The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อบังคับสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนสยามริคเก้น ร่างข้อบังคับ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sukpatra.s, 2022-12-18 20:56:02

ข้อบังคับสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนสยามริคเก้น ร่างข้อบังคับ

ข้อบังคับสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนสยามริคเก้น ร่างข้อบังคับ

(ตราของสหกรณ)์

ขอ้ บังคบั สหกรณ์เครดติ ยเู น่ยี นสยามริคเก้นอนิ ดัสเตร้ียล จำกดั
พ.ศ.2565

ตามมติของท่ีประชุมใหญ่สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนสยามริคเก้นอินดัสเตรี้ยล จำกัด เม่ือวันท่ี....…...
เดือน....…….…………........ พ.ศ. ....…..... ได้ลงมติเป็นเอกฉันท์ (หรือด้วยคะแนนเสียงเกินกว่าสองในสาม)
ให้แก้ไขข้อบังคับโดยยกเลิกข้อบังคับสหกรณ์เสียท้ังหมดและให้ใช้ข้อบังคับฉบับน้ีแทนซ่ึงนายทะเบียน
สหกรณไ์ ด้รับจดทะเบียนแล้วมคี วามดังน้ี

ขอ้ บังคบั นเี้ รยี กว่า “ข้อบังคบั สหกรณเ์ ครดิตยเู นีย่ นสยามรคิ เก้นอนิ ดัสเตรี้ยล จำกดั พ.ศ.…..”
ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันท่ีนายทะเบียนสหกรณ์รับจดทะเบียน ให้ยกเลิกข้อบังคับ
สหกรณ์ทม่ี ีอยกู่ ่อนขอ้ บังคบั สหกรณ์ฉบบั นี้ใช้บังคับนับแต่วันที่ขอ้ บังคับสหกรณฉ์ บบั นี้มผี ลบงั คบั ใช้

ขอ้ บังคับสหกรณ์ หน้า 2
ประเภทสหกรณ์เครดิตยเู นย่ี น

ขอ้ บังคบั

สหกรณ์เครดิตยูเนยี่ นสยามริคเก้นอินดสั เตร้ยี ล จำกดั

พ.ศ. ……………

หมวด 1

ชอ่ื ประเภทและท่ีตงั้ สำนักงาน

ข้อ 1 ชอ่ื ประเภทและทต่ี ้งั สำนกั งาน

ช่อื สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนสยามริคเกน้ อนิ ดสั เตร้ยี ล จำกัด

ประเภท สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน

ท่ีตง้ั สำนกั งาน(ใหญ)่ เลขที่ 700/361 หมู่ท่ี 6 ตำบลดอนหัวฬอ่

อำเภอ เมอื ง จงั หวดั ชลบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ 20000

ท้องที่ดำเนนิ งาน อำเภอ เมือง จงั หวัด ชลบุรี

สหกรณ์อาจย้ายท่ีตงั้ สำนักงานได้ตามท่คี ณะกรรมการดำเนนิ การพิจารณาเห็นสมควร โดยแจ้ง
ให้นายทะเบียนสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ และกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ทราบ และให้ปิดประกาศไว้ท่ี
สำนักงานของสหกรณ์เดิม สำนักงานส่วนราชการสหกรณ์ และที่ว่าการอำเภอแห่งท้องที่ท่ีสหกรณ์ตั้งอยู่
เป็นเวลาไม่นอ้ ยกว่าสามสบิ วัน และใหด้ ำเนนิ การแกไ้ ขเพ่ิมเติมข้อบังคับในการประชมุ ใหญ่คราวต่อไปด้วย

ตราของสหกรณ์1 ตราของสหกรณ์มรี ูปลักษณะ ดังนี้
………………………………………………….……………………………..
…………………………………………………….…………………………..
……………………………………………………….………………………..

1 ตราของสหกรณ์ทีก่ ำหนดขึน้ ถือใชจ้ รงิ ในข้อบังคับต้องตรงกบั ที่ใชป้ ระทบั ตราในการทำนติ กิ รรมและมสี ีเดยี ว

ข้อบังคบั สหกรณ์ หน้า 3
ประเภทสหกรณเ์ ครดิตยูเน่ียน ……………………………………………………….………………………..

หมวด 2

วตั ถุประสงค์และอำนาจกระทำการ

ขอ้ 2 วัตถุประสงค์ สหกรณ์น้ีมีวัตถุประสงค์ส่งเสริมให้สมาชิกช่วยตนเอง เพ่ือดำเนินธุรกิจ
ร่วมกันและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยใช้หลักคุณธรรมพื้นฐานห้าประการ ได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความ
เสียสละ ความรับผิดชอบ ความเห็นใจกัน และความวางใจกัน รวมท้ังจริยธรรมอันดีงาม อันมีการ
ประหยดั เป็นต้น เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่สมาชิกและสว่ นรวมทงั้ ทางเศรษฐกจิ และสงั คม จนสามารถอยู่ดี
กินดี มีสนั ติสขุ รวมทั้งในข้อตอ่ ไปน้ีดว้ ย

(1) สง่ เสริมการออมทรพั ย์ของสมาชกิ
(2) จดั หาทนุ และบรกิ ารสินเชื่อเพอื่ การประกอบอาชีพและการดำรงชีพ
(3) ทำหรือจัดหาปัจจัยการผลิต รวมซื้อ รวมขาย สินค้าและบริการของสมาชิก
รวมทง้ั จำหนา่ ยสินคา้ อปุ โภคบริโภค หรอื แปรรปู ผลผลิตของสมาชิก
(4) ร่วมมือกับสหกรณ์อื่น ชุมนุมสหกรณ์ สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย องค์กร
ชุมชน ภาคเอกชน และหน่วยงานของรัฐเพือ่ ส่งเสรมิ และปรบั ปรงุ กจิ การของสหกรณ์
(5) สง่ เสรมิ การเรยี นร้แู ละการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของสมาชิกและชุมชน

ขอ้ 3 อำนาจกระทำการของสหกรณ์ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ ให้สหกรณ์มี
อำนาจกระทำการดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) รับฝากเงนิ จากสมาชกิ หรือสหกรณ์อืน่ หรือสมาคมฌาปนกจิ สงเคราะห์
(2) ใหส้ มาชกิ กูย้ มื เงนิ ตามความจำเปน็ หรอื มีประโยชน์
(3) กู้ยืมเงินเพอ่ื ใช้เป็นทุนดำเนินงานของสหกรณ์
(4) ใหส้ หกรณอ์ ื่นกู้ยมื เงิน
(5) ออกตวั๋ สัญญาใช้เงิน
(6) ค้ำประกันเงินกู้ หรือสินเชื่อของสมาชิก รวมท้ังการค้ำประกันการให้เช่าซ้ือ หรือ
ใหย้ ืมทรัพย์สนิ อื่นแก่สมาชิก
(7) ซื้อหุ้นของธนาคารซ่งึ มวี ัตถุประสงคเ์ พ่อื ใหค้ วามชว่ ยเหลือทางการเงินแก่สหกรณ์
(8) ซอ้ื หนุ้ ของชุมนุมสหกรณ์

ขอ้ บังคบั สหกรณ์ หนา้ 4
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยูเน่ียน

(9) ซ้ือหุ้นของสถาบันซึ่งประกอบธุรกิจอันทำให้เกิดความสะดวกหรือส่งเสริมความ
เจรญิ แก่กิจการของสหกรณ์

(10) ซอ้ื หลักทรพั ย์รัฐบาลหรือรฐั วิสาหกิจ
(11) ฝากหรือลงทุนอย่างอ่ืนตามกฎหมายและตามท่ีคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์
แห่งชาติกำหนด
(12) ใหส้ วัสดกิ ารและการสงเคราะห์ตามสมควรแกส่ มาชิกและครอบครัว
(13) จัดให้มีสวัสดิการคมุ้ ครองการออมทรพั ย์ คมุ้ ครองเงนิ กู้ของสมาชิก
(14) ดำเนนิ การใหก้ ยู้ ืมเพื่อการเคหะ
(15) ร่วมมือกับทางราชการ สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย ชุมนุมสหกรณ์และ
สหกรณอ์ ่นื ทั้งในและตา่ งประเทศ เพือ่ สง่ เสริมและปรับปรงุ กจิ การของสหกรณ์
(16) ให้ความชว่ ยเหลือทางวชิ าการแกส่ มาชิก
(17) ขอหรือรับความช่วยเหลือทางวิชาการจากทางราชการ หน่วยงานของต่างประเทศ
หรอื บคุ คลอ่นื ใด
(18) กระทำการต่าง ๆ ตามท่ีอนุญาตไว้ในกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ เพ่ือให้เป็นไปตาม
วตั ถุประสงค์ทกี่ ล่าวข้างต้น รวมถึงซื้อ ถอื กรรมสทิ ธ์หิ รือทรัพย์สิทธิครอบครอง กู้ ยืม โอนหรือรบั โอน ยืม
หรอื ใหย้ ืม เช่าหรือให้เชา่ เชา่ ซ้ือหรอื ให้เช่าซ้ือ จำนองหรือรับจำนอง จำนำหรอื รับจำนำขายหรอื จำหน่าย
ซ่งึ ทรพั ยส์ นิ แกส่ มาชิกหรอื ของสมาชกิ

หมวด 3

ทุน

ข้อ 4 ที่มาของทุน สหกรณอ์ าจหาทนุ เพอ่ื ดำเนินงานตามวัตถปุ ระสงค์โดยวิธีดังตอ่ ไปนี้
(1) ออกหนุ้ โดยวิธีการขายหนุ้ ใหแ้ ก่สมาชกิ
(2) รบั ฝากเงนิ ตามกฎหมายวา่ ด้วยสหกรณ์
(3) กยู้ ืมเงิน หรือรับเงนิ จากการออกตวั๋ สญั ญาใช้เงิน
(4) สะสมทนุ สำรองและทุนอน่ื ๆ
(5) รับเงินอุดหนนุ หรือทรพั ยส์ นิ ทม่ี ผี ยู้ กให้

หุ้น

ข้อ 5 การออกห้นุ สหกรณ์ออกหนุ้ ไดโ้ ดยไมจ่ ำกัดจำนวน มมี ลู ค่าหุ้นละ หน่งึ ร้อย บาท

ขอ้ บังคบั สหกรณ์ หนา้ 5
ประเภทสหกรณเ์ ครดิตยเู นีย่ น

ข้อ 6 การถือหุ้น สมาชิกแต่ละคนต้องถือหุ้นในสหกรณ์เมื่อแรกเข้า อย่างน้อย 1 หุ้น และ
ถือหนุ้ เปน็ ประจำตามขอ้ สัญญาทร่ี ะบไุ ว้ในใบสมัครเขา้ เปน็ สมาชกิ

นอกจากการถือหุ้นตามความในวรรคแรกสมาชิกจะซื้อหุ้นเพ่ิมอีกเมื่อใด จำนวนเท่าใดก็ย่อมทำได้
โดยแสดงความจำนงเป็นหนังสือต่อคณะกรรมการดำเนินการ แต่จำนวนหุ้นท้ังหมดต้องไม่เกิน
หน่ึงในหา้ ของหุน้ ทีช่ ำระแลว้ ทงั้ หมด

เงินสะสมซ่ึงสมาชิกได้สะสมไว้ตามข้อ 32 วรรคสอง ให้สหกรณ์แปลงเป็นหุ้นโดยให้สมาชิกน้ัน ๆ
เป็นผู้ถือหุ้นหน่ึงหุ้นทุกจำนวนหน่ึงร้อยบาท ต้ังแต่วันที่คณะกรรมการอำนวยการมีมติรับผู้สมัครเข้าเป็น
สมาชกิ

สมาชิกจะขายหรือโอนหุ้นซ่ึงตนถือให้ผอู้ ่นื ไม่ได้ นอกจากท่ีกล่าวไว้ในข้อ 35 และจะถอนคนื หุ้น
ในระหว่างทีต่ นเปน็ สมาชิกอยไู่ ม่ได้

เมื่อสมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลง สหกรณ์มีสิทธินำเงินตามมูลค่าหุ้นท่ีสมาชิกมีอยู่มาหัก
กลบลบหนี้ทสี่ มาชกิ ผูกพนั ตอ้ งชำระหน้แี ก่สหกรณไ์ ด้และใหส้ หกรณ์มีฐานะเปน็ เจา้ หนบี้ ุริมสิทธิพิเศษเหนือ
เงินค่าหุ้นน้ัน

ข้อ 7 หลักฐานการถือหุ้น สหกรณ์จะออกสมุดประจำตัวให้สมาชิกยึดถือไว้เป็นหลักฐาน
สมาชิกจะต้องเก็บรักษาสมุดประจำตัวน้ีไว้ในที่ปลอดภัย และนำมาให้สหกรณ์ลงรายการให้ทุกคราว
ทถ่ี อื หนุ้ เพม่ิ ข้อกำหนดต่าง ๆ เกี่ยวกับการออกสมุดประจำตวั สมาชกิ และการลงรายการในสมุดประจำตัว
สมาชิก ให้เปน็ ไปตามทก่ี ำหนดไวใ้ นระเบียบของสหกรณ์

ขอ้ 8 การแจ้งยอดจำนวนหุ้น สหกรณ์จะแจ้งยอดจำนวนหุ้นที่สมาชิกชำระเต็มมูลค่าแล้ว
ใหส้ มาชกิ แตล่ ะคนทราบทกุ สิน้ ปีทางบญั ชีของสหกรณ์

หมวด 4

การดำเนินงาน

ขอ้ 9 การรับฝากเงิน สหกรณ์อาจรับฝากเงินประเภทออมทรัพย์หรือประเภทประจำจาก
สมาชิก หรือสมาชิกสมทบ หรือสหกรณ์อ่ืน หรือสมาคมฌาปนกิจสงเคราะหซ์ ่ึงมีสมาชิกของสมาคมนั้นไม่
น้อยกว่าก่ึงหน่ึงเป็นสมาชิกของสหกรณ์ ทั้งน้ี ตามระเบียบของสหกรณ์ท่ีได้รับความเห็นชอบจากนาย
ทะเบยี นสหกรณ์

ขอ้ กำหนดเกี่ยวกับการรับฝาก ดอกเบ้ีย การถอนเงินฝากและอ่ืน ๆ ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้
ในระเบียบของสหกรณท์ ่ีไดร้ ับความเหน็ ชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์

ให้สหกรณด์ ำรงสินทรพั ย์สภาพคลอ่ งตามหลกั เกณฑ์ และวิธีการท่กี ำหนดในกฎกระทรวง

ข้อบังคับสหกรณ์ หนา้ 6
ประเภทสหกรณเ์ ครดิตยเู นยี่ น

ข้อ 10 การใหเ้ งินกู้ สหกรณอ์ าจใหเ้ งนิ กู้ แก่
(1) สมาชิกของสหกรณ์
(2) สหกรณอ์ ื่น

การให้เงินกู้แก่สมาชิกน้ันให้คณะกรรมการดำเนินการมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยให้เงินกู้ได้ตาม
ขอ้ บังคบั นี้และตามระเบียบของสหกรณ์

ข้อกำหนดต่าง ๆ เกี่ยวกับหลักเกณฑ์การพิจารณาวินิจฉัยให้เงินกู้ ประเภทและวงเงินให้กู้
หลักประกันสำหรับเงินกู้ ลำดับแห่งการให้เงินกู้ การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ การส่งเงินงวดชำระหน้ี
การควบคุมหลักประกัน การเรียกคืนเงินกู้ การสอบทานกระบวนการปฏิบัติงานท่ีเก่ียวข้องกับการทำ
ธุรกรรมดา้ นสินเช่อื หรือการให้เงนิ กู้ และอ่ืน ๆ ให้เป็นไปตามท่กี ำหนดไว้ในระเบียบของสหกรณ์

การให้เงินกู้แก่สหกรณ์อื่นนั้นคณะกรรมการดำเนินการจะพิจารณาให้กู้ได้ต่อเมื่อสหกรณ์
มีเงินทุนเหลือจากการให้เงินกู้แก่สมาชิกแล้ว ตามระเบียบของสหกรณ์ที่ได้รับความเห็นชอบจาก
นายทะเบยี นสหกรณ์

สมาชิกหรือสหกรณ์อื่นซ่ึงประสงค์จะขอกู้เงินจากสหกรณ์นี้ ต้องเสนอคำขอกู้ตามแบบและ
ระเบยี บของสหกรณ์ท่ีกำหนดไว้

ขอ้ 11 วัตถุประสงค์แห่งเงินกู้ เงินกู้ซึ่งให้แก่สมาชกิ ไม่ว่าประเภทใด ๆ จะให้ได้แต่เฉพาะเพ่ือ
การอันจำเป็นหรือมปี ระโยชนต์ ามทค่ี ณะกรรมการดำเนนิ การเห็นสมควร

ให้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ด ำ เ นิ น ก า ร ส อ ด ส่ อ ง แ ล ะ ก ว ด ขั น ก า ร ใช้ เงิ น กู้ ข อ ง ส ม า ชิ ก ใ ห้ ต ร ง ต า ม
วัตถุประสงคท์ ใี่ ห้เงนิ กู้น้นั

ข้อ 12 ประเภทแห่งเงนิ กู้ สหกรณ์อาจให้เงินก้แู กส่ มาชิกได้ตามประเภทดงั ต่อไปน้ี
(1) เงินกู้เพ่ือเหตุฉุกเฉิน ในกรณีท่ีสมาชิกมีเหตุฉุกเฉินหรือเหตุอันจำเป็นรีบด่วน

และมีความประสงค์ขอก้เู งนิ คณะกรรมการดำเนนิ การอาจให้เงนิ กเู้ พ่อื เหตุนนั้ ได้ตามระเบียบของสหกรณ์
(2) เงินกู้สามัญ ในกรณีท่ีสมาชิกมีความประสงค์ขอกู้เงินสำหรับใช้จ่าย เพื่อการ

อันจำเป็นหรือมีประโยชน์ต่าง ๆ คณะกรรมการดำเนินการอาจพิจารณาให้เงินกู้สามัญแก่สมาชิกน้ันได้
ตามระเบียบของ สหกรณ์

(3) เงินกู้พิเศษ เมื่อสหกรณ์มีฐานะการเงินก้าวหน้าพอท่ีจะช่วยเหลือให้เงินกู้เพื่อ
ส่งเสริมฐานะความมั่นคง หรือเพ่ือการเคหะ หรือก่อประโยชน์งอกเงยแก่สมาชิกได้ คณะกรรมการ
ดำเนินการอาจให้เงินกู้พิเศษแก่สมาชิกน้ันได้ตามท่ีเห็นสมควร โดยผู้กู้ต้องระบุวัตถุประสงค์แต่ละอย่าง
ของเงินกู้ประเภทน้ี ตลอดจนเงื่อนไขและวิธีการและต้องมีหลักประกันตามที่กำหนดไว้ในระเบียบของ
สหกรณ์

ขอ้ บงั คับสหกรณ์ หน้า 7
ประเภทสหกรณเ์ ครดิตยเู น่ยี น

เงินกู้ประเภทที่สหกรณ์ได้ให้แก่สมาชิกผู้กู้แต่ละคนในเวลาใดเวลาหนึ่ง จะมีจำนวน
ตน้ เงินเกินกว่าร้อยละสิบของเงนิ ค่าหุน้ ทั้งหมดของสหกรณ์ในเวลานั้นไม่ได้

ขอ้ 13 ดอกเบ้ียเงินกู้ ให้สหกรณ์เรียกดอกเบ้ียเงินกู้ทุกประเภทท่ีให้แก่สมาชิกในอัตราตามท่ี
กำหนดไวใ้ นระเบยี บของสหกรณ์

ข้อ 14 การควบคุมหลกั ประกันและการเรียกคืนเงินกู้ ให้คณะกรรมการดำเนนิ การตรวจตรา
ควบคุมให้เงินกู้ทุกรายมีหลักประกันตามท่ีกำหนดไว้ในระเบียบของสหกรณ์ และเมื่อคณะกรรมการ
ดำเนินการเห็นว่าหลกั ประกันสำหรับเงนิ ก้รู ายใดบกพร่อง ผู้ก้จู ะตอ้ งจดั การแกไ้ ขใหค้ ืนดภี ายในระยะเวลา
ทีค่ ณะกรรมการดำเนินการกำหนด

ในกรณีอย่างหน่ึงอย่างใดดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเงินกู้ไม่ว่าประเภทใด ๆ เป็นอันถึงกำหนดส่งคืน
โดยสิ้นเชิงพร้อมทั้งดอกเบ้ียในทันทีโดยมิพักต้องคำนึงถึงกำหนดเวลาท่ีให้ไว้ และให้คณะกรรมการ
ดำเนนิ การจดั การเรียกคืนโดยมชิ ักชา้

(1) เมื่อสมาชิกผูก้ ูอ้ อกจากสหกรณ์ไม่วา่ เพราะเหตุใด ๆ
(2) เม่ือปรากฏต่อคณะกรรมการดำเนินการว่าผู้กู้นำเงินกู้ไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ที่ให้
เงินกู้นนั้
(3) เม่ือคณะกรรมการดำเนินการเห็นว่าหลักประกันสำหรับเงินกู้รายใดเกิดบกพร่อง
และผกู้ ้มู ิได้จดั การแกไ้ ขใหค้ นื ดภี ายในระยะเวลาที่คณะกรรมการดำเนินการกำหนด
(4) เม่ือผิดนัดชำระหนี้เงินกู้ตามท่ีกำหนดถึงสามคราวติดต่อกัน โดยมิได้รับอนุมัติ
จากคณะกรรมการดำเนินการ
ในกรณีที่ผู้ค้ำประกันจะต้องรับผิดชำระหน้ีแทนผู้กู้ตามที่กล่าวในวรรคก่อน และไม่สามารถ
ชำระหนี้น้ันโดยส้ินเชิงได้ เม่ือผู้ค้ำประกันร้องขอ คณะกรรมการดำเนินการอาจผ่อนผันให้ผู้ค้ำประกัน
ชำระเป็นงวดจนครบจำนวนเงนิ กู้ แตท่ ัง้ นี้ต้องไมเ่ กินจำนวนงวดสำหรบั เงินกปู้ ระเภทนัน้ ๆ

การฝากหรอื การลงทุนเงนิ ของสหกรณ์

ข้อ 15 การฝากหรือการลงทุนของสหกรณ์ เงินของสหกรณ์นั้นสหกรณ์อาจฝากหรือลงทุนได้
ตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์และตามท่ีคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติกำหนด โดยให้คำนึงถึง
ความม่ันคงและประโยชนส์ งู สดุ ท่สี หกรณ์หรือสมาชิกจะไดร้ บั

