รูปภำพ ๑๕ ตัวอยำ่ งกำรกรอกขอ้ มลู ของแบบ ปค. ๕ คอลัมนท์ ี่ ๖
รูปภำพ ๑๖ ตวั อยำ่ งกำรระบุแบบรำยงำนกำรประเมินผลกำรควบคมุ ภำยใน (แบบ ปค. ๕)

บทท่ี ๑

มาตรฐานการควบคมุ ภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ

มาตรฐานการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ จัดทาขึ้นเพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางใน
การกาหนด ประเมิน และปรับปรุงระบบการควบคุมภายในให้เหมาะสมกับลักษณะ ขนาด และความซับซ้อน
ของงานในความรับผิดชอบของหน่วยงานของรัฐ และมีการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในให้เพียงพอ
และเหมาะสม รวมทัง้ มีการปฏบิ ตั ิตามอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

ความหมายของการควบคมุ ภายใน
กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กากับดูแล หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ฝ่ายบริหาร และบุคลากรของ

หน่วยงานของรัฐจัดให้มีขึ้น เพ่ือสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐ
จะบรรลุวัตถุประสงค์ด้านการดาเนินงาน ด้านการรายงาน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และ
ขอ้ บังคบั

วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน
หน่วยงานของรัฐต้องให้ความสาคญั กบั วัตถปุ ระสงค์ของการควบคุมภายในแต่ละด้าน ดงั น้ี

๑) วัตถุประสงค์ด้านการดาเนินงาน (Operation Objectives) เป็นวัตถุประสงค์เก่ียวกับความมี
ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดาเนินงาน รวมถึงการบรรลุเป้าหมายด้านการดาเนินงาน
ด้านการเงิน ตลอดจนใช้ทรัพยากร การดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความผิดพลาดของ
หน่วยงานของรัฐ ตลอดจนความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลือง หรือการทจุ ริตในหน่วยงานของรัฐ

๒) วัตถุประสงค์ด้านการรายงาน (Reporting Objectives) เป็นวัตถุประสงค์เก่ียวกับการรายงาน
ทางการเงินและไม่ใชก่ ารเงิน ที่ใช้ภายในและภายนอกหนว่ ยงานของรัฐ รวมถงึ การรายงานที่เช่ือถือได้
ทันเวลา โปร่งใส หรือข้อกาหนดอ่นื ของทางราชการ

๓) วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับ ( Compliance Objectives)
เปน็ วัตถปุ ระสงค์เกย่ี วกับการปฏบิ ัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคบั หรือมติคณะรัฐมนตรีที่เก่ียวข้อง
กับการดาเนินงาน รวมทั้งขอ้ กาหนดอื่นของทางราชการ



แนวคิดพื้นฐานของการควบคุมภายใน
๑) การควบคุมภายในเป็นกลไกท่ีจะทาให้หน่วยงานของรัฐบรรลุวัตถุประสงค์การควบคุมภายในด้านใด
ดา้ นหนึ่ง หรือหลายด้าน ได้แก่ ดา้ นการดาเนินงาน ดา้ นการรายงาน และด้านการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย
ระเบยี บ และขอ้ บังคบั
๒) การควบคุมภายในเป็นส่วนประกอบท่ีแทรกอยู่ในการปฏิบัติงานตามปกติของหน่วยงานของรัฐ
การควบคมุ ภายในเป็นส่ิงทต่ี ้องกระทาอย่างเป็นข้นั ตอนและต่อเน่ือง มิใชผ่ ลสุดทา้ ยของการกระทา
๓) การควบคุมภายในเกิดข้ึนได้โดยบุคลากรของหน่วยงานของรัฐ โดยผู้กากับดูแล ฝ่ายบริหาร
ผู้ปฏิบัติงาน และผู้ตรวจสอบภายใน เป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการทาให้มีการควบคุมภายในเกิดขึ้น
ซ่ึงไม่ใช่เพียงการกาหนดนโยบาย ระบบงาน คู่มือการปฏิบัติงาน และแบบฟอร์มดาเนินงานเท่าน้ัน
หากแต่ตอ้ งมกี ารปฏิบัติดว้ ย
๔) การควบคุมภายในสามารถให้ความเช่ือม่ันอย่างสมเหตุสมผลว่าจะบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด
ของหน่วยงานของรัฐ อย่างไรกต็ าม การควบคมุ ภายในทกี่ าหนดก็อาจจะไม่สามารถให้ความม่ันใจแก่ผู้
กากบั ดแู ล และฝา่ ยบริหาร วา่ การดาเนินงานจะบรรลุตามวตั ถปุ ระสงคอ์ ย่างสมบรู ณ์
๕) การควบคุมภายในควรกาหนดให้เหมาะสมกบั โครงสร้างองค์กรและภารกจิ ของหน่วยงานของรัฐ

องค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน

สภาพแวดลอ้ มการควบคมุ
การประเมนิ ความเสย่ี ง
กิจกรรมการควบคุม
สารสนเทศและการสอ่ื สาร
การตดิ ตามและประเมนิ ผล

รปู ภาพ ๑ องค์ประกอบของมาตรฐานการควบคมุ ภายใน



องคป์ ระกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน

หน่วยงานของรัฐไดก้ าหนดวิสัยทัศน์ พันธกจิ ยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ ซ่ึงมคี วามแตกต่างกันใน
แต่ละหน่วยงาน การควบคุมภายในจะเป็นเคร่ืองมือสนับสนุนให้หน่วยงานของรัฐสามารถขับเคล่ือน
การปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีกาหนด ท้ังนี้ การควบคุมภายในจะประกอบด้วย ๕ องค์ประกอบ
๑๗ หลักการ ดงั นี้

๑. สภาพแวดล้อมการควบคมุ (Control Environment)
๒. การประเมนิ ความเส่ียง (Risk Assessment)
๓. กจิ กรรมการควบคมุ (Control Activities)
๔. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication)
๕. กจิ กรรมการตดิ ตามผล (Monitoring Activities)

๑. สภาพแวดลอ้ มการควบคมุ (Control Environment)
สภาพแวดล้อมการควบคุมเป็นปัจจัยพื้นฐานในการดาเนินงานท่ีส่งผลให้มีการนาการควบคุม

ภายในมาปฏิบัติทั่วท้ังหน่วยงานของรัฐ ท้ังน้ีผู้กากับดูแลและฝ่ายบริหารจะต้องสร้างบรรยากาศให้ทุกระดับ
ตระหนักถึงความสาคัญของการควบคุมภายใน รวมท้ังการดาเนินงานที่คาดหวังของผู้กากับดูแลและ
ฝ่ายบริหาร ท้ังนี้ สภาพแวดล้อมการควบคุมดังกล่าวเป็นพ้ืนฐานสาคัญท่ีจะส่งผลกระทบต่อองค์ประกอบของ
การควบคมุ ภายในอ่นื ๆ

สภาพแวดลอ้ มของการควบคุมประกอบด้วย ๕ หลกั การ ดงั น้ี
หลักการที่ ๑ หน่วยงานของรัฐแสดงให้เห็นถึงความยึดมั่นในคุณค่าของความซื่อตรงและ
จริยธรรม
หลกั การท่ี ๒ ผู้กากับดูแลของหน่วยงานของรัฐแสดงให้เห็นถึงความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหารและ
มีหนา้ ทกี่ ากับดูแลให้มีการพฒั นาหรือปรับปรุงการควบคุมภายใน รวมถงึ การดาเนินการเกี่ยวกับการควบคุมภายใน
หลักการที่ ๓ หัวหน้าหน่วยงานของรัฐจดั ใหม้ ีโครงสรา้ งองค์กร สายการบังคับบัญชา อานาจหน้าท่ี
และความรับผิดชอบที่เหมาะสมในการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานของรัฐภายใต้การกากับดูแลของผู้กากับ
ดูแล
หลกั การท่ี ๔ หน่วยงานของรัฐแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมน่ั ในการสร้างแรงจูงใจ พฒั นาและรักษา
บคุ ลากรท่มี ีความรคู้ วามสามารถท่ีสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องหนว่ ยงานของรฐั
หลักการที่ ๕ หน่วยงานของรัฐกาหนดให้บุคลากรมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อผลการ
ปฏบิ ตั งิ านตามระบบการควบคมุ ภายใน เพอ่ื ใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ของหน่วยงาน



๒. การประเมนิ ความเสีย่ ง (Risk Assessment)
การประเมินความเส่ียงเป็นกระบวนการท่ีดาเนินการอย่างต่อเน่ืองและเป็นประจา เพื่อระบุและ

วเิ คราะห์ความเสย่ี งที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานของรัฐ รวมถึงกาหนดวิธีการจัดการ
ความเสี่ยงนนั้ ฝ่ายบรหิ ารควรคานึงถึงการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมภายนอกและภารกจิ ภายในทั้งหมด
ที่มผี ลต่อการบรรลวุ ตั ถุประสงค์ของหน่วยงานของรฐั

การประเมินความเสี่ยงประกอบด้วย ๔ หลักการ ดังน้ี
หลกั การที่ ๖ หน่วยงานของรัฐระบุวัตถุประสงค์การควบคุมภายในของการปฏิบัติงานให้
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ขององค์กรไว้อย่างชัดเจนและเพียงพอที่จะสามารถระบุและประเมินความเส่ียงที่
เกย่ี วข้องกับวัตถปุ ระสงค์
หลกั การที่ ๗ หน่วยงานของรัฐระบุความเสี่ยงท่ีมีผลต่อการบรรลุวัตถุประสงค์การควบคุมภายใน
อย่างครอบคลุมทงั้ หน่วยงานของรฐั และวิเคราะห์ความเสี่ยงเพื่อกาหนดวธิ ีการจดั การความเสยี่ งนน้ั
หลักการที่ ๘ หน่วยงานของรัฐพิจารณาโอกาสที่อาจเกิดการทุจริต เพื่อประกอบการประเมิน
ความเสีย่ งท่สี ่งผลต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์
หลักการท่ี ๙ หน่วยงานของรัฐระบุและประเมินการเปล่ียนแปลงท่ีอาจมีผลกระทบอย่างมี
นยั สาคญั ต่อระบบการควบคุมภายใน
ขัน้ ตอนการประเมินความเสี่ยง
 ศึกษาทาความเข้าใจภารกิจตามกฎหมายจัดต้ังหน่วยงานของรัฐ หรือภารกิจตามแผน
การดาเนินงานที่สาคัญของหน่วยงานของรัฐ วัตถุประสงค์ของภารกิจ กิจกรรมท่ีทาให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
ของหน่วยงานของรัฐ และโครงสร้างของหนว่ ยงานของรฐั
 การระบุความเส่ียงเป็นขั้นตอนที่สาคัญมาก ซึ่งเป็นการทาความเข้าใจกับสาเหตุของการเกิด
ความเสี่ยง ระบุถึงเหตุการณ์หรือกิจกรรมของกระบวนการปฏิบัติงานที่อาจเกิดความผิดพลาดความเสียหาย
และการไม่บรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ของหน่วยงานของรัฐทีก่ าหนด
 การประเมินความเสี่ยงว่าแต่ละความเสี่ยงนั้น มีโอกาสที่จะเกิดมากน้อยเพียงใด และ
หากเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลกระทบต่อองค์กรรุนแรงเพียงใด โดยท่ัวไปจะวิเคราะห์ความเส่ียงด้วยการประเมิน
ความถ่ีท่ีจะเกิดหรือโอกาสท่ีจะเกิดความเสี่ยง (Likelihood) และผลกระทบของความเส่ียง (Impact) และ
นาความเส่ียงนั้นมาพิจารณาเพอื่ จัดลาดับความเส่ยี ง ดังนี้



