The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เรื่องภาษาคอมพิวเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BAD BADTZ, 2019-09-09 04:34:25

เรื่องภาษาคอมพิวเตอร์

เรื่องภาษาคอมพิวเตอร์

เร่ืองภาษาคอมพวิ เตอร์

ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งได้เป็น 3 ระดบั คือ

1.ภาษาเคร่ือง (Machine Language)

การ เขียนโปรแกรมเพื่อสง่ั ให้คอมพิวเตอร์ทางานในยคุ แรก ๆ จะต้อง
เขียนด้วยภาษาซงึ่ เป็นทยี่ อมรับของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่เี รียกว่า
“ภาษาเคร่ือง” ภาษานีป้ ระกอบด้วยตวั เลขล้วน ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์
สามารถทางานได้ทนั ที ผ้ทู จี่ ะเขียนโปรแกรมภาษาเคร่ืองได้ ต้องสามารถ
จารหสั แทนคาสงั่ ตา่ ง ๆ ได้ และในการคานวณต้องสามารถจาได้วา่ จานวน
ตา่ ง ๆ ทใี่ ช้ในการคานวณนนั้ ถกู เก็บไว้ทต่ี าแหนง่ ใด ดงั นนั้ โอกาสทจ่ี ะเกิด
ความผิดพลาดในการเขียนโปรแกรมจงึ มีมาก นอกจากนีเ้คร่ือง
คอมพวิ เตอร์แตล่ ะระบบมีภาษาเคร่ืองท่ีแตกตา่ งกนั ออก ทาให้เกิดความ
ไม่สะดวกเมื่อมีการเปลย่ี นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์เพราะจะต้องเขียน โปรแกรม
ใหม่ทงั้ หมด

2. ภาษาระดบั ตา่ (Low Level Language)

เน่ือง จากภาษาเครื่องเป็นภาษาทีม่ ีความยงุ่ ยากในการเขียนดงั ได้
กลา่ วมาแล้ว จงึ ไม่มีผ้นู ยิ มและมีการใช้น้อย ดงั นนั้ ได้มีการพฒั นา
ภาษาคอมพิวเตอร์ขนึ ้ อีกระดบั หนงึ่ โดยการใช้ตวั อกั ษรภาษาองั กฤษเป็นรหสั
แทนการทางาน การใช้และการตงั้ ชื่อตวั แปรแทนตาแหนง่ ท่ีใช้เก็บจานวนตา่ ง

ๆ ซงึ่ เป็นคา่ ของตวั แปรนนั้ ๆ การใช้สญั ลกั ษณ์ชว่ ยให้การเขียนโปรแกรมนี ้
เรียกวา่ “ภาษาระดบั ต่า”ภาษาระดบั ตา่ เป็นภาษาทม่ี ีความหมายใกล้เคยี งกบั
ภาษาเคร่ือง มากบางครงั้ จงึ เรียกภาษานีว้ า่ “ภาษาอิงเครื่อง” (Machine –
Oriented Language) ตวั อย่างของภาษาระดบั ต่า ได้แก่ ภาษาแอสเซมบลี
เป็นภาษาท่ใี ช้คาในอกั ษรภาษาองั กฤษเป็นคาสง่ั ให้เครื่องทางาน เช่น ADD
หมายถึง บวก SUB หมายถงึ ลบ เป็นต้น การใช้คาเหลา่ นีช้ ว่ ยให้การเขียน
โปรแกรมง่ายขนึ ้ กวา่ การใช้ภาษาเครื่องซง่ึ เป็นตวั เลขล้วน ดงั ตารางแสดง
ตวั อย่างของภาษาระดบั ตา่ และภาษาเคร่ืองทีส่ งั่ ให้มีการบวกจานวน ทเ่ี ก็บอยู่
ในหนว่ ยความจา

3.ภาษาระดบั สูง (High Level Language)

ภาษา ระดบั สงู เป็นภาษาท่ีสร้างขนึ ้ เพ่ือชว่ ยอานวยความสะดวกในการ
เขียนโปรแกรม กลา่ วคือลกั ษณะของคาสงั่ จะประกอบด้วยคาตา่ ง ๆ ใน
ภาษาองั กฤษ ซง่ึ ผ้อู า่ นสามารถเข้าใจความหมายได้ทนั ที ผ้เู ขียนโปรแกรมจงึ
เขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดบั สงู ได้ง่ายกว่าเขยี นด้วยภาษาแอ สเซมบลหี รือ
ภาษาเคร่ือง ภาษาระดบั สงู มีมากมายหลายภาษา อาทเิ ชน่ ภาษาฟอร์แทรน
(FORTRAN) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาเบสกิ
(BASIC) ภาษาวิชวลเบสกิ (Visual Basic) ภาษาซี (C) และภาษาจาวา
(Java) เป็นต้น โปรแกรมทเี่ ขียนด้วยภาษาระดบั สงู แตล่ ะภาษาจะต้องมี
โปรแกรมที่ทาหน้าที่แปล ภาษาระดบั สงู ให้เป็นภาษาเครื่อง เชน่ โปรแกรม