ขอ้ บงั คับสหกรณ์ หนา้ 8
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยูเนีย่ น

การกยู้ มื เงินหรือการคำ้ ประกนั

ข้อ 16 วงเงนิ การกู้ยืมหรอื การค้ำประกัน ให้ท่ีประชุมใหญ่กำหนดวงเงินการกู้ยืมหรือการค้ำ
ประกันสำหรับปีหนึ่ง ๆ ไว้ตามที่จำเป็นและสมควรแก่การดำเนินงาน วงเงนิ ท่ีกำหนดดังว่านี้ ต้องเป็นไป
ตามที่กำหนดในกฎกระทรวงและไดร้ บั ความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์

ข้อ 17 การกู้ยมื เงนิ หรอื การค้ำประกนั สหกรณ์อาจกยู้ มื เงินหรือออกต๋ัวสัญญาใชเ้ งินหรือโดย
วธิ ีอ่ืนใดสำหรบั ใช้เป็นทนุ ดำเนินงานตามวตั ถุประสงค์ได้ตามท่คี ณะกรรมการดำเนนิ การเห็นสมควร ทั้งนี้
จะต้องอยภู่ ายในวงเงนิ การก้ยู ืมหรอื การคำ้ ประกนั ประจำปี ตามข้อ 16

การเงินและการบญั ชขี องสหกรณ์

ขอ้ 18 การลงลายมือช่ือแทนสหกรณ์ การลงลายมือชื่อเพ่ือให้มีผลผูกพันสหกรณ์ในกิจการ
อนั เกยี่ วกบั บุคคลภายนอก เว้นแตจ่ ะกำหนดไวเ้ ป็นพเิ ศษตามขอ้ บงั คับนี้ ใหป้ ฏิบัติดังนี้

(1) หนังสือกู้ยืมซึ่งสหกรณ์เป็นผู้กู้ยืม ตลอดจนการเบิก หรือรับเงินกู้ การจำนองซึ่ง
สหกรณ์เป็นผู้จำนอง การถอนเงินฝากของสหกรณ์ และในนิติกรรมอื่น ๆ จะต้องลงลายมือช่ือของ
ประธานกรรมการ หรือรองประธานกรรมการ หรือเลขานุการ หรือเหรัญญิก หรือกรรมการผู้ที่
คณะกรรมการ ดำเนนิ การมอบหมาย กับผู้จัดการ รวมเปน็ สองคน

(2) การรับฝากเงิน ใบรับเงิน และเอกสารท้ังปวงนอกจากท่ีกล่าวไว้ใน (1) ข้างบนน้ี
จะตอ้ งลงลายมอื ชือ่ ของผ้จู ดั การ หรือผู้ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

อนึ่ง ในหนังสือกู้ยืมซ่ึงสหกรณ์เป็นผู้กู้ยืม ใบรับเงิน ต๋ัวสัญญาใช้เงินของสหกรณ์น้ัน ต้อง
ประทับตราของสหกรณ์ (ถา้ ม)ี เปน็ สำคญั ด้วย

ขอ้ 19 การเงินของสหกรณ์ คณะกรรมการดำเนินการตอ้ งดำเนนิ การในทางอันสมควรเพ่ือให้
การเงนิ ของสหกรณเ์ ปน็ ไปโดยเรียบร้อยและเกิดประโยชน์แก่สหกรณ์ ซึง่ รวมทั้งในข้อตอ่ ไปนี้

(1) การรับจ่ายและเก็บรักษาเงินของสหกรณ์ให้เป็นไปตามท่ีกำหนดไว้ในระเบียบ
ของสหกรณ์

(2) การรับจ่ายเงินของสหกรณ์ต้องกระทำท่ีสำนักงานของสหกรณ์เท่าน้ัน เว้นแต่มี
กรณีอนั จำเปน็ ทไ่ี มอ่ าจปฏบิ ตั ิได้ ใหค้ ณะกรรมการดำเนนิ การพจิ ารณากำหนดวธิ ีปฏบิ ตั ไิ ด้ตามสมควร

ขอ้ 20 การบัญชีของสหกรณ์ ให้สหกรณ์จัดให้มีการทำบัญชีตามแบบและรายการท่ีนายทะเบียน
สหกรณ์กำหนด และเก็บรักษาบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีไว้ท่ีสำนักงานสหกรณ์ภายใน
ระยะเวลาทีน่ ายทะเบียนสหกรณ์กำหนด

ขอ้ บงั คบั สหกรณ์ หน้า 9
ประเภทสหกรณเ์ ครดติ ยเู นยี่ น

ให้บันทึกรายการในบญั ชเี ก่ียวกับกระแสเงินสดของสหกรณ์ในวนั ท่ีเกิดเหตนุ ้ัน สำหรับเหตอุ ่ืนที่
ไม่เก่ียวกับกระแสเงินสด ให้บันทึกรายการในสมุดบัญชีภายในสามวันนับแต่วันที่มีเหตุอันจะต้องบันทึก
รายการน้ันและการลงบญั ชีต้องมเี อกสารประกอบการลงบญั ชที ี่สมบูรณโ์ ดยครบถว้ น

ให้สหกรณ์ จัดทำงบการเงินประจำปีทุกรอบปีทางบัญ ชีของสหกรณ์ ซ่ึงต้องมีรายการแสดง
สินทรพั ย์ หนส้ี ิน และทนุ ของสหกรณก์ ับท้ังบัญชีกำไรขาดทนุ ตามแบบทน่ี ายทะเบยี นสหกรณ์กำหนด

วันส้ินปีทางบัญชขี องสหกรณ์ให้สิ้นสุด ณ วันท่ี 31 ตลุ าคม ของทุกปี
ข้อ 21 การเสนองบการเงนิ ประจำปีต่อท่ปี ระชุมใหญ่ คณะกรรมการดำเนินการต้องนำเสนอ
งบการเงินประจำปีซึ่งผู้สอบบัญชีได้ตรวจสอบแล้วเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่ ภายในหน่ึงร้อยห้าสิบวัน
นบั แตว่ ันสิน้ ปีทางบัญชี
คณะกรรมการดำเนินการต้องจัดทำรายงานประจำปีแสดงผลการดำเนินงานของสหกรณ์เสนอต่อ
ที่ประชุมใหญ่ในคราวที่เสนองบการเงินประจำปี และส่งสำเนารายงานประจำปีกับงบการเงินประจำปีไป
ยงั นายทะเบียนสหกรณ์ ภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่มีการประชมุ ใหญ่
อนึ่ง สหกรณ์เก็บรักษารายงานประจำปีแสดงผลการดำเนินงาน งบการเงินประจำปี พร้อมทั้ง
ข้อบังคับ ระเบียบ และกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ไว้ ณ สำนักงานของสหกรณ์เพื่อให้สมาชิกขอตรวจดูได้
โดยไม่ตอ้ งเสียค่าธรรมเนียม

ข้อ22 ทะเบียนและเอกสารของสหกรณ์2 สหกรณ์ต้องจัดทำทะเบียนสมาชิก ทะเบียนหุ้น
และจัดทำสมุดรายงานการประชุมใหญ่ การประชุมคณะกรรมการดำเนินการ การประชุมคณะกรรมการอ่ืน
ตลอดจนทะเบียนอ่ืน ๆ ตามท่คี ณะกรรมการดำเนนิ การเห็นสมควรใหม้ ีขึน้

ทะเบียนสมาชิกรวมถึงสมาชิกสมทบ (ถ้ามี) ซึ่งอย่างน้อยต้องมีรายการ ชื่อสหกรณ์ ประเภท
ที่ต้ังสำนักงานของสหกรณ์ ช่ือ-นามสกุล ประเภทสมาชิก วัน เดือน ปีเกิด สัญชาติของสมาชิก เลข
ทะเบียนสมาชกิ เลขประจำตัวประชาชน วนั ท่ีเข้าเป็นสมาชิก วนั ทขี่ าดจากสมาชิกภาพ ที่อยู่ตามทะเบยี น
บ้าน เพศ สถานภาพสมรส อาชีพ ท่ีทำงาน หมายเลขโทรศัพท์ สถานที่สะดวกในการติดต่อ หมายเลข
โทรศัพท์ ลายมือชอื่ ของสมาชกิ

ทะเบียนหุ้นซึ่งอย่างน้อยต้องมีรายการ ช่ือสหกรณ์ ประเภท ที่ตั้งสำนักงาน ปีทางบัญชขี องสหกรณ์
ชื่อ-นามสกุลของสมาชิกซ่ึงถือหุ้น มูลค่าหุ้น จำนวนหุ้น เงินค่าหุ้นที่ชำระแล้ว เลขทะเบียนสมาชิก เลข
ประจำตัวประชาชน วันท่เี ขา้ เป็นสมาชิก วนั ทข่ี าดจากการเปน็ สมาชกิ และวันที่ถือห้นุ

สหกรณ์ต้องเก็บรักษาทะเบียนสมาชิกทะเบียนหุ้น พร้อมท้ังเอกสารหลักฐานแสดงตัวตนของ
สมาชกิ ซง่ึ เปน็ หลกั ฐานท่ีทางราชการออกให้ ไว้ทสี่ ำนกั งานของสหกรณ์

2 ตามระเบยี บนายทะเบยี นสหกรณ์ ว่าดว้ ยการจดั ทาทะเบยี นสมาชกิ และทะเบยี นหุน้ ของสหกรณ์ พ.ศ. 2564

ขอ้ บังคับสหกรณ์ หน้า 10
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยูเนยี่ น

สหกรณ์ต้องส่งสำเนาทะเบียนสมาชิก และทะเบียนหุ้นต่อนายทะเบียนสหกรณ์ตามแบบท่ีนาย
ทะเบยี นสหกรณก์ ำหนดภายในเก้าสิบวนั นับแต่วันท่ีจดทะเบียน

สหกรณ์ต้องรายงานการเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนสมาชิกและทะเบียนหุ้นต่อนายทะเบียน
สหกรณ์ ตามแบบทนี่ ายทะเบียนสหกรณ์กำหนดภายในสามสิบวนั นบั แต่วนั สิน้ ปที างบัญชีของสหกรณ์

สมาชิกอาจขอตรวจดูเอกสารดังกล่าวในวรรคแรกได้ ณ สำนักงานของสหกรณ์ในระหว่างเวลา
ทำงาน แต่จะดูบัญชีหรือทะเบียนเก่ียวกับเงินค่าหุ้น เงินฝาก หรือเงินกู้ของสมาชิกรายอ่ืนไม่ได้ นอกจาก
จะได้รบั ความยนิ ยอมเปน็ หนงั สอื ของสมาชิกนั้น และไดร้ ับอนุญาตจากผูจ้ ดั การกอ่ น

การตรวจสอบบญั ชแี ละการกำกบั ดแู ลสหกรณ์

ข้อ 23 การตรวจสอบบัญชี บัญชีของสหกรณ์น้ันต้องได้รับการตรวจสอบอย่างน้อยปีละหนึ่ง
คร้ังตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปและตามระเบียบท่ีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์กำหนด โดย
ผู้สอบบัญชีซงึ่ กรมตรวจบัญชสี หกรณ์แต่งตั้ง

ขอ้ 24 การกำกับดูแลสหกรณ์ คณะกรรมการดำเนินการ คณะกรรมการอ่ืน คณะอนุกรรมการ
ผู้ตรวจสอบกิจการ ผู้จัดการ เจ้าหน้าที่ สมาชิกสหกรณ์ หรือบุคคลที่เก่ียวข้องกับสหกรณ์ ซึ่งได้รับคำสั่ง
จากนายทะเบียนสหกรณ์ รองนายทะเบียนสหกรณ์ ผู้ตรวจการสหกรณ์ ผู้สอบบัญชี หรือพนักงาน
เจ้าหน้าที่ซ่ึงนายทะเบียนสหกรณ์มอบหมาย ให้ชี้แจงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกิจการของสหกรณ์หรือให้ส่ง
เอกสารเกี่ยวกับการดำเนินงานหรือรายงานการประชุม หรือเข้ามาตรวจสอบในสำนักงานของสหกรณ์
ระหวา่ งเวลาทำงานของสหกรณ์

ให้ผู้ซ่ึงเก่ียวข้องตามความในวรรคแรกปฏิบัติตามคำสั่งและอำนวยความสะดวกให้ความ
ชว่ ยเหลือ รวมทั้งใหค้ ำชแี้ จงตามสมควร

ข้อ 25 การส่งรายการหรือรายงาน สหกรณ์ต้องส่งรายการหรือรายงานเกี่ยวกับกิจการของ
สหกรณ์ต่อหน่วยงานท่ีกำกับดูแล ตามแบบรายการและระยะเวลาที่หน่วยงานน้ันหรือตามที่กฎหมาย
กำหนดไว้

กำไรสทุ ธิประจำปี

ขอ้ 26 การจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี เม่ือสิ้นปีทางบัญชีและได้ปิดบัญชีตามมาตรฐานการ
สอบบัญชีท่ีรับรองโดยทั่วไปและระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์แล้ว ปรากฏว่าสหกรณ์มีกำไรสุทธิ ให้
จัดสรรเป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของกำไรสุทธิ และเป็นค่าบำรุงสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศ
ไทยตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง

ข้อบังคับสหกรณ์ หน้า 11
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยูเนยี่ น

กำไรสุทธิประจำปที ี่เหลอื จากการจัดสรรตามความในวรรคก่อนนนั้ ท่ปี ระชมุ ใหญอ่ าจจะจัดสรร
ได้ ดังตอ่ ไปน้ี

(1) เป็นเงินปันผลตามห้นุ ท่ีชำระแล้วใหแ้ กส่ มาชิก แต่ต้องไมเ่ กินอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
โดยคิดให้ตามส่วนแห่งระยะเวลา อน่ึง ถ้าสหกรณ์ถอนทุนรักษาระดับอัตราเงินปันผลตาม (4) ออกจ่าย
เป็นเงินปันผลสำหรับปใี ดด้วยจำนวนเงินปันผลทงั้ สิ้นท่ีจา่ ยสำหรับปีนั้นก็ตอ้ งไม่เกินอตั ราดงั กล่าวมาแล้ว

(2) เป็นเงินเฉลย่ี คืนให้แก่สมาชกิ ตามส่วนธุรกิจท่ีสมาชิกได้ทำไว้กับสหกรณ์ในระหว่างปี เว้นแต่
สมาชิกท่ผี ิดนดั การชำระหนีส้ หกรณ์ มิให้ไดร้ ับเงนิ เฉล่ียคืน สำหรับงวดทีผ่ ิดนัดนั้น

(3) เป็นเงินโบนัสแก่คณะกรรมการสหกรณ์และเจ้าหน้าท่ีของสหกรณ์ไม่เกินร้อยละสิบของกำไร
สทุ ธิ

(4) เป็นทุนรักษาระดับอัตราเงินปันผล ไม่เกินร้อยละสองแห่งทุนเรือนหุ้นของสหกรณ์ตามที่มี
อยูใ่ นวนั สน้ิ ปีนน้ั จนกวา่ จะมีจำนวนถึงร้อยละแปดแห่งทุนเรือนหุ้นดังกล่าว ทุนรักษาระดับอัตราเงนิ ปันผลนี้
จะถอนได้โดยมติแห่งที่ประชุมใหญ่เพื่อจ่ายเป็นเงินปันผลตามหุ้นตาม (1) และห้ามจ่ายทุนนี้หากสหกรณ์
ขาดทนุ อันเกิดจากเหตทุ จุ ริต

(5) เปน็ ทนุ การศกึ ษาอบรมไม่เกินรอ้ ยละสบิ ของกำไรสทุ ธิ
(6) เป็นทุนขยายงานไมเ่ กนิ รอ้ ยละสิบของกำไรสุทธิ
(7) เปน็ ทนุ สาธารณประโยชนไ์ ม่เกนิ ร้อยละสบิ ของกำไรสทุ ธิ
(8) เป็นทุนเพอ่ื การจัดสวัสดิการให้กบั สมาชิกไมเ่ กินรอ้ ยละสิบของกำไรสทุ ธิ
(9) กำไรสุทธิส่วนทเ่ี หลอื (ถา้ ม)ี ใหจ้ ดั สรรเป็นทนุ สำรองท้ังสน้ิ
การใช้จ่ายทุนตามวรรคก่อน ให้เป็นไปตามระเบียบของสหกรณ์และให้กำหนดระเบียบสำหรับ
แตล่ ะทุนเป็นการเฉพาะ

ทุนสำรอง

ขอ้ 27 ที่มาแหง่ ทุนสำรอง นอกจากจัดสรรจากกำไรสุทธิตามข้อ 26 แล้ว บรรดาเงินอุดหนุน
หรือทรัพย์สินที่มีผู้ยกให้แก่สหกรณ์ ถ้าผู้ยกให้มิได้กำหนดว่าให้ใช้เพื่อการใด ให้นำเงินอุดหนุนหรือ
ทรัพย์สินน้นั สมทบเปน็ ทนุ สำรองของสหกรณ์

จำนวนเงินซึ่งสหกรณ์พึงจ่ายแก่บุคคลใดก็ตาม ถ้าไมม่ ีการเรียกรอ้ งจนพ้นกำหนดอายุความกใ็ ห้
สมทบจำนวนเงินนั้นเป็นทนุ สำรอง

กำไรสุทธิประจำปีของสหกรณ์ซ่ึงคณะกรรมการดำเนินการเสนอแนะให้ที่ประชุมใหญ่จัดสรร
ตามข้อ 26 หากท่ีประชมุ ใหญ่พิจารณาแล้วเห็นว่ารายการใดไม่สมควรจัดสรรหรือตดั จำนวนให้น้อยลงกด็ ี

ข้อบังคับสหกรณ์ หน้า 12
ประเภทสหกรณ์เครดิตยเู นยี่ น

หรือปรากฎว่าจำนวนท่ีจัดสรรไปแล้วไม่ถกู ต้องหรือขดั ต่อกฎหมาย ยอดเงินจำนวนดังกล่าวให้สมทบเป็น
ทนุ สำรองท้งั ส้นิ

ขอ้ 28 สภาพแห่งทุนสำรอง ทุนสำรองย่อมเป็นของสหกรณ์โดยส่วนรวม สมาชิกจะแบ่งปัน
กนั ไมไ่ ด้หรอื จะเรียกรอ้ งแม้สว่ นใดส่วนหนงึ่ กไ็ ม่ได้

ทุนสำรองนี้จะถอนจากบัญชีได้เพ่ือชดเชยการขาดทุนอันหากบังเกิดข้ึนหรือเพ่ือจัดสรรเข้าบัญชี
ทุนสำรองให้แก่สหกรณ์ใหมท่ ่ีได้จดทะเบียนแบ่งแยกจากสหกรณ์เดิม

หมวด 5

สมาชิก

ข้อ 29 สมาชิก สมาชกิ สหกรณ์นี้คอื
(1) ผู้ที่มีชื่อและลงลายมือช่ือในบัญชีรายช่ือผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกของสหกรณ์ ได้ชำระ

คา่ ธรรมเนยี มแรกเข้าและชำระค่าห้นุ ตามจำนวนท่ีจะถือครบถว้ นแล้ว
(2) ผู้ได้รับเลือกเข้าเป็นสมาชิกตามข้อบังคับที่ได้ลงลายมือชื่อในทะเบียนสมาชิก

ไดช้ ำระค่าธรรมเนียมแรกเขา้ ค่าหุน้ ตามจำนวนท่ีจะถือครบถ้วนแลว้
ข้อ 30 คุณสมบัติของสมาชิก สมาชิกตอ้ งมคี ณุ สมบัตดิ ังนี้
(1) เปน็ บคุ คลธรรมดาสญั ชาตไิ ทย และบรรลุนิติภาวะ
(2) เป็นหรอื เคยเป็น พนักงานของบริษัท สยามรคิ เกน้ อินดสั เตรี้ยล จำกัด ( พนักงาน

ประจำ ) ตำบลดอนหัวฬอ อำเภอเมืองชลบรุ ี จงั หวดั ชลบุรี
(3) เปน็ ผ้มู คี วามประพฤตแิ ละนสิ ยั ดงี าม
(4) เป็นผู้เห็นชอบในวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ มีกิจการร่วมกัน และพร้อมท่ีจะ

ปฏิบตั ิตามระเบียบขอ้ บงั คบั ของสหกรณ์
(5) มิไดเ้ ป็นสมาชิกในสหกรณ์เครดิตยเู นี่ยนอ่ืน

ขอ้ 31 การเข้าเป็นสมาชิก ผู้สมัครเป็นสมาชิกตามข้อบังคับต้องย่ืนใบสมัครถึงสหกรณ์ตาม
แบบที่กำหนดไว้ โดยต้องมสี มาชกิ รับรองอย่างนอ้ ยสองคน

ในกรณีที่มีกลุ่มสมาชิก ผู้สมัครจะต้องเลือกเข้าสังกัดกลุ่มสมาชิกซ่ึงมีอยู่เดิมหรือจะต้ังขึ้นใหม่
ตามท่ีตนอยู่ใกล้เคียงกัน ท้ังน้ีให้ยื่นใบสมัครดังกล่าวในวรรคแรกผ่านประธานกลุ่มนั้นเพื่อสอบสวน
พิจารณาเปน็ เบอ้ื งต้นก่อนเสนอคณะกรรมการศึกษาและประชาสมั พันธ์

เมื่อคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์ได้รับรองว่าผู้สมัครเข้าเป็นสมาชิก มีความรู้ความ
เข้าใจ เห็นชอบในวัตถุประสงค์ของสหกรณ์และของเครดิตยูเนี่ยนสากล โดยที่ผู้สมัครได้รับการศึกษา

ข้อบงั คบั สหกรณ์ หน้า 13
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยเู นี่ยน

อบรมและฝึกหัดสะสมทรัพย์ตามข้อ 32 อย่างสม่ำเสมอเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหกเดือนแล้วให้นำเสนอ
คณะกรรมการอำนวยการพิจารณา