แผนภมู คิ วามเสยี่ ง

ระดับความเสยี่ งต่า คา่ คะแนนระหว่าง ๑ – ๓

ระดับความเสีย่ งปานกลาง ค่าคะแนนระหวา่ ง ๔ – ๙

ระดับความเสี่ยงสงู ค่าคะแนนระหวา่ ง ๑๐ – ๑๖

ระดับความเสี่ยงสงู มาก ค่าคะแนนระหวา่ ง ๒๐ – ๒๕

รูปภาพ ๒ แผนภูมคิ วามเสี่ยง

 การจัดลาดับความเสี่ยง ระดับความเส่ียงท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างระดับผลกระทบกับ
ระดับโอกาสท่ีจะเกิด โดยแต่ละระดับจะมีความหมายของความเสี่ยงแตกต่างกัน และนามาจัดลาดับว่า
ความเส่ียงใดมีความสาคัญมากน้อยกว่ากัน เพื่อจะได้กาหนดกิจกรรมการควบคุมกับความเสี่ยงเหล่าน้ันได้
อยา่ งเหมาะสม

 การบริหารจัดการความเสี่ยง เป็นกระบวนการที่ใช้ในการบริหารจัดการให้โอกาสที่จะเกิด
ความเสี่ยงลดลง หรือผลกระทบของความเสียหายจากความเส่ียงลดลงอยู่ในระดับท่ียอมรับได้ ซ่ึงการจัดการ
ความเส่ียงมีหลายวธิ ี ดงั น้ี



(๑) การยอมรับ (Take) ความเส่ียงท่ีเหลืออยู่ปัจจุบันอยู่ในระดับท่ียอมรับได้ โดยไม่ต้องมี
การดาเนินการเพม่ิ เติมเพ่ือลดโอกาสหรอื ผลกระทบท่ีอาจเกดิ ข้ึนได้อีก

(๒) การลดหรือควบคุม (Treat) การดาเนินการเพ่ิมเติมเพื่อลดโอกาสที่อาจเกิดข้ึนหรือ
ความรนุ แรงของความเสี่ยงใหอ้ ยู่ในระดับท่ียอมรับได้

(๓) การถ่ายโอนหรือกระจาย (Transfer) การโอนหรือการกระจายความรับผิดชอบกับผู้อื่น
ในการจดั การความเส่ยี ง

(๔) การหยุดหรือการหลกี เลยี่ ง (Terminate) เป็นการจัดการความเสี่ยงท่ีอยูใ่ นระดับสูงมากและ
ไม่อาจยอมรับได้ ควรหยดุ หรือดาเนินการหลีกเลย่ี งเหตุการณ์ท่ีก่อให้เกดิ ความเสี่ยงนั้น

๓. กิจกรรมการควบคมุ (Control Activities)
กิจกรรมการควบคุมเป็นการปฏิบัติท่ีกาหนดไว้ในนโยบายและกระบวนการดาเนินงาน เพื่อให้

ม่ันใจว่าการปฏิบัติตามคาส่ังการของฝ่ายบริหารจะลดหรือควบคุมความเสี่ยงให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์
กิจกรรมการควบคุมไดร้ บั การนาไปปฏิบตั ทิ วั่ ทุกระดับของหน่วยงานของรฐั ในกระบวนการปฏบิ ตั ิงาน ขัน้ ตอน
การดาเนนิ งานต่าง ๆ รวมถงึ การนาเทคโนโลยมี าใช้ในการดาเนินงาน

กจิ กรรมการควบคมุ ประกอบด้วย ๓ หลักการ ดังนี้
หลกั การท่ี ๑๐ หน่วยงานของรัฐระบุและพัฒนากิจกรรมการควบคุม เพื่อลดความเส่ียงในการ
บรรลุวตั ถุประสงค์ให้อยู่ในระดบั ที่ยอมรบั ได้
หลักการที่ ๑๑ หน่วยงานของรัฐระบุและพัฒนากิจกรรมการควบคุมท่ัวไปด้านเทคโนโลยี เพื่อ
สนับสนนุ การบรรลุวตั ถุประสงค์
หลักการท่ี ๑๒ หน่วยงานของรัฐจัดให้มีกิจกรรมการควบคุม โดยกาหนดไว้ในนโยบาย
ประกอบด้วยผลสาเรจ็ ท่ีคาดหวงั และข้ันตอนการปฏิบัตงิ าน เพ่ือนานโยบายไปสู่การปฏิบตั ิจรงิ

๔. สารสนเทศและการส่อื สาร (Information and Communication)
สารสนเทศเป็นส่ิงท่ีจาเป็นสาหรับหน่วยงานของรัฐท่ีจะช่วยให้มีการดาเนินการตามการควบคุม

ภายในที่กาหนด เพ่ือสนับสนุนให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานภาครัฐ การส่ือสารเกิดข้ึนได้ท้ังจากภายใน
และภายนอก เป็นช่องทางเพื่อให้ทราบถึงสารสนเทศท่ีสาคัญในการควบคุมการดาเนินงานของหน่วยงาน
ของรัฐ การส่ือสารจะช่วยให้บุคลากรในหน่วยงานมีความเข้าใจถึงความรับผิดชอบและความสาคัญของ
การควบคมุ ภายในท่มี ีต่อการบรรลุวตั ถปุ ระสงค์



สารสนเทศและการส่อื สารประกอบด้วย ๓ หลักการ ดังน้ี
หลกั การที่ ๑๓ หน่วยงานของรัฐจัดทาหรือจัดหาและใช้สารสนเทศที่เกี่ยวข้องและมีคุณภาพ เพ่ือ
สนับสนุนใหม้ กี ารปฏบิ ัตติ ามการควบคุมภายในท่ีกาหนด
หลักการที่ ๑๔ หน่วยงานของรัฐมีการสื่อสารภายในเก่ียวกับสารสนเทศ รวมถึงวัตถุประสงค์และ
ความรับผิดชอบที่มีต่อการควบคุมภายในซ่ึงมีความจาเป็นในการสนับสนุนให้มีการปฏิบัติตามการควบคุม
ภายในที่กาหนด
หลกั การที่ ๑๕ หน่วยงานของรัฐมีการสื่อสารกับบุคคลภายนอกเกี่ยวกับเรื่องท่ีมีผลกระทบต่อการ
ปฏิบัติตามการควบคมุ ภายในท่กี าหนด

๕. การติดตามประเมนิ ผล
กิจกรรมการติดตามผลเป็นการประเมินผลระหว่างปฏิบัติงาน การประเมินผลเป็นรายคร้ังหรือเป็น

การประเมินผลท้ังสองวิธีร่วมกัน เพ่ือให้เกิดความมั่นใจว่าได้มีการปฏิบัติตามหลักการในแต่ละองค์ประกอบ
ของการควบคุมภายในทั้ง ๕ องค์ประกอบ กรณีท่ีผลการประเมินการควบคุมภายในจะกอ่ ให้เกิดความเสยี หาย
ต่อหนว่ ยงานของรัฐ ใหร้ ายงานต่อฝา่ ยบริหารและผกู้ ากับดแู ลอยา่ งทันเวลา

กิจกรรมติดตามประเมินผลประกอบดว้ ย ๒ หลักการ ดงั น้ี
หลักการที่ ๑๖ หน่วยงานของรัฐระบุ พัฒนา และดาเนนิ การประเมนิ ผลระหว่างการปฏบิ ัติงาน และ
หรือการประเมินผลเป็นรายคร้ังตามกาหนด เพ่อื ใหเ้ กิดความมั่นใจว่าได้มีการปฏิบัติตามองค์ประกอบของการ
ควบคุมภายใน
หลกั การที่ ๑๗ หน่วยงานของรัฐประเมินผลและส่ือสารข้อบกพร่อง หรือจุดอ่อนของการควบคุม
ภายในอย่างทันเวลาต่อฝ่ายบริหารและผูก้ ากับดแู ล เพอ่ื ใหผ้ ู้รบั ผดิ ชอบสามารถส่ังการแกไ้ ขได้อย่างเหมาะสม

บทที่ ๒

การจดั วางระบบการควบคมุ ภายในของหน่วยงานในสังกัดสานักงาน กศน.

ตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายใน
สาหรับหน่วยของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๒ ให้หน่วยงานของรฐั จัดวางระบบการควบคุมภายใน โดยใช้มาตรฐาน
การควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐที่กระทรวงการคลังกาหนดเป็นแนวทางในการจัดวางระบบ
การควบคุมภายในให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน และข้อ ๑๑ ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
ผู้กากับดูแล กระทรวงเจ้าสังกัด ใช้ข้อมูลรายงานผลการประเมินการควบคุมภายใน เพื่อเป็นเครื่องมือ
สนับสนุนให้หน่วยงานของรัฐสามารถขับเคล่ือนการปฏิบัติงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด
หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีการประเมินการควบคุมภายในอย่างต่อเน่ือง จึงมีความจาเป็นให้หน่วยงานมี
ความเขา้ ใจและสามารถปฏบิ ตั ิตามหลักเกณฑ์ ฯ ให้ถูกตอ้ งตอ่ ไป

แนวทางการควบคมุ ภายใน
๑. ประชุมผู้แทนหน่วยงาน/คณะทางานประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยงาน โดย

ประกอบด้วยหัวหน้าหน่วยงานและผู้ปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่ม/งาน/ฝ่าย เพ่ือทบทวนและเป็นแกนหลักใน
การกาหนดระบบการควบคมุ ภายใน ในการจดั ทาแผนการจดั วางระบบการควบคุมภายใน

๒. หน่วยงานดาเนินการจัดวางระบบการควบคุมภายใน และติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน
โดยต้องรายงานตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายใน
สาหรับหน่วยของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งกาหนดแบบรายงานให้หน่วยงานต้องจัดทา ได้แก่ รายงานการประเมิน
องค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๔) และแบบรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน
(แบบ ปค. ๕)



ขน้ั ตอนการกาหนดและออกแบบระบบการควบคุมภายใน
๑. กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ในการดาเนินงาน มขี ั้นตอนดงั นี้
๑.๑ กาหนดภารกจิ ตามกฎหมายที่จดั ต้ังหนว่ ยงานของรัฐ ภารกจิ ตามแผนการดาเนินงาน หรือ

ภารกิจอื่น ๆ ท่ีสาคัญของรฐั
๑.๒ กาหนดวตั ถุประสงคก์ ารดาเนินงานใหส้ อดคลอ้ งกับภารกจิ ตามกฎหมายทจ่ี ัดตงั้ หน่วยงาน

ของรฐั ภารกิจตามแผนการดาเนินงาน หรอื ภารกจิ อื่น ๆ ทสี่ าคัญของรฐั
๑.๓ กาหนดกิจกรรมที่ทาใหบ้ รรลุตามวัตถุประสงคก์ ารดาเนินงานท่วี างไว้

๒. ระบคุ วามเสย่ี งทีม่ ีนัยสาคัญ ทอ่ี าจทาให้การดาเนนิ งานไมบ่ รรลุวตั ถปุ ระสงค์
๓. พิจารณาการควบคุมท่ีมีอยู่ว่าสามารถป้องกันหรือลดความเสี่ยงได้ในระดับใด หากยังไม่สามารถ
ปอ้ งกันหรือลดความเสี่ยงใหอ้ ยใู่ นระดับทย่ี อมรบั ได้ ให้ระบกุ จิ กรรมการควบคุมข้นึ มาใหม่ เพอื่ ใช้ในการบรหิ าร
ความเส่ียง ป้องกันหรือลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับท่ียอมรับได้ ทั้งน้ีต้องพิจารณาต้นทุนที่ใช้กับประโยชน์ที่
ไดร้ ับด้วย
๔. จดั ทาแผนในการนากจิ กรรมการควบคมุ ภายในมาใช้
๕. นากิจกรรมการควบคุมภายในไปปฏิบัติเพื่อจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และ
ตดิ ตามผลอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