แปลภาษาฟอร์แทรนเป็นภาษาเคร่ือง โปรแกรมแปลภาษาปาสคาลเป็น
ภาษาเคร่ือง คาสงั่ หนง่ึ คาสง่ั ในภาษาระดบั สงู จะถกู แปลเป็นภาษาเคร่ือง
หลายคาสงั่
5. ภาษาธรรมชาติ

เป็น ภาษาโปรแกรมยคุ ท่ี 5 ซง่ึ คล้ายกบั ภาษาพดู ตามธรรมชาตขิ องคน
การเขียนโปรแกรมงา่ ยท่สี ดุ คอื การเขียนคาพดู ของเราเองวา่ เราต้องการอะไร
ไมต่ ้องใช้คาสงั่ งานใดๆ เลย

ตวั อย่างภาษาในยคุ ตา่ งๆ ดงั นี ้

Fortran : ภาษาระดบั สงู ภาษาแรก เป็นภาษาโปรแกรมทใี่ ช้งานด้าน
วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และด้านคณิตศาสตร์ ภาษาฟอร์เทนจะ
ประกอบด้วยข้อความ คาสงั่ ทีละบรรทดั

Colbol : ภาษาโปรแกรมสาหรับธรุ กิจ ท่ีมลี กั ษณะคล้ายกบั ภาษาองั กฤษ
และทส่ี าคญั คือ เป็นภาษาโปรแกรมที่อิสระจากเคร่ือง หมายความวา่
โปรแกรมทเ่ี ขียนขนึ ้ ใช้งานบนคอมพวิ เตอร์ชนิดหนงึ่ เพียงแคป่ รับปรุงเลก็ น้อย
ก็สามารถรันได้บนคอมพิวเตอร์อีกชนิดหนง่ึ

Basic : ภาษาโปรแกรมสาหรับผ้เู ร่ิมต้น เป็นภาษาโปรแกรมทเี่ รียนรู้งา่ ย ไม่
ซบั ซ้อน เหมาะสาหรับใช้ในวงการศกึ ษา

Pascal : เป็นภาษาสาหรบั การเรียนการสอนโดยเฉพาะ เป็นภาษาท่เี ขียนงา่ ย
ใช้ถ้อยคาน้อย

Ada : ภาษามาตรฐาน ซงึ่ พฒั นาขนึ ้ โดย โปรแกรมเมอร์คนแรก คอื เคาต์
Add Lovelace เป็นภาษาทป่ี ระสบความเร็จกบั งานด้านธุรกิจ

C : ภาษาสมบั ใหม่ เป็นภาษาท่ใี ช้สาหรับเขียนโปรแกรมระบบปฎบิ ตั กิ าร
เหมาะสาหรับโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถสงู

ALGOL : เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมด้านวิทยาศาสตร์

LISP : เป็นภาษาที่ใช้เม่ือประมวลผลด้านสญั ลกั ษณ์, อกั ขระ,หรือคาตา่ งๆ
ซง่ึ เป็นการได้ตอบระหวา่ งคนกบั คอมพิวเตอร์ ภาษานีน้ ิยมใช้เขียนโปรแกรม
ด้านปัญญาประดษิ ฐ์

Prolog : เป็นภาษาโปรแกรมสาหรับงานด้านปัญญาประดษิ ฐ์ ซง่ึ แทนการใช้
ภาษาLISP

PL/1 : เป็นภาษาท่ีเรียนรู้ง่าย ใช้งานทงั้ ด้านวทิ ยาศาสตร์ และด้านธรุ กิจ
ดงั นนั้ ภาษานีจ้ ะมีขนาดใหญ่ มี option มาก

ALP : เป็นภาษท่ีเหมาะสมกบั การทาตาราง มีสญั ลกั ษณ์ตา่ งๆ มาก

Logo : เป็นภาษาย่อยของ lisp เป็นโปรแกรมสาหรับเดก็ มกี ารสนทนาโต้ตอบ
กบั คอมพวิ เตอร์ โดยใช้ "เตา่ " เป็นสญั ลกั ษณ์โต้ตอบกบั คาสงั่ ง่ายเชน่
forward, left

Pilot : เป็นภาษาโปรแกรมทีน่ ยิ มใช้มากทส่ี ดุ ในการเขียนโปรแกรมบทเรียน
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน(CAI) เช่น งานเก่ียวกบั คาสง่ั ฝึกหดั การทดสอบ เป็น
ต้น

Smalltalk : เป็นภาษาเชงิ โต้ตอบกบั เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยการจา
และการพิมพ์ เป็นภาษาท่ีสนบั สนนุ ระบบคอมพวิ เตอร์ภาพ เป็นภาษาเชงิ วตั ถุ
ไมใ่ ชเ่ ชงิ กระบวนการ

Forth : เป็นภาษาสาหรับงานควบคมุ แบบทนั ที เช่นการแนะนากล้องดารา
ศาสตร์ และเป็นภาษาโปรแกรมทมี่ ีความเร็วสงู

Modula-2 : คล้ายคลงึ กบั ภาษาปาสคาล ออกแบบมาเพ่ือให้เขียนซอฟต์แวร์
ระบบ

RPG : เป็นภาษาเชิงปัญหา ออกแบบมาเพ่ือใช้แก้ปัญหาการทารายงานเชงิ
ธรุ กิจ เชน่ การปรับปรุงแฟ้ มข้อมลู


Click to View FlipBook Version