The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ธรรมนูญโรงเรียนอุตรดิตถ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ratchanee_nasa, 2021-06-06 10:01:27

ธรรมนูญโรงเรียนอุตรดิตถ์

ธรรมนูญโรงเรียนอุตรดิตถ์

~1~

~ก~

ธรรมนญู โรงเรียนอุตรดิตถ์
พทุ ธศกั ราช 2564

เอกสารวิชาการ ลาดบั ที่ 2/2564
ปีทพ่ี มิ พ์ พ.ศ. 2564
จัดพมิ พโ์ ดย โรงเรียนอตุ รดติ ถ์

สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาพิษณโุ ลก อุตรดิตถ์
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

~ข~

ประกาศโรงเรียนอุตรดิตถ์
เร่ือง การใชธ้ รรมนูญโรงเรียนอตุ รดิตถ์ พทุ ธศกั ราช 2564

…………………………………….

ตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีนโยบายใหส้ ถานศึกษาจัดทา
ธรรมนูญโรงเรียนเพ่ือรวบรวมระเบียบ ข้อกาหนด รวมทั้งแนวปฏิบัติของสถานศึกษาไว้ให้
เป็นเครื่องมอื ในการสร้างความเข้าใจกับบุคคลที่เกยี่ วข้องสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถกู ตอ้ ง
และเหมาะสมกับระเบียบปฏิบัติ วัฒนธรรมประเพณีและขนบธรรมเนียมอันดีงามของ
สถานศึกษาแต่ละแห่งเป็นสาคัญ ในการนี้ โรงเรียนได้ดาเนินการจัดทาธรรมนูญโรงเรียน
ใหเ้ ป็นไปตามเจตนารมณ์และนโยบายดงั กล่าวแลว้

โรงเรียนอุตรดิตถ์ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
โรงเรียนอุตรดิตถ์ ตามมติการประชุมครั้งที่ 2/2564 เมื่อวันท่ี 24 พฤษภาคม
พ.ศ. 2564 ให้โรงเรียนประกาศใช้ธรรมนูญโรงเรียนอุตรดิตถ์ พุทธศักราช 2564 ต้ังแต่
ปีการศึกษา 2564 เป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ที่ 1 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564

(นายบญั ชร จันทรด์ า)
ผูอ้ านวยการโรงเรียนอตุ รดติ ถ์

~ค~

คานา

โรงเรียนอุตรดิตถ์ มีประวัติศาสตร์ที่สืบทอดทางวัฒนธรรมด้านการจัดการศึกษามาตั้งแต่
สมัยเป็นโรงเรียนวัดวังเตาหม้อ มาจนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 112 ปี โรงเรียนมีความประสงค์ท่ีจะ
รวบรวมประวัติการจัดตั้งโรงเรียนอุตรดิตถ์ รวมท้ังความมุ่งหมาย หลักเกณฑ์ระเบียบและแนวทาง
ในการบริหารจัดการโรงเรียนให้สอดคล้องกับบริบทความเป็นโรงเรียนประจาจังหวัด และเหมาะสม
กับการเป็นโรงเรียนที่มุ่งม่ันพัฒนานักเรียนให้เป็นคนดีมีคุณธรรมจริยธรรมมีวินัย มีความรู้
ความสามารถ มีความรักสามัคคีในหมู่คณะ รู้จักการเสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อส่วนรวม มีความ
กตัญญูกตเวที จงรักภักดีต่อชาติศาสนาพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองท่ดี ีของสังคมท้ังในปัจจบุ ันและ
อนาคตพร้อมช่วยกันพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองมั่นคงต่อไป จึงจัดทา“ ธรรมนูญโรงเรียน
อุตรดิตถ์”ฉบับน้ีข้ึนเพื่อให้โรงเรียนใช้เป็นคู่มือและแนวทางการบริหารจัดการภารกิจของโรงเรียน
ใหบ้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ เพื่อให้โรงเรยี นให้มคี วามเจรญิ มั่นคงสถาพรสืบไป

อน่ึงธรรมนูญโรงเรียนน้ีได้จัดทาขึ้นเป็นครั้งแรกซ่ึงอาจมีการแก้ไขเพ่ิมเติมได้ในอนาคต
เพอ่ื ใหเ้ กิดความสอดคล้องกับบริบทของสังคม ประเทศชาตแิ ละประโยชนข์ องโรงเรียนเป็นสาคัญ