๑๐

เปรยี บเทยี บความแตกต่างของการควบคมุ ภายใน

ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดนิ วา่ ดว้ ย หลักเกณฑก์ ระทรวงการคลังวา่ ด้วยมาตรฐานและ
การควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ หลกั เกณฑก์ ารปฏบิ ตั ิการควบคมุ ภายใน
สาหรับหนว่ ยงานของรฐั พ.ศ. ๒๕๖๑

๑. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดนิ ว่าด้วยการ ๑. พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ

ควบคมุ ภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๙๗

ให้หน่วยรับตรวจจัดวางระบบการควบคุมภายใน ให้ ห น่ ว ย ง าน ข อง รั ฐ จั ด ใ ห้ มี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ

โดยใช้มาตรฐานการควบคุมท้ายระเบียบน้ี เป็น ภายใน การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการ

แนวทาง ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ระเบียบนี้ ความเสี่ยง โดยถือปฏิบัติตามมาตรฐานและ

ใชบ้ ังคบั หลักเกณฑท์ ี่กระทรวงการคลงั กาหนด

๒. แนวคิดเกีย่ วกบั การควบคุมภายใน ๒. แนวคิดเกย่ี วกับการควบคุมภายใน

๑) เป็นส่วนประกอบที่แทรกอย่ใู นการปฏิบัติงานปกติ ๑) เป็นกลไกท่ีจะทาให้หน่วยงานของรัฐบรรลุ

ของหน่วยงาน เป็นส่ิงที่ต้องกระทาอย่างเป็น วตั ถุประสงคก์ ารควบคุมภายในดา้ นใดดา้ นหนึ่ง

ขั้นตอนมิใช่เป็นผลสุดท้ายของการกระทาแต่เป็น หรอื หลายด้าน

กระบวนการทตี่ ่อเนอ่ื ง ๒) เป็นส่วนประกอบที่แทรกอยู่ในการปฏิบัติงาน

๒) เกิดขึ้นได้โดยบุคลากรของหน่วยรับตรว จ ตามปกติของหน่วยงาน เป็นสิ่งที่ต้องกระทา

ฝ่ายบริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดให้มีระบบ อย่างเป็นขั้นตอนและต่อเนื่อง มิใช่ผลสุดท้าย

การควบคุมภายในที่ดี ส่วนบุคลากรอ่ืนรับผิดชอบ ของการกระทา

ต่อการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่ ๓) เกิดข้ึนได้โดยบุคลากรของหน่วยงานของรัฐ

กาหนดขน้ึ ไม่ใช่เพียงการกาหนดนโยบาย ระบบงาน คู่มือ

๓) ให้ความเช่ือม่ันอย่างสมเหตุสมผลว่าจะบรรลุตาม การปฏิบัติงาน และแบบฟอร์มเท่าน้ัน แต่ต้อง

วัตถุประสงค์ท่ีกาหนด อย่างไรก็ตามการควบคุม มกี ารปฏิบตั ิดว้ ย

ภายในที่กาหนดก็อาจจะไม่สามารถให้ความม่ันใจ ๔) ให้ความเชื่อม่ันอย่างสมเหตุสมผลว่าจะบรรลุ

ได้ว่าการดาเนินงานจะบรรลุตามวัตถุประสงค์ ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดของหน่วยงาน

อยา่ งสมบูรณ์ ของรัฐ อย่างไรก็ตามการควบคุมภายในท่ี

กาหนดก็อาจจะไม่สามารถให้ความม่ันใจได้ว่า

การดาเนินงานจะบรรลุตามวัตถุประสงค์อย่าง

สมบรู ณ์

๕) การควบคุมภายในควรกาหนดให้เหมาะสมกับ

โครงสร้างองค์กรและภารกิจของหน่วยงาน

ของรฐั

๑๑

ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดินว่าด้วย หลักเกณฑก์ ระทรวงการคลงั ว่าด้วยมาตรฐานและ
การควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ หลักเกณฑก์ ารปฏบิ ัติการควบคุมภายใน
สาหรับหนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑

๓. วัตถปุ ระสงคข์ องการควบคุมภายใน ๓. วตั ถปุ ระสงคข์ องการควบคุมภายใน

๑) เพื่อให้เกดิ ประสิทธผิ ลและประสิทธิภาพของการ ๑) วตั ถปุ ระสงค์ด้านการดาเนนิ งาน

ดาเนินงาน (Operation Objectives) (Operations Objectives) เป็นวัตถุประสงค์

๒) เพอ่ื ใหเ้ กิดความเชือ่ ถือไดข้ องรายงานทางการ เก่ียวกบั ความมีประสิทธิผลและประสทิ ธภิ าพ

เงนิ (Financial Reporting Objectives) ของการดาเนินงาน รวมถึงการบรรลุ

๓) เพ่ือให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบ เป้าหมายด้านการดาเนินงาน ด้านการเงิน

ข้ อ บั ง คั บ ท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ( Compliance ตลอดจนใช้ทรัพยากร การดูแลรักษา

Objectives) ทรัพย์สินการป้องกันหรือลดความผิดพลาด

ของหน่วยงานของรัฐ ตลอดจนความเสียหาย

การร่ัวไหล การสิ้นเปลือง หรือการทุจริตใน

หนว่ ยงานของรัฐ

๒) วัตถุประสงค์ด้านการรายงาน (Reporting

Objectives) เป็นวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการ

รายงานทางการเงินและไม่ใช่การเงิน ที่ใช้

ภายในและภายนอกหนว่ ยงานของรัฐ รวมถึง

การรายงานทีเ่ ชอื่ ถือได้ ทนั เวลา โปร่งใส หรือ

ขอ้ กาหนดอน่ื ของทางราชการ

๓) วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย

ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ ข้ อ บั ง คั บ ( Compliance

Objectives) เป็นวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการ

ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือ

ม ติ ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร

ดาเนินงาน รวมทั้งข้อกาหนดอื่นของทาง

ราชการ

๑๒

ระเบยี บคณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดินว่าดว้ ย หลกั เกณฑก์ ระทรวงการคลงั ว่าด้วยมาตรฐานและ
การควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ หลักเกณฑก์ ารปฏบิ ัตกิ ารควบคมุ ภายใน
สาหรับหนว่ ยงานของรฐั พ.ศ. ๒๕๖๑

๔. องคป์ ระกอบของมาตรฐานการควบคมุ ภายใน ๔. องค์ประกอบของมาตรฐานการควบคมุ ภายใน

การควบคุมภายในประกอบด้วยองค์ประกอบ การควบคุมภายในประกอบดว้ ยองค์ประกอบ

๕ องค์ประกอบ ดงั นี้ ๕ องคป์ ระกอบ ๑๗ หลกั การ ดังนี้

๑) สภาพแวดลอ้ มการควบคมุ (Control ๑) สภาพแวดลอ้ มการควบคุม (Control

Environment) Environment) ๕ หลกั การ

๒) การประเมินความเส่ียง (Risk Assessment) ๒) การประเมนิ ความเสี่ยง (Risk

๓) กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) Assessment) ๔ หลกั การ

๔) สารสนเทศและการสื่อสาร (Information ๓) กิจกรรมการควบคุม (Control

and Communication) Activities) ๓ หลักการ

๕) กิจกรรมการติดตามผล (Monitoring ๔) สารสนเทศและการส่ือสาร (Information

Activities) and Communication) ๓ หลักการ

๕) กจิ กรรมการติดตามผล (Monitoring

Activities) ๒ หลักการ

๕. รูปแบบรายงาน ๕. รูปแบบรายงาน

ระดับหนว่ ยงานย่อย รายงานการจัดวางระบบการควบคุมภายใน

- รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของ สาหรับหน่วยงานของรัฐที่จัดต้ังข้ึนใหม่หรือปรับ

การควบคมุ ภายใน (แบบ ปย. ๑) โครงสรา้ งใหม่

- รายงานการประเมินผลและการปรับปรุง - หนังสือรับรองการจัดวางระบบการ

การควบคมุ ภายใน (แบบ ปย. ๒) ควบคมุ ภายใน (แบบ วค. ๑)

ระดบั หน่วยรับตรวจ - รายงานการจัดวางระบบการควบคุม

- หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุม ภายใน (แบบ วค. ๒)

ภายใน (แบบ ปอ. ๑) แบบรายงานการประเมินผลการควบคุม

- รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของ ภายใน

การควบคุมภายใน (แบบ ปอ. ๒) - หนงั สือรับรองการประเมินผลการควบคุม

- รายงานแผนการปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน ภายใน (ระดับหน่วยงานของรฐั ) (แบบ ปค. ๑)

(แบบ ปอ. ๓) - หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุม

ผูต้ รวจสอบภายใน ภายใน (กรณีกระทรวงเจ้าสังกัดส่งรายงานต่อ

- รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการ กระทรวงการคลงั ) (แบบ ปค. ๒)

ควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน (แบบ ปส.)

๑๓

ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดินว่าด้วย หลักเกณฑก์ ระทรวงการคลงั วา่ ด้วยมาตรฐานและ
การควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ หลกั เกณฑก์ ารปฏิบัตกิ ารควบคุมภายใน
สาหรบั หน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑

- หนงั สือรับรองการประเมินผลการควบคุม

ภายใน (กรณีหน่วยงานของรัฐไม่อยู่ในสังกัด

กระทรวง) (แบบ ปค. ๓)

- รายงานการประเมินองค์ประกอบของการ

ควบคุมภายใน (สาหรับหน่วยงานของรัฐ) (แบบ

ปค. ๔)

- รายงานการประเมินผลการควบคุม

ภายใน (สาหรบั หนว่ ยงานของรัฐ) (แบบ ปค. ๕)

- รายงานการสอบทานการประเมินผลการ

ควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน (สาหรับ

หน่วยงานของรฐั ) (แบบ ปค. ๖)

๖. ระยะเวลาในการรายงาน ๖. ระยะเวลาในการรายงาน

๑) รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการ รายงานการประเ มินองค์ประกอบของ

ควบคุมภายใน (แบบ ปย. ๑) รายงานผลปีละ ๑ คร้ัง การควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๔) และรายงาน

คือสาหรับสิ้นสุดวนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕XX การประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๕)

๒) รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการ รายงานผลปีละ ๑ ครั้ง คือ สาหรับส้ินสุดวันที่ ๓๐

ควบคุมภายใน (แบบ ปย. ๒) รายงานผลปีละ ๒ ครั้ง กันยายน พ.ศ. ๒๕XX

คือ ณ วันท่ี ๓๑ มีนาคม และวันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ.

๒๕XX

บทที่ ๓

การประเมินผลและรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน

หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับ
หน่วยของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ กาหนดใหห้ น่วยงานมีการประเมนิ ผลการควบคุมภายในอย่างน้อยปีละหน่ึงครง้ั และ
รายงานการประเมินผลการควบคุมภายในตามระยะเวลาท่ีกาหนด โดยใช้เคร่อื งมือดงั ต่อไปน้ีในการประเมินผล
การควบคุมภายใน เพื่อให้การรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่
กระทรวงการคลังกาหนด

เครอื่ งมอื ประเมินผลการควบคมุ ภายใน
๑. แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (ภาคผนวก) เป็นเคร่ืองมือท่ีสานักงาน

ปลัดกระทรวงศึกษาธิการกาหนดข้ึนสาหรับการบริหารการควบคุมภายใน เพ่ือช่วยให้ผู้บริหารและผู้ประเมิน
ตัดสินใจได้ว่าระบบการควบคุมภายในของหน่วยงานที่มีอยู่เหมาะสมเพียงพอหรือควรแก้ไขปรับปรุงในจุดใด
แบบประเมิน ฯ แยกเป็น ๕ องค์ประกอบของการควบคุมภายใน และแต่ละองค์ประกอบจะประกอบไปด้วย
หัวข้อหลักและหัวข้อย่อยท่ีเก่ียวเน่ืองกัน เพื่อนามาเป็นข้อมูลในการจัดทารายงานการประเมินองค์ประกอบ
ของการควบคมุ ภายใน (แบบ ปค. ๔)

๒. แบบรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๕) เป็นเครื่องมือที่ใช้ระบุและ
วเิ คราะห์ความเส่ียงที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน ในการระบุความเสี่ยงต้องตั้งคาถามว่า
มีเหตุการณ์หรือกิจกรรมใดของกระบวนการปฏิบัติงานที่อาจเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การสูญเปล่า
การร่ัวไหล หรือเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานไม่ให้บรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนด
รวมท้ังกาหนดหรือเสนอแนะแนวทางปรับปรุงการควบคุมภายในของ ภารกิจท่ีมีจุดอ่อนหรือความเสี่ยง
เพอ่ื ปอ้ งกนั หรือลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับทย่ี อมรบั ได้

๑๕

หนว่ ยงานท่ีมหี น้าทรี่ ายงานตามหลักเกณฑก์ ระทรวงการคลงั ฯ กาหนด
หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับ

หนว่ ยของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ กาหนดแบบรายงานให้หน่วยงานตอ้ งจัดทา ดงั น้ี รายงานการประเมินองค์ประกอบ
ของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๔) และแบบรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๕)
หน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีรายงานตามแบบที่กาหนด คือ หน่วยงานในสังกัดสานักงาน กศน. ได้แก่ สถาบัน กศน.ภาค
สานักงาน กศน.จังหวัด/กรุงเทพมหานคร กศน.อาเภอ/เขต ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนื่องสิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า
ณ หวา้ กอ ศนู ย์การศึกษานอกโรงเรยี นกาญจนาภิเษก ศูนยว์ งเดอื น อาคมสุรทณั ฑ์ และกล่มุ /ศนู ย์สว่ นกลาง

หนา้ ทผี่ ูต้ รวจสอบภายใน
ผู้ตรวจสอบภายใน มีหน้าท่ีในการสอบทานและประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยงาน

เพ่ือใหห้ น่วยงานสามารถพัฒนาระบบการควบคุมภายในให้ดีย่ิงขน้ึ รวมทั้งสนบั สนนุ การดาเนินงานด้านต่าง ๆ
ใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์และสอดคลอ้ งกับภารกิจของหนว่ ยงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล

๑๖

การประเมินผลการควบคุมภายในและการจัดทารายงาน
แต่งต้งั คณะทางานประเมนิ ผลการควบคุมภายใน

ขัน้ ตอนการจัดทา แบบ ปค. ๔ ขน้ั ตอนการจัดทา แบบ ปค. ๕

วเิ คราะหค์ วามเสีย่ งจากการประเมิน ประเมินและ สมั ภาษณ์ สงั เกตการณ์
องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน วิเคราะหค์ วามเส่ียง การปฏิบตั งิ าน
ตามแบบประเมินองคป์ ระกอบของ จากภารกจิ ทสี่ าคญั สอบทานเอกสาร

การควบคมุ ภายใน ของหนว่ ยงาน หลักฐานที่เกยี่ วขอ้ ง

รายงานองค์ประกอบของการ รายงานการประเมนิ ผลการ
ควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๔) ควบคมุ ภายใน (แบบ ปค. ๕)

ผู้อานวยการสถาบนั ภาค, สานกั งาน กศน. จงั หวดั /
กทม., กศน.อาเภอ/เขต, ศฝช., ศว., สถาบนั สริ ินธร,

อุทยานวทิ ยาศาสตร์ ณ หวา้ กอ, วทิ ยาลยั ในวงั ,
ศูนยว์ งเดอื น, กล่มุ /ศูนยส์ ่วนกลาง ลงนาม

ส่งแบบ ปค. ๔ และ ปค. ๕ ให้สานักงาน กศน.
ตามเวลาทกี่ าหนด เพอ่ื สรปุ เป็นรายงาน

การควบคมุ ภายในในภาพรวมของสานกั งาน กศน.

รปู ภาพ ๓ ขัน้ ตอนการประเมนิ ผลการควบคุมภายในและการจดั ทารายงาน

๑๗

ขั้นตอนการจดั ทารายงานการองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๔)

การจัดทารายงานการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๔) เป็นการประเมิน
องค์ประกอบการควบคุมภายใน ๕ องค์ประกอบ ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมิน
ความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร และกิจกรรมการติดตามผล โดยคณะทางาน
ประเมินผลการควบคมุ ภายในดาเนนิ การดงั น้ี
๑. ประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายในตามแบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

เพ่ือช่วยให้ผู้บริหารและผู้ประเมินพิจารณาตัดสินได้ว่าระบบการควบคุมภายในของหน่วยงานได้รับ
การออกแบบอย่างเหมาะสมและเพียงพอหรือไม่ ควรปรับปรุงแก้ไขในจุดใดอย่างไร ซึ่งแบบประเมิน ฯ
แยกเป็น ๕ องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ในแต่ละองค์ประกอบจะประกอบด้วยข้อความภายใต้
หวั ขอ้ หลักและหัวขอ้ ย่อยท่เี กี่ยวเน่อื งกบั หวั ขอ้ หลัก
๒. ประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ๕ องค์ประกอบตามแบบประเมิน ฯ ในแต่ละองค์ประกอบ
จะประกอบด้วยหัวข้อหลัก ๑๗ หลักการและหัวข้อย่อยที่เกี่ยวเนื่องกัน เพื่อประเมินว่าหน่วยงานให้
ความสาคัญและมีการดาเนินการอย่างไรในแต่ละหัวข้อย่อย (รูปภาพ ๔) โดยในตอนท้ายของแต่ละ
องค์ประกอบต้องนาผลการประเมินในแต่ละข้อ มาให้ข้อสรุปและระบุวิธีการที่ควรปฏิบัติโดยรวมของ
องคป์ ระกอบนัน้ ๆ เพ่ือสนับสนุนใหก้ ารควบคมุ ภายในมีประสทิ ธิภาพเพียงพอ (รูปภาพ ๕)

ตัวอย่าง การประเมินองค์ประกอบที่ ๑ ด้านสภาพแวดล้อมการควบคุม “หลักการที่ ๒ :
ผูก้ ากับดูแลของหน่วยงาน แสดงให้เห็นถึงความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร และมีหน้าที่กากับดูแลให้มีการ
พัฒนาหรือปรับปรุงการควบคุมภายใน รวมถึงการดาเนินการเกี่ยวกับการควบคุมภายใน” หน่วยงานต้อง
ประเมินว่าในปัจจุบันให้ความสาคัญหรือดาเนินการอย่างไรเก่ียวกับด้านสภาพแวดล้อมการควบคุมบ้าง
โดยระบุรายละเอียดใน “ช่องคาอธิบาย” ตามแบบประเมิน ฯ (รูปภาพ ๔) ท้ังน้ี เม่ือประเมินองค์ประกอบ
ด้านสภาพแวดล้อมการควบคุม หลักการที่ ๑ - ๕ ครบท้ังหมดแลว้ ใหส้ รุปผลการประเมนิ ของด้านสภาพแวดล้อม
การควบคุม โดยใช้ข้อความท่ีระบุไว้ใน “ช่องคาอธิบาย” มาเรียบเรียงเป็นผลการประเมินด้านสภาพแวดล้อม
การควบคมุ ใสใ่ นตอนทา้ ยของแบบประเมิน ฯ (รปู ภาพ ๕)

๑๘

รปู ภาพ ๔ ตวั อย่างการประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคุมภายในตามแบบประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน
รูปภาพ ๕ ตวั อยา่ งสรปุ ผลการประเมนิ ตามแบบประเมินองคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน

๑๙
๓. ประมวลข้อมูลในแตล่ ะองค์ประกอบของแบบประเมิน ฯ มาระบุในรายงานการประเมินองค์ประกอบของ

การควบคมุ ภายใน (แบบ ปค. ๔) ดงั นี้
คอลัมน์ที่ ๑ “องค์ประกอบของการควบคุมภายใน” ให้ระบุข้อมูลองค์ประกอบการควบคุมภายในของ
แต่ละองค์ประกอบที่ได้จากแบบประเมิน ฯ เช่น องค์ประกอบด้านสภาพแวดล้อมการควบคุม จะนา
คาถามจากหลักการท่ี ๑ – ๕ มาสรปุ สาระสาคญั (รูปภาพ ๖)
คอลัมน์ที่ ๒ “ผลการประเมิน/ข้อสรุป” ให้ระบุผลการประเมิน/ข้อสรุปของแต่ละองค์ประกอบที่ได้จาก
แบบประเมนิ ฯ พรอ้ มกับความเสีย่ งที่ยังเหลืออยู่หรอื จดุ อ่อนของหน่วยงาน (รูปภาพ ๗)

รปู ภาพ ๖ ตวั อย่างขอ้ มลู ท่ีระบุคอลัมนท์ ่ี ๑ “องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน”

นาขอ้ ความมาจากรูปภาพ ๕

รูปภาพ ๗ ตวั อย่างการระบคุ อลัมน์ที่ ๑ และ ๒ ของแบบ ปค. ๔

๒๐
๔. สรุปผลการประเมินโดยรวมของ ๕ องคป์ ระกอบลงในตอนทา้ ยของแบบรายงาน ฯ และเสนอหัวหน้า

หนว่ ยงานลงนาม พร้อมท้ังตาแหนง่ และวันเดอื นปีท่ีรายงาน

รปู ภาพ ๘ ตวั อยา่ งผลการประเมนิ โดยรวมของรายงานการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน
(แบบ ปค. ๔)

๕. จัดส่งรายงานการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๔) ให้สานักงาน กศน.
ภายในระยะเวลาทกี่ าหนด เพ่ือสรุปเป็นรายงาน ฯ ในภาพรวมของสานักงาน กศน. ต่อไป
สาหรับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต ให้จัดส่งรายงาน ฯ
ให้สานักงาน กศน. จังหวัด/กรุงเทพมหานครใช้เป็นข้อมูลในการสรุปเป็นรายงาน ฯ ในภาพรวมของ
สานักงาน กศน. จังหวัด/กรุงเทพมหานคร เพอื่ จดั ส่งให้สานกั งาน กศน. ดาเนนิ การต่อไป

๒๑

ขนั้ ตอนการจดั ทารายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๕)
การจัดทารายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๕) เพื่อให้หน่วยงานทราบจุดอ่อน

หรือความเสี่ยงท่ียังมีอยู่ สาเหตุ และแนวทางการปรับปรุงความเสี่ยงนั้น เพ่ือให้หน่วยงานดาเนินงานได้ตาม
วัตถุประสงค์ โดยคณะทางานประเมินผลการควบคมุ ภายในดาเนนิ การดังน้ี

คอลมั น์ท่ี คอลมั นท์ ี่ คอลมั นท์ ี่ คอลมั นท์ ี่ คอลัมน์ที่ คอลัมน์ที่ คอลมั นท์ ่ี

๒ ๓ ๔๕ ๖๗

รปู ภาพ ๙ ตัวอยา่ งแบบรายงานการประเมนิ ผลการควบคมุ ภายใน (แบบ ปค. ๕)

๑. คอลัมน์ท่ี ๑ “ภารกิจตามกฎหมายจัดตั้งหน่วยงานของรัฐ หรือภารกิจตามแผนการดาเนินงาน
หรือภารกิจอ่ืน ๆ ท่ีสาคัญของหน่วยงานของรัฐ/วัตถุประสงค์” ให้ระบุภารกิจตามกฎหมายจัดตั้ง
หน่วยงานของรัฐ หรือภารกิจตามแผนการดาเนินงาน หรือภารกิจอื่น ๆ ท่ีสาคัญของหน่วยงาน และ
ระบุวตั ถุประสงค์ของภารกจิ ทั้งนีห้ น่งึ ภารกิจอาจมไี ดห้ ลายวตั ถปุ ระสงค์
ตัวอยา่ ง การระบุข้อมลู ในคอลัมน์ที่ ๑ ใหร้ ะบุภารกจิ ตามกฎหมายจดั ต้งั หน่วยงานของรฐั หรอื ภารกิจ
ตามแผนการดาเนนิ งาน หรือภารกิจอ่นื ๆ ทีส่ าคัญของหนว่ ยงานของรฐั เช่น

๒๒
สานักงาน กศน. จงั หวัด : ภารกจิ ตามกฎหมายจดั ต้งั
- เป็นหน่วยงานธุรการของคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด

และมีอานาจหน้าทบี่ ริหารการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภายในจังหวัด
- จัดทายุทธศาสตร์ แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใน
จังหวัด ให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษาชาติ แผนพัฒนาการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และความต้องการของทอ้ งถน่ิ และชมุ ชน
- ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัย
- ประสาน สง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และภาคเี ครือข่าย
- พัฒนาหลักสตู ร สือ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา รว่ มกับสถานศึกษาและภาคเี ครอื ข่าย
กศน. อาเภอ : ภารกจิ ตามกฎหมายจดั ตั้ง
- จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
- ส่งเสรมิ สนบั สนุน และประสานภาคีเครือขา่ ย เพือ่ จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
- ดาเนินการตามนโยบายพเิ ศษของรัฐบาลและงานเสรมิ สรา้ งความม่นั คงของชาติ
- จดั สง่ เสริม สนบั สนุนและประสานงานการจดั การศกึ ษาตามโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดารใิ นพน้ื ท่ี
- จัด ส่งเสรมิ สนับสนนุ พฒั นาแหล่งเรียนร้แู ละภมู ิปัญญาท้องถิน่
- วจิ ยั และพัฒนาหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนรู้ และมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ
- ดาเนนิ การเทยี บโอนผลการเรยี น การเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์

รูปภาพ ๑๐ ตวั อยา่ งการกรอกขอ้ มลู ของแบบ ปค. ๕ คอลมั นท์ ี่ ๑

๒๓
๒. คอลัมน์ที่ ๒ “ความเส่ียง” ให้ระบุเหตุการณ์หรือสถานการณ์ทีม่ ีความไม่แน่นอน ที่ไมพ่ ึงประสงค์ทา

ให้เกิดความผิดพลาด เสียหาย ร่ัวไหล สูญเปล่า ไม่สามารถดาเนินงานตามภารกิจได้บรรลุผลสาเร็จ
ตามวัตถุประสงคห์ รอื เปา้ หมาย

รปู ภาพ ๑๑ ตวั อย่างการกรอกขอ้ มลู ของแบบ ปค. ๕ คอลมั นท์ ่ี ๒

อย่างไรก็ดี หน่วยงานควรระบุความเสี่ยงที่สาคัญ ที่มีการควบคุมภายในยังไม่เพียงพอ ซ่ึง
ต้องกาหนดการปรับปรุงการควบคุมภายใน เพ่ือนามาใช้ในการจัดวางระบบการควบคุมภายในให้มี
ประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ทงั้ น้คี วามเส่ยี งท่ีมกี ารควบคุมภายในเพียงพอแลว้ จะไมร่ ะบมุ าก็ได้

๒๔
๓. คอลัมน์ที่ ๓ “การควบคุมภายในท่ีมีอยู่” ให้ระบุกิจกรรมที่แสดงการควบคุมภายในที่มีอยู่ให้

สอดคล้องกับการดาเนินงานตามภารกิจที่กาหนดไว้ในคอลัมน์ที่ ๑ โดยเป็นการวิเคราะห์การควบคุม
ภายในท่ีมีอยู่ว่าได้มีการจัดวางการควบคุมเพื่อช่วยลดความเสี่ยงไว้อย่างไรบ้าง อาจระบุในลักษณะ
ของระเบียบ คาสง่ั นโยบาย กฎเกณฑ์ท่ีใช้ปฏิบัตอิ ยู่ วิธกี ารปฏิบัตงิ าน

สอดคล้องกนั
รูปภาพ ๑๒ ตัวอยา่ งการกรอกขอ้ มลู ของแบบ ปค. ๕ คอลมั น์ท่ี ๓

๒๕
๔. คอลัมน์ที่ ๔ “การประเมินผลการควบคุมภายใน” ให้ประเมินผลการควบคุมภายในว่าการควบคุม

ภายในที่ได้กาหนดไว้แล้วนั้น มีการปฏิบัติตามหรือไม่และได้ผลเป็นอย่างไร โดยใช้เกณฑ์การประเมิน
ความเส่ียงเป็นเครื่องมือท่ีใช้วิเคราะห์และจัดลาดับความเสี่ยง โดยพิจารณาจากการประเมินโอกาสที่
จะเกิดความเสี่ยง (Likelihood) และความรุนแรงของผลกระทบจากเหตุการณ์ความเสี่ยง (Impact)
ต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน หากเห็นว่าการควบคุมภายในที่มีอยู่มีประสิทธิภาพ
เหมาะสมตามวัตถุประสงค์ และสามารถควบคุมความเส่ียงได้ ให้ระบุว่า เพียงพอ กรณีระบุ
การประเมนิ ผลว่า “เพยี งพอ” คอลมั น์ท่ี ๕ ถงึ ๗ ไมต่ อ้ งดาเนินการตอ่

ไมต่ อ้ งดาเนนิ การต่อ

รปู ภาพ ๑๓ ตัวอยา่ งการกรอกข้อมลู ของแบบ ปค. ๕ คอลมั น์ท่ี ๔

กรณีหน่วยงานระบุการประเมินผลว่าเพียงพอ จึงไม่มีการกาหนดการปรับปรุง
การควบคุมภายในข้ึนมาใหม่ หน่วยงานรายงานเพียงคอลัมน์ท่ี ๑ – ๔ แต่เพ่ือให้การจัดวางระบบ
การควบคุมภายในมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน หน่วยงานควรรายงานความเสี่ยงท่ีมีการประเมินผลยัง
ไม่เพียงพอ เพื่อนามากาหนดการปรับปรุงการควบคุมข้ึนมาใหม่และนาไปใช้ในการจัดวางระบบการ
ควบคุมภายในต่อไป

๒๖
๕. หากการควบคุมภายในท่ีมอี ยู่ยังมีประสิทธิภาพไม่เพยี งพอ ไมส่ ามารถควบคุมความเสย่ี งใหอ้ ยู่ในระดับ

ที่ยอมรับได้ และกระทบต่อความสาเร็จตามภารกิจให้ระบุว่า ไม่เพียงพอ ในคอลัมน์ท่ี ๔
“การประเมินผลการควบคุมภายใน” และดาเนินการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยงท่ีเหลืออยู่ลงใน
คอลมั น์ที่ ๕ “ความเสี่ยงทยี่ ังมีอยู่”

รปู ภาพ ๑๔ ตัวอยา่ งการกรอกข้อมูลของแบบ ปค. ๕ คอลัมนท์ ่ี ๔ และ ๕

๒๗
๖. คอลัมน์ท่ี ๖ “การปรับปรุงการควบคุมภายใน” ให้ระบุกิจกรรมการปรับปรุงการควบคุมภายในท่ี

เหมาะสมและชัดเจน ท่ีสามารถใช้ในการดาเนินการควบคุมความเสี่ยงที่ระบุไว้ในคอลัมน์ที่ ๕
ให้อย่ใู นระดับที่ยอมรบั ได้ หรอื สามารถลดผลกระทบและโอกาสทจ่ี ะเกดิ ความเสย่ี งได้

สอดคลอ้ งกนั
รปู ภาพ ๑๕ ตวั อย่างการกรอกขอ้ มูลของแบบ ปค. ๕ คอลมั น์ที่ ๖

๒๘
๗. คอลัมนท์ ี่ ๗ “หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบ” ให้ระบุชอ่ื หน่วยงานทรี่ ับผิดชอบการปรบั ปรุงการควบคุมภายใน
๘. เสนอหัวหน้าหนว่ ยงานลงนาม พรอ้ มทง้ั ตาแหนง่ และวันเดอื นปีที่รายงาน

รปู ภาพ ๑๖ ตวั อยา่ งการระบุแบบรายงานการประเมนิ ผลการควบคมุ ภายใน (แบบ ปค. ๕)

๙. จัดส่งรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๕) ให้สานักงาน กศน. ภายในระยะเวลาท่ี
กาหนด เพ่อื สรุปเปน็ รายงาน ฯ ในภาพรวมของสานักงาน กศน. ตอ่ ไป
สาหรับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต ให้จัดส่งรายงาน ฯ
ให้สานักงาน กศน. จังหวัด/กรุงเทพมหานครใช้เป็นข้อมูลในการสรุปเป็นรายงาน ฯ ในภาพรวมของ
สานักงาน กศน. จงั หวัด/กรุงเทพมหานคร เพ่อื จดั ส่งใหส้ านักงาน กศน. ดาเนินการต่อไป

๒๙

ข้อสังเกตจากการสอบทานรายงานการควบคุมภายใน

หน่วยตรวจสอบภายในได้รวบรวมข้อสังเกตจากการสอบทานรายงานผลการควบคุมภายใน
ของหน่วยงานในสังกัดสานักงาน กศน. เพ่ือให้ผู้รับผิดชอบและผู้ที่เก่ียวข้องใช้เป็นแนวทางในการจัดทา
รายงานการควบคุมภายในไดถ้ ูกต้องตามหลักเกณฑ์ทก่ี าหนด

ข้อสงั เกตรายงานการประเมินองคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน

ขอ้ สังเกต ขอ้ เสนอแนะ

๑. ไม่ได้ระบุรายละเอียดขององค์ประกอบของการ ให้ระบุรายละเอียดขององคป์ ระกอบของการควบคุม

ควบคุมภายใน ๕ องค์ประกอบ ระบุเพียงหัวข้อ ภายในท้ัง ๕ องค์ประกอบของหน่วยงาน เพื่อใช้ใน

ขององคป์ ระกอบเท่านน้ั การประเมินองคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน

๒. ประเมนิ องค์ประกอบของการควบคุมภายในครบ เมื่อประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ทง้ั ๕ องค์ประกอบ แต่ไม่ได้สรุปผลการประเมิน ครบทั้ง ๕ องค์ประกอบแล้ว ให้ผู้ประเมินสรุปผล

โดยรวมตามแบบรายงานทก่ี าหนด การประเมินโดยรวมไว้ตอนท้ายของรายงานตาม

แบบรายงานทก่ี าหนด

๓. หัวหน้าหน่วยงานไม่ได้เป็นผู้ลงนามหรือไม่ได้ เสนอแบบรายงาน ฯ ให้หัวหน้าหน่วยงานลงนาม

ลงนามในแบบรายงาน ฯ พร้อมทั้งตาแหนง่ และวนั เดือนปีท่รี ายงาน

๔. ไม่ได้จัดส่งหรือจัดส่งรายงาน ฯ ให้สานักงาน ขอให้หน่วยงานรายงานผลการควบคุมภายในและ

กศน. ไม่เป็นไปตามระยะเวลาทกี่ าหนด จัดส่งถึงสานักงาน กศน. ให้ตรงตามระยะเวลาท่ี

กาหนด

ข้อสังเกตรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน

ขอ้ สังเกต ข้อเสนอแนะ

๑. ไมไ่ ด้ระบหุ รอื ระบกุ ารควบคมุ ท่ีมอี ยู่ไมถ่ ูกต้อง ให้ระบุกิจกรรมที่แสดงถึงการควบคุมภายในที่มีอยู่

ให้สอดคล้องกับการดาเนินงานตามภารกจิ อาจระบุ

ในลักษณะของระเบียบ คาส่ัง นโยบาย กฎเกณฑ์ท่ี

ใช้ปฏบิ ตั อิ ยู่ วิธกี ารปฏิบัตงิ าน

๒. ระบุการประเมินผลการควบคุมภายในไม่ถูกต้อง ให้ประเมินผลการควบคุมภายในว่าการควบคุม

ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด ภายในที่ได้กาหนดไว้แล้วน้ัน มีการปฏิบัติตาม

หรอื ไมแ่ ละไดผ้ ลเปน็ อยา่ งไร

- หากเห็นว่าการควบคุมภายในมีประสิทธิภาพ

เหมาะสม และสามารถควบคุมความเสี่ยงได้

ให้ระบวุ า่ เพียงพอ

๓๐

ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ

- หากเห็นว่าการควบคุมภายในมีประสิทธิภาพ

ไม่เพียงพอ ไม่สามารถควบคุมความเส่ียงให้อยู่ใน

ระดับท่ียอมรับได้ และส่งผลกระทบต่อความ

สาเรจ็ ตามภารกิจ ใหร้ ะบวุ า่ ไม่เพียงพอ

๓. ประเมินผลการควบคุมภายในของทุกภารกิจ/ การควบคุมภายในของทุกภารกิจ/การดาเนินงาน

การดาเนินงานว่า “การควบคุมภายในท่ีมีอยู่ ไม่ควรประเมินผลการควบคุมภายในว่า“การควบคุม

เพียงพอ” จึงไม่สามารถดาเนินการปรับปรุง ภายในที่มีอยู่เพียงพอ” ทุกภารกิจ/การดาเนินงาน

การควบคุมภายในตามความเป็นจรงิ ได้ ควรแต่งต้ังคณะทางาน โดยประกอบด้วยหัวหน้า

หน่วยงานและผู้ปฏิบัติของแต่ละกลุ่ม/งาน เพ่ือทา

การประเมนิ ผลการควบคมุ ภายในตามความเปน็ จริง

๔. ระบุการปรับปรุงการควบคุมภายในไม่สอดคล้อง ให้ระบุกิจกรรมการปรับปรุงการควบคุมภายในหรือ

กับความเส่ียงที่ยังมีอยู่ หรือระบุการปรับปรุง แนวทางท่ีเหมาะสมและชดั เจน เพ่ือใชค้ วบคมุ ความ

การควบคุมภายในไม่ครบประเด็นความเส่ียงท่ี เสี่ยงที่ยังมีอยู่ที่ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ หรือ

ระบุไว้ สามารถลดความเส่ียงได้ โดยความเสี่ยงที่ยังมีอยู่

และการปรับปรุงการควบคุมภายในต้องสอดคล้อง

และเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน

๕. หัวหน้าหน่วยงานไม่ได้เป็นผู้ลงนามหรือไม่ได้ เสนอแบบรายงาน ฯ ให้หัวหน้าหน่วยงานลงนาม

ลงนามในแบบรายงาน ฯ พรอ้ มทงั้ ตาแหน่ง และวันเดอื นปที ี่รายงาน

๖. ไม่ได้จัดส่งหรือจัดส่งรายงาน ฯ ให้สานักงาน ขอให้หน่วยงานรายงานผลการควบคุมภายในและ

กศน. ไมเ่ ป็นไปตามระยะเวลาที่กาหนด จัดส่งถึงสานักงาน กศน. ให้ตรงตามระยะเวลาที่

กาหนด

ภาคผนวก



แบบประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน

แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน เป็นเครื่องมือที่สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กาหนดข้ึนสาหรับการบริหารการควบคุมภายใน เพื่อช่วยให้ผู้บริหารและผู้ประเมินพิจารณาตดั สินได้ว่าระบบ
การควบคุมภายในของหน่วยงานได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสมและเพียงพอหรือไม่ ควรปรับปรุงแก้ไขใน
จุดใด อยา่ งไร

แบบประเมินฯ นีแ้ ยกเปน็ ๕ องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน ในแต่ละองค์ประกอบ ประกอบด้วย
ข้อความภายใต้หัวข้อหลัก ๆ และหัวข้อย่อยที่เก่ียวเนื่องกับหัวข้อหลัก ผู้ประเมินอาจปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม
ข้อความตามความเหมาะสม ช่องว่างใต้หัวข้อ “คาอธิบาย” ใช้สาหรับจดบันทึกข้อคิดเห็นหรือคาอธิบายใน
หวั ขอ้ นน้ั ๆ

การใช้แบบสอบถาม
๑. ผู้ประเมินเป็นผู้ถามตามแบบสอบถาม ถ้ามีการปฏิบัติตามคาถามแสดงถึงการควบคุมภายในท่ีดี

ให้กรอกเครื่องหมาย “√” ในช่อง “มี/ใช่” ถ้าไม่มีการปฏิบัติตามท่ีถามให้กรอกเครื่องหมาย “×” ในช่อง
“ไม่มี/ไม่ใช่” ถ้าไม่มีกิจกรรมท่ีเก่ียวกับเร่ืองท่ีถามให้กรอกในช่อง “ไม่มี/ไม่ใช่” โดยใช้อักษร N/A ซ่ึงย่อมา
จาก Not Applicable และหมายเหตวุ ่า ไม่มเี รือ่ งท่ีเกี่ยวกบั คาถาม

๒. คาตอบว่า “ไม่มี/ไม่ใช่” หมายถึง มิได้ปฏิบัติตามคาถาม แสดงถึงจุดอ่อนของระบบการควบคุม
ภายใน ผู้ประเมนิ ควรทดสอบและหาสาเหตุ และพิจารณาวา่ มีการควบคมุ อ่นื ทดแทนหรือไม่



แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน

ดา้ นสภาพแวดล้อมการควบคมุ (Control Environment)

ท่ี คาถาม ใช่/มี ไม่ใช่/ไมม่ ี คาอธบิ าย

๑ หน่วยงานไดแ้ สดงให้เหน็ ถึงการยึดมั่นในคณุ คา่ ของความซ่ือสตั ย์และจริยธรรม

๑.๑ ผู้บริหารกาหนดแนวทาง และมีการปฏิบัติที่อยู่บนหลักความ

ซอ่ื ตรงและการรักษาจรรยาบรรณในการดาเนนิ งาน ทคี่ รอบคลมุ ถึง

๑.๑.๑ การปฏิบตั หิ น้าที่ประจาวันและการตัดสินใจในเรือ่ งต่างๆ

๑.๑.๒ การปฏิบัติต่อหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ผู้รับบริการ และบุคคล

ภายนอก

๑.๒ มีข้อกาหนดด้านจริยธรรมและบทลงโทษเป็นลายลักษณ์อักษร

และเวยี นให้บคุ ลากรของหนว่ ยงานทกุ คนลงนามรบั ทราบ

๑.๒.๑ มีข้อกาหนดเก่ียวกับจริยธรรมสาหรับผู้บริหารและ

บุคลากรของหน่วยงาน ท่เี หมาะสม

๑.๒.๒ มีข้อกาหนดห้ามผู้บริหารและบุคลากรของหน่วยงาน

ปฏิบัติตนในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับ

หน่วยงาน ซึ่งรวมถึงการคอร์รัปชันอันทาให้เกิดความเสียหายต่อ

หน่วยงาน

๑.๒.๓ มีบทลงโทษท่ีเหมาะสมหากมีการฝ่าฝืนข้อกาหนด

ขา้ งตน้

๑.๒.๔ มีการสื่อสารข้อกาหนดและบทลงโทษข้างต้นให้

ผู้บริหารและบุคลากรของหน่วยงานทุกคนรับทราบ รวมท้ังมีการ

เผยแพร่จริยธรรมให้แก่บุคลากรของหน่วยงานและบุคคลภายนอก

ไดร้ บั ทราบ

๑.๓ มีกระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามจริยธรรม

ที่กาหนด

๑.๓.๑ การติดตามและประเมินผลโดยหน่วยงานตรวจสอบ

ภายใน

๑.๓.๒ การประเมินตนเองของผู้บริหารและบุคลากรของ

หน่วยงาน

๑.๓.๓ การประเมนิ ทเ่ี ปน็ อสิ ระจากหน่วยงานภายนอก



ท่ี คาถาม ใช่/มี ไม่ใช่/ไมม่ ี คาอธบิ าย

๑.๔ มีการจัดการอย่างทันเวลาหากพบการไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนด

เกย่ี วกบั ความซือ่ ตรงและการรกั ษาจรรยาบรรณ

๑.๔.๑ มีกระบวนการที่ทาให้สามารถตรวจพบการฝ่าฝืนได้

ภายในเวลาท่เี หมาะสม

๑.๔.๒ มีกระบวนการท่ีทาให้สามารถลงโทษหรือจัดการกับ

การฝา่ ฝนื ได้อยา่ งเหมาะสมและภายในเวลาอันควร

๑.๔.๓ มีการแก้ไขการกระทาท่ีขัดต่อหลักความซื่อตรงและ

การรกั ษาจรรยาบรรณอย่างเหมาะสมและภายในเวลาอนั ควร

๒ ผู้กากับดูแลของหน่วยงานแสดงให้เห็นถึงความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร และมีหน้าท่ีกากับดูแลให้มี

การพัฒนาหรอื ปรับปรุงการควบคุมภายใน รวมถึงการดาเนนิ การเกย่ี วกับการควบคุมภายใน

๒.๑ ผ้กู ากับดูแลใหม้ ีการกาหนดเป้าหมายการดาเนินงานตามภารกิจ

ของหน่วยงานท่ีชัดเจนและวัดผลได้ เพ่ือเป็นแนวทางในการ

ปฏบิ ัติงานของผบู้ รหิ ารและบุคลากรของหน่วยงาน

๒.๒ ผู้กากับดูแลได้กากับดูแลการพัฒนาและการปฏิบัติเร่ือง

การควบคุมภายในใน หน่วยงาน ซึ่งครอบคลุมท้ังการสร้าง

สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมนิ ความเส่ียง กิจกรรมการควบคุม

สารสนเทศและการส่ือสาร และการติดตามผล

๓ หัวหน้าหน่วยงานจัดให้มีโครงสร้างหน่วยงาน สายการบังคับบัญชา อานาจหน้าท่ี และความรับผิดชอบที่

เหมาะสมในการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานภายใต้การกากับดูแลของผู้กากับดูแล

๓.๑ ผู้บริหารระดับสูงกาหนดโครงสร้างและสายการบังคับบัญชา

ท่สี นบั สนนุ การบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ของหน่วยงาน โดยพิจารณาถงึ ความ

เหมาะสม เพื่อการดาเนินการภารกิจตามกฎกระทรวง ประกาศจัดต้ัง

หน่วยงาน และการดาเนินงานตาม ข้อบังคับ ประกาศ รวมถึงการจัดให้

มีการควบคุมภายในอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น แบ่งแยกหน้าท่ีในส่วน

งานทส่ี าคัญ ซึง่ ทาใหเ้ กดิ การตรวจสอบถ่วงดลุ ระหว่างกนั เป็นต้น

๓.๒ มีการมอบหมายอานาจและหน้าท่ีความรับผิดชอบให้กับบุคคล

ท่ีเหมาะสมและเป็นไปอย่างถูกต้อง เพ่ือให้การดาเนินงานของ

หน่วยงานบรรลุวัตถุประสงค์ และมีการแจ้งให้บุคลากรของหน่วยงาน

ทุกคนทราบ

๓.๓ ผู้บริหารมีวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการติดตามผลการดาเนินงาน

ท่ีมอบหมาย



ท่ี คาถาม ใช่/มี ไม่ใช่/ไมม่ ี คาอธบิ าย

๔ หน่วยงานแสดงให้เห็นถึงความมุ่งม่ันในการสร้างแรงจูงใจ พัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ

ทีส่ อดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องหน่วยงาน

๔.๑ มนี โยบายและวิธีการปฏิบัตเิ พ่ือจดั หา พัฒนา และรกั ษาบุคลากร

ทม่ี ีความรู้ความสามารถ ทเี่ หมาะสม และมีกระบวนการสอบทานนโยบาย

และวิธีการปฏิบตั นิ ั้นอย่างสมา่ เสมอ

๔.๒ มกี ระบวนการประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน การใหแ้ รงจูงใจหรือรางวัล

ต่อบุคลากรที่มีผลการปฏิบัติงานดี และการจัดการต่อบุคลากรท่ีมี

ผลงานไม่บรรลุเป้าหมาย รวมถึง การสื่อสารกระบวนการเหล่าน้ีให้

ผูบ้ รหิ ารและบคุ ลากรของหน่วยงานทราบ

๔.๓ มีกระบวนการแก้ไขปัญหาหรือเตรียมพร้อมสาหรับการขาด

บคุ ลากรทมี่ คี วามรแู้ ละความสามารถที่เหมาะสมอย่างทันเวลา

๔.๔ มีกระบวนการสรรหา พัฒนา และรักษาผู้บริหารและบุคลากรของ

หน่วยงานทุกคน เช่น การจัดระบบท่ีปรึกษา (mentoring) และการ

ฝกึ อบรม

๔.๕ มีแผนและกระบวนการสรรหาผู้สืบทอดตาแหน่ง (succession

plan) ทสี่ าคญั

๕ หน่วยงานกาหนดให้บุคลากรมีหน้าท่ีและความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติงานตามระบบการควบคุม

ภายใน เพอ่ื ใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงค์ของหน่วยงาน

๕.๑ ผู้บริหารมีกระบวนการและการส่ือสารเชิงบังคับให้บุคลากรทุกคน

มคี วามรับผิดชอบตอ่ การควบคมุ ภายใน และจัดให้มกี ารปรับปรงุ แก้ไข

กระบวนการปฏิบัติในกรณที ี่จาเป็น

๕.๒ ผู้บริหารกาหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน การสร้างแรงจูงใจ

และการให้รางวัลที่เหมาะสม โดยพิจารณาทั้งเรื่องการปฏิบัติตาม

จรยิ ธรรม และวัตถปุ ระสงค์ในระยะส้นั และระยะยาวของหน่วยงาน

๕.๓ ผู้บริหารประเมินแรงจูงใจและการให้รางวัลอย่างต่อเน่ือง โดย

เน้นให้สามารถเช่ือมโยงกับความสาเร็จของหน้าท่ีในการปฏิบัติตาม

การควบคมุ ภายในดว้ ย

๕.๔ ผู้บริหารได้พิจารณาไม่ให้มีการสร้างแรงกดดันท่ีมากเกินไปใน

การปฏบิ ตั ิหน้าทข่ี องบุคลากรแต่ละคน



สรุปผลการประเมนิ ดา้ นสภาพแวดลอ้ มการควบคุม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ดา้ นการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
ที่ คาถาม ใช่/มี ไม่ใช่/ไม่มี คาอธบิ าย
๖ หน่วยงานระบุวัตถุประสงค์การควบคุมภายในของการปฏิบัติงาน ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ

หน่วยงานไว้อย่างชัดเจน และเพียงพอท่ีจะสามารถระบุและประเมินความเส่ียงท่ีเก่ียวข้องกับ
วัตถปุ ระสงค์
๖.๑ มีการกาหนดวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติงานในแต่ละภารกิจ
ครอบคลุมทุกภารกิจอย่างชัดเจน เพ่ือให้สามารถระบุและประเมิน
ความเสี่ยงต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการบรรลวุ ัตถุประสงคข์ องหน่วยงาน
๖.๒ หน่วยงานสามารถปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีส่วนราชการ
โดยแสดงได้ว่ารายการในรายงานทางการเงินมีตัวตนจริง ครบถ้วน
แสดงถึงสิทธิหรือภาระผูกพันของหน่วยงานได้ถูกต้อง และเปิดเผย
ข้อมูลครบถว้ น ถกู ตอ้ ง
๗ หน่วยงานระบุความเสี่ยงที่มีผลต่อการบรรลุวัตถุประสงค์การควบคุมภายในอย่างครอบคลุมท้ังหน่วยงาน
และวิเคราะห์ความเส่ียงเพอื่ กาหนดวิธกี ารจัดการความเส่ียงนั้น
๗.๑ มีการระบุความเส่ียง ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการดาเนินงานตาม
ภารกิจ ทงั้ ระดับหนว่ ยงาน กลมุ่ ฝ่าย งาน
๗.๒ มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงท่ีอาจเกิดจากทั้งปัจจัยภายในและ
ปัจจัยภายนอกหน่วยงาน ซ่ึงรวมถึงความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ด้านการ
ดาเนินงาน ด้านการรายงาน ด้านการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ และด้าน
เทคโนโลยสี ารสนเทศ



ท่ี คาถาม ใช่/มี ไมใ่ ช่/ไมม่ ี คาอธิบาย
๗.๓ ผู้บริหารทกุ ระดับมีส่วนร่วมในการบริหารความเสีย่ ง
๗.๔ หน่วยงานได้ประเมินความสาคัญของความเสี่ยง โดยพิจารณา
ทงั้ โอกาสเกดิ เหตกุ ารณแ์ ละผลกระทบที่อาจเกดิ ขน้ึ
๗.๕ หน่วยงานมีมาตรการ แนวทางหรือวิธีจดั การความเส่ยี ง โดยอาจ
เป็นการยอมรับความเสี่ยงน้ัน (acceptance) การลดความเส่ียง (reduction)
การหลีกเลี่ยงความเสีย่ ง (avoidance) หรอื การรว่ มรบั ความเสี่ยง (sharing)

๘ หน่วยงานพิจารณาโอกาสที่อาจเกิดการทุจริต เพื่อประกอบการประเมินความเส่ียงที่ส่งผลต่อการบรรลุ
วัตถุประสงค์
๘.๑ มีการประเมินโอกาสท่ีจะเกิดการทุจริตขึ้น โดยครอบคลุมการ
ทุจริตแบบต่าง ๆ เช่น การจัดทารายงานทางการเงินเท็จ การทาให้
สูญเสียทรัพย์สิน การคอร์รัปชัน การที่ผู้บริหารสามารถฝ่าฝืนระบบ
คว บคุมภ ายใน (management override of internal controls)
การเปล่ียนแปลงข้อมูลในรายงานท่ีสาคัญ การได้มาหรือใช้ไปซึ่ง
ทรัพย์สินโดยไม่ถูกต้อง เป็นตน้
๘.๒ มกี ารทบทวนเปา้ หมายการปฏบิ ัติงานอยา่ งรอบคอบโดยพิจารณา
ความเป็นไปได้ของเป้าหมายท่ีกาหนดแล้ว รวมทั้งได้พิจารณาความ
สมเหตุสมผลของการให้สิ่งจูงใจหรือผลตอบแทนแก่บุคลากรของ
หน่วยงานแล้วด้วยว่า ไม่มลี ักษณะส่งเสรมิ ให้บุคลากรกระทาไม่เหมาะสม
เชน่ ไม่ตัง้ เปา้ หมายการดาเนินงานไว้สูงเกนิ จรงิ จนทาให้เกิดแรงจงู ใจใน
การตกแตง่ ตัวเลขเพอื่ ใหร้ ายงานได้ว่าได้ผลตามเปา้ เปน็ ต้น
๘.๓ หน่วยงานตรวจสอบภายในไดพ้ จิ ารณาเกี่ยวกับโอกาสในการเกิด
ทุจริต และมาตรการท่ีหน่วยงานดาเนินการเพ่ือป้องกันหรือแก้ไข
การทจุ ริต
๘.๔ มีการสื่อสารให้บุคลากรของหน่วยงานทุกคนเข้าใจและปฏิบัติ
ตามนโยบายและแนวปฏบิ ตั ิที่กาหนดไว้

๙ หน่วยงานระบุและประเมินการเปล่ียนแปลงที่อาจมีผลกระทบอย่างมนี ัยสาคัญต่อระบบการควบคุมภายใน
๙.๑ มีการประเมินการเปลีย่ นแปลงจากปัจจยั ภายนอก ที่อาจมีผลกระทบ
ต่อการดาเนินงานตามภารกิจ การให้บริการ การควบคุมภายใน และ
การรายงานทางการเงิน ตลอดจนได้กาหนดมาตรการตอบสนองต่อ
การเปลยี่ นแปลงนั้นอยา่ งเพียงพอแล้ว



ที่ คาถาม ใช่/มี ไม่ใช่/ไม่มี คาอธบิ าย
๙.๒ มกี ารประเมนิ การเปลี่ยนแปลงจากปจั จัยภายในทีส่ าคัญ ท่ีอาจมี
ผลกระทบต่อการดาเนินงานตามภารกิจ การให้บริการ การควบคุม
ภายใน และการรายงานทางการเงิน ตลอดจนได้กาหนดมาตรการ
ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงนนั้ อยา่ งเพียงพอแล้ว

สรุปผลการประเมินด้านการประเมินความเสี่ยง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ด้านกจิ กรรมการควบคมุ (Control Activities)
ท่ี คาถาม ใช่/มี ไม่ใช่/ไมม่ ี คาอธิบาย
๑๐ หน่วยงานระบุและพัฒนากิจกรรมการควบคุม เพื่อลดความเส่ียงในการบรรลุวัตถุประสงค์ให้อยู่ใน
ระดับทยี่ อมรบั ได้
๑๐.๑ กิจกรรมการควบคุมของหน่วยงานมีความเหมาะสมกับความเส่ียง
และลักษณะเฉพาะของหน่วยงาน เช่น สภาพแวดล้อม ความซับซ้อน
ของงาน ลักษณะงาน ขอบเขตการดาเนินงาน รวมถงึ ลักษณะเฉพาะอนื่ ๆ
๑๐.๒ มกี ารกาหนดกจิ กรรมการควบคมุ ภายในเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร
และครอบคลุมกระบวนการต่าง ๆ อย่างเหมาะสม เช่น มีนโยบาย
ระเบียบ วิธีปฏิบัติงานเก่ียวกับการรับเงิน และนาส่งเงิน การพัสดุ
การบรหิ ารงานบคุ คล
๑๐.๓ มีการกาหนดขอบเขต อานาจหน้าท่ี และลาดับชั้นการอนุมัติ
ของผู้บริหารในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน รัดกุม เพื่อให้สามารถ
ป้องกันการทจุ ริตได้ เช่น มกี ารกาหนดขนาดวงเงิน และอานาจอนุมัติ
ของผู้บริหารแต่ละระดบั ข้ันตอนในการอนุมัตโิ ครงการมูลค่าสูงอ่ืนๆ
ข้ันตอนการจัดซ้ือและวิธีการคัดเลือกผขู้ าย การบนั ทกึ ข้อมลู รายละเอยี ด
การตดั สนิ ใจจัดซอ้ื ข้ันตอนการเบิกจ่ายวสั ดอุ ุปกรณ์ เปน็ ตน้



ท่ี คาถาม ใช่/มี ไม่ใช่/ไม่มี คาอธบิ าย
๑๐.๔ มีการกาหนดกิจกรรมการควบคุมภายใน ที่มีความหลากหลาย
อย่างเหมาะสม เช่น การควบคุมแบบ manual และ automated
หรอื การควบคมุ แบบป้องกนั และติดตาม เปน็ ตน้
๑๐.๕ หน่วยงานกาหนดให้มีการควบคุมภายในในทุกระดับของ
หน่วยงาน เชน่ กล่มุ งาน ฝา่ ย เป็นต้น
๑๐.๖ มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรบั ผดิ ชอบในงาน ๓ กลุ่ม ต่อไปนี้
ออกจากกนั โดยเด็ดขาด เพื่อเป็นการตรวจสอบซงึ่ กันและกัน กลา่ วคือ
(๑) หน้าท่อี นุมัติ /อนุมตั ิเบิก /อนมุ ตั ิจา่ ย/อนมุ ตั ิซอ้ื จ้าง
(๒) หน้าท่ีดาเนินการ/การเบิก/การจ่าย /การบันทึกรายการใน
ระบบ GFMIS/จัดทาบญั ชี
(๓) หนา้ ที่ในการดูแลจัดเกบ็ ทรัพย์สนิ (รวมถึงเงินสดด้วย)

๑๑ หน่วยงานระบุและพัฒนากิจกรรมการควบคมุ ทวั่ ไปด้านเทคโนโลยี เพอ่ื สนบั สนุนการบรรลุวตั ถุประสงค์
๑๑.๑ มีกาหนดกิจกรรมการควบคมุ ทั่วไป ในสว่ นงานท่เี กย่ี วข้องกับ
กระบวนการปฏิบัติงานที่ใช้เทคโนโลยี เช่น gfmis e-payment
e-gp ระบบการจ่ายเงนิ เดือน รวมถงึ ระบบปฏบิ ัตกิ ารตา่ ง ๆ
๑๑.๒ หน่วยงานมีกาหนดการควบคุมของโครงสร้างพ้ืนฐานของ
ระบบเทคโนโลยใี หม้ ีความเหมาะสม
๑๑.๓ มีการกาหนดกิจกรรมการควบคุมด้านความปลอดภัยของระบบ
เทคโนโลยใี ห้มคี วามเหมาะสม
๑๑.๔ มีการกาหนดกิจกรรมการควบคุม กระบวนการได้มา การพัฒนา
และบารงุ รักษาระบบเทคโนโลยีใหม้ คี วามเหมาะสม

๑๒ หนว่ ยงานจัดให้มกี ิจกรรมการควบคุม โดยกาหนดไวใ้ นนโยบาย ประกอบด้วย ผลสาเร็จทีค่ าดหวัง และ
ขน้ั ตอนการปฏบิ ัติงาน เพื่อนานโยบายไปสู่การปฏิบตั ิจริง
๑๒.๑ หน่วยงานมีการกาหนดนโยบาย ผลสาเร็จท่ีคาดหวัง และ
ข้ันตอนการปฏิบัติงาน เพ่ือให้หน่วยงานกาหนดกิจกรรมการควบคุม
ในทุกภารกจิ โดยคานึงถึงความถูกตอ้ ง โปร่งใส และประโยชน์สูงสุด
ของผูร้ บั บรกิ าร
๑๒.๒ หน่วยงานมีกระบวนการติดตามดูแล รวมทั้งกาหนดแนวทาง
ในการติดตามดูแลให้เป็นฝ่ายบริหารถือปฏิบัติ เพื่อติดตามดูแลการ
ดาเนินงานตามกิจกรรมการควบคุมในทุกภารกิจ ของทุกส่วนงาน



ที่ คาถาม ใช่/มี ไมใ่ ช่/ไมม่ ี คาอธบิ าย
ย่อยของหน่วยงาน ว่าเป็นไปตามนโยบาย ได้รับผลสาเร็จที่คาดหวัง
และเป็นไปตามข้ันตอนการปฏิบตั ิงานท่ีกาหนด
๑๒.๓ มีการกาหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ ฝ่ายบริหาร และบุคลากร
ของหน่วยงาน ให้นานโยบายและกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้ได้รับ
ผลสาเรจ็ ตามที่คาดหวงั
๑๒.๔ หนว่ ยงานมกี ารถือปฏบิ ัติตามนโยบายและกระบวนการปฏิบตั งิ าน
ของหน่วยงานอย่างเหมาะสม บุคลากรมีความสามารถ มีความเข้าใจ
และกระบวนการปฏิบัติงาน ครอบคลุมถึงการแก้ไขข้อผิดพลาดที่อาจ
เกดิ ขน้ึ ในการปฏิบัตงิ าน เพือ่ ให้ไดร้ ับผลสาเร็จตามที่คาดหวงั
๑๒.๕ หน่วยงานกาหนดให้ต้องมีการทบทวนนโยบายและ
กระบวนการปฏิบัตใิ ห้มีความเหมาะสมอยู่เสมอ

สรุปผลการประเมนิ ด้านกิจกรรมการควบคุม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ดา้ นสารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication)
ที่ คาถาม ใช่/มี ไม่ใช่/ไมม่ ี คาอธิบาย
๑๓ หน่วยงานจัดทา หรือจัดหาและใช้สารสนเทศที่เก่ียวข้องและมีคุณภาพ เพื่อสนับสนุนให้มีการปฏิบัติตาม
การควบคมุ ภายในทีก่ าหนด
๑๓.๑ จัดให้มีระบบสารสนเทศและสายการรายงานสาหรับการ
บริหารและตดั สนิ ใจของฝา่ ยบรหิ ารของหน่วยงาน
๑๓.๒ มีการรายงานข้อมูลท่ีจาเป็นทั้งจากภายในและภายนอกให้
ผู้บรหิ ารทกุ ระดบั
๑๓.๓ มีการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินงาน การเงิน
และการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีไว้
อยา่ งถกู ตอ้ ง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบนั



ท่ี คาถาม ใช่/มี ไมใ่ ช่/ไมม่ ี คาอธบิ าย
๑๓.๔ มีการพิจารณาทั้งต้นทุนและประโยชน์ท่ีจะได้รับจากการจัดหา
และใช้สารสนเทศ รวมถึงปริมาณและความถูกต้องของข้อมูลที่ได้รับ

๑๔ หน่วยงานมีการสื่อสารภายในเก่ียวกับสารสนเทศ รวมถึงวัตถุประสงค์และความรับผิดชอบที่มีต่อ
การควบคุมภายในซง่ึ มคี วามจาเป็นในการสนับสนุนใหม้ ีการปฏิบตั ิตามการควบคมุ ภายในทกี่ าหนด
๑๔.๑ มีกระบวนการสื่อสารข้อมูลภายในอย่างมีประสิทธิภาพ และ
มีชอ่ งทางการส่ือสารที่เหมาะสม เพอื่ สนับสนุนการควบคมุ ภายใน
๑๔.๒ จดั ให้มีช่องทางการสอื่ สาร เพื่อใหบ้ ุคคลากรภายในหนว่ ยงาน
สามารถแจ้งข้อมูลหรือเบาะแสเก่ียวกับการฉ้อฉลหรือทุจริตภายใน
หนว่ ยงาน (whistle-blower hotline) ได้อย่างปลอดภยั
๑๔.๓ มีกลไกหรือช่องทางให้บุคลากรของหน่วยงานสามารถเสนอ
ข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการดาเนินงานของ
หนว่ ยงาน

๑๕ หน่วยงานมีการสื่อสารกับบุคคลภายนอกเกี่ยวกับเรื่องท่ีมีผลกระทบต่อการปฏิบัติตามการควบคุม
ภายในทีก่ าหนด
๑๕.๑ มีกระบวนการส่ือสารข้อมูลกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก
อยา่ งมีประสิทธิภาพ เพื่อสนับสนนุ การควบคุมภายใน เช่น การจัดให้
มีศูนยร์ บั เรอื่ งรอ้ งเรยี น ร้องทุกข์
๑๕.๒ จัดให้มีช่องทางการส่ือสารท้ังทางปกติและทางลับ เพื่อให้ผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียภายนอกสามารถแจ้งข้อมูลหรือเบาะแสเกี่ยวกับ
การฉ้อฉลหรือทุจริต (whistle-blower hotline) แก่หน่วยงานได้
อย่างปลอดภัย

สรุปผลการประเมนิ ดา้ นสารสนเทศและการส่อื สาร
…………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………….
…………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….……
………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….
……………………………………………………………………………………………………………………….………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….



ดา้ นกิจกรรมการติดตามผล (Monitoring Activities)
ที่ คาถาม ใช่ ไมใ่ ช่ คาอธิบาย
๑๖ หน่วยงานระบุ พัฒนา และดาเนินการประเมินผลระหว่างการปฏิบัติงาน และหรือการประเมินผลเป็นราย
ครง้ั ตามท่กี าหนด เพ่อื ใหเ้ กดิ ความมั่นใจว่าได้มีการปฏบิ ัติตามองค์ประกอบของการควบคุมภายใน
๑๖.๑ จัดให้มีกระบวนการติดตามการปฏิบัติตามจริยธรรมหน่วยงาน
และข้อกาหนดห้ามฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วยงานปฏิบัติตน
ใ น ลั ก ษ ณ ะ ที่ อ า จ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง ท า ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์
เช่น กาหนดให้แต่ละส่วนงานติดตามการปฏิบัติและรายงาน
ผู้บังคบั บญั ชา เป็นตน้
๑๖.๒ จัดให้มีการติดตามและตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบ
การควบคุมภายในท่ีวางไว้โดยการประเมินตนเอง และ/หรือ
การประเมนิ อิสระโดยผู้ตรวจสอบภายใน อย่างนอ้ ยปลี ะหนึ่งคร้งั
๑๖.๓ มีการประเมินผลความเพียงพอและประสิทธิผลของ
การควบคุมภายใน และประเมินการบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ
หน่วยงานในลักษณะการประเมินการควบคุมด้วยตนเอง และ/หรือ
การประเมินการควบคมุ อยา่ งเป็นอสิ ระ
๑๖.๔ ผู้ท่ีทาการติดตามและประเมินผลระบบการควบคุมภายใน
เปน็ ผมู้ คี วามรคู้ วามสามารถ และเขา้ ใจหนว่ ยงาน
๑๗ หน่วยงานประเมินผลและสื่อสารข้อบกพร่อง หรือจุดอ่อนของการควบคุมภายในอย่างทันเวลา
ตอ่ ผู้บริหาร เพือ่ ให้ผู้รับผดิ ชอบสามารถสง่ั การแก้ไขได้อย่างเหมาะสม
๑๗.๑ หน่วยงานมีการประเมินผลและส่ือสารข้อบกพร่องของการ
ควบคุมภายใน และดาเนินการเพื่อติดตามแก้ไขอย่างทันท่วงที หาก
การดาเนินงานที่เกดิ ขึ้นแตกต่างจากเป้าหมายหรือแนวทางที่กาหนด
ไว้อยา่ งมีนัยสาคัญ
๑๗.๒ มีการรายงานผลการประเมินและรายงานการตรวจสอบของ
ผ้ตู รวจสอบภายในโดยตรงต่อผู้บริหาร และมีการติดตามผลการแกไ้ ข
ข้ อ บ ก พ ร่ อ ง ที่ พ บ จ า ก ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ข อ ง
ผ้ตู รวจสอบภายใน
๑๗.๓ ผูบ้ ริหารตอ้ งรายงานต่อผู้กากับดแู ลทนั ทใี นกรณที ี่มกี ารทจุ ริต
หรือสงสัยว่า มีการทุจริต มีการไม่ปฏิบัติ ตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
และมติคณะรัฐมนตรี และมีการกระทาอ่ืนที่อาจมีผลกระทบต่อ
หน่วยงานอยา่ งมีนัยสาคญั



สรุปผลการประเมินดา้ นกจิ กรรมการติดตามผล
………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….



แบบ ปค. ๔
ระบุชอื่ หนว่ ยงาน....................

รายงานการประเมนิ องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

สาหรบั ระยะเวลาดาเนนิ งาน ส้นิ สุดวันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕xx

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมนิ /ข้อสรปุ
๑. สภาพแวดล้อมการควบคมุ
..........................................................................
๒. การประเมนิ ความเสีย่ ง ..........................................................................
..........................................................................
๓. กิจกรรมการควบคุม ..........................................................................
..........................................................................
๔. สารสนเทศและการส่อื สาร ..........................................................................

..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................

..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................



องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป
๕. กิจกรรมการตดิ ตามผล
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................

ผลการประเมินโดยรวม
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

ลายมอื ช่ือ ........................................................
(..............................................)

ตาแหนง่ ผูอ้ านวยการ...................................
วนั ท่ี ....... เดือน .................. พ.ศ. ๒๕xx


Click to View FlipBook Version