เมื่อคณะกรรมการอำนวยการได้สอบสวนพิจารณาเห็นว่า ผู้สมัครมีคุณสมบัติถูกต้องตามท่ี
กำหนดไว้ในข้อ 30 ท้ังเห็นเป็นการสมควรแล้วก็ให้รับเข้าเป็นสมาชิกและจัดให้ผู้สมัครได้ชำระ
ค่าธรรมเนียมแรกเข้า ค่าหุ้นตามท่ีกำหนดในข้อบังคับและลงลายมือชื่อในทะเบียนสมาชิก เม่ือได้ปฏิบัติ
ดงั นแี้ ล้วจึงจะได้สิทธเิ ป็นสมาชกิ ของสหกรณ์โดยสมบูรณ์ ในกรณีท่ีมีกลุ่มสมาชิกให้สหกรณ์แจ้งเรือ่ งการ
รับสมาชิกเข้าใหม่ให้ประธานกลุ่มซ่ึงเกี่ยวข้องทราบโดยเร็ว ทั้งนี้ให้คณะกรรมการอำนวยการเสนอ
คณะกรรมการดำเนินการทราบในการประชมุ คราวถัดไป

ถ้าคณะกรรมการอำนวยการมีมติไมย่ อมรับผสู้ มัครคนใดเข้าเป็นสมาชิกด้วยเหตใุ ด ๆ ก็ดี ให้รีบ
แจง้ มตใิ ห้ผู้สมคั รทราบโดยไม่ชักช้า

ถา้ คณะกรรมการอำนวยการไมย่ อมรบั ผสู้ มัครเข้าเป็นสมาชกิ ด้วยเหตุใด ๆ เมื่อผูส้ มคั รรอ้ งขอก็
ให้คณะกรรมการดำเนินการนำเรื่องเสนอท่ีประชุมใหญ่เพื่อวินิจฉัยช้ีขาด มติแห่งที่ประชุมใหญ่ให้รับเข้า
เป็นสมาชิกในกรณีดงั ว่าน้ี ให้ถือเสียงไมน่ อ้ ยกว่าสองในสามแหง่ จำนวนสมาชกิ ท่มี าประชุม

ขอ้ 32 ค่าธรรมเนียมแรกเข้าและเงินสะสม ผู้สมัครเข้าเป็นสมาชิกต้องชำระค่าธรรมเนียม
แรกเข้าในวันยื่นใบสมัครตามจำนวนที่กำหนดไว้ในระเบียบว่าด้วยเรื่องน้ี ค่าธรรมเนียมแรกเข้านี้ให้ถือ
เป็นรายได้ของสหกรณจ์ ะเรียกคืนไมไ่ ด้ ไม่วา่ ด้วยกรณีใด ๆ

ผู้สมัครเข้าเป็นสมาชิกจะต้องเริ่มฝึกหัดสะสมเงินออมของตนไว้ในสหกรณ์ตามความสามารถที่
แสดงความจำนงไว้ในใบสมัคร ท้งั ให้เริ่มสะสมตัง้ แตว่ ันย่นื ใบสมคั ร เงนิ สะสมดังกล่าวน้ีเม่ือคณะกรรมการ
อำนวยการมีมติรับผู้สมัครเข้าเป็นสมาชิกแล้ว ให้สหกรณ์โอนเงินจำนวนดังกล่าวไปเป็นหุ้นตามความ
ในข้อ 6

ขอ้ 33 สิทธหิ น้าท่ใี นฐานะสมาชิก ผู้เขา้ เป็นสมาชิกชำระค่าธรรมเนยี มแรกเข้าและค่าหุน้ ตาม
จำนวนทจี่ ะถือให้ครบถ้วน เมอื่ ไดป้ ฏิบตั ิดงั นแ้ี ลว้ จึงจะถือว่าได้สทิ ธใิ นฐานะสมาชกิ

(ก) สทิ ธิของสมาชกิ มีดังนี้
(1) เขา้ ประชุมใหญ่ เพื่อเสนอความคดิ เหน็ หรือออกเสยี งลงคะแนน
(2) เขา้ ชื่อเรยี กประชุมใหญ่วสิ ามัญ
(3) เสนอหรอื ไดร้ บั เลือกตั้งเปน็ กรรมการดำเนินการหรือผตู้ รวจสอบกจิ การ
(4) ได้รับบริการทางธรุ กจิ และทางวชิ าการจากสหกรณ์
(5) สทิ ธอิ ่ืน ๆ ทีก่ ำหนดไวใ้ นขอ้ บงั คบั ของสหกรณ์

(ข) หน้าทขี่ องสมาชกิ มีดังน้ี
(1) ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบงั คบั มติ และคำส่งั ของสหกรณ์

ข้อบงั คบั สหกรณ์ หนา้ 14
ประเภทสหกรณเ์ ครดติ ยเู นีย่ น

(2) เขา้ ประชุมทุกครง้ั ท่สี หกรณน์ ดั หมาย
(3) ส่งเสริมสนับสนนุ กิจการของสหกรณ์ เพื่อให้สหกรณ์เปน็ องค์การท่ีเข็มแข็ง
(4) สอดสอ่ งดแู ลกจิ การของสหกรณ์
(5) ร่วมมอื กบั คณะกรรมการดำเนนิ การเพื่อพฒั นาสหกรณ์ให้เจรญิ รงุ่ เรืองและมนั่ คง

ขอ้ 34 การเปลี่ยนแปลงช่ือ ช่ือสกุล คำนำหน้าช่ือ สัญชาติและท่ีอยู่ สมาชิกคนใด
เปลี่ยนแปลงชื่อ ชื่อสกุล คำนำหน้าช่ือ สัญชาติและท่ีอยู่ ต้องแจ้งให้สหกรณ์ทราบเป็นหนังสือภายในสิบ
หา้ วันนับแตว่ ันท่มี กี ารเปลีย่ นแปลง

การตง้ั ผู้รบั โอนประโยชน์

ข้อ 35 การตั้งผู้รับโอนประโยชน์ สมาชิกอาจทำหนังสือต้ังบุคคลหน่ึงหรือหลายคนเป็นผู้รับ
โอนประโยชน์ในเงินค่าหุ้น เงินฝาก หรือเงินอ่ืนใดจากสหกรณ์เม่ือตนถึงแก่ความตาย โดยมอบไว้แก่
สหกรณเ์ ป็นหลักฐาน หนังสอื ตั้งผรู้ บั โอนประโยชน์ดังวา่ นใ้ี ห้ทำตามแบบที่สหกรณ์กำหนด

ถ้าสมาชิกประสงค์จะเพิกถอน หรือเปลี่ยนแปลงการตั้งผู้รับโอนประโยชน์ท่ีได้ทำไว้แล้วก็ต้อง
ทำเปน็ หนังสอื ตามแบบในวรรคก่อนมอบให้สหกรณ์ถือไว้

เมื่อสมาชิกตาย ให้สหกรณ์แจ้งให้ผู้รับโอนประโยชน์ตามความในวรรคก่อนทราบ สหกรณ์จะ
จ่ายคา่ หุ้น เงินฝาก หรอื เงินอนื่ ใดท่สี มาชิกน้ันมอี ยู่ในสหกรณค์ ืนใหแ้ ก่ผู้รบั โอนประโยชน์ทีไ่ ด้ต้ังไว้ หรอื ถ้า
มิได้ตั้งไว้ ก็คืนให้แก่บุคคลท่ีได้นำหลักฐานมาแสดงให้เป็นท่ีพอใจของคณะกรรมการดำเนินการว่าเป็น
ทายาทของผู้มสี ทิ ธิได้รับเงินจำนวนดังกล่าวนนั้ ท้งั นี้ ตามข้อกำหนดในขอ้ 40 และข้อ 41

ให้ผู้รับโอนประโยชน์ตามความในวรรคแรก ย่ืนคำขอรับเงินผลประโยชน์ต่อสหกรณ์ภายใน
กำหนดหน่ึงปีนับแตว่ ันที่สมาชกิ ตายหรือไดร้ ับแจง้ จากสหกรณ์ โดยให้แนบสำเนามรณบัตรที่ทางราชการ
ออกให้แสดงว่าสมาชิกน้ัน ๆ ได้ถึงแก่ความตายไปประกอบการพิจารณาด้วย เมื่อคณะกรรมการ
อำนวยการได้พิจารณาและอนุมัติแล้ว สหกรณ์จะจ่ายเงนิ ผลประโยชน์ดงั กล่าวภายในสี่สบิ หา้ วันในกรณีผู้
มีสิทธิรับเงินผลประโยชน์ไม่ยื่นคำขอรับเงินผลประโยชน์ หรือผู้ที่มีช่ือเป็นผู้รับโอนประโยชน์ที่สมาชิกได้
จดั ทำให้สหกรณ์ถือไว้ไม่มีตัวอยู่กด็ ี เม่ือพ้นกำหนดอายุความฟ้องคดีให้สหกรณ์โอนจำนวนเงินดังกล่าวไป
สมทบเป็นทุนสำรองของสหกรณท์ ั้งสิน้

การขาดจากสมาชิกภาพ

ขอ้ 36 การขาดจากสมาชกิ ภาพ สมาชิกยอ่ มขาดจากสมาชกิ ภาพเพราะเหตใุ ด ๆ ดังต่อไปน้ี
(1) ตาย
(2) เป็นคนไรค้ วามสามารถ หรือเสมือนไรค้ วามสามารถ

ขอ้ บังคับสหกรณ์ หนา้ 15
ประเภทสหกรณเ์ ครดติ ยูเนี่ยน

โดยประมาท (3) ต้องคำพพิ ากษาให้ล้มละลาย
(4) ต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่ความผิดลหุโทษ หรือความผิดอันกระทำ

(5) ลาออกจากสหกรณ์ และได้รบั อนุญาตแล้ว
(6) ขาดคุณสมบัติตามขอ้ 30
(7) ถูกให้ออกจากสหกรณ์

ขอ้ 37 การลาออกจากสหกรณ์ สมาชิกผู้ไม่มีหน้ีสินต่อสหกรณ์ในฐานะผู้กู้หรือผู้ค้ำประกัน
เงินกู้หรือหน้ีสินอื่นที่ผูกพันจะต้องชำระต่อสหกรณ์ อาจขอลาออกจากสหกรณ์ได้โดยแสดงความจำนง
เป็นหนังสือต่อคณะกรรมการอำนวยการ และเมื่อคณะกรรมการอำนวยการได้สอบสวนพิจารณาเห็นว่า
เป็นการชอบด้วยข้อบังคับและอนุญาตแล้ว จึงให้ถือว่าออกจากสหกรณ์ได้ แล้วให้เสนอคณะกรรมการ
ดำเนินการในการประชมุ คราวถดั ไปทราบด้วย

ข้อ 38 การให้ออกจากสหกรณ์ สมาชิกอาจถูกให้ออกจากสหกรณ์เพราะเหตุอย่างหน่ึงอย่างใด
ดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) นำเงินกไู้ ปใชผ้ ิดจากวัตถุประสงค์ และโครงการทีค่ ณะกรรมการเงินกู้ได้อนุมัติ
(2) ไม่จัดการแก้ไข หรือเพ่ิมเติมหลักประกันสำหรับเงินกู้ท่ีเกิดบกพร่องให้คืนดี
ภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเงินกู้กำหนด
(3) ผิดนัดชำระหน้ีเงินกู้ตามที่กำหนดถึงสามคราวติดต่อกันหรือเกินกว่าหกสิบวันใน
กรณที ผ่ี ิดนดั ชำระหน้เี ปน็ รายเดือน
(4) จงใจปิดบังความจริงอันควรแจ้งให้ทราบในใบสมัครเข้าเป็นสมาชิก เฉพาะ
เกย่ี วกบั หนี้สินของตน
(5) จงใจฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ มติ และคำส่ังของสหกรณ์
หรือของท่ีประชุมกลุ่มสมาชิกซึ่งตนสังกัด หรือประพฤติ หรือกระทำการใด ๆ อันเป็นเหตุให้เห็นว่า
ไมซ่ ่ือสตั ย์สุจริต แสดงตนเป็นปฏิปักษ์หรอื เส่ือมเสียตอ่ สหกรณห์ รอื กลุ่มสมาชกิ ไม่ว่าโดยประการใด ๆ
เม่ือคณะกรรมการอำนวยการได้สอบสวนพิจารณาปรากฏว่า สมาชกิ มีเหตุใด ๆ ดังกล่าวขา้ งต้น
ให้เสนอคณะกรรมการดำเนินการพิจารณา เมื่อคณะกรรมการดำเนินการได้ลงมติให้สมาชิกออกโดย
คะแนนเสยี งไม่น้อยกว่าสองในสามแห่งจำนวนกรรมการดำเนินการทม่ี ีอยู่ท้ังหมดในขณะน้ันแล้ว ก็เป็นอันถือ
ว่าสมาชกิ น้ันถกู ใหอ้ อกจากสหกรณ์
คณะกรรมการอำนวยการมีหน้าที่แจ้งมติของคณะกรรมการดำเนินการให้สมาชิกผู้นั้นทราบ
โดยมชิ ักชา้

ขอ้ บงั คับสหกรณ์ หน้า 16
ประเภทสหกรณเ์ ครดติ ยูเนีย่ น

สมาชิกที่ถูกให้ออกจากสหกรณ์มีสิทธิอุทธรณ์ต่อท่ีประชุมใหญ่ โดยให้ยื่นอุทธรณ์ต่อ
ผู้ตรวจสอบกิจการหรือคณะผู้ตรวจสอบกิจการภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งให้ออกจากสหกรณ์
คำวินจิ ฉัยของทปี่ ระชุมใหญ่ให้ถอื เป็นที่สดุ

ขอ้ 39 การถอนช่ือสมาชิกออกจากทะเบียนสมาชิก ในกรณีที่สมาชิกออกจากสหกรณ์ไม่ว่า
เพราะเหตุใด ๆ หรอื มีคำวินิจฉัยของที่ประชุมใหญ่เป็นที่สดุ ใหอ้ อกจากสมาชิก ให้คณะกรรมการอำนวยการ
ถอนชื่อสมาชิกออกจากทะเบียนสมาชิกกับให้ปิดประกาศที่สำนักงานของสหกรณ์เป็นเวลาไม่น้อยกว่าส่ีสิบห้า
วันแล้วเสนอเร่ืองสมาชิกออกให้ท่ีประชุมใหญ่สามัญคราวถัดไปทราบ โดยเฉพาะการให้ออกต้องชี้แจงเหตุผล
ดว้ ย

อนึ่ง ให้สหกรณ์แจ้งเร่ืองสมาชิกออกให้ประธานกลุ่ม (ถ้ามี) ซึ่งเกี่ยวข้องเสนอท่ีประชุมกลุ่ม
ทราบโดยเร็ว

ขอ้ 40 การจ่ายคืนจำนวนเงินของสมาชิกท่ีขาดสมาชิกภาพ ในกรณีที่สมาชิกขาดจาก
สมาชิกภาพเพราะเหตุตามข้อ 36 (1) (2) (4) (5) และ (6) สหกรณ์จะจ่ายค่าหุ้น เงินปันผล และเงินเฉลี่ยคืน
ค้างจ่ายบรรดาท่ีสมาชิกนั้นมีอยู่ในสหกรณ์คืนให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับ โดยเฉพาะค่าหุ้นนั้นผู้มีสิทธิได้รับจะ
เรียกให้สหกรณ์จ่ายคืนทันทีโดยไม่มีเงินปันผลหรอื เงนิ เฉลี่ยคืนสำหรับปีท่ีออกน้ัน หรือจะเรยี กให้จ่ายคืน
ภายหลังจากวันส้ินปีทางบัญชีที่ออก โดยได้รับเป็นเงินปันผลและเงินเฉลี่ยคืนสำหรับปีที่ออกน้ันด้วยใน
เม่ือที่ประชุมใหญ่ได้มีมติให้จัดสรรกำไรสุทธิประจำปีนั้นแล้วก็ได้สุดแต่จะเลือก ส่วนเงินรับฝากและ
ดอกเบยี้ นัน้ สหกรณจ์ ะจ่ายคืนให้ตามระเบยี บของสหกรณ์

ถ้าในปีใดจำนวนค่าหุ้นท่ีถอนคืนเน่ืองจากสมาชิกขาดสมาชิกภาพจะเกินร้อยละสิบแห่งทุน
เรือนหุ้นของสหกรณ์ตามที่มีอยู่ในวันต้นปีนั้น คณะกรรมการดำเนินการมีอำนาจให้รอการจ่ายคืนค่าหุ้น
ของสมาชกิ ทีข่ าดจากสมาชิกภาพรายตอ่ ไปในปีนน้ั ไว้จนถงึ ปีทางบัญชีใหม่

ในกรณีท่ีสมาชิกขาดจากสมาชิกภาพ เพราะเหตุต้องคำพิพากษาให้ล้มละลายตามข้อ 36 (3)
สหกรณ์จะจ่ายค่าหุ้น เงินรับฝาก เงินปันผลและเงินเฉล่ียคืนกับดอกเบ้ียค้างจ่ายบรรดาที่สมาชิกน้ันมีอยู่
ในสหกรณค์ นื ใหต้ ามกฎหมายล้มละลาย

ในกรณีท่ีสมาชิกขาดจากสมาชิกภาพ เพราะเหตตุ ามขอ้ 36 (7) สหกรณ์จะจ่ายค่าหุ้นเงินปนั ผล
และเงินเฉลี่ยคืนกบั ดอกเบ้ียค้างจ่ายบรรดาท่ีสมาชกิ น้ันมีอยใู่ นสหกรณ์คืนให้ภายในเวลาอันสมควรโดยไม่
มีเงินปันผลหรือเงินเฉลี่ยคืนตั้งแต่ปีท่ีออกจากสหกรณ์ หรือหากสมาชิกขอให้จ่ายค่าหุ้นภายหลัง
วันส้ินปีทางบัญชีโดยขอรับเงินปันผลและเงินเฉลี่ยคืนในปีน้ันภายหลังท่ีท่ีประชุมใหญ่ได้พิจารณาจัดสรร
กำไรสุทธิประจำปกี ็ได้ ส่วนเงนิ รบั ฝากและดอกเบ้ียนั้นสหกรณ์จะจา่ ยให้ตามระเบียบของสหกรณ์

ในกรณีสหกรณ์ขาดทุนสะสมหรือมีแนวโน้มจะขาดทุนสะสม ให้ชะลอการจ่ายคืนค่าหุ้นแก่
สมาชิกท่ีพ้นจากสมาชิกภาพในระหว่างปีจนกว่าจะปิดบัญชีประจำปี และให้คำนวณเงินค่าหุ้นจ่ายคืนต่อ

ข้อบังคับสหกรณ์ หน้า 17
ประเภทสหกรณ์เครดิตยเู นยี่ น

หุ้นที่จะจ่ายคืนแก่สมาชิกโดยนำทุนเรือนหุ้นทั้งหมดหักด้วยขาดทุนสะสมคงเหลือและหน้ีสินทั้งสิ้นแล้ว
นำมาเฉล่ยี โดยใช้จำนวนหุ้นทัง้ สน้ิ เปน็ ฐานในการคำนวณ

เม่ือสหกรณ์มีการคำนวณมูลค่าเงินคา่ หุ้นจ่ายคืนต่อหุ้นแล้ว ในปีต่อ ๆ ไป สหกรณ์ต้องคำนวณ
มูลค่าเงินค่าหุ้นจ่ายคืนต่อหุ้นให้เป็นปัจจุบันทุกปี และมูลค่าดังกล่าวจะต้องไม่สูงกว่ามูลค่าต่อหุ้นท่ี
กำหนดไว้ในข้อ 5 จนกว่าสหกรณไ์ ม่มียอดขาดทนุ สะสม

ข้อ 41 การหักจำนวนเงินซ่ึงสมาชิกจะต้องรับผิดต่อสหกรณ์ ในการจ่ายคืนจำนวนเงิน
ดังกล่าวในข้อ 40 นน้ั ให้สหกรณ์หกั จำนวนเงินซงึ่ สมาชิกต้องรับผิดตอ่ สหกรณ์ออกก่อน

กล่มุ สมาชกิ

ขอ้ 42 กลุ่มสมาชกิ เพ่ือประโยชน์ในการสง่ เสรมิ ความสัมพันธ์ และการให้การศึกษาอบรมแก่
สมาชิก สหกรณอ์ าจจัดตั้งกลมุ่ สมาชกิ ข้ึนโดยรวมสมาชกิ ทีอ่ ยใู่ กล้เคยี งกนั เขา้ เป็นกลุ่มสมาชิกได้

การจัดตั้งกลุ่ม การประชุมกลุ่ม กิจกรรมของท่ีประชุมกลุ่ม การเลือกตั้งจำนวนกรรมการ
บริหารกลุ่ม การดำรงตำแหน่ง การประชุมของคณะกรรมการบริหารกลุ่ม การพ้นจากตำแหน่งของ
ประธานกลุม่ และเลขานกุ ารกลมุ่ ให้เป็นไปตามทีก่ ำหนดไวใ้ นระเบยี บของสหกรณ์

ความรับผดิ เพอื่ หน้ีสนิ ของสหกรณ์

ขอ้ 43 ความรับผิดของสมาชิก สมาชกิ มคี วามรับผดิ เพื่อหนี้สนิ ของสหกรณ์จำกัดเพียงไม่เกิน
จำนวนเงนิ คา่ หุ้นทยี่ ังสง่ ใช้ไม่ครบมลู ค่าหุ้นทต่ี นถอื

หมวด 6

สมาชิกสมทบ

ข้อ 44 สมาชกิ สมทบ สหกรณ์อาจรับสมาชิกสมทบได้ตามทีเ่ ห็นสมควร โดยผสู้ มัครต้องสมคั ร
เข้าเป็นสมาชิกสมทบด้วยตามสมัครใจ และมีความประสงค์จะใช้บริการต่าง ๆ ของสหกรณ์เป็นการ
ประจำ

ข้อ 45 คณุ สมบัติของสมาชกิ สมทบ สมาชิกสมทบต้องมคี ุณสมบัติดงั น้ี
(1) เป็นผู้เห็นชอบในวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ และมีความสะดวกท่จี ะดำเนินธุรกิจกับ

สหกรณ์
(2) เปน็ บุคคลธรรมดาและมสี ัญชาติไทย
ก. เป็นบิดา มารดา สามี ภรรยาหรอื บตุ รที่บรรลนุ ิติภาวะของสมาชกิ หรือ

ขอ้ บังคับสหกรณ์ หนา้ 18
ประเภทสหกรณ์เครดิตยูเนย่ี น

ข. บุคคลในองค์กรหรือหน่วยงานที่ขาดคุณสมบัติตามข้อ 30 (2) ทบี่ รรลนุ ิตภิ าวะ
(3) เปน็ ผู้ท่มี ีความประพฤติดงี าม
(4) เป็นผ้ทู จ่ี ะปฏบิ ัติตามกฎหมายข้อบงั คบั ระเบียบ มติ และคำส่งั ของสหกรณ์
(5) มิได้เปน็ สมาชกิ หรอื สมาชิกสมทบในสหกรณเ์ ครดติ ยูเน่ยี นอื่น