โรงเรียนขอขอบคุณทุกท่านท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในการร่างธรรมนูญโรงเรียนนี้ให้สาเร็จตาม
ความมุ่งหมาย เพ่ือนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์และความเจริญรุ่งเรืองม่ันคงสถาพรของโรงเรียนอุตรดิตถ์
ตลอดไป

โรงเรียนอุตรดติ ถ์

~ง~ ค

สารบญั 1
๑4
คานา 14
สารบญั 15
ขอ้ มูลทั่วไปโรงเรียนอุตรดติ ถ์ 16
หมวดที่ 1 บททว่ั ไป 22
หมวดท่ี 2 นโยบายโรงเรยี น 27
หมวดที่ 3 รูปแบบการจดั การศกึ ษา 28
หมวดที่ 4 ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา 29
หมวดท่ี 5 นักเรยี น
หมวดที่ 6 คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
หมวดท่ี 7 วัฒนธรรมโรงเรยี นอตุ รดิตถ์
หมวดท่ี 8 การประกาศใชธ้ รรมนญู โรงเรียน

~1~

ข้อมูลทั่วไปโรงเรียนอุตรดติ ถ์

สภาพทว่ั ไปของโรงเรยี นอุตรดิตถ์
โรงเรียนอุตรดิตถ์ สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่
1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนอุตรดิตถ์ได้รับความเห็นชอบให้เปิด
หลักสูตรห้องเรียนพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 2 ห้อง
และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจานวน 2 ห้อง ปีการศึกษา 2553 ได้รับการคัดเลือกเข้าโครงการ
เสริมสร้างศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม ให้เปิดห้องเรียนพิเศษ
วทิ ยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (Science Mathematic Technology and Environment :
SMTE) จานวน 1 ห้องเรียน ปีการศึกษา 2562 ได้รับอนุมัติให้เปิดหลักสูตรห้องเรียนพิเศษเน้น
ภาษาอังกฤษ (Intensive English Program : IEP) และปีการศึกษา 2564 เปิดห้องเรียนพิเศษ
หลักสูตรเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ (Pre Engineering Program : PEP) และห้องเรียนพิเศษหลักสูตร
อัจฉรยิ ภาพด้านไอซีที (ICT Talent Program : ICT)

ประวตั ิโดยย่อของโรงเรยี นอุตรดติ ถ์
ปพี ุทธศักราช 2444 พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ 5 ไดเ้ สด็จประพาส

อุตรดิตถ์ (สมัยก่อนข้ึนอยู่กับเมืองพิชัย) ทรงเห็นว่าชมุ ชน “บางโพ” มีความเจริญมาก เป็นศูนย์กลาง
ทางการค้าของหัวเมืองทางเหนือ เป็นย่านชุมชนที่มีผู้คนอาศัยอยู่มากมาย เรือสินค้าจากเมืองหลวง
หรือเมืองทางใต้ นาสินค้ามาขายและเมืองท่าอิฐเป็นจุดรับส่งสินค้าไปยังเมืองทางเหนือ เช่น เชียงตุง
เชียงรุ้ง เชียงราย เชียงแสน ปากลาย และหลวงพระบาง จึงนับว่าเป็นเมืองท่าท่ีสาคัญของประเทศ
สยาม พระองคท์ รงเห็นถงึ อนาคตของเมืองทา่ อิฐ ว่าจะตอ้ งเป็นเมืองท่าท่ีน่าจะเจริญยิง่ ขึน้ ไปในอนาคต
จึงทรงโปรดให้ย้ายตัวเมืองจาก “เมืองพิชัย” มาอยู่ที่บางโพ ตั้งแต่น้ันเป็นต้นมาจึงทาให้เมืองบางโพ
เจริญย่งิ ขนึ้ เป็นลาดับตอ่ มากเ็ ปล่ียนชือ่ จาก “บางโพ” เป็น “เมอื งอุตรดิตถ”์ มาจนกระทั่งปัจจุบันน้ี

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 พระองค์ทรงเห็นความสาคัญ
ในการศึกษาของเด็กไทย ทรงส่งเสริมให้การศึกษาแก่คนไทยอย่างทั่วถึง ให้โอกาสแก่ประชาชน ได้มี
โอกาสเรียนหนังสือท่ีท้องถิ่น จงึ ได้จัดต้ังกระทรวงที่ดแู ลงานด้านการศกึ ษา ศาสนา และพยาบาล คือ
“กระทรวงธรรมการ” ในปีพุทธศักราช 2450 จึงมีการจัดตั้งก่อสร้างโรงเรียนขึ้นทั่วประเทศสยาม
ตามแนวพระราโชบายของพระองค์ท่าน จึงนับได้ว่าเป็นก้าวที่ย่ิงใหญ่ของวงการการศึกษาของสยาม
ประเทศ

ตามพระราโชบายของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัวรชั กาลที่ 5 จังหวดั อุตรดิตถ์
จึงได้ก่อตั้งโรงเรียนประจาจังหวัดข้ึน โดยอาศัยวัดที่มีศักยภาพในการสอนหนังสือ เช่น “วัดวังเตา
หม้อ” หรือวัดท่าถนนในปัจจุบนั จงึ เป็นวัดหนงึ่ ท่ีทางการเห็นว่าสมควรก่อตั้งให้เป็นโรงเรยี นข้ึนและตั้ง
ชื่อว่า “โรงเรียนวัดท่าถนนวิทยาคม” ต้ังแต่พุทธศักราช 2452 เป็นต้นมา จากน้ันย้ายไปต้ังอยู่ท่ี
บริเวณโรงเรียนอนุบาลอุตรดิตถ์ในปัจจุบัน ต่อมาเม่ือ ปี พ.ศ. 2484 ย้ายมาต้ังอยู่ ณ ท่ีตั้งปัจจุบัน
เปล่ียนชื่อเป็น “โรงเรียนประจาจังหวดั อุตรดิตถ์” และเปลยี่ นอีกคร้งั เป็น “โรงเรียนอุตรดิตถ์” จนถึง
ปจั จุบัน

~2~

ทตี่ ้ังของโรงเรียนอตุ รดิตถ์
โรงเรยี นอตุ รดติ ถ์ ตัง้ อยเู่ ลขท่ี 15 ถนนอินใจมี ตาบลท่าอฐิ อาเภอเมือง จังหวัดอตุ รดติ ถ์

มีเนื้อที่ ดงั นี้
แปลงที่ 1 มีที่ตั้งอาคารเรียนเป็นท่ีดินราชพัสดุเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ มีเนื้อท่ี 19 ไร่

3 งาน 67 ตารางวา หลักฐานที่ดินเลขที่ (โฉนด) 5165 ท่ีราชพัสดุ เลขทะเบียน 1420 เมื่อวันที่
17 พฤษภาคม 2484

แปลงท่ี 2 เป็นท่ีดินฝึกปฏิบัติการวิชาเกษตรกรรมนักเรียน ต้ังอยู่ ณ ตาบลชัยจุมพล
อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นที่ดินสาธารณประโยชน์ กระทรวงมหาดไทยมอบให้กรมสามัญ
ศกึ ษา โรงเรียนอุตรดิตถ์เป็นผู้ดูแล มีเนื้อท่ี 63 ไร่ 2 งาน 29 ตารางวา หลักฐานท่ีดนิ เลขท่ี 9790
(หนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง) เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2525 อยู่ห่างจากแปลงท่ี 1 ประมาณ
8 กโิ ลเมตร

สญั ลักษณ์ของโรงเรียนอตุ รดติ ถ์

สัญลักษณ์โรงเรียนอุตรดิตถ์ เป็นรูปมณฑปพระแท่นศิลาอาสน์ลอยเหนือก้อนเมฆสีขาว
ยอดมณฑปมีรัศมี 15 แฉก ด้านล่างก้อนเมฆประกอบด้วยแถบประดับ ภายในแถบประดับมีคติพจน์
ของโรงเรยี นเป็นพุทธสุภาษิตวา่ “สุวชิ าโน ภว โหติ” ความหมายสัญลักษณ์ของโรงเรยี นอุตรดิตถ์
หมายถึง พระแท่นศิลาอาสน์เป็นโบราณสถานอันศักดิ์สิทธ์ิคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดอุตรดิตถ์ และเป็น
ศูนย์กลางรวมน้าใจของชาวอุตรดิตถ์ และเดิมน้ันโรงเรียนอุตรดิตถ์ มีช่ือว่า“โรงเรียนประจาจังหวัด
อตุ รดิตถ์” หมายความว่า โรงเรยี นอตุ รดิตถ์เป็นของชาวอตุ รดิตถ์

สปี ระจาโรงเรยี นอตุ รดติ ถ์
สนี า้ เงนิ - ชมพู
สีนา้ เงิน หมายถงึ ธรรมประจาจิต หมายถึง ทกุ คนมีธรรมประจาใจ
สีชมพู หมายถึง โลหิตอันสดใส หมายถงึ เลือดแห่งความรักใคร่สามคั คี