ขอ้ 46 วิธีรับสมัครสมาชิกสมทบ ผู้ประสงค์สมัครเข้าเป็นสมาชิกสมทบต้องยื่นใบสมัครถึง
สหกรณ์ตามแบบท่ีกำหนดไว้ โดยให้ยื่นหลักฐานแสดงความสัมพันธ์กับสหกรณ์หรือสมาชิก ตามข้อ 45 (2)
เม่ือคณะกรรมการอำนวยการได้สอบสวนพิจารณาเห็นว่า ผู้สมัครมีคุณสมบัติถูกต้องตามที่กำหนดใน
ข้อ 45 ท้งั เห็นเป็นการสมควรแล้ว ก็ให้รบั เข้าเป็นสมาชิกสมทบไดแ้ ละต้องจดั ใหผ้ ู้สมัครไดล้ งลายมือช่อื ใน
ทะเบียนสมาชิกสมทบ พร้อมทั้งชำระค่าธรรมเนียมแรกเข้าและค่าหุ้นตามที่จะถือครบถ้วนเมื่อสมาชิก
สมทบได้ปฏิบัตติ ามวรรคกอ่ นแล้วย่อมไดส้ ทิ ธิในฐานะสมาชิกสมทบ

ข้อ 47 ค่าธรรมเนียมแรกเข้าของสมาชิกสมทบ ผู้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสมทบต้องชำระ
คา่ ธรรมเนยี มแรกเขา้ ในวันที่ยืน่ ใบสมคั รเป็นสมาชกิ สมทบ คนละ 100 บาท ค่าธรรมเนียมแรกเขา้ นี้ให้ถือ
วา่ เป็นรายได้ของสหกรณ์ จะเรยี กคนื ไมไ่ ด้ไมว่ ่าดว้ ยกรณีใด ๆ

ขอ้ 48 การถือหุ้น สมาชิกสมทบแต่ละรายจะต้องถือหุ้นในสหกรณ์อย่างน้อยหนึ่งหุ้น แต่ต้อง
ไมเ่ กินหน่ึงในหา้ ของหุ้นทชี่ ำระแล้วทงั้ หมด

การถือหุ้นแรกเข้า การชำระค่าหุ้น การแจ้งยอดจำนวนหุ้น และอื่น ๆ ให้เป็นไปตามความใน
ข้อบังคับ หมวด 3 ว่าด้วยหุ้น โดยอนุโลม สำหรับการถือหุ้นเพ่ิมให้เป็นไปตามท่กี ำหนดไว้ในระเบียบของ
สหกรณ์

ขอ้ 49 สิทธิและหน้าท่ีในฐานะสมาชิกสมทบสมาชิกสมทบมีสิทธิและหน้าที่เฉพาะในส่วนท่ี
ไม่ขดั กบั กฎหมายสหกรณ์

(ก) สทิ ธิของสมาชกิ สมทบ มดี ังนี้
(1) รบั เงินปันผลในอัตราเดียวกบั สมาชิก
(2) รับเงนิ เฉล่ียคนื ตามสว่ นธุรกิจในอัตราเดียวกบั สมาชกิ
(3) ฝากเงินกบั สหกรณ์
(4) รับบริการทางวิชาการจากสหกรณ์

(ข) หนา้ ทีข่ องสมาชิกสมทบ มีดงั น้ี
(1) ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคบั มติ และคำสงั่ ของสหกรณ์
(2) เขา้ รว่ มประชมุ ทุกคร้ังท่สี หกรณน์ ัดหมาย
(3) ส่งเสรมิ สนบั สนุนกจิ การของสหกรณ์ เพือ่ ให้สหกรณ์เปน็ องค์การทเี่ ข็มแข็ง

ขอ้ บังคับสหกรณ์ หนา้ 19
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยเู นี่ยน

(4) สอดสอ่ งดแู ลกิจการของสหกรณ์
(5) ร่วมมือกับคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์เพื่อพัฒนาสหกรณ์ให้เจริญรุ่งเรือง
และมน่ั คง
(ค) สมาชิกสมทบไมใ่ ห้มสี ทิ ธใิ นเรอ่ื งดังตอ่ ไปน้ี
(1) นบั ชือ่ เขา้ เปน็ องค์ประชุมในการประชมุ ใหญ่
(2) การออกเสียงในเรื่องใด ๆ
(3) เป็นกรรมการดำเนินการหรอื ผู้แทนสมาชิก
(4) กเู้ งนิ จากสหกรณ์เกินกวา่ เงินฝากรวมกับทุนเรอื นหุ้นของตนเอง

ขอ้ 50 การให้บรกิ ารแก่สมาชิกสมทบ สหกรณ์อาจให้บริการหรือสวัสดิการแกส่ มาชิกสมทบ
ได้ตามท่ีเห็นสมควร แต่ต้องไม่ขัดกับ ข้อ 49 ทั้งนี้ ประเภทของบริการ หลักเกณฑ์ ข้อกำหนด วิธีการ
ให้บรกิ ารและอ่ืน ๆ ตลอดจนสวัสดกิ ารและผลตอบแทนจากการใช้บริการให้เป็นไปตามระเบียบของสหกรณ์

ข้อ 51 การเปลี่ยนแปลงชื่อ สัญชาติและที่อยู่ของสมาชิกสมทบ สมาชิกสมทบคนใด
เปล่ียนแปลงช่ือ–นามสกุล สัญชาติ และที่อยู่ต้องแจ้งให้สหกรณ์ทราบเป็นหนังสือภายในสิบห้าวันนับแต่
วันทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลง

การตง้ั ผู้รบั โอนประโยชน์

ขอ้ 52 การต้ังผู้รับโอนประโยชน์ของสมาชิกสมทบ สมาชิกสมทบอาจทำหนังสือตั้งบุคคล
หนึ่งหรือหลายคนเป็นผู้รับโอนประโยชน์ในเงินค่าหุ้น เงินฝาก หรือเงินอ่ืนใดจากสหกรณ์เมื่อตนถึงแก่
ความตาย โดยมอบไว้แก่สหกรณ์เป็นหลักฐาน หนังสือต้ังผู้รับโอนประโยชน์ดังว่านี้ให้ทำตามแบบที่
สหกรณก์ ำหนด

ถ้าสมาชิกสมทบประสงค์จะเพิกถอนหรือเปล่ียนแปลงการต้ังผู้รบั โอนประโยชน์ท่ีได้ทำไว้แลว้ ก็
ต้องทำเปน็ หนงั สือตามแบบในวรรคก่อนมอบให้สหกรณ์ถือไว้

เมื่อสมาชิกสมทบตาย ให้สหกรณ์แจ้งให้ผู้รับโอนประโยชน์ตามความในวรรคก่อนทราบและ
สหกรณ์จะจ่ายเงินคา่ หุ้น เงินรับฝาก เงินปนั ผล เงินเฉลี่ยคืน และเงินผลประโยชน์หรือเงินอื่นใดบรรดาท่ี
สมาชิกสมทบผู้ตายมีอยู่ในสหกรณ์ให้แก่ผู้รับโอนประโยชน์ท่ีได้ตัง้ ไว้ หรอื ถ้ามิได้ตั้งไว้ ก็คืนให้แก่บุคคลที่
ได้นำหลักฐานมาแสดงให้เป็นท่ีพอใจของคณะกรรมการดำเนินการว่าเป็ นทายาทของผู้มีสิทธิได้รับเงิน
จำนวนดังกล่าวนั้น ทั้งนี้ ตามทีก่ ำหนดในข้อ 57 และข้อ 58

ให้ผู้รับโอนประโยชน์ตามความในวรรคแรก ย่ืนคำขอรับเงินผลประโยชน์ต่อสหกรณ์ภายใน
กำหนดหน่ึงปีนับแต่วันท่ีสมาชิกตายหรือไดร้ ับแจ้งจากสหกรณ์ โดยใหแ้ นบสำเนามรณบัตรท่ีทางราชการ
ออกให้แสดงว่าสมาชิกนั้น ๆ ได้ถึงแก่ความตายไปประกอบการพิจารณาด้วย เมื่อคณะกรรมการ

ขอ้ บังคบั สหกรณ์ หน้า 20
ประเภทสหกรณเ์ ครดิตยูเนี่ยน

อำนวยการได้พิจารณาและอนมุ ัติแล้ว สหกรณ์จะจา่ ยเงินผลประโยชน์ดังกล่าว ภายในส่ีสิบห้าวันในกรณี
ผมู้ สี ิทธิรับเงินผลประโยชนไ์ ม่ยืน่ คำขอรับเงนิ ผลประโยชน์ หรอื ผู้ท่มี ีชอ่ื เป็นผ้รู ับโอนประโยชน์ที่สมาชิกได้
จัดทำให้สหกรณ์ถือไว้ไม่มีตัวอยู่ก็ดี เม่ือพ้นกำหนดอายุความฟ้องคดีให้สหกรณ์โอนจำนวนเงินดังกล่าวไป
สมทบเป็นทนุ สำรองของสหกรณ์ทัง้ สิน้

การขาดจากสมาชิกภาพของสมาชกิ สมทบ

ข้อ 53 การขาดจากสมาชิกภาพของสมาชิกสมทบ สมาชิกสมทบย่อมขาดจากสมาชิกภาพ
เพราะเหตุใด ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้

(1) ตาย
(2) เป็นคนไร้ความสามารถ หรอื เสมอื นไรค้ วามสามารถ
(3) ตอ้ งคำพิพากษาใหล้ ม้ ละลาย
(4) ต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่ความผิดลหุโทษหรือความผิดอันกระทำ
โดยประมาท
(5) ลาออกจากสหกรณ์ และได้รบั อนุญาตแลว้
(6) ถกู ใหอ้ อกจากสหกรณ์
(7) ขาดคณุ สมบตั ติ ามข้อ 45

ข้อ 54 การลาออกจากสหกรณ์ของสมาชิกสมทบ สมาชกิ สมทบอาจขอลาออกจากสหกรณ์ได้
โดยแสดงความจำนงเป็นหนังสือต่อคณะกรรมการอำนวยการและเม่ือคณะกรรมการอำนวยการได้สอบ
พิจารณาเห็นวา่ เป็นการชอบด้วยข้อบังคับและอนุญาตแลว้ จงึ ให้ถอื ว่าออกจากสหกรณ์ได้

ข้อ 55 การให้ออกจากสหกรณ์ของสมาชิกสมทบ สมาชิกสมทบอาจถูกให้ออกจากสหกรณ์
เพราะเหตุใด ๆ ดังต่อไปนี้

(1) ไมช่ ำระคา่ ธรรมเนียมแรกเขา้
(2) ไม่ลงลายมือชอ่ื ในทะเบยี นสมาชิกสมทบ
(3) ไม่ปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย ข้อบงั คับ ระเบียบ มติและคำส่งั ของสหกรณ์
(4) แสดงตนเป็นปฏิปักษ์หรือทำให้เสื่อมเสียต่อสหกรณ์หรือขบวนการสหกรณ์ไม่ว่า
โดยประการใด ๆ
เมื่อคณะกรรมการอำนวยการได้สอบสวนพิจารณาปรากฏว่า สมาชิกสมทบมเี หตุใด ๆ ดังกลา่ ว
ขา้ งต้นให้เสนอคณะกรรมการดำเนินการพิจารณา เมื่อคณะกรรมการดำเนินการได้ลงมติให้สมาชิกสมทบ

ขอ้ บงั คับสหกรณ์ หน้า 21
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยเู นย่ี น

ออกโดยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามแห่งจำนวนกรรมการดำเนินการที่มีอยู่ท้ังหมดในขณะนั้นแล้ว
ก็เป็นอันถอื ว่าสมาชิกสมทบนนั้ ถูกให้ออกจากสหกรณ์

ขอ้ 56 การถอนชื่อสมาชิกสมทบออกจากทะเบียนสมาชิก ในกรณีท่ีสมาชิกสมทบออกจาก
สหกรณ์ไม่ว่าเพราะเหตุใด ๆ ให้คณะกรรมการอำนวยการถอนช่ือสมาชิกสมทบรายน้ันออกจากทะเบียน
สมาชกิ สมทบ

อน่ึงให้สหกรณ์แจ้งเร่ืองสมาชิกสมทบออกให้ประธานกลุ่ม (ถ้ามี) ซึ่งเก่ียวข้องเสนอที่ประชุม
กลมุ่ ทราบโดยเร็ว

ข้อ 57 การจ่ายคืนจำนวนเงินของสมาชิกสมทบท่ีขาดจากสมาชิกภาพ ในกรณีท่ีสมาชิก
สมทบขาดจากสมาชิกภาพเพราะเหตุตามข้อ 53 (1) (2) (4) และ (5) น้ัน สหกรณ์จะจ่ายค่าหุ้นท่ีสมาชิก
สมทบมีอยู่ในสหกรณ์ให้ก่อนค่าหุ้นของสมาชิกสมทบซ่ึงออกเพราะเหตุอ่ืน พร้อมด้วยเงินปันผลและเงิน
เฉล่ียคืนค้างจ่ายบรรดาที่สมาชิกสมทบน้ันมีอยู่ในสหกรณ์คืนให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับ โดยเฉพาะค่าหุ้นนั้นผู้มี
สิทธิได้รับจะเรียกให้สหกรณ์จ่ายคืนทันทีโดยไม่มีเงินปันผลหรือเงินเฉลี่ยคืนสำหรับปีที่ออกน้ัน หรือจะ
เรยี กให้จา่ ยคืนหลังจากวนั สิ้นปที างบัญชีทอี่ อกโดยได้รับเงินปันผลและเงินเฉลยี่ คนื สำหรบั ปีทีอ่ อกนัน้ ดว้ ย
ในเมื่อท่ีประชุมใหญ่มีมติให้จัดสรรกำไรสุทธิประจำปีนั้นแล้วก็ได้ สุดแต่จะเลือก ส่วนเงินรับฝากและ
ดอกเบีย้ นน้ั สหกรณ์จะจ่ายคนื ให้ตามระเบยี บของสหกรณ์

ถ้าในปีใด จำนวนค่าหุ้นที่ถอนคืนเน่ืองจากสมาชิกสมทบขาดจากสมาชิกภาพจะเกินร้อยละสิบ
แห่งทนุ เรือนหนุ้ ของสหกรณ์ตามท่ีมีอยู่ในวันต้นปีนัน้ คณะกรรมการดำเนินการมีอำนาจให้รอการจ่ายคืน
ค่าหุ้นของสมาชิกท่ขี าดจากสมาชิกภาพรายต่อไปในปนี นั้ ไวจ้ นถึงปที างบญั ชีใหม่

ในกรณีทสี่ มาชิกสมทบขาดจากสมาชิกภาพเพราะเหตุตามข้อ 53 (3) สหกรณ์จะจ่ายค่าหุ้น เงิน
รบั ฝาก เงินปันผลและเงนิ เฉล่ียคืนกบั ดอกเบ้ียค้างจา่ ยบรรดาท่สี มาชิกสมทบน้ันมีอยใู่ นสหกรณ์คนื ใหต้ าม
กฎหมายล้มละลาย

ในกรณที ่ีสมาชิกสมทบขาดจากสมาชกิ ภาพเพราะเหตุตามข้อ 53 (6) (7) นน้ั สหกรณ์จะจ่ายค่า
หุ้น เงนิ ปันผลและเงินเฉล่ียคืนกับดอกเบี้ยค้างจ่ายบรรดาท่ีสมาชิกสมทบน้ันมีอยู่ในสหกรณ์คืนให้ภายใน
เวลาอันสมควรโดยไม่มีเงนิ ปันผลหรอื เงินเฉล่ียคืนตั้งแต่ปีที่ออกจากสหกรณ์ หรือหากสมาชิกสมทบขอให้
จา่ ยค่าหุ้นภายหลงั วนั สิ้นปีทางบัญชี โดยขอรบั เงนิ ปนั ผลและเงนิ เฉลี่ยคืนในปีนน้ั ภายหลังท่ีท่ีประชุมใหญ่
ได้พิจารณาจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีก็ได้ ส่วนเงินรับฝากและดอกเบ้ียน้ันสหกรณ์จะจ่ายให้ตามระเบียบ
ของสหกรณ์

ในกรณีสหกรณ์ขาดทุนสะสมหรือมีแนวโน้มจะขาดทุนสะสม ให้ชะลอการจ่ายคืนค่าหุ้นแก่
สมาชิกสมทบท่ีพ้นจากสมาชกิ ภาพในระหวา่ งปีจนกว่าจะปิดบัญชีประจำปี และให้คำนวณเงินค่าหุ้นจ่าย

ข้อบงั คับสหกรณ์ หนา้ 22
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยเู น่ยี น

คืนต่อหุ้นท่ีจะจา่ ยคนื แก่สมาชิกสมทบโดยนำทุนเรือนหุ้นทั้งหมดหักด้วยขาดทุนสะสมคงเหลือและหน้ีสิน
ทั้งสิน้ แลว้ นำมาเฉล่ยี โดยใชจ้ ำนวนหุน้ ทัง้ สนิ้ เปน็ ฐานในการคำนวณ

เมื่อสหกรณ์มีการคำนวณมูลค่าเงินค่าหุ้นจ่ายคืนต่อหุ้นแล้ว ในปีต่อ ๆ ไป สหกรณ์ต้องคำนวณ
มูลค่าเงินค่าหุ้นจ่ายคืนต่อหุ้นให้เป็นปัจจุบันทุกปี และมูลค่าดังกล่าวจะต้องไม่สูงกว่ามูลค่าต่อหุ้นท่ี
กำหนดไวใ้ นขอ้ 5 จนกวา่ สหกรณ์ไม่มียอดขาดทนุ สะสม

ข้อ 58 การหักจำนวนเงินซ่ึงสมาชิกสมทบต้องรับผิดต่อสหกรณ์ ในการจ่ายคืนจำนวนเงิน
ของสมาชิกสมทบตามข้อ 57 นน้ั ใหส้ หกรณ์หักจำนวนเงินซึ่งสมาชิกสมทบต้องรับผดิ ตอ่ สหกรณ์ออกก่อน

หมวด 7

การประชมุ ใหญ่

ขอ้ 59 การประชุมใหญส่ ามญั สหกรณ์สามารถจัดการประชุมใหญ่สามัญได้ดังนี้
(1) ประชมุ ใหญ่สามัญ ภายในหนงึ่ ร้อยห้าสิบวันนบั แตว่ นั ส้ินปีทางบญั ชีของสหกรณ์

ข้อ 60 การประชุมใหญว่ สิ ามัญ สหกรณส์ ามารถจัดการประชมุ ใหญ่วสิ ามัญได้ด้วยเหตดุ งั น้ี
(1) คณะกรรมการดำเนินการจะเรียกประชุมใหญ่วิสามัญเม่ือใดก็ได้เม่ือมีเหตุอัน

สมควร
(2) นายทะเบยี นสหกรณม์ หี นังสือแจง้ ให้เรียกประชมุ ใหญว่ ิสามัญ
(3) สหกรณ์ขาดทุนเกินก่ึงของจำนวนทุนเรือนหุ้นท่ีชำระแล้ว เพ่ือพิจารณาแผน

ปรบั ปรุงการดำเนนิ งานและต้องเรียกโดยไมช่ กั ชา้ แต่ไมเ่ กินสามสบิ วนั นบั ที่วนั ท่ีสหกรณ์ทราบ
(4) สมาชิกจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกท้ังหมดหรือไม่น้อยกว่า

หนึ่งร้อยคนหรือผู้แทนสมาชิกจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนผู้แทนสมาชิกท้ังหมดหรือไม่น้อยกว่า
หา้ สบิ คน ลงลายมอื ช่ือทำหนงั สือรอ้ งขอตอ่ คณะกรรมการดำเนินการใหเ้ รียกประชมุ ใหญว่ สิ ามญั

คณะกรรมการดำเนินการต้องเรียกประชุมใหญ่วิสามัญภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ี
รับคำร้องขอ ถ้าคณะกรรมการดำเนินการไม่เรียกประชุมใหญ่วิสามัญภายในกำหนดระยะเวลาดังกล่าว
ให้นายทะเบยี นสหกรณ์มีอำนาจเรียกประชมุ ใหญ่วิสามญั ได้ภายในระยะเวลาท่ีเหน็ สมควร

ขอ้ 61 การประชุมใหญ่โดยผู้แทนสมาชิก กรณีท่ีสหกรณ์มีจำนวนสมาชิกเกินกว่าสองพันคน
ใหก้ ารประชุมใหญป่ ระกอบด้วยผ้แู ทนสมาชกิ เทา่ น้ัน

ข้อ 62 การเลอื กตง้ั และการดำรงตำแหนง่ ผ้แู ทนสมาชิก

ขอ้ บังคบั สหกรณ์ หนา้ 23
ประเภทสหกรณเ์ ครดิตยเู น่ียน

(1) สมาชิกเท่านั้นมีสิทธิได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทนสมาชิก และให้ดำเนินการเลือกต้ัง
ตามระเบียบของหสกรณ์

(2) การเลอื กต้ังผู้แทนสมาชกิ คราวหนึง่ ๆ ให้กระทำในทป่ี ระชุมกลุ่มก่อนการประชุม
ใหญ่สามัญของสหกรณไ์ มน่ ้อยกว่าสามสิบวนั และให้ประธานกลุ่มหรือเลขานุการกลุ่ม (ถ้าม)ี หรือตัวแทน
กลมุ่ แจ้งรายช่อื ผู้แทนสมาชิกในกล่มุ ของตนตอ่ สหกรณโ์ ดยมชิ ักช้า

(3) ให้ที่ประชุมกลุ่มดำเนินการเลือกตั้งผู้แทนสมาชิก โดยอัตราส่วนจำนวนสมาชิก
สิบคนต่อผู้แทนสมาชิกหนึ่งคน ถ้าเศษของอัตราส่วนดังกล่าวเกินก่ึงให้เลือกต้ังผู้แทนสมาชิกเพ่ิมขึ้นอีก
หน่ึงคน ในจำนวนนี้ให้ประธานกลุ่ม (ถ้ามี) เป็นผู้แทนสมาชิกโดยตำแหน่ง โดยให้นับรวมอยู่ในจำนวน
ผแู้ ทนสมาชิกที่กลุ่มพึงเลอื กตงั้ ได้ อนึ่ง จำนวนผแู้ ทนสมาชกิ จะมีนอ้ ยกวา่ หนึง่ รอ้ ยคนไมไ่ ด้

(4) ให้ผู้แทนสมาชกิ อยู่ในตำแหน่งคราวละหนึ่งปที างบญั ชีของสหกรณ์ ถา้ ยังไมม่ ีการ
เลือกต้งั ผแู้ ทนสมาชกิ ใหม่ ก็ให้ผแู้ ทนสมาชกิ คนเดมิ อยู่ในตำแหนง่ ต่อไปพลางก่อน

ขอ้ 63 การพ้นจากตำแหนง่ ผูแ้ ทนสมาชิกพ้นจากตำแหนง่ เมอื่
(1) ครบวาระหรอื มีการเลือกต้งั ผู้แทนสมาชิกใหม่
(2) ลาออกโดยย่ืนใบลาต่อท่ีประชมุ กลุม่ ซ่ึงตนสังกดั
(3) ออกจากกลุ่มที่ตนสงั กัด
(4) ขาดจากสมาชกิ ภาพ
(5) ที่ประชมุ กลุ่มซ่ึงตนสงั กัดลงมตถิ อดถอน

ขอ้ 64 ตำแหน่งผู้แทนสมาชิกว่างก่อนถึงคราวออกตามวาระ ถ้าผู้แทนสมาชิกพ้นจาก
ตำแหน่งไม่ว่าด้วยประการใด ๆ จนทำใหจ้ ำนวนผู้แทนสมาชิกเหลือไม่ถึงหน่ึงร้อยคน หรือเหลอื ไม่ถึงสาม
ในส่ีของจำนวนผู้แทนสมาชิกทั้งหมด ก็ให้ท่ีประชุมกลุ่มดำเนินการเลือกต้ังผู้แทนสมาชิกให้ครบตาม
จำนวนที่ว่างลงและให้ผู้แทนสมาชิกท่ีได้รับเลอื กต้ังอยใู่ นตำแหนง่ ได้เพียงเท่าท่ีกำหนดเวลาที่ผู้ซึ่งตนแทน
น้นั ชอบจะอยูไ่ ด้

ขอ้ 65 การแจ้งกำหนดการประชุมใหญ่ เมื่อจะมีการประชุมใหญ่ทุกคราว ให้สหกรณ์มี
หนังสือแจ้งวัน เวลา สถานท่ี และเร่ืองที่จะประชุมให้บรรดาสมาชิกหรือผู้แทนสมาชิกทราบล่วงหน้าไม่
น้อยกว่าเจ็ดวัน แต่ถ้าการประชุมน้ันเป็นการด่วนอาจแจ้งล่วงหน้าได้ตามสมควร และอาจแจ้งสมาชิกให้
ทราบทางอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ท้ังน้ี ให้ประธานกรรมการหรือรองประธานกรรมการหรือเลขานุการเป็นผู้ลง
ลายมือชื่อในหนังสือน้ัน และต้องแจ้งให้ชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเน่ียนแห่งประเทศไทย จำกัด เจ้าหน้าท่ี
กรมส่งเสริมสหกรณ์และกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ทราบล่วงหน้าในโอกาสเดียวกันกับท่ีแจ้งให้สม าชิกหรือ
ผู้แทนสมาชิกทราบดว้ ย

ข้อบังคับสหกรณ์ หน้า 24
ประเภทสหกรณเ์ ครดติ ยเู นี่ยน

ข้อ 66 องค์ประชมุ ในการประชุมใหญ่ การประชมุ ใหญ่ของสหกรณ์ต้องมสี มาชิกมาประชุมไม่
น้อยกว่าก่ึงหน่ึงของจำนวนสมาชิกท้ังหมดหรือไม่น้อยกว่าหน่ึงร้อยคน ในกรณีเป็นการประชุมใหญ่โดย
ผู้แทนสมาชิกต้องมีผู้แทนสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงห น่ึงของจำนวนผู้แทนสมาชิกท้ังหมด หรือ
ไมน่ ้อยกว่าหนงึ่ ร้อยคนจึงจะเปน็ องค์ประชุม

ในกรณีที่ที่ประชุมใหญ่โดยผู้แทนสมาชิก สมาชิกทั่วไปสามารถเข้าร่วมประชุมใหญ่ในฐานะผู้
สังเกตการณไ์ ด้ แตไ่ ม่มสี ทิ ธอิ อกเสียงและแสดงความคดิ เห็น

ในการประชุมใหญ่ สมาชกิ หรอื ผแู้ ทนสมาชกิ จะมอบอำนาจใหผ้ ู้อ่ืนมาประชุมแทนตนไมไ่ ด้

ข้อ 67 การเรียกประชมุ ใหญ่คร้งั ท่ีสอง ในการประชุมใหญ่ของสหกรณ์ ถา้ สมาชิกหรือผู้แทน
สมาชิกแล้วแต่กรณีมาประชุมไม่ครบองค์ประชุมตามข้อ 66 วรรคแรก ให้นัดประชุมใหญ่อีกครั้งหนึ่ง
ภายในสิบสวี่ ันนับแต่วันที่นัดประชุมใหญ่ครั้งแรก ในการประชุมครงั้ หลังนี้ถ้ามิใชก่ ารประชุมใหญ่วสิ ามัญ
ที่สมาชิกหรือผู้แทนสมาชิกร้องขอให้เรียกประชุม เม่ือมีสมาชิกหรือผู้แทนสมาชิกแล้วแต่กรณีมาประชุม
ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจำนวนสมาชกิ หรือผแู้ ทนสมาชิกทงั้ หมด หรอื ไม่น้อยกว่าสามสิบคนก็ให้ถอื เป็น
องค์ประชุม แต่ถ้าเป็นการประชุมใหญ่วิสามัญที่สมาชิกหรือผู้แทนสมาชิกร้องขอให้เรียกประชุม เมื่อมี
สมาชิก23หรือผู้แทนสมาชิกมาประชุมมีจำนวนไมถ่ ึงท่ีจะเป็นองคป์ ระชุมตามท่ีกล่าวในข้อ 66 วรรคแรก ก็ให้
งดประชมุ

ขอ้ 68 อำนาจหน้าที่ของท่ีประชุมใหญ่ ท่ีประชุมใหญ่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาวินิจฉัย
เก่ียวกับการดำเนนิ กิจการของสหกรณ์ ในขอ้ ต่อไปนี้

(1) รับทราบเรื่องรับสมาชิกเข้าใหม่ สมาชิกออกจากสหกรณ์ การเลือกตั้งผู้แทน
สมาชิก และวินิจฉัยข้ออุทธรณ์ของผู้สมัครซึ่งมิได้รับเลือกเข้าเป็นสมาชิก และสมาชิกท่ีถูกให้ออกจาก
สหกรณ์

(2) เลือกตัง้ และถอดถอนกรรมการดาเนินการหรือถอดถอนคณะกรรมการ
ดาเนนิ การและผตู้ รวจสอบกจิ การของสหกรณ์

(3) อนมุ ตั ิงบการเงินประจำปีและจัดสรรกำไรสุทธิประจำปขี องสหกรณ์
(4) รับทราบรายงานประจำปีแสดงผลการดำเนินงานของสหกรณ์จากคณะกรรมการ
ดำเนินการและผลการตรวจสอบประจำปีจากผ้ตู รวจสอบกิจการ
(5) กำหนดค่าตอบแทนในการปฏิบัติหน้าท่ีหรือค่าตอบแทนอื่นของผู้ตรวจสอบ
กจิ การ
(6) กำหนดวงเงนิ การกยู้ ืมหรอื การค้ำประกันของสหกรณ์
(7) อนุมัติแผนงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีของสหกรณ์หรือแผนปรับปรุง
การดำเนินงานของสหกรณ์

ขอ้ บงั คบั สหกรณ์ หน้า 25
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยูเนย่ี น

(8) กำหนดค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะ ค่าเช่าที่พัก และค่าเบ้ียประชุมของกรรมการ
ดำเนินการ กรรมการอ่นื ๆ อนุกรรมการ ทีป่ รกึ ษา

(9) การแกไ้ ขเพ่ิมเติมข้อบงั คับ
(10) เห็นชอบให้แยกสหกรณ์ ควบสหกรณ์เลิกสหกรณ์ เข้าร่วมจัดตั้งหรือเป็นสมาชิก
ชุมนมุ สหกรณ์
(11) รับทราบเร่ืองการดำเนินงานของสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย และหรือ
ชุมนมุ สหกรณเ์ ครดิตยูเนยี่ นแห่งประเทศไทย จำกัด ท่สี หกรณน์ เี้ ปน็ สมาชิกอยู่
(12) พิเคราะห์และปฏิบัติตามคำส่ังหรือหนังสือหรือคำแนะนำของนายทะเบียน
สหกรณ์ รองนายทะเบียนสหกรณ์ ผู้ตรวจการสหกรณ์ ผู้สอบบัญชี หรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีซ่ึงนายทะเบียน
สหกรณม์ อบหมาย
(13) กำหนดรูปการ ซึ่งสหกรณ์คิดจะทำเป็นเคร่ืองเก้ือหนุนบรรดาสมาชิกตาม
วตั ถปุ ระสงค์ของสหกรณ์
(14) พิจารณาวินิจฉัยเร่ืองทั้งปวงที่ข้อบังคับไม่ได้กำหนดให้เป็นอำนาจของผู้ใดเป็น
การเฉพาะ

หมวด 8

คณะกรรมการดำเนินการ และคณะอนกุ รรมการ

ขอ้ 69 คณะกรรมการดำเนินการ ให้สหกรณ์มีคณะกรรมการดำเนินการประกอบด้วยประธาน
กรรมการหน่ึงคนและกรรมการดำเนินการอีก 10 (สิบ) คน ซึ่งที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งจากสมาชิก โดย
กรรมการอย่างน้อย 1 (หนึ่ง) คน ต้องเป็นผู้มีคุณวุฒิด้านการเงิน การบัญชี การบริหารจัดการ
เศ รษ ฐ ศ าส ต ร์ ห รื อ ผ่ าน ก ารฝึ ก อ บ รม ต าม ห ลั ก สู ต รใน ด้ าน ดั งก ล่ าว ห รือ ด้ าน อ่ื น ต าม
ท่คี ณะกรรมการพฒั นาการสหกรณ์แหง่ ชาติกำหนด

การเลอื กตั้งกรรมการตามวรรคแรกใหก้ ระทำโดยวธิ ีเปดิ เผยและให้กรรมการดำเนินการเลือกตั้ง
ในระหว่างกันเองข้ึนดำรงตำแหน่งรองประธานกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคน เลขานุการคนหน่ึง และ
เหรัญญิกคนหน่ึง นอกน้ันเป็นกรรมการ และปิดประกาศให้ทราบโดยท่ัวกัน ณ สำนักงานสหกรณ์หรือ
ประกาศทางอเิ ล็กทรอนิกส์

ให้ผู้ท่ีได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการทุกคนปฏิญาณต่อที่ประชุมใหญ่ ด้วยถ้อยคำ
ดังต่อไปน้ี “ข้าพเจ้า (ช่ือผู้ปฏิญาณ) ขอปฏิญาณว่าจะปฏิบัติหน้าที่ตามความคิดเห็นของข้าพเจ้าโดย
บริสุทธิ์ใจ จะเป็นผู้รักษาไว้ซึ่งสัจจะ จะพยายามไม่ขาดการประชุมคราวใดๆ โดยไม่จำเป็นจริงๆ และจะ
ปฏิบัติหน้าทีด่ ว้ ยความซ่อื สัตย์ สุจรติ เพือ่ ประโยชน์ของสหกรณ์และบรรดาสมาชกิ ”

ขอ้ บังคับสหกรณ์ หน้า 26
ประเภทสหกรณ์เครดิตยูเนีย่ น

ข้อ 70 หา้ มมใิ ห้บคุ คลซึ่งมลี กั ษณะดังต่อไปน้ีเปน็ หรอื ทำหนา้ ท่ีกรรมการดำเนนิ การ

(1) เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับ
ความผดิ ท่ีไดก้ ระทำโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ

(2) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ องค์การ หน่วยงานของรัฐ หรือ
เอกชนฐานทุจรติ ตอ่ หนา้ ท่ี

(3) เคยถกู ให้พ้นจากตำแหนง่ กรรมการหรือหรือผู้จัดการหรือมีคำวินิจฉัยเปน็ ทสี่ ุดให้
พ้นจากตำแหนง่ กรรมการหรอื ผ้จู ัดการตามคำส่งั นายทะเบยี นสหกรณ์

(4) เคยถูกที่ประชุมใหญ่มีมติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่งกรรมการเพราะเหตุทุจริต
ต่อหน้าที่

(5) เป็นกรรมการหรอื ผู้จัดการในสหกรณ์ถูกสั่งเลิกตามมาตรา 89/3 วรรคสอง แห่ง
พระราชบัญญตั สิ หกรณ์ พ.ศ. 2542 และทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เตมิ

(6) ผิดนัดชำระเงินต้นหรือดอกเบี้ยกับสหกรณ์ท่ีตนเป็นสมาชิกในระยะเวลาสองปี
ทางบัญชีก่อนวันท่ีได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการหรือวันที่ทำสัญญาจ้างเป็นผู้จัดการหรือในขณะที่ดำรง
ตำแหน่งนน้ั

(7) ผู้ซึ่งถูกสหกรณ์ที่ตนเป็นสมาชิกหรือรองนายทะเบียนสหกรณ์ฟ้องดำเนินคดี
ในทางแพ่งหรือทางอาญาในข้อกล่าวหาท่ีกระทำให้สหกรณ์เสียหาย หรือเคยต้องคำพิพากษาถึงท่ีสุด
ใหช้ ดใชค้ ่าเสยี หายแกส่ หกรณ์ในการกระทำท่ีก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หาย

(8) เคยถูกธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์หรือสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย สั่งถอดถอน
จากการเป็นกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอำนาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของผู้ให้บริการทางการเงินซ่ึงอยู่
ภายใต้การกำกับดูแลของหน่วยงานดังกล่าว เว้นแต่จะพ้นระยะเวลาที่กำหนดห้ามดำรงตำแหน่งดังกล่าว
แล้วหรือได้รบั การยกเว้นจากหน่วยงานกำกับดูแล แล้วแต่กรณี

(9) มีหรือเคยมีส่วนร่วมในการประกอบธุรกิจหรือการดำเนินกิจการใด ๆ อันผิด
กฎหมายทม่ี ีลกั ษณะเป็นการหลอกลวงผู้อ่ืนหรือฉ้อโกงประชาชน

(10) เปน็ หรอื เคยเปน็ บคุ คลล้มละลาย
(11) เป็นกรรมการหรือผู้จัดการของสหกรณ์อ่ืน เว้นแต่เป็นกรรมการของชุมนุม
สหกรณท์ ่ีสหกรณน์ ั้นเป็นสมาชิกอยู่ไดอ้ ีกไม่เกนิ หนึ่งแห่ง
(12) เป็นกรรมการของสหกรณ์ซ่ึงพ้นจากตำแหน่งผู้จัดการสหกรณ์น้ันไม่เกินหนึ่งปี
หรอื เป็นผู้จัดการสหกรณ์ซ่งึ พ้นจากตำแหนง่ กรรมการของสหกรณ์น้นั ไม่เกนิ หนงึ่ ปี แล้วแต่กรณี

ข้อบังคบั สหกรณ์ หน้า 27
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยเู นยี่ น

(13) ผิดนัดชำระเงินตน้ หรอื ดอกเบย้ี เกินกวา่ เก้าสบิ วันกับนิตบิ ุคคลทเี่ ปน็ สมาชิกของ
บริษัทข้อมูลเครดิตตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธรุ กิจข้อมูลเครดิตในระยะเวลาสองปกี ่อนวันทีไ่ ด้รับ
การเลือกตง้ั เปน็ กรรมการหรือวนั ทท่ี ำสญั ญาจ้างเปน็ ผ้จู ัดการหรือในขณะท่ีดำรงตำแหน่งน้ัน

(14) ผู้ซ่ึงเปน็ เจ้าหน้าท่ีในสหกรณ์นี้

ข้อ 71 อำนาจหนา้ ทีข่ องกรรมการดำเนนิ การแต่ละตำแหน่ง
(ก) ประธานกรรมการ มีอำนาจหน้าทด่ี ังน้ี
(1) เป็นประธานในที่ประชุมใหญ่และท่ีประชุมใหญ่คณะกรรมการดำเนินการ และ

ควบคุมการประชมุ ดังกล่าวให้เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย
(2) ควบคุมดูแลการดำเนนิ งานทวั่ ไปของสหกรณใ์ ห้เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อยและอยู่

ในวัตถุประสงค์ของสหกรณ์
(3) ลงลายมือชือ่ ในเอกสารตา่ ง ๆ ในนามสหกรณต์ ามที่กำหนดไวใ้ นขอ้ บงั คับน้ี
(4) ดำเนินการอื่นๆ ตามท่ีคณะกรรมการดำเนินการมอบหมายให้ภายใต้ข้อบังคับ

ระเบยี บ มติ หรือคำสั่งของสหกรณ์
(ข) รองประธานกรรมการ มีอำนาจหนา้ ท่ีดงั นี้
(1) ปฏิบัติการในอำนาจหน้าที่ของประธานกรรมการแทนประธานกรรมการ เมื่อ

ประธานกรรมการไม่อย่หู รือไม่อาจปฏิบตั หิ นา้ ท่ีได้ หรือเมื่อตำแหนง่ ประธานวา่ งลง
(2) ปฏิบตั ิการตามที่ประธานกรรมการมอบหมายให้
(3) ดำเนินการอื่นๆตามที่คณะกรรมการดำเนินการมอบหมายให้ภายใต้ข้อบังคับ

ระเบยี บ มติ หรือคำสงั่ ของสหกรณ์
(ค) เลขานกุ าร มอี ำนาจหน้าทด่ี งั น้ี
(1) จัดทำรายงานการประชุมใหญ่และรายงานการประชุมคณะกรรมการดำเนินการ

ทุกครง้ั
(2) ดูแลรักษาเอกสาร และรายงานการประชมุ ของสหกรณ์ให้เรียบรอ้ ยอยเู่ สมอ
(3) แจง้ นดั ประชุมไปยงั บรรดาสมาชกิ หรอื กรรมการดำเนินการแลว้ แต่กรณี
(4) ดำเนินการอ่ืนๆตามท่ีคณะกรรมการดำเนินการมอบหมายให้ภายใต้ข้อบังคับ

ระเบียบ มติ หรือคำส่ังของสหกรณ์
(ง) เหรญั ญิก มอี ำนาจหน้าทดี่ งั นี้
(1) ควบคุม ดูแล ตรวจสอบการรับจ่ายและการเก็บรักษาเงินและทรัพย์สินของ

สหกรณใ์ หเ้ ป็นไปโดยถกู ต้องเรยี บรอ้ ย
(2) ดำเนนิ การอน่ื ๆตามที่คณะกรรมการดำเนินการมอบหมายให้ภายใตข้ ้อบังคบั ระเบียบ

มติ หรอื คำส่ังของสหกรณ์

ขอ้ บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 28
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยเู นีย่ น

ขอ้ 72 กำหนดเวลาอยู่ในตำแหน่ง คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ มีวาระอยู่ในตำแหน่ง
คราวละสองปีนับแต่วันเลือกต้ัง ในวาระเร่ิมแรกเมื่อครบหน่ึงปีนับแต่วนั เลอื กต้ังคณะกรรมการดำเนินการ
ท้งั คณะ ให้กรรมการดำเนินการสหกรณ์ออกจากตำแหน่งเป็นจำนวนหน่ึงในสองของกรรมการดำเนินการ
ท้ังหมดโดยวิธีจับฉลาก (ถ้ามีเศษให้ปัดขึ้น) และให้ถือว่าเป็นการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ ในปีต่อไปให้
กรรมการดำเนนิ การที่อยูใ่ นตำแหนง่ จนครบวาระออกจากตำแหนง่ สลับกันไปทุก ๆ ปี

เมื่อครบกำหนดแล้ว หากยังไม่มีการเลือกตั้งกรรมการดำเนินการแทนตำแหน่งที่ว่างลงตาม
วาระ ก็ให้คณะกรรมการดำเนินการชุดเดิมรักษาการไปจนกว่าจะมีการเลือกต้ังคณะกรรมการดำเนินการ
แทนตำแหนง่ ที่วา่ งลงตามวาระ แตต่ ้องไมเ่ กินหน่ึงรอ้ ยหา้ สบิ วนั นับแต่วนั ส้นิ ปที างบญั ชีของสหกรณ์

กรรมการดำเนินการซ่ึงพ้นจากตำแหน่งอาจได้รับเลือกต้ังซ้ำอีกได้ แต่ต้องไม่เกินสองวาระ
ตดิ ต่อกัน

กรณีตำแหน่งประธานกรรมการว่างลง หากกรรมการดำเนินการที่ยังอยู่ในตำแหน่งประสงค์จะ
ลงสมัครรับเลือกต้ังในตำแหน่งดังกล่าว จะต้องลาออกจากตำแหน่งกรรมการดำเนินการเดิมของตน
เสยี กอ่ นและใหถ้ ือว่าเป็นการพ้นจากตำแหนง่ ตามวาระ

ในกรณีท่ีกรรมการดำเนินการต้องพ้นจากตำแหนง่ ท้ังคณะ ให้คณะกรรมการดำเนนิ การที่ได้รับ
เลอื กตง้ั ใหม่อยู่ในตำแหน่งไดเ้ ช่นเดียวกับคณะกรรมการดำเนินการชุดแรก และใหน้ ำความในวรรคแรกมา
ใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม

ข้อ 73 การพ้นจากตำแหน่ง กรรมการดำเนินการต้องพ้นจากตำแหน่งเพราะเหตุใด ๆ
ดังต่อไปน้ี

(1) ถงึ คราวออกตามวาระ
(2) ลาออก โดยแสดงความจำนงเป็นหนังสือต่อคณะกรรมการดำเนินการ หรือ
ลาออกตอ่ ทปี่ ระชุมใหญ่ของสหกรณ์
(3) ขาดจากสมาชิกภาพ
(4) มีลักษณะตอ้ งห้ามตามข้อ 70
(5) ทปี่ ระชุมใหญล่ งมตถิ อดถอนท้งั คณะหรอื รายบุคคล
(6) นายทะเบยี นสหกรณส์ ั่งใหอ้ อกทง้ั คณะหรือรายบุคคล
(7) ขาดประชุมคณะกรรมการดำเนนิ การติดต่อกนั สามคร้งั โดยไม่มเี หตอุ นั ควร
ให้กรรมการดำเนินการผู้มีส่วนได้เสียตาม (6) อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้
ภายในสามสบิ วันนับแต่วนั ที่รบั ทราบคำสง่ั คำวินิจฉัยของคณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณ์ใหเ้ ปน็ ที่สดุ

ขอ้ บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 29
ประเภทสหกรณเ์ ครดิตยูเน่ยี น

เมื่อคณะกรรมการดำเนนิ การไดส้ อบสวนพิจารณาปรากฏว่า กรรมการดำเนินการมเี หตุตาม (7)
และได้ลงมติโดยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามแห่งจำนวนกรรมการดำเนินการที่มีอยู่ทั้งหมดใน
ขณะน้ันยกเว้นผู้มสี ่วนไดเ้ สยี ก็เปน็ อนั ถอื ว่ากรรมการดำเนนิ การรายน้นั ต้องพ้นจากตำแหนง่

กรณีทท่ี ่ีประชมุ ใหญล่ งมติถอดถอนให้กรรมการดำเนินการพน้ จากตำแหน่งท้งั คณะ ให้ทีป่ ระชุมใหญ่
ครั้งนั้นเลือกต้ังคณะกรรมการดำเนินการใหม่ท้ังคณะ และอยู่ในตำแหน่งได้เช่นเดียวกับคณะกรรมการ
ดำเนินการชุดแรก

ข้อ 74 ตำแหน่งว่างก่อนถึงคราวออกตามวาระ ถ้าตำแหน่งกรรมการดำเนินการว่างลงก่อน
ถึงคราวออกตามวาระ (เว้นแต่เพราะเหตุตามข้อ 73 (6)) ให้กรรมการดำเนินการท่ียังดำรงตำแหน่งอยู่
ดำเนินการต่อไปจนกว่าจะมีการประชุมใหญ่ ซ่ึงจะได้มีการเลือกต้ังกรรมการดำเนินการแทนในตำแหน่ง
ทีว่ ่าง แต่ถ้าในเวลาใดจำนวนกรรมการดำเนินการลดลงจนเหลอื นอ้ ยกว่าองคป์ ระชุม กรรมการดำเนินการ
ที่ดำรงตำแหน่งอยู่จะประชมุ ดำเนินการใด ๆ ไมไ่ ด้ นอกจากตอ้ งนดั เรียกให้มีการประชุมใหญ่วิสามัญข้ึน
โดยเรว็ เฉพาะการเลอื กตงั้ กรรมการดำเนนิ การแทนตำแหน่งที่ว่างลง

ในกรณีท่ีตำแหนง่ กรรมการดำเนินการว่างลงก่อนถึงคราวออกตามวาระตามความในวรรคก่อน
เป็นตำแหน่งประธานกรรมการ หากไม่มีรองประธานกรรมการทำหน้าที่แทนและยังมิได้มีการประชุมใหญ่
เพ่ือเลือกต้ังใหม่ คณะกรรมการดำเนนิ การอาจพจิ ารณาเลอื กตัง้ กรรมการดำเนินการอื่นขึ้นทำหน้าที่แทน
ชั่วคราวจนกวา่ จะมกี ารเลือกตง้ั ใหม่

กรรมการดำเนนิ การซง่ึ ที่ประชุมใหญ่เลือกตง้ั ข้ึนแทนในตำแหนง่ ท่ีว่าง ใหอ้ ยูใ่ นตำแหนง่ ไดเ้ พียง
เทา่ กำหนดเวลาท่ผี ู้ซึ่งตนแทนนั้นชอบทจี่ ะอยูไ่ ด้

ขอ้ 75 การประชุมและองค์ประชุม ให้คณะกรรมการดำเนินการประชุมกันตามคราวที่มี
กิจธุระ แต่จะตอ้ งมกี ารประชุมกนั ทุก ๆ สามเดือนเป็นอย่างนอ้ ย

ให้ประธานกรรมการ หรือรองประธานกรรมการ หรือเลขานุการนัดเรยี กประชุมคณะกรรมการ
ดำเนินการได้ และแจ้งให้ชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย จำกัด ทราบ และในกรณีท่ีเป็น
การประชุมเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงแก้ไขระเบียบ ข้อบังคับ หรือเร่ืองท่ีสำคัญอื่น ๆ ให้แจ้งเจ้าหน้าท่ี
ส่งเสริมสหกรณ์และกรมตรวจบัญชีสหกรณท์ ราบด้วยทกุ คราว

ในการประชมุ คณะกรรมการดำเนินการต้องมีกรรมการดำเนินการมาประชุมไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหน่ึง
ของจำนวนกรรมการดำเนินการทง้ั หมด จึงจะเป็นองคป์ ระชุม

ขอ้ 76 อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการดำเนินการ คณะกรรมการดำเนินการมีอำนาจหน้าท่ี
ดำเนินกิจการทั้งปวงของสหกรณ์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ มติ และคำสั่งของสหกรณ์
กับทั้งในทางอันจะทำให้เกดิ ความจำเรญิ แก่สหกรณ์ ซ่ึงรวมท้ังในขอ้ ต่อไปน้ี

ขอ้ บงั คับสหกรณ์ หนา้ 30
ประเภทสหกรณ์เครดิตยูเนย่ี น

(1) กำหนดนโยบาย ทิศทาง และเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ในภาพรวมของสหกรณ์เพื่อ
เสนอท่ีประชุมใหญ่พิจารณาอนุมัติ รวมท้ังกำกับดูแลให้ฝ่ายจัดการดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย
ดังกลา่ วอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผล

(2) จัดให้มีข้อกำหนดเกี่ยวกับจริยธรรมของกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอำนาจในการ
จดั การ ท่ีปรึกษาของสหกรณ์ และเจ้าหนา้ ทขี่ องสหกรณ์ เพ่ือเป็นแนวทางปฏิบตั ขิ องสหกรณ์32

(3) จัดให้มีนโยบายและกระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ของสหกรณ์ โดย
อย่างน้อยจะต้องครอบคลุมถึงความเสี่ยงดา้ นสินเชื่อการลงทุน สภาพคล่อง และปฏิบัติการ รวมทั้งจัดให้
มีการทบทวนนโยบายและกระบวนการบริหารความเสี่ยงอย่างสม่ำเสมอ พร้อมท้ังรายงานผลการ
ดำเนินการดงั กล่าวใหท้ ป่ี ระชุมใหญ่ทราบ

(4) กำกับดูแลฝ่ายจัดการให้จัดการงานของสหกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ และดำเนิน
กิจการตามกฎหมายวา่ ด้วยสหกรณ์และกฎหมายอ่นื ที่เกยี่ วข้องอย่างเคร่งครดั

(5) จดั ให้มีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบกจิ การทม่ี ีประสทิ ธิภาพ
(6) กำกับดูแลให้ฝ่ายจัดการรายงานเรื่องที่สำคัญของสหกรณ์ต่อคณะกรรมการอย่าง
รวดเร็วและมีกระบวนการนำเสนอข้อมูลและข้อเท็จจริงอย่างครบถ้วนเพื่อให้คณะกรรม การสามารถ
ปฏบิ ัติตามอำนาจหน้าที่ได้อย่างสมบรู ณ์
(7) กำหนดนโยบายและแผนเก่ียวกับการฝาก การลงทุน การกยู้ ืมจากสหกรณ์อ่ืนและ
สถาบันการเงนิ และการคำ้ ประกนั เพอื่ เสนอตอ่ ที่ประชมุ ใหญ่ของสหกรณ์พิจารณาอนมุ ตั ิ
(8) พิจารณาแต่งต้ังและกำหนดอำนาจหน้าที่ของอนุกรรมการต่าง ๆ ตามความ
จำเป็น
(9) กำกับดูแลสหกรณ์ให้มีการจัดทำและเก็บรักษาบัญชีและเอกสารท่ีเกี่ยวข้องเพื่อ
แสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานท่แี ท้จริงของสหกรณ์ โดยตอ้ งเปิดเผยใหส้ มาชิกได้รับทราบและ
สามารถตรวจสอบได้
(10) พิจารณาในเรื่องการรับสมาชิกและสมาชิกออกจากสหกรณ์เสนอเรื่องอุทธรณ์ของ
ผู้สมัครที่มิได้รับเลือกเข้าเป็นสมาชิกต่อที่ประชุมใหญ่ ตลอดจนดูแลให้สมาชิกปฏิบัติการต่าง ๆ ตาม
กฎหมาย ข้อบังคับ ระเบยี บ มติและคำสงั่ ของสหกรณ์
(11) พิจารณาในเร่ืองการรับฝากเงิน การกู้ยืมเงิน การให้เงินกู้ และการฝากหรือ
ลงทุนของสหกรณ์
(12) กำหนดและดำเนินการเกี่ยวกับการประชุมใหญ่ และเสนองบการเงินประจำปี
และรายงานประจำปแี สดงผลการดำเนนิ งานของสหกรณ์ตอ่ ทป่ี ระชุมใหญ่
(13) เสนอแนะการจดั สรรกำไรสุทธปิ ระจำปตี ่อที่ประชุมใหญ่

ข้อบงั คบั สหกรณ์ หนา้ 31
ประเภทสหกรณ์เครดิตยเู น่ียน

(14) เสนอแผนงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือแผนปรับปรงุ การดำเนินงานของ
สหกรณใ์ ห้ทป่ี ระชุมใหญ่อนุมตั ิ

(15) พิจารณาดำเนินการแต่งตั้ง หรือจ้างและกำหนดค่าตอบแทนของผู้จัดการตาม
ระเบียบของสหกรณ์ ตลอดจนควบคมุ ดูแลการปฏบิ ัตงิ านของผจู้ ัดการให้เปน็ การถูกต้อง

(16) กำหนดระเบยี บตา่ ง ๆ ของสหกรณ์
(17) จัดใหม้ ีและดูแลให้เรียบรอ้ ยซ่ึงบรรดาทะเบียน สมุดบัญชี เอกสารต่าง ๆ และ
บรรดาอปุ กรณด์ ำเนินงานของสหกรณ์
(18) เสนอให้ทป่ี ระชุมใหญ่พิจารณาให้สหกรณ์สมัครเขา้ เป็นสมาชิกและออกจากการ
เป็นสมาชกิ ชุมนมุ สหกรณเ์ ครดติ ยูเนีย่ นแห่งประเทศไทย จำกดั และองคก์ รอนื่
(19) พิจารณาดำเนินการแต่งต้ังและถอดถอนคณะกรรมการอื่น หรือคณะอนุกรรมการ
หรอื คณะทำงานเพื่อประโยชน์ในการดำเนนิ กจิ การของสหกรณ์
(20) พิเคราะห์และปฏิบัติตามหนังสือของนายทะเบียนสหกรณ์ รองนายทะเบียน
สหกรณ์ ผู้ตรวจการสหกรณ์ ผู้สอบบัญชี และพนักงานเจ้าหน้าที่ซ่ึงนายทะเบียนสหกรณ์มอบหมาย หรือ
ชมุ นมุ สหกรณ์เครดิตยเู น่ยี นแหง่ ประเทศไทย จำกดั
(21) พิจารณาให้ความเที่ยงธรรมแก่บรรดาสมาชิก เจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ ตลอดจน
สอดสอ่ งดแู ลโดยทั่วไป เพอ่ื ให้กจิ การของสหกรณด์ ำเนนิ ไปดว้ ยดี
(22) พิจารณารายงานของคณะกรรมการอ่ืน ๆ คณะอนุกรรมการ ผู้ตรวจสอบกิจการ
ความเห็นของผ้จู ัดการและสมาชิกเกย่ี วกบั กิจการของสหกรณ์
(23) พจิ ารณากำหนดตวั เจา้ หนา้ ทขี่ องสหกรณ์ให้ปฏิบัติหน้าทแ่ี ทนผู้จดั การ
(24) พิจารณาดำเนินการแตง่ ตง้ั และกำหนดคา่ ตอบแทนแก่ผูต้ รวจสอบภายใน
(25) เชิญบุคคลภายนอกที่เห็นสมควรเป็นท่ีปรึกษาของสหกรณ์ ตลอดจนกำหนด
คา่ ตอบแทนใหต้ ามทเี่ ห็นสมควร
(26) ฟ้อง ต่อสู้ หรือดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจการของสหกรณ์ หรือประณีประนอม
ยอมความหรอื มอบข้อพิพาทให้อนุญาโตตลุ าการพิจารณาช้ขี าด
(27) พิจารณาดำเนินการต่าง ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สิน ดังระบุไว้ในวัตถุประสงค์ของ
สหกรณ์
(28) พิจารณาแต่งตัง้ กรรมการดำเนินการเป็นผู้แทนสหกรณ์ เพื่อเข้าประชุมใหญ่และ
ออกเสียงในการประชุมใหญ่ของสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย ชุมนุมสหกรณ์ และองค์กรอื่น
ซงึ่ สหกรณ์น้ีเปน็ สมาชิก ทงั้ นี้ให้เป็นไปตามข้อบงั คับของสนั นบิ าตสหกรณ์แหง่ ประเทศไทย ชุมนุมสหกรณ์
และองคก์ ารน้นั กำหนดไว้

ข้อบังคบั สหกรณ์ หน้า 32
ประเภทสหกรณเ์ ครดติ ยูเนยี่ น

(29) ค้ำประกันเงินกู้ท่ีสหกรณ์กู้ยืมจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ โดยรับผิดชอบการค้ำประกัน
ในฐานะส่วนตัว

(30) พิจารณามอบหมายอำนาจหน้าที่ในการดำเนินงานให้แก่ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ เลขานกุ าร เหรัญญิก ผู้จัดการ หรอื บุคคลท่ีเกยี่ วขอ้ งไดต้ ามความเหมาะสม

ข้อ77 ความรับผิดของคณะกรรมการดำเนินการ ในกรณีคณะกรรมการดำเนินการกระทำการ
หรืองดเว้นกระทำการ หรือกระทำการโดยประมาทเลินเล่อในการปฏิบัติหน้าที่ของตนจนทำให้เสื่อมเสีย
ผลประโยชน์ของสหกรณ์หรอื สมาชิก อันเป็นเหตุให้สหกรณ์มขี ้อบกพร่องเก่ียวกับการเงิน การบัญชี หรือ
กิจการ หรือฐานะการเงิน ตามรายงานการสอบบัญชีหรือรายงานการตรวจสอบ เปน็ เหตุให้สหกรณ์ได้รับ
ความเสยี หาย คณะกรรมการดำเนนิ การต้องรับผิดชอบชดใชค้ า่ เสยี หายให้แก่สหกรณ์

คณะกรรมการอ่ืน

ขอ้ 78 คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการดำเนินการอาจตั้งคณะกรรมการอำนวยการ
จากคณะกรรมการดำเนินการ จำนวน 4 คน โดยให้ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ เหรัญญิก
และเลขานุการของคณะกรรมการดำเนินการเป็นกรรมการอำนวยการ และให้คณะกรรมการดำเนินการ
ตั้งกรรมการดำเนินการอน่ื เปน็ กรรมการร่วมอกี ตามสมควร

ให้ประธานกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการดำเนินการเป็นประธานและเลขานุการ
คณะกรรมการอำนวยการตามลำดบั

คณะกรรมการอำนวยการให้อยใู่ นตำแหน่งได้เท่ากับกำหนดเวลาของคณะกรรมการดำเนินการ
ซง่ึ ตง้ั คณะกรรมการอำนวยการนน้ั

ให้คณะกรรมการอำนวยการประชุมกันตามคราวที่มีกิจธุระ แตจ่ ะต้องมีการประชุมกันเดือนละ
หนงึ่ ครง้ั เปน็ อยา่ งน้อย และให้ประธานกรรมการอำนวยการหรือเลขานกุ ารนัดเรยี กประชุมได้

ในการประชุมคณะกรรมการอำนวยการ ต้องมีกรรมการอำนวยการมาประชุมไม่น้อยกว่า
กงึ่ หนึ่งของจำนวนกรรมการอำนวยการท้ังหมด จึงจะเปน็ องค์ประชมุ

ข้อวินิจฉัยทั้งปวงของคณะกรรมการอำนวยการ ให้เสนอคณะกรรมการดำเนินการในการ
ประชมุ คราวถดั ไปทราบ

ขอ้ 79 อำนาจหน้าท่ีของคณะกรรมการอำนวยการ ให้คณะกรรมการอำนวยการเป็น
ผู้ดำเนินกิจการแทนคณะกรรมการดำเนินตามท่ีได้รับมอบหมาย และตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ
มติ และคำสั่งของสหกรณซ์ ง่ึ รวมท้ังในขอ้ ต่อไปนี้

(1) พิจารณาดำเนินการในเรื่องการรับสมาชิก และสมาชิกออกจากสหกรณ์
ตลอดจนการดแู ลให้สมาชกิ ปฏบิ ัติการต่าง ๆ ตามกฎหมาย ข้อบังคบั ระเบียบ และมตขิ องสหกรณ์

ขอ้ บังคบั สหกรณ์ หน้า 33
ประเภทสหกรณ์เครดิตยูเน่ยี น

(2) ควบคุมในเร่ืองการรับเงิน การจ่ายเงิน การสะสมเงิน การฝากเงิน หรือการ
เก็บรักษาเงินให้เป็นไปตามข้อบงั คับและระเบียบของสหกรณ์

(3) ควบคุมดูแลจัดทำบัญชีและทะเบียนต่าง ๆ ของสหกรณ์ให้ถูกต้องครบถ้วนและ
เป็นปัจจบุ นั อยูเ่ สมอ

(4) ควบคุมดูแล เก็บรักษาเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ตลอดจนทรัพย์สินของสหกรณ์ให้
อยใู่ นสภาพอันดแี ละปลอดภยั และพร้อมที่จะนำมาใหผ้ ู้เกีย่ วข้องตรวจสอบไดท้ นั ที

(5) เสนอแนะคณะกรรมการดำเนินการในการปรับปรุงหรือแก้ไขการบริหารงานของ
สหกรณ์

(6) ควบคุมดูแลการจัดทำงบการเงินประจำปี รวมท้ังบัญชีกำไรขาดทุนและรายงาน
ประจำปีแสดงผลการดำเนินงานของสหกรณ์ เสนอคณะกรรมการดำเนินการพิจารณาเสนอต่อท่ีประชุม
ใหญ่อนมุ ัติ

(7) พิจารณาจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีของสหกรณ์ เสนอต่อคณะกรรมการ
ดำเนนิ การพจิ ารณาเสนอใหท้ ่ปี ระชมุ ใหญพ่ ิจารณาอนมุ ัติ

(8) พิจารณาแผนงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีของสหกรณ์ เสนอต่อ
คณะกรรมการดำเนนิ การพิจารณาเสนอทีป่ ระชุมใหญ่พจิ ารณาอนมุ ัติ

(9) ทำนิติกรรมต่าง ๆ เก่ียวกับการดำเนินงานของสหกรณ์ตามท่ีคณะกรรมการ
ดำเนินการมอบหมาย

ข้อ 80 คณะกรรมการเงินกู้ คณะกรรมการดำเนินการอาจตั้งคณะกรรมการเงินกู้จาก
คณะกรรมการดำเนินการ จำนวน 3 คน โดยให้มีตำแหน่งประธานกรรมการคนหน่ึง และเลขานุการคน
หนง่ึ นอกนนั้ เป็นกรรมการ

กรรมการผู้ได้รับแต่งตัง้ เปน็ กรรมการอำนวยการ มิใหไ้ ดร้ ับแต่งต้ังเป็นกรรมการเงินกู้
คณะกรรมการเงินกู้ให้อยู่ในตำแหน่งได้เท่ากับกำหนดเวลาของคณะกรรมการดำเนินการซึ่งต้ัง
คณะกรรมการเงนิ กู้นั้น
ให้คณะกรรมการเงินกู้ประชุมกันตามคราวที่มีกิจธุระ แต่จะต้องมีการประชุมกันเดือนละหน่ึง
คร้ังเป็นอยา่ งน้อยและใหป้ ระธานกรรมการเงินกู้ หรอื เลขานกุ ารนัดเรียกประชุมได้
ในการประชุมคณะกรรมการเงินกู้ ต้องมีกรรมการเงินกู้เข้าประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของ
จำนวนกรรมการเงินกู้ทง้ั หมดจึงจะเป็นองคป์ ระชมุ
ข้อวินิจฉัยท้ังปวงของคณะกรรมการเงินกู้ ให้นำเสนอคณะกรรมการดำเนินการทราบในการ
ประชุมคราวถดั ไป

ขอ้ บังคบั สหกรณ์ หนา้ 34
ประเภทสหกรณ์เครดิตยเู นี่ยน

ข้อ 81 อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการเงินกู้ ให้คณะกรรมการเงินกู้มีอำนาจหน้าท่ีในการ
พิจารณาวินิจฉัยอนุมัตกิ ารให้เงินกู้แก่สมาชิกตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ มติ และคำสั่งของสหกรณ์
รวมท้ังขอ้ ต่อไปนี้

(1) ตรวจสอบการใช้เงนิ กูข้ องสมาชกิ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงคท์ ี่ให้เงนิ กู้น้ัน
(2) ตรวจสอบและควบคุมให้เงินกู้มีหลักประกันตามท่ีกำหนดไว้ในระเบียบของ
สหกรณ์ และเมือ่ เห็นว่าหลกั ประกันสำหรับเงินกู้รายใดเกิดบกพร่องก็ต้องกำหนดใหผ้ ู้กู้จัดการแก้ไขให้คืน
ดีภายในระยะเวลาทกี่ ำหนด
(3) ดแู ลและติดตามการชำระหนีข้ องสมาชกิ ผู้กใู้ หเ้ ป็นไปตามท่ีกำหนดในสัญญา
(4) สอบสวนเบื้องต้นให้ได้ข้อความจริง ในกรณีสมาชิกผกู้ ู้ขอผ่อนเวลาการส่งเงินงวด
ชำระหนเ้ี งนิ กู้หรอื ผิดนัดการส่งเงินงวดชำระหน้ี เพ่ือเสนอความเห็นใหค้ ณะกรรมการดำเนินการพจิ ารณา
ผอ่ นผันหรือเรียกคืนเงินกู้ หรือสอบสวนลงโทษให้สมาชกิ ออกจากสหกรณ์หรือพิจารณาว่าตกเป็นผู้ผิดนัด
ชำระหนี้ตามข้อ 70 (6) โดยจะต้องรายงานเปน็ ประจำทุกเดอื น

ขอ้ 82 คณ ะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์ คณะกรรมการดำเนินการอาจตั้ง
คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์จากคณะกรรมการดำเนินการ จำนวน……-………คน โดยให้มี
ตำแหน่งเปน็ ประธานกรรมการคนหนงึ่ และเลขานกุ ารคนหน่ึง นอกน้นั เป็นกรรมการ

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ให้ อ ยู่ ใน ต ำ แ ห น่ ง ได้ เท่ า ท่ี ก ำ ห น ด เว ล า ข อ ง
คณะกรรมการดำเนินการซึ่งต้ังคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพนั ธ์นัน้

ให้คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์ประชุมกนั ตามคราวที่มีกิจธุระ แต่ต้องมีการประชุม
กันเดือนละหน่ึงครั้งเป็นอย่างน้อย และให้ประธานกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์หรือเลขานุการ
นดั เรียกประชมุ ได้

ในการประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่า
กง่ึ จำนวนของกรรมการศกึ ษาและประชาสมั พนั ธ์ท้ังหมด จงึ จะเปน็ องค์ประชมุ

ให้คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์รายงานผลการปฏิบัติงานให้คณะกรรมการ
ดำเนนิ การทราบในการประชมุ คราวถัดไป

ข้อ 83อำนาจหน้าท่ีของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์ ให้คณะกรรมการศึกษา
และประชาสัมพันธ์มีอำนาจและหน้าท่ีดำเนินกิจการตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ มติ และคำสั่งของ
สหกรณใ์ นสว่ นที่เกยี่ วขอ้ ง ซ่ึงรวมท้ังในข้อตอ่ ไปนี้

(1) ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่สมาชิก โดยให้การศึกษาและอบรมแก่สมาชิก
และผ้ทู ี่สนใจใหท้ ราบถงึ เจตนารมณ์ หลักวิธกี าร และการบริหารงานของสหกรณ์

ขอ้ บงั คบั สหกรณ์ หน้า 35
ประเภทสหกรณเ์ ครดิตยูเนีย่ น

(2) ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข่าวสาร ความรู้เกี่ยวกับลักษณะ ประโยชน์ รวมทั้ง
ผลงานของสหกรณ์ให้สมาชิก และบคุ คลภายนอกรับทราบ

(3) ดำเนินการในการ ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้แก่ผู้สนใจเข้าเป็นสมาชิกและเย่ียมเยียน
สมาชิกเปน็ ครง้ั คราว

(4) ให้การศึกษาอบรมและเผยแพร่แก่สมาชิกถึงวิธีการออมทรัพย์ และการใช้จ่ายเงิน
อย่างรอบคอบ ตลอดจนวชิ าการต่าง ๆ อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การประกอบอาชพี

(5) ศึกษาและติดตามข่าวความเคล่อื นไหวดา้ นการดำเนนิ งานของสหกรณ์อน่ื ท้ังในและ
นอกประเทศเพื่อนำตัวอย่างท่ีดีมาเสนอคณะกรรมการดำเนินการพิจารณานำมาบริการแก่สมาชิกตาม
ความเหมาะสม

ข้อ 84 คณะอนุกรรมการ ในกรณีจำเป็นแก่การดำเนินงานคณะกรรมการดำเนินการอาจมี
คำส่ังแต่งต้ังอนุกรรมการต่าง ๆ เพ่ือมอบหมายให้ปฏิบัติภารกิจของสหกรณ์ โดยมีอำนาจหน้าที่ตามที่
คณะกรรมการดำเนินการกำหนด

คณะกรรมการดำเนินการอาจแต่งต้ังบุคคลภายนอกที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเร่ืองนั้น ๆ
เป็นท่ปี รกึ ษาคณะอนกุ รรมการและให้ถือว่าทปี่ รกึ ษาคณะอนกุ รรมการเป็นสว่ นหนึ่งขององค์ประกอบ

ประธานในท่ปี ระชุม

ขอ้ 85 ประธานในท่ีประชุม ในการประชุมใหญ่หรือการประชุมคณะกรรมการดำเนินการให้
ประธานกรรมการเป็นประธานในท่ีประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุม ก็ให้รองประธาน
กรรมการเป็นประธานในท่ีประชุม และถ้ารองประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมด้วยก็ให้ท่ีประชุม
เลือกต้งั กรรมการดำเนินการคนหนึ่งขน้ึ เปน็ ประธานในทปี่ ระชุมเฉพาะการประชมุ คราวน้นั

ในการประชุมคณะกรรมการอื่นหรือคณะอนุกรรมการ เช่น คณะกรรมการอำนวยการ
คณะกรรมการเงินกู้ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์ ให้ประธานของคณะกรรมการน้ัน ๆ
เป็นประธานในท่ีประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในท่ีประชุม ก็ให้ท่ีประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็น
ประธานในทปี่ ระชมุ เฉพาะการประชุมคราวนน้ั

ในการประชุมกลุ่ม ให้ประธานของกลุ่มหรือเลขานุการกลุ่ม (ถ้ามี) เป็นประธานในที่ประชุม
ตามลำดับแต่ถ้าประธานกลุ่มหรอื เลขานุการกล่มุ ไม่อย่ใู นทีป่ ระชมุ ก็ใหท้ ีป่ ระชมุ เลือกสมาชกิ ซง่ึ เขา้ ประชุม
คนหนึง่ ขึน้ เป็นประธานในที่ประชมุ เฉพาะการประชุมคราวนนั้

ในการประชุมใหญ่วิสามัญท่ีสมาชิกร้องขอให้เรียกประชุม ในกรณีท่ีที่ประชุมใหญ่ได้มีมติ
ถอด ถอน คณ ะกรรมการด ำเนิ น การทั้งคณ ะห รือต ำแห น่ งป ระธาน กรรมการให้ ผู้ ต รวจ สอบ กิจ การ
เปน็ ประธานในทปี่ ระชมุ เฉพาะคราวน้นั หรอื จนเสร็จการประชุม

ขอ้ บังคับสหกรณ์ หนา้ 36
ประเภทสหกรณเ์ ครดติ ยูเน่ยี น

ขอ้ 86 การออกเสียง สมาชิกหรือผู้แทนสมาชิกคนหน่ึงให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนนออก
เสียงในที่ประชุมใหญ่และที่ประชุมกลุ่มสุดแต่กรณี สมาชิกและผู้แทนสมาชิกจะมอบให้ผู้อื่นมาประชุม
และออกเสียงแทนตนไม่ได้

ถ้าในปัญหาซ่ึงท่ีประชุมวินิจฉัยนั้น ผู้ใดมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษเฉพาะตัว ผู้นั้นจะออกเสียงใน
เรือ่ งน้นั ไม่ได้

ข้อ 87 การวินิจฉัยปัญหา การวินิจฉัยปัญหาต่าง ๆ ในทปี่ ระชมุ ใหญ่ หรอื ท่ีประชมุ คณะกรรมการ
ดำเนินการ หรือที่ประชุมคณะกรรมการอ่ืน ๆ ให้ถือคะแนนเสียงข้างมาก ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน
ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มข้ึนอีกเสียงหน่ึงเป็นเสียงช้ีขาด เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้ให้ถือเสียง
ไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนสมาชิกหรอื ผ้แู ทนสมาชิกซึง่ มาประชุม

(1) การแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ขอ้ บงั คับ
(2) การควบสหกรณ์
(3) การแยกสหกรณ์
(4) การเลิกสหกรณ์
การอื่นใดที่ข้อบังคับน้ีกำหนดการลงคะแนนเสียงไว้เป็นการเฉพาะ ก็ให้ถือปฏิบัติเป็นไปตาม
ขอ้ กำหนดนั้น
ถ้าในปัญหาซ่ึงที่ประชุมวินิจฉัยนั้น ผู้ใดมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษเฉพาะตัว ผู้นั้นจะออกเสียงใน
เรือ่ งนั้นไม่ได้

รายงานการประชมุ

ข้อ 88 รายงานการประชุม ในการประชุมใหญ่ การประชุมกลุ่ม การประชุมคณะกรรมการ
ดำเนินการ หรือการประชุมคณะกรรมการอน่ื ๆ นั้น ต้องจัดให้ผู้เข้าประชุมลงลายมือช่ือพร้อมทั้งบันทึก
เร่ืองที่พิจารณาวินิจฉัยท้ังส้ินไว้ในรายงานการประชุม และให้ประธานในที่ประชุม เลขานุการ หรือ
กรรมการอ่ืน ๆ อนุกรรมการ แลว้ แต่กรณีอกี คนหนงึ่ ทเ่ี ขา้ ประชุมน้ัน ๆ ลงลายมือชื่อไวเ้ ปน็ สำคัญ

รายงานการประชุมคณะกรรมการดำเนนิ การต้องจัดทำให้แลว้ เสร็จภายในไม่เกนิ สามสบิ วัน

หมวด 9

ผจู้ ดั การและเจ้าหน้าท่ีอนื่ ของสหกรณ์

ขอ้ 89 การจา้ งและแต่งต้ังผูจ้ ัดการ คณะกรรมการดำเนนิ การอาจพจิ ารณาคดั เลอื กบุคคลทมี่ ี
ความซ่ือสัตย์สุจริต มีความรู้ความสามารถและความเหมาะสมเพื่อแต่งตั้งหรือจ้างเป็นผู้จัดการของ
สหกรณ์โดยต้องไม่เป็นบุคคลท่ีมีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 70(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11)

ขอ้ บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 37
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยูเน่ียน

(12) และ (13) หรือเป็นท่ีปรึกษาสหกรณ์หรือเปน็ ผตู้ รวจสอบกิจการสหกรณ์ และในการจา้ งผู้จัดการตอ้ ง
ทำหนังสือสัญญาจ้างไวเ้ ป็นหลักฐาน และให้คณะกรรมการดำเนินการเรียกให้มีหลักประกันใหเ้ ปน็ ไปตาม
กฎหมาย

ในการแตง่ ตั้ง หรือจ้างผู้จดั การ ต้องให้ผจู้ ัดการรับทราบและรับรองท่จี ะปฏบิ ตั ิหนา้ ทีด่ ังกำหนด
ไวใ้ นข้อ 95 เปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร

ใหค้ ณะกรรมการดำเนินการมอี ำนาจกำหนดระเบียบของสหกรณเ์ ก่ียวกบั การคัดเลือกหรอื สอบ
คดั เลอื ก การแตง่ ตั้งหรือจา้ งการกำหนดอัตราเงินเดอื น การให้สวสั ดิการ และการให้ออกจากตำแหนง่ ของ
ผจู้ ดั การ

ขอ้ 90 การดำรงตำแหน่งผู้จัดการ สหกรณ์อาจจ้างผู้จัดการได้สองวิธี คือ มีกำหนดระยะเวลาจ้าง
หรือไมม่ กี ำหนดระยะเวลาจา้ งก็ได้

ข้อ 91 อำนาจหน้าทแี่ ละความรับผดิ ชอบของผจู้ ดั การ ผูจ้ ดั การมอี ำนาจหนา้ ทีใ่ นการจดั การทวั่ ไป
และรบั ผิดชอบเกี่ยวกับบรรดากิจการประจำของสหกรณ์ รวมทง้ั ในขอ้ ต่อไปนี้

(1) ตรวจสอบการสมัครเข้าเป็นสมาชิกเป็นการถูกต้อง ตลอดจนเป็นธุระจัดให้ผู้เข้า
เป็นสมาชิกและสมาชิกสมทบลงลายมือช่ือในทะเบียนสมาชิกตามลำดับ และชำระค่าธรรมเนียมแรกเข้า
เงนิ สะสม และเงินค่าหุ้นตามข้อบงั คบั ของสหกรณ์

(2) ควบคุมให้มีการเก็บเงินค่าหุ้น การออกสมุดประจำตัวสมาชิกแจ้งยอดจำนวนหุ้น
จา่ ยคืนเงนิ สะสม จ่ายคืนเงนิ คา่ หนุ้ และชักชวนการถือหนุ้ ในสหกรณ์

(3) รบั ฝากเงิน จา่ ยคืนเงนิ ฝาก และสง่ เสริมการรบั ฝากเงินของสหกรณ์
(4) เป็นธุระในการตรวจสอบคำขอกู้ จ่ายเงินกู้ จัดทำเอกสารเก่ียวกับเงินกู้ให้เป็นไป
ตามแบบและระเบยี บของสหกรณ์
(5) จัดทำรายละเอียดของสมาชิกรายตัวเกี่ยวกับเงินค่าหุ้น และเงินให้กู้ทุกหกเดือน
พรอ้ มกับแจง้ ให้สมาชิกทราบเปน็ รายบคุ คล
(6) พิจารณาจัดจ้างเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ตามอำนาจหน้าท่ีท่ีกำหนดในระเบียบของ
สหกรณ์รวมถึงกำหนดหน้าที่และวิธีปฏิบัติงานของบรรดาเจ้าหน้าท่ีของสหกรณ์ ตลอดจนเป็น
ผบู้ งั คบั บญั ชาและรับผิดชอบดูแลการปฏบิ ัติงานของเจา้ หนา้ ที่เหลา่ น้นั ใหเ้ ป็นไปโดยถูกต้องเรยี บรอ้ ย
(7) เป็นธุระกวดขันในเรื่องการออกใบรับ เรียกใบรับ หรือจัดให้มีใบสำคัญโดย
ครบถ้วน รับผิดชอบในการรับจ่ายเงินของสหกรณ์ให้เป็นการถูกต้อง รวบรวมใบสำคัญและเอกสารต่าง ๆ
เกี่ยวกับการเงินไว้โดยครบถ้วน และเก็บรักษาเงินของสหกรณ์ให้เป็นไปตามท่ีกำหนดไว้ในระเบียบของ
สหกรณ์

ข้อบงั คบั สหกรณ์ หนา้ 38
ประเภทสหกรณเ์ ครดติ ยูเนย่ี น

(8) รับผิดชอบและดูแลในการจัดทำบัญชีและทะเบียนต่าง ๆ ของสหกรณ์ให้ถูกต้อง
ครบถว้ นและเปน็ ปจั จุบัน

(9) ติดต่อประสานงานกับเลขานุการในการนัดเรียกประชุมใหญ่ ประชุมคณะกรรมการ
ดำเนินการ และประชุมคณะกรรมการอืน่ ๆ และประชุมคณะอนุกรรมการ

(10) รบั ผดิ ชอบจดั ทำงบการเงนิ ประจำปี และรายงานประจำปแี สดงผลการดำเนนิ งาน
ของสหกรณเ์ สนอคณะกรรมการดำเนินการพจิ ารณา เพื่อเสนอให้ทป่ี ระชุมใหญอ่ นมุ ัติ

(11) จัดทำแผนงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีของสหกรณ์ เสนอคณะกรรมการ
ดำเนินการพจิ ารณา เพ่ือเสนอให้ที่ประชุมใหญอ่ นุมตั ิ

(12) จัดทำแผนปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีให้สอดคล้องกับแผนงานที่ได้รับอนุมัติจากท่ี
ประชุมใหญ่

(13) เข้าร่วมประชุมและช้ีแจงในการประชุมใหญ่ ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ
และประชุมคณะกรรมการอืน่ ๆ เวน้ แตก่ รณีซึง่ ทีป่ ระชมุ นนั้ ๆ มิให้เข้าร่วมประชมุ

(14) ปฏิบัตกิ ารเก่ยี วกับงานสารบรรณของสหกรณ์
(15) รักษาดวงตราของสหกรณ์ และรับผิดชอบตรวจตราดูแลทรัพย์สินต่าง ๆ ของ
สหกรณ์ใหอ้ ยใู่ นสภาพอนั ดีและปลอดภัย
(16) เสนอรายงานกจิ การประจำเดือนของสหกรณ์ต่อคณะกรรมการดำเนนิ การ
(17) เสนอรายการหรอื รายงานของสหกรณ์ต่อทางราชการ ตามแบบและระยะเวลาท่ีทาง
ราชการกำหนด
(18) ค้ำประกันเงินกู้ที่สหกรณ์กู้ยืมจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ โดยรับผิดชอบการค้ำ
ประกนั ในฐานะส่วนตวั
(19) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามท่ีคณะกรรมการดำเนินการหรือคณะกรรมการอ่ืนๆ ของ
สหกรณม์ อบหมายใหห้ รือตามที่ควรกระทำ เพ่ือใหก้ จิ การในหน้าท่ลี ุล่วงไปดว้ ยดี

ขอ้ 92 การพ้นจากตำแหน่งของผู้จัดการ ผู้จัดการต้องพ้นจากตำแหน่งด้วยเหตุอย่างหน่ึง
อย่างใดดังต่อไปนี้

(1) ตาย
(2) ลาออกโดยแสดงความจำนงทำเป็นหนงั สอื ต่อคณะกรรมการดำเนนิ การ
(3) ขาดคุณสมบัติตามระเบียบของสหกรณ์ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามที่ข้อบังคบั และ
กฎหมายสหกรณ์กำหนด
(4) อายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ หรือครบกำหนดตามสัญญาจ้าง สุดแต่เง่ือนไขใดถึงกำหนด
กอ่ น และใหพ้ ้นจากตำแหน่งในวนั ส้นิ ปีทางบญั ชีท่ีอายุครบหกสบิ ปีบรบิ รู ณ์

ขอ้ บงั คับสหกรณ์ หนา้ 39
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยเู นยี่ น

(5) ถูกเลกิ จา้ ง
(6) ถูกลงโทษให้ออกหรือไล่ออก หรือมีพฤติกรรมอันแสดงให้เห็นเป็นประจักษ์ว่าได้
กระทำการหรือละเว้นการกระทำการใด ๆ อันอาจทำให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีแก่
ประชาชนหรอื ไม่เหมาะสมกบั ตำแหนง่ หนา้ ทีผ่ ูจ้ ดั การสหกรณ์
ข้อ 93 การลาออกของผู้จัดการ ให้ผู้จัดการย่ืนหนงั สือถึงสหกรณ์ก่อนวนั ท่จี ะออกไม่น้อยกว่า
สามสบิ วัน และใหเ้ ลขานกุ ารนำเสนอทป่ี ระชมุ คณะกรรมการดำเนินการพิจารณาการลาออกนั้น
การยับย้ังการลาออกของผจู้ ดั การกระทำไดไ้ ม่เกนิ หกสิบวัน
ข้อ 94 การมอบหมายงานในหน้าท่ีผจู้ ัดการใหก้ รรมการดำเนินการ ภายในห้าปี นับแตว่ นั ที่
จดทะเบียนสหกรณ์ ถ้าสหกรณ์ยังมิได้มีการจัดจ้างและแต่งตั้งผู้จัดการ หรือสหกรณ์ไม่อยู่ในฐานะจะจัด
จ้างเจ้าหน้าที่สหกรณ์ในตำแหน่งอื่นด้วยได้ ให้คณะกรรมการดำเนินการดำเนินการมอบหมาย
งานในหนา้ ทผี่ ้จู ัดการให้กรรมการดำเนนิ การคนใดคนหนง่ึ ได้ตามที่เหน็ สมควร

ข้อ 95 การแต่งต้ังผู้รักษาการแทนผู้จัดการ ถ้าตำแหน่งผู้จัดการว่างลงและยังไม่ได้แต่งต้ังให้
ผู้ใดดำรงตำแหน่งแทน หรือเมื่อผู้จัดการไม่อยู่หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้เป็นคร้ังคราว ให้รองผู้จัดการ
หรอื ผชู้ ว่ ยผู้จัดการ หรอื เจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ตามที่คณะกรรมการดำเนินการมอบหมายเป็นผรู้ ักษาการแทน

ข้อ 96 การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการ ในกรณีที่มีการเปล่ียนผู้จัดการ ให้เป็นหน้าที่ของ
คณะกรรมการดำเนินการต้องจัดให้มีการตรวจสอบหลักฐานทางบัญชีและการเงิน กับบรรดาทรัพย์สิน
และหนี้สนิ ตลอดจนจัดทำงบการเงินของสหกรณเ์ พอ่ื ทราบฐานะอนั แท้จริงก่อนท่จี ะสง่ มอบงาน

ขอ้ 97 เจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ นอกจากตำแหน่งผู้จัดการแล้ว สหกรณ์อาจจัดจ้างและแต่งต้ัง
เจ้าหน้าที่อื่นตามความจำเป็นเพ่ือปฏิบัติงานในสหกรณ์โดยต้องไม่เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามตาม
ข้อ 70 (1) (2) (3) และ (4) หรือเป็นที่ปรึกษาสหกรณ์หรือเป็นผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ ท้ังน้ี
ตามระเบยี บของสหกรณ์

หมวด 10

ท่ีปรกึ ษาและผตู้ รวจสอบกิจการ

ข้อ 98 ท่ีปรึกษา คณะกรรมการดำเนินการอาจเชิญบุคคลภายนอกซึ่งทรงคุณวุฒิมีความรู้
ความสามารถและเหมาะสมเป็นที่ปรึกษาได้ เพ่ือให้ความเห็นแนะนำในการดำเนินงานทั่วไปของสหกรณ์
จำนวนไมเ่ กนิ ห้าคน ทงั้ น้ี ให้เปน็ ไปตามระเบยี บของสหกรณ์

ข้อบังคับสหกรณ์ หน้า 40
ประเภทสหกรณเ์ ครดติ ยเู นยี่ น

ผลประโยชน์และค่าตอบแทนหรือค่าใช้จ่ายท่ีมีช่ือเรียกเป็นอย่างอ่ืนของผู้ทรงคุณวุฒิท่ีเป็นที่
ปรึกษาซึ่งจะต้องได้รับให้อยู่ภายใต้งบประมาณรายจ่ายที่ได้รับอนุมัติจากท่ีประชุมใหญ่และจะต้องแ สดง
ไวใ้ นรายงานประจำปเี พือ่ เสนอต่อท่ีประชมุ ใหญ่ทราบเป็นรายบุคคล

ผูต้ รวจสอบกจิ การ

ข้อ 99 ผู้ตรวจสอบกิจการ ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกต้ังสมาชิกหรือบุคคลภายนอกซึ่งเป็นบุคคล
ธรรมดา หรือนิติบุคคล และเป็นผู้ท่ีมีคุณวุฒิความรู้ความสามารถในด้านการเงิน การบัญชี การบริหารธุรกิจ
เศรษฐศาสตร์ การสหกรณ์ หรือกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับสหกรณ์ และมีคุณสมบัติเป็นผู้ผ่านการอบรมการ
ตรวจสอบกิจการจากกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ หรือหน่วยงานอ่ืนท่ีได้รับการรับรองหลักสูตรจากกรมตรวจบัญชี
สหกรณ์ รวมทั้งไม่มีลักษณะต้องห้ามตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ เป็นผู้ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์
จำนวน 1 (หน่ึง) คน

กรณีเลือกคณะผู้ตรวจสอบกิจการ ให้มีประธานคณะหนึ่งคน มีหน้าที่ควบคุมดูแลการ
ปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบกิจการ และให้ประกาศช่ือประธานคณะผู้ตรวจสอบ
กิจการให้ท่ีประชมุ ใหญ่ทราบดว้ ย

ข้อ 100 ขั้นตอนและวิธีการเลือกต้ังผู้ตรวจสอบกิจการ ให้สหกรณ์ประกาศขั้นตอนและ
วิธีการเลือกตั้งเป็นลายลักษณ์อักษรให้สมาชกิ ทราบก่อนวันประชุมใหญ่ และให้ประกาศรับสมัครบุคคล
เข้ารับการเลอื กตง้ั เป็นผู้ตรวจสอบกิจการก่อนวันประชุมใหญ่ และพิจารณาคดั เลือกผตู้ รวจสอบกจิ การท่ี
มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ กำหนดเพื่อนำเสนอชื่อผู้ที่ผ่าน
การคัดเลือกเสนอให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งตามประกาศ โดยผู้สมัครเข้ารับการเลือกต้ังเป็นผู้ตรวจสอบ
กิจการต้องแสดงตนต่อที่ประชุมใหญ่ด้วย และให้ผู้ที่ได้รับเลือกต้ังคะแนนสูงสุดเป็นผู้ตรวจสอบกิจการ
หากมคี ะแนนเทา่ กันใหป้ ระธานออกเสียงเพ่ิมอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงช้ีขาด ท้ังนี้ ให้ผู้ที่ไดร้ ับเลือกต้ังลำดับ
คะแนนรองลงมาเป็นผตู้ รวจสอบกิจการสำรอง จำนวน 1 (หน่ึง) คน

กรณีมีผู้ตรวจสอบกิจการคนใดต้องขาดจากการเป็นผู้ตรวจสอบกิจการตามข้อ 106 (2) (3) (4) หรือ
(5) ให้ผตู้ รวจสอบกิจการสำรองเขา้ ปฏบิ ตั ิหน้าทไี่ ด้ทันทีเท่าระยะเวลาที่เหลอื อยขู่ องผู้ซึ่งตนแทน หรือจนกว่าจะมี
การเลอื กตัง้ ผตู้ รวจสอบกจิ การใหม่

ข้อ 101 การดำรงตำแหน่งผู้ตรวจสอบกิจการ ผู้ตรวจสอบกิจการอยู่ในตาแหน่งได้

มกี าหนดเวลาสามปี ปีบญั ชสี หกรณ์ เม่อื ครบกาหนดเวลาแลว้ ยงั ไมม่ กี ารเลอื กตงั้ ผตู้ รวจสอบกจิ การคน

ให ม่

กใ็ หผ้ ู้ตรวจสอบกจิ การคนเดมิ ปฏบิ ตั หิ น้าทอ่ี ยู่ต่อไปจนกว่าท่ีประชุมใหญ่มมี ตเิ ลอื กตงั้ ผตู้ รวจสอบ

กจิ การคนใหม่

ข้อบงั คับสหกรณ์ หน้า 41
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยเู น่ียน

ผตู้ รวจสอบกจิ การท่พี น้ จากตาแหน่งตามวาระอาจจะไดร้ บั เลอื กตงั้ จากทป่ี ระชุมใหญ่

อกี ไดแ้ ต่ตอ้ งไม่เกนิ สองวาระตดิ ต่อกนั

กรณีผูต้ รวจสอบกจิ การขาดจากการเป็นผู้ตรวจสอบกจิ การก่อนครบวาระ ใหก้ าหนด

ระเบยี บวาระการประชุมใหญ่เพ่ือเลอื กตงั้ ผู้ตรวจสอบกจิ การคนใหม่ ในคราวประชุมใหญ่ครงั้ แรก

ห ลั งจ าก

ผูต้ รวจสอบกจิ การคนนัน้ ขาดจากการเป็นผู้ตรวจสอบกิจการ และนับวาระการดารงตาแหน่งของ

ผแู้ ทนตอ่ เน่ืองจากผทู้ ต่ี นมาดารงตาแหน่ง

ข้อ 102 การขาดจากการเป็นผู้ตรวจสอบกิจการ ผู้ตรวจสอบกิจการต้องขาดจากการเป็น
ผตู้ รวจสอบกจิ การเพราะเหตุอย่างใดอย่างหน่ึงดังต่อไปนี้

(1) พ้นจากตำแหน่งตามวาระ
(2) ตาย
(3) ลาออก โดยแสดงเหตุผลเป็นหนังสือย่ืนต่อประธานคณะกรรมการดำเนินการและให้มีผล
วนั ที่ประชมุ คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์มีมตริ บั ทราบ
(4) ที่ประชุมใหญ่ของสหกรณ์ลงมติถอดถอนผู้ตรวจสอบกิจการซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา
หรอื นติ บิ ุคคล ออกจากตำแหน่งท้งั คณะหรอื รายบุคคล
(5) อธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์วินิจฉัยว่าขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตาม
ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์กำหนด
ขอ้ 103 อำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจสอบกิจการ ผู้ตรวจสอบกิจการมีอำนาจหน้าท่ีตรวจสอบการ
ดำเนินงานทั้งปวงของสหกรณ์ท้ังด้านการปฏิบัติงานเก่ียวกบั การเงิน การบัญชี และด้านปฏิบัติการในการ
ดำเนินธุรกิจตามท่ีกำหนดไวใ้ นข้อบังคบั ของสหกรณ์ รวมท้ังการประเมินผลการควบคุมภายใน การรักษา
ความปลอดภยั ของขอ้ มูลสารสนเทศของสหกรณ์ และการตรวจสอบในเร่ืองต่าง ๆ ดังนี้

(1) ตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกบัญชีเพ่ือให้เป็นไปตามแบบและรายการ
ทีน่ ายทะเบียนสหกรณ์กำหนด

(2) ประเมินความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดำเนินงานของคณะกรรมการ
ดำเนินการเพ่ือให้ข้อสังเกตและขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุงการบริหารงานของคณะกรรมการดำเนินการ
ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบยี บของสหกรณ์

(3) สอบทานระบบการปฏิบัติงานของสหกรณ์ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ
นายทะเบียนสหกรณ์ข้อบังคับ และระเบียบของสหกรณ์ รวมทั้งคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ สำนักงาน
สหกรณจ์ ังหวดั สำนกั งานตรวจบัญชีสหกรณ์ กำหนดใหต้ ้องปฏิบัติ

ข้อบังคับสหกรณ์ หนา้ 42
ประเภทสหกรณเ์ ครดิตยูเนย่ี น

(4) ตรวจสอบและสอบทานระบบการควบคุม ดูแลรักษาทรัพย์สินของสหกรณ์
วิเคราะห์และประเมินความมีประสิทธิภาพการใช้ทรัพย์สินของสหกรณ์ เพื่อให้การใช้ทรัพย์สินเป็นไป
อยา่ งเหมาะสมและค้มุ คา่

(5) ตรวจสอบและตดิ ตามการดำเนินงานของสหกรณ์ในการพิจารณาแก้ไข ข้อสงั เกต
หรือข้อบกพร่องเก่ียวกับการดำเนินงานที่ได้รับแจ้งจากสำนักงานสหกรณ์จังหวัด สำนักงานตรวจบัญชี
สหกรณ์ หรือผู้สอบบัญชี

ข้อ 104 การรายงานผลการตรวจสอบ ให้ผู้ตรวจสอบกจิ การมีหน้าที่รายงานผลการตรวจสอบ
เป็นลายลักษณ์อักษรประจำเดือนและประจำปี เพื่อสรปุ ผลการตรวจสอบ รวมท้ังข้อสังเกตขอ้ เสนอแนะท่ีเป็น
ประโยชน์ และเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดำเนินการเพ่ือแจ้งผลการตรวจสอบประจำเดือนที่ผ่านมา เข้า
ร่วมประชมุ ใหญ่เพื่อรายงานผลการตรวจสอบประจำปีเสนอต่อท่ีประชุมใหญ่ของสหกรณด์ ้วย

กรณีพบว่ามีเหตุการณ์ท่ีอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่สหกรณ์หรือสมาชิก หรือสหกรณ์มีการ
ปฏิบัติไม่เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ คําสั่ง ประกาศหรือคําแนะนําของทางราชการ รวมทั้งข้อบังคับ
ระเบียบ มติที่ประชุมหรือคําส่ังของสหกรณ์ที่อาจจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่สมาชิกหรือสหกรณ์อย่าง
ร้ายแรง ให้แจ้งผลการตรวจสอบกิจการต่อคณะกรรมการดําเนินการทันทีเพื่อดําเนินการแก้ไข และให้จัดส่ง
สําเนารายงานดงั กล่าวต่อสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ และสำนักงานสหกรณ์จังหวัดโดยเรว็

ให้ผู้ตรวจสอบกิจการติดตามผลการดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง ข้อสังเกต และให้รายงานผลการ
ติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง ขอ้ สังเกตของสหกรณ์ไว้ในรายงานผลการตรวจสอบกิจการด้วย

ข้อ 105 ความรับผิดของผู้ตรวจสอบกิจการ กรณีผู้ตรวจสอบกิจการปฏิบัติหรือละเว้น
การปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ หรือประพฤติผิดจริยธรรมในการปฏิบัติงานจนเป็นเหตุให้สหกรณ์ได้รับ
ความเสียหาย ผู้ตรวจสอบกิจการต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายให้แก่สหกรณ์ หรือหากตรวจพบ
ข้อบกพร่องของสหกรณ์ต้องแจ้งให้คณะกรรมการดำเนินการทราบโดยเร็ว และผู้ตรวจสอบกิจการต้อง
รบั ผดิ ชอบชดใชค้ ่าเสยี หายอันจะเกดิ แก่สหกรณ์ดว้ ยเหตไุ ม่แจง้ นน้ั

การพจิ ารณาความรบั ผดิ ของผูต้ รวจสอบกิจการให้เป็นไปตามมติของท่ปี ระชมุ ใหญ่

ข้อ 106 สหกรณม์ หี นา้ ท่ตี อ่ ผตู้ รวจสอบกิจการดงั นี้
(1) อำนวยความสะดวก ให้ความร่วมมือแก่ผู้ตรวจสอบกิจการ ในการให้คำชี้แจงตอบ

ข้อซักถามต่าง ๆ พร้อมทั้งจัดเตรียมข้อมูล เอกสารหลักฐานประกอบการบันทึกบัญชีของสหกรณ์
เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบกิจการ

(2) กำหนดระเบียบวาระการประชุมให้ผู้ตรวจสอบกิจการรายงานผลการตรวจสอบ
กิจการประจำเดือนและจัดทำหนังสือเชิญให้ผู้ตรวจสอบกิจการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดำเนินการ
สหกรณ์ทกุ ครง้ั

ขอ้ บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 43
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยเู นี่ยน

(3) พิจารณาปฏิบัติตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของผู้ตรวจสอบกิจการ เพ่ือให้
การดำเนินกจิ การของสหกรณ์เป็นไปโดยถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ และขอ้ บังคบั ของสหกรณ์

หมวด 11

การแกไ้ ขเพ่มิ เติมข้อบังคับ

ขอ้ 107 การแก้ไขเพ่มิ เติมข้อบงั คับ จะกระทำได้ก็แตโ่ ดยหลักเกณฑ์และวิธกี ารดังต่อไปนี้
(1) ต้องกำหนดในระเบียบวาระการประชุมใหญ่เป็นเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ และให้แจ้งไป

ยงั สมาชกิ พร้อมหนงั สือแจง้ ระเบยี บวาระการประชมุ ใหญ่
(2) คณะกรรมการดำเนินการจะเสนอวาระแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับได้ เม่ือมีการ

พิจารณาเร่ืองที่จะขอแก้ไขเพ่ิมเติมนั้นในที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ โดยมติให้แก้ไขเพ่ิมเติม
ข้อบังคับน้นั ใหถ้ อื เสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนกรรมการดำเนนิ การที่มีอยู่ทั้งหมดในขณะน้นั

กรณีที่สมาชิกหรือผู้แทนสมาชิกไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกหรือผู้แทน
สมาชิกทั้งหมดหรือไม่น้อยกว่าหน่ึงร้อยคน ลงลายมือชื่อทำหนังสือร้องขอต่อคณะกรรมการดำเนินการ
ก่อนการประชุมใหญ่ไม่น้อยกว่าสามสิบวันให้แก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับก็ย่อมทำได้ โดยต้องระบุข้อความ
ท่ีขอแก้ไขเพ่มิ เติมน้นั พร้อมด้วยเหตุผล

(3) การพิจารณาวาระการแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับ ให้กระทำได้แต่เฉพาะในการประชุมใหญ่
ที่มีองค์ประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกหรือของผู้แทนสมาชิกท้ังหมด หรือมีองค์ประชุม
ไม่นอ้ ยกว่าหนึง่ รอ้ ยคน แลว้ แตก่ รณี

(4) ข้อบังคับที่นายทะเบียนสหกรณ์รับจดทะเบียนแล้ว หากยังไม่ได้กำหนดระเบียบ
หรือคำส่ังให้สอดคล้องกัน ก็ให้นำความที่ได้กำหนดไว้ในข้อบังคับแล้วน้ันมาบังคับใช้และให้ผู้เก่ียวข้อง
ถือปฏิบตั ิ

หมวด 12

ขอ้ เบ็ดเสรจ็

ข้อ108 ระเบียบของสหกรณ์ ให้คณะกรรมการดำเนินการมีอำนาจหน้าท่ีกำหนดระเบียบต่าง ๆ
เพ่ือดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์แห่งข้อบังคับนี้ และเพ่ือความสะดวกในการปฏิบัติงานของ
สหกรณ์ รวมทัง้ ในขอ้ ตอ่ ไปนี้

(1) ระเบยี บวา่ ดว้ ยการรับเงินฝากจากสมาชิกสหกรณ์
(2) ระเบียบว่าดว้ ยการรบั เงนิ ฝากจากสหกรณอ์ ่ืน
(3) ระเบียบว่าด้วยการรับเงนิ ฝากจากสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์

ข้อบังคับสหกรณ์ หน้า 44
ประเภทสหกรณเ์ ครดิตยูเน่ยี น

(4) ระเบยี บว่าดว้ ยการใหเ้ งนิ กู้แกส่ มาชกิ สหกรณ์
(5) ระเบียบว่าด้วยการใหเ้ งินกู้แก่สหกรณ์อื่น
(6) ระเบียบว่าด้วยกลมุ่ สมาชกิ
(7) ระเบียบว่าด้วยสมดุ ประจำตัวสมาชกิ
(8) ระเบยี บว่าด้วยการรับจา่ ยและเก็บรกั ษาเงนิ
(9) ระเบียบว่าด้วยเจ้าหนา้ ท่ีและข้อบงั คับเก่ยี วกบั การทำงาน
(10) ระเบยี บวา่ ด้วยการใช้ทนุ เพ่อื สาธารณประโยชน์
(11) ระเบียบวา่ ด้วยสวัสดกิ าร
(12) ระเบียบว่าด้วยท่ปี รึกษา
(13) ระเบียบว่าดว้ ยการให้บริการสมาชิกสมทบ
(14) ระเบียบวา่ ดว้ ยการตรวจสอบและแกไ้ ขปัญหาหรือขอ้ ร้องเรยี นของสมาชกิ
(15) ระเบียบอ่ืน ๆ ท่ีคณะกรรมการดำเนินการเห็นสมควรกำหนดไว้ให้มี เพ่ือสะดวก
และเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติงานของสหกรณ์
ระเบียบใน (1) (2) (3) และ (5) ต้องได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ก่อนจึงจะใช้
บังคบั ได้ และระเบียบตาม (13) ตอ้ งไดร้ ับความเหน็ ชอบจากทีป่ ระชุมใหญก่ อ่ นจึงจะใชบ้ ังคับได้

ส่วนระเบียบอื่นเม่ือคณะกรรมการดำเนินการกำหนดใช้แล้ว ให้ส่งสำเนาให้นายทะเบียน
สหกรณแ์ ละกรมตรวจบัญชสี หกรณ์ทราบภายในสามสบิ วนั

ข้อ 109 การดำเนินคดีเกี่ยวกับความเสียหาย ในกรณีที่ทรัพย์สินของสหกรณ์ถูกยักยอก
หรอื เสียหายโดยประการใด ๆ หรอื ในกรณที สี่ หกรณ์เรียกคืนเงินกตู้ ามข้อ 14 และข้อ 112 (4) (5) แต่มไิ ด้
รบั ชำระตามเรยี กให้คณะกรรมการดำเนินการต้องรอ้ งทุกข์หรือฟ้องคดีภายในกำหนดอายคุ วาม

ข้อ 110 การตีความในข้อบังคับ ถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับการตีความในข้อบังคับข้อใด ให้คณะกรรมการ
ดำเนินการเสนอปัญหาน้ันต่อนายทะเบียนสหกรณ์เพื่อขอคำวินิจฉัย และให้สหกรณ์ถือปฏิบัติตามคำ
วนิ ิจฉัยนนั้

ข้อ 111 ทรัพย์สินของสหกรณ์ การจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ของสหกรณ์ต้องได้รับความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการดำเนินการที่มีอยู่ในขณะนั้นเป็นเอกฉันท์ และต้องได้รับความเห็นชอบจาก
ทป่ี ระชุมใหญด่ ว้ ย

การลงมติเห็นชอบของท่ีประชุมใหญ่ตามความในวรรคแรกให้ถือเสียงข้างมากของสมาชิกหรือ
ผู้แทนสมาชกิ ซงึ่ มาประชุม

ข้อบงั คับสหกรณ์ หน้า 45
ประเภทสหกรณเ์ ครดิตยเู นี่ยน

ข้อ112 การจำหน่ายทรัพย์สินเมื่อสหกรณ์ต้องเลิก เมื่อสหกรณ์ต้องเลิกและได้จัดการชำระบัญชี
โดยจำหน่ายทรัพย์สินตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ตลอดทั้งจ่ายคืนเงินรับฝากพร้อมด้วยดอกเบี้ย และ
ชำระหน้ีสินอื่น ๆ ของสหกรณ์เสร็จสิ้นแล้ว ปรากฏว่าสหกรณ์มีทรัพย์สินเหลืออยู่เท่าใดให้ผู้ชำระบัญชี
จา่ ยตามลำดับ ดังต่อไปนี้

(1) จ่ายคนื เงินคา่ ห้นุ ให้แก่สมาชิกไม่เกนิ มลู ค่าหุ้นทช่ี ำระแล้ว
(2) จ่ายเป็นเงินปันผลตามหุ้นท่ีชำระแล้ว แต่ต้องไม่เกินอัตราที่นายทะเบียนสหกรณ์
กำหนด
(3) จ่ายเป็นเงนิ เฉลี่ยคนื ตามข้อ 26 (2)
เงินท่ีจ่ายตาม (2) และ (3) เม่ือรวมทั้งส้ินต้องไม่เกินยอดรวมแห่งจำนวนเงินกำไรสุทธิที่สหกรณ์
หาไดใ้ นระหว่างปีทเ่ี ลิกสหกรณ์กับทุนรักษาระดับอัตราเงินปันผลท่ีถอนไปตามข้อ 26 (4) ในปนี น้ั

ถ้ายังมีทรัพย์สินเหลืออยู่อีก ให้โอนให้แก่สหกรณ์อื่นหรือสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทยตามมติ
ของท่ีประชุมใหญ่ หรือด้วยความเห็นชอบของนายทะเบียนสหกรณ์ในกรณีท่ีไม่อาจเรียกประชุมใหญ่ได้ภายใน
สามเดือนนับแตว่ ันทชี่ ำระบัญชีเสร็จ

ข้อ 113 ในกรณีทขี่ ้อบังคับน้ีมไิ ด้กำหนดข้อความเรอ่ื งใดไว้ ให้สหกรณ์รบั บทบญั ญตั ิท่กี ำหนดไวใ้ น
กฎหมายวา่ ดว้ ยสหกรณ์ ตลอดจนคำส่ัง ระเบียบหรือคำแนะนำของนายทะเบียนสหกรณ์มาใช้เป็นส่วนหนึ่งแห่ง
ข้อบังคับนีด้ ว้ ย

บทเฉพาะกาล

ขอ้ 114 นับแตว่ ันท่ีข้อบังคับน้ีใช้บังคบั ระเบียบใดซงึ่ สหกรณ์ถือใช้อยู่กอ่ นวันทีข่ ้อบงั คับน้ีถอื ใช้
และไม่ขัดหรือแย้งกับข้อบังคับนี้ ให้ถือใช้ตามระเบียบนั้นไปก่อน จนกว่าจะได้กำหนดระเบียบขึ้นถือใช้
ใหม่ตามข้อบังคับน้ี

ข้อ 115 ให้คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และผู้ตรวจสอบกิจการ ที่ได้รับเลือกต้ังก่อน
ข้อบังคบั ฉบบั นี้ มีผลบงั คับใช้ ใหด้ ำรงตำแหน่งต่อไปจนครบวาระ

ข้อบังคบั สหกรณ์ หน้า 46
ประเภทสหกรณ์เครดติ ยูเนยี่ น

ขอ้ 116 ให้สมาชิก สมาชิกสมทบ ท่ีมีคณุ สมบัติตามข้อบังคับเดิมของสหกรณ์ยังคงเป็นสมาชิก
ต่อไปได้ โดยมีสทิ ธแิ ละหน้าที่ตามกำหนดในข้อบังคับเดิมไปจนกว่าจะขาดสมาชิกภาพ

ลงช่ือ…………………………………………………ประธานกรรมการ
(………………………………………………….)

ลงชอ่ื …………………………………………………เลขานกุ าร
(………………………………………………….)

เหตผุ ล ที่ต้องยกเลกิ ขอ้ บังคบั เดิมและใช้ข้อบังคบั ฉบับนี้แทน

เนื่องจากขอ้ บังคับฉบับเดมิ ถอื ใช้มาเปน็ ระยะเวลานาน จึงยกเลกิ ข้อบงั คับฉบบั เดิม และถือฉบับ
ใหม่เพื่อให้สอดคลอ้ งกบั พ.ร.บ.สหกรณ์ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม และให้เปน็ ไปตามประกาศของ
นายทะเบยี นสหกรณ์


Click to View FlipBook Version