ปรัชญา ของโรงเรียนอตุ รดิตถ์
อดทน ขยัน ยดึ ม่นั คณุ ธรรม

~3~

คติพจน์ ของโรงเรยี นอตุ รดิตถ์
สวุ ิชาโน ภว โหติ แปลว่า ผู้รู้ดี คือ ผ้เู จริญ

อตั ลกั ษณ์ ของนักเรียนโรงเรยี นอุตรดิตถ์
วิชาการเลศิ ล้า คณุ ธรรมนาวถิ ี มคี วามเป็นสากล

เอกลักษณ์ ของโรงเรยี นอตุ รดิตถ์
สถาบนั แห่งการเรยี นรู้ เคียงค่คู ุณธรรม นาสมู่ าตรฐานสากล

วสิ ัยทศั น์
มงุ่ พัฒนาผเู้ รยี น เปลี่ยนผา่ นดว้ ยนวตั กรรม นาสู่มาตรฐานสากล

ขอ้ มูลพ้นื ฐานของโรงเรยี นอุตรดติ ถ์ (ข้อมูลปีการศกึ ษา 2564)

ที่ อาคาร แบบ จานวน ปีที่ งบประมาณ หมายเหตุ
(หลัง) สรา้ ง (บาท)
พ.ศ.

11 424 1 2517 2,635,000 รื้อถอนแลว้

2 2 CS 430 1 2523 5,170,000

3 3 318ล./30 1 2532 7,780,000

4 4 324ล./27 1 2536 10,909,429

5 5 318ล./38 1 2556 17,226,000

7 หอประชมุ โรงอาหาร 101ล./27 1 2532 5,400,000

8 โรงฝึกงาน 2 ชัน้ สามญั /336 1 2522 1,567,000

9 โรงฝึกงาน 2 ชนั้ สามัญ/336 1 2522 912,000

10 บา้ นพักครู กรมสามัญ 1 2514 50,000

11 บ้านพกั ครู กรมสามญั 1 2516 50,000

12 บ้านพกั ครู กรมสามัญ 1 2522 190,000

13 บ้านพักครู กรมสามญั 1 2522 190,000

14 ส้วมนักเรยี น อื่น ๆ 1 2522 150,000

หมายเหตุ * โรงเรียนได้รับอนุญาตให้รื้อถอนบ้านพักครู แบบกรมสามัญและอาคารเรียน 4
ชั้น (แบบ 424) จานวน 24 ห้อง จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 เม่ือวันท่ี
30 ตุลาคม 2561

~4~

ทาเนียบผบู้ รหิ ารโรงเรียนอตุ รดติ ถ์

ลาดบั ท่ี ชือ่ – สกลุ ปีท่ีดารงตาแหนง่
1 นายจาปา เวชบุตร พ.ศ. 2452 – พ.ศ. 2456
2 นายอ่อน เหมพนั ธ์ พ.ศ. 2457 – พ.ศ. 2461
3 นายสือ เปารกิ สริ ิ พ.ศ. 2461 – พ.ศ. 2471
4 ขุนวิชาสรร (นอ้ ย เทพวณชิ ) พ.ศ. 2471 – พ.ศ. 2476
5 นายดัด จันทนะโพธ์ิ พ.ศ. 2476 – พ.ศ. 2487
6 นายสณฐั รกั ษาสตั ย์ พ.ศ. 2487 – พ.ศ. 2489
7 นายเฟอ้ พริ ิยะพันธ์ พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2499
8 นายศุภชัย สาชลวจิ ารณ์ พ.ศ. 2499 – พ.ศ. 2513
9 นายสมาน โรจนกร พ.ศ. 2513 – พ.ศ. 2516
10 นายถวลิ บุรีรักษ์ พ.ศ. 2516 – พ.ศ. 2523
11 นายอเุ ทน เจรญิ กลู พ.ศ. 2523 – พ.ศ. 2532
12 นายธงชยั ทองวัฒนพร พ.ศ. 2532 – พ.ศ. 2542
13 นายวิทยา รกั สัจจา พ.ศ. 2542 – พ.ศ. 2550
14 นายนเรศ ศรภี ิรมย์ พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2560
15 นายบัญชร จนั ทรด์ า พ.ศ. 2561 –

~5~ สมาคมผปู้ กครองและครูโรงเรียน

โครงสร้างการบริหารงานโรงเรยี นอตุ รดติ ถ์ อตุ รดติ ถ์
สมาคมนักเรยี นเกา่ โรงเรียนอุตรดติ ถ์
คณะกรรมการ
สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

~6~

เกียรตปิ ระวตั ิโรงเรียนอุตรดติ ถ์
ปีการศึกษา 25๔๔
1. ได้รบั การคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธกิ ารให้เป็นสถานศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน

ระดบั มัธยมศกึ ษา ขนาดใหญ่ ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๔๔
ปีการศึกษา 25๕๓
1. ไดร้ ับรางวลั ชนะเลศิ รายการชิงช้าสวรรคค์ อนเทสต์ (Champ of the Champ)

การประกวดวงดนตรีลกู ทงุ่ เยาวชน ระดบั ประเทศ ชิงถว้ ยพระราชทานสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า
สยามบรมราชกมุ ารี

ปกี ารศกึ ษา 2558
1. ได้รับรางวลั องค์กรที่มผี ลการปฏิบัติงานดเี ดน่ ในการป้องกนั แก้ไขปัญหายาเสพติด
ประจาปี 2558 ดา้ นการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ
2. โล่รางวัล MOE Awards ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติสถานศึกษาทท่ี าหน้าที่จัดการศึกษาได้อย่าง
มปี ระสทิ ธิภาพและเปน็ ตวั อย่างที่ดี
ปีการศกึ ษา 2559
1. โลร่ างวัล MOE Awards ประเภทสถานศึกษาสาขาป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ในสถานศึกษา
2. สถานศกึ ษาทผ่ี ่านการประเมนิ รางวัลคุณภาพระดับองค์กร School Quality Awards:
SCQA ซงึ่ แสดงถึงการบริหารจดั การด้วยระบบคุณภาพของโรงเรยี นมาตรฐานสากล
3. รางวัลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนปี 2559 ระดับดีเด่น ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดใหญ่
4. รางวัลเสมา ปปส. ระดับดีเดน่
5. รางวัลวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ตามโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero
Waste School) กลมุ่ โรงเรียนมธั ยมศึกษาใหญข่ นาดพิเศษ
ปีการศกึ ษา 2560
1. รางวลั เชดิ ชูเกียรติ MOE Awards ประจาปีการศึกษา 2559 ประเภทสถานศกึ ษาท่ีมี
ผลงานดเี ดน่ เป็นทีป่ ระจักษ์ในดา้ นการเทิดทนู สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ ด้านการ
สง่ เสริมคณุ ธรรมจริยธรรม
2. รางวัลเสมา ประเภทผลงานดีเด่นระดบั ทอง โครงการสถานศกึ ษาสีขาวปลอดยาเสพตดิ
และอบายมุข
3. รางวลั พระราชทานองค์กรทรี่ ักษามาตรฐานพร้อมเป็นต้นแบบชมรม TO BE NUMBER
ONE ในสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน (มธั ยมศึกษา) ระดบั เพชรปที ่ี 3
4. รางวัลระดับประเทศ/ภาคเหนือชมรมท่ีรกั ษามาตรฐานเพ่ือเปน็ ตน้ แบบชมรม อย.นอ้ ย
ระดบั เพชร ปีที่ 3
5. องคก์ รท่ีมผี ลการปฏบิ ตั ิงานดเี ด่น ในการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจาปี 2560
ดา้ นการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติด
6. สถานศึกษาทผ่ี ่านการประเมนิ รางวลั คุณภาพระดับองคก์ ร School Quality Awards:
SCQA ซึ่งแสดงถงึ การบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพของโรงเรยี นมาตรฐานสากล ปี 2560

~7~

7. รางวลั ระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นปี 2560 ระดับดีเด่น ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดใหญ่

8. รางวัลเกียรติคณุ สถานศึกษาวชิ าทหารดีเดน่
9. เกียรตบิ ัตรระดบั ดี การขับเคล่ือนศูนย์ครอบครวั พอเพียงดีเด่น โครงการครอบครวั
พอเพียงส่สู ถานศกึ ษาและชมุ ชน ปีการศึกษา 2560
ปีการศกึ ษา 2561
1. รางวลั แหง่ คุณภาพ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน (Office of
the Basic Education Commission Quality Awards: OBECQA)
ปีการศกึ ษา 2562
1. รางวัลนาเสนอนทิ รรศการ ระดับดีเด่น เวทศี ักยภาพโรงเรียนมาตรฐานสากลระดบั ชาติ
(World-Class Standard School Symposium) ครงั้ ที่ 3
ปกี ารศกึ ษา 2563
1. โล่รางวัลระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน ประจาปี ๒๕๖๓ ระดับทอง อันดบั ๑ ประเภท
สถานศึกษาขนาดใหญ่ จากสานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๙
2. เกียรตบิ ัตรรางวัล ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น ประจาปี ๒๕๖๓ ระดับทอง ประเภท
สถานศกึ ษาขนาดใหญ่ จากเขตตรวจราชการท่ี ๑๗ (Cluster ๑๗)
3. รางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ ระดับทอง ประเภท
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ โครงการยกระดับคุณภาพระบบการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครอง
นักเรยี น จากสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๓๙
4. รางวัลการประกวดผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ตามโครงการสร้าง
จิตสานึกและความรู้ในการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ประจาปี ๒๕๖๓ รองชนะเลิศ
อันดับที่ ๒ ประเภทโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ/ขนาดใหญ่ จากสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษา เขต ๓๙
๕. รางวัลประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ที่รักษามาตรฐานพรอ้ มเป็นต้นแบบระดับเพชร ปีที่ ๔ ประจาปี ๒๕๖๓
๖. โล่เชิดชูเกียรติ โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียนเพื่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) โดยใช้กระบวนการนิเทศแบบมีส่วนร่วมและการประยุกต์ใช้โมเดลโครงสร้าง
ความสามารถทางการเรียนรู้ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๗. โล่เชดิ ชูเกียรติ รางวลั “วัฒนคุณาธร” ผูท้ าคุณประโยชนต์ ่อกระทรวงวฒั นธรรม ประเภท
นิตบิ คุ คลหรอื คณะบุคคล ประจาปี ๒๕๖๓ จากกระทรวงวัฒนธรรม
๘. โลเ่ กียรติคุณ สถานศึกษาวิชาทหารดีเด่น อันดับที่ 1 ของกองทัพภาคท่ี ๓ และอันดับที่ ๑
ของประเทศ โครงการศูนย์ฝกึ แขง็ ขัน สถานศกึ ษาร่วมใจ มุง่ ไปสมู่ าตรฐานเดยี วกนั ประจาปี ๒๕๖๓

~8~

แผนผงั โรงเรียนอตุ รดติ ถ์ แสดงทีต่ ง้ั อาคารเรยี นและอาคารประกอบ
แผนผงั ทีต่ ง้ั โรงเรียนอุตรดติ ถ์

แสดงที่ต้งั อาคารเรียนและอาคารประกอบ พ.ศ. 2564

1. อาคาร 1 12. อาคารสมาคมศษิ ย์เก่า
2. อาคาร 2 13. บ้านพักผ้อู านวยการ
3. อาคาร 3 14. บา้ นพกั ครู
4. อาคาร 4 15. ห้องน้านักเรียน
5. อาคาร 5 16. ป้อมยาม
6. โรงฝึกงาน 1 และหอ้ งเรียนแท็บเล็ต 17. สนามบาสเกตบอล
7. โรงฝึกงาน 2 18. มณฑปหลวงพ่อเพชร
8. อาคารเรยี น 6 ชั้น 19. ศาลพระพรหม
9. หอประชุมนา้ เงินชมพูและโรงอาหาร 20. ศาลาพีระมิด
10. เรอื นพยาบาล เวชบตุ ร 21. บา้ นพกั พนกั งานบรกิ าร
11. ศาลาธรรม

~9~

บรบิ ทของโรงเรียน
๑. จุดแข็ง (Strengths)
๑.1 นกั เรียนมีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ(O-NET) ทกุ กลุม่ สาระ

การเรยี นรู้ (ท่มี ีการทดสอบ) สงู กว่าระดบั ต้นสงั กดั และระดบั ชาติ
1.2 นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศในการแข่งขันกิจกรรมด้านวิชาการและ

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ทงั้ ระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ
1.๓ นักเรียนมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตามอัตลักษณ์โรงเรียนกาหนด และเป็นต้นแบบ

ของกิจกรรมนกั เรียนหลาย ๆ ด้าน
1.๔ โรงเรียนสร้างการรับรู้เชิงนโยบาย กระบวนการบริหารจัดการ และบทบาทหน้าที่

ของครู บุคลากร นกั เรียน ผูป้ กครอง รวมถึงผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสีย อย่างสม่าเสมอและตอ่ เน่ือง
1.๕ โรงเรียนพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญตามมาตรฐาน

การปฏบิ ตั งิ านและสง่ เสริมให้เกิดความกา้ วหน้าในตาแหนง่ หนา้ ท่ี และความเป็นมืออาชีพมากข้นึ
1.๖ โรงเรียนดาเนินการประเมิน กากับ นิเทศ ติดตามและนาผลการปฏิบัติงานไปพัฒนา

ปรบั ปรุงการจัดการเรยี นการสอน หรอื หน้าท่ี ทไี่ ด้รับมอบหมายของครอู ยา่ งต่อเนื่อง
1.๗ โรงเรียนสง่ เสริมและสนับสนุนใหค้ รจู ัดทาและพัฒนาแผนการจัดการเรียนร้แู ละวิจัย

ในช้ันเรียนทุกคน
1.๘ โรงเรียนมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีประสิทธิภาพและได้รับรางวัล

ระดับประเทศ
1.๙ ครมู ีรปู แบบการจัดการเรยี นรูท้ ่หี ลากหลาย เน้นทักษะกระบวนการคิด การปฏิบัติ

จรงิ (Active Learning)
1.๑๐ ครผู ู้สอนมกี ารวัดและประเมินการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริงอยา่ งหลากหลาย
1.๑๑ ครูผู้สอนมกี ารใชส้ ่ือ เทคโนโลยี แหลง่ เรียนรู้ รวมทงั้ ภมู ิปัญญาท้องถิ่น ในการ

จัดการเรยี นรู้
1.๑๒ ครผู สู้ อนมีจานวนเพยี งพอ สอนตรงตามวฒุ ิ
1.๑๓ ครปู ระพฤติตนเป็นแบบอยา่ งท่ดี ใี ห้แก่นกั เรียนในการประพฤตแิ ละปฏบิ ัตติ าม

๒. จุดออ่ น (Weaknesses)
๒.๑ โรงเรียนขาดการวิเคราะห์เชิงลึกในการยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนที่จาแนกเป็น

รายมาตรฐานและของกลมุ่ ผูเ้ รียนท่มี ีผลการเรยี นต่ากวา่ ระดบั ดี

๒.๒ การใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม
เพ่ือการเรียนรู้บางกิจกรรมยังไม่สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียนทาให้ไม่สามารถพัฒนา
ศักยภาพของนกั เรยี นท่แี ตกตา่ งกันได้อย่างมีคุณภาพ

๒.๓ โรงเรียนยังขาดการบูรณาการโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ตามนโยบาย จุดเน้น
ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาจากต้นสังกัด/หน่วยงานอ่ืน ๆ เพื่อลดจานวนโครงการ/กิจกรรม
ให้มคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกับเวลาและรูปแบบการจดั การเรียนการสอนของโรงเรียนให้เป็นไป
ตามความคาดหวังและความตอ้ งการของนักเรยี นและผปู้ กครอง

~ 10 ~

๓. โอกาส (Opportunities)
3.๑ โรงเรียนมีเครือข่ายและสถาบันทางการศึกษาพรอ้ มท่ีจะให้ความร่วมมือทางวิชาการ

ทาให้ครูและนักเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างกว้างขวางมากข้ึน เช่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
สถาบนั อาชีวศกึ ษา โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ เป็นตน้

3.๒ โรงเรียนได้รับการจัดกลุ่มสถานศึกษาให้เป็นโรงเรียนประเภทแข่งขันสูง จึงมีโอกาส
แลกเปลยี่ นเรียนรทู้ างวิชาการกับสถาบันการศกึ ษาท่ีจัดหลักสตู รเพ่ือพัฒนาความเปน็ เลิศให้กับผเู้ รยี น
อยา่ งตอ่ เนื่อง

3.๓ โรงเรียนอุตรดิตถ์เปน็ โรงเรียนประจาจังหวัดขนาดใหญ่พิเศษท่ีมีอายุยาวนานร้อยกว่า
ปี มีผลงานในการสร้างนักเรียนและศิษย์เก่าท่ีประสบความสาเร็จ ทาให้โรงเรียนได้รับการยอมรับ
ศรัทธาและเชือ่ ม่ันจากชมุ ชนและสงั คม

3.๔ โรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากองค์กรท้ังภาครัฐและเอกชน ในด้านแหล่งเรียนรู้
ด้านทรัพยากร ด้านภูมิปัญญาจากผู้ทรงคุณวุฒิหลากหลายสาขา จึงทาให้โรงเรียนจัดกิจกรรม
เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

3.๕ โรงเรียนตั้งอยู่ในชุมชนเมือง มีเครือข่ายบริการเทคโนโลยีสารสนเทศที่ครอบคลุม
พื้นที่ จึงทาให้โรงเรียนมีโอกาสในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ

๔. อปุ สรรค (Threats)
4.๑ รัฐบาลหรือหน่วยงานต้นสงั กดั มกี ารขบั เคลอ่ื นนโยบายไมต่ ่อเนือ่ ง ทาให้โรงเรยี นปรับ

แผนงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายที่กาหนด จึงเป็นเหตุให้โรงเรียน
ไมส่ ามารถวางแผนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในระยะยาวได้อย่างตอ่ เนื่อง

4.๒ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ทาให้ผู้ปกครองส่วนหน่ึงได้รับผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และรูปแบบการจัดการศึกษา
ทป่ี รบั เปลีย่ นไปตามสถานการณ์ดังกลา่ ว

4.๓ โรงเรียนยังขาดกระบวนการสร้างเครือข่ายเชิงวิชาการกับหน่วยงานหรือองค์กร
ในระดับนานาชาติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปสู่การเป็นมาตรฐานสากลให้เป็นไปตามเป้าหมายท่ี
โรงเรยี นกาหนด

~ 11 ~
รูปแบบการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี นอตุ รดติ ถ์

โรงเรียนอุตรดิตถ์พัฒนาแนวทางการบริหารคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนตามรูปแบบ
UTD Model โดยมุง่ เน้นกระบวนการและผลลพั ธ์ท่ีโรงเรยี นต้องการบรรลุเปา้ หมายเชิงคุณภาพ ซึง่ ผล
การดาเนินการที่เป็นเลิศต้องอาศัยการนาองค์กรท่ีเข้มแข็ง และแสดงให้เห็นเด่นชัดในองค์ประกอบ
“U : Unity to Understand” องค์ประกอบ “T : Tactic to Target” และองค์ประกอบ
“D : Deployment to Development” ทุกองค์ประกอบของระบบเช่ือมโยงกันเพื่อส่งผลถึง
คุณภาพผู้เรยี น คุณภาพครู และคณุ ภาพของโรงเรยี นใหบ้ รรลุตามเปา้ หมายที่กาหนดไว้

~ 12 ~

บทเพลงและทานองมาร์ชโรงเรียนอตุ รดติ ถ์

คาร้อง-ทานอง : นายยทุ ธชัย ปญุ ปนั
เรยี บเรียง : นายประดิษฐ์ เหลก็ สงิ ห์

อุตรดติ ถ์ระบือชื่อนเ้ี กรกิ ไกร
รวมดวงใจสัมพนั ธ์ฉันนอ้ งพ่ี
มานะอดทนสามคั คี
รักศักด์ศิ รมี คี ุณธรรมนาวินยั
สนี ้าเงนิ มองเห็นเด่นประจักษ์
คอื องคม์ รรคธรรมะสวา่ งไสว
สโี ลหิตเกลยี วกลมสมชาตชิ าย
ชมพูหมายสีเด่นเปน็ คนจริง
ตราพระแทน่ ศลิ าอาสนป์ ราสาทสถิต
เป็นดวงจิตรวมใจศิษยช์ ายหญิง
แหลง่ วิชาพัฒนาศกึ ษาจรงิ
มโนนิ่งนอ้ มประนมกม้ บชู า
อนั พวกเราชาวนา้ เงนิ ชมพู
จะเชดิ ชูสถาบัน ม่ันรักษา
ใหย้ นื ยงคงอยคู่ วู่ ิญญา ชั่วดินฟ้า อตุ รดติ ถ์สถติ ใจ
ใหย้ นื ยงคงอย่คู วู่ ิญญา ชว่ั ดินฟา้ อตุ รดติ ถส์ ถิตใจ...

~ 13 ~

~ 14 ~

หมวดท่ี 1
บทท่ัวไป

มาตรา 1 นิยามศพั ท์
1. “โรงเรียน” หมายถึง โรงเรียนอุตรดิตถ์ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา

พิษณุโลก อุตรดติ ถ์ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
๒. “คร”ู หมายถึง ครู และบุคลากรทางการศึกษาท่ีปฏิบัติการสอนของโรงเรียนอตุ รดิตถ์
๓. “นักเรยี น” หมายถึง นกั เรยี นปัจจบุ นั ของโรงเรียนอตุ รดติ ถ์
๔. “คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน” หมายถึง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ของโรงเรียนอุตรดิตถ์
๕. “ธรรมนูญโรงเรียน”หมายถึง เอกสารหลักฐาน เป็นข้อกาหนดที่กาหนดข้ึนของโรงเรียน

อุตรดิตถ์ โดยความเห็นชอบคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโรงเรียนอุตรดิตถ์ โดยมีบุคคลที่เป็น
ผู้แทนของทุกส่วนที่เก่ียวข้องเป็นคณะกรรมการดาเนินการจัดทา ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ครู
คณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายผู้ปกครอง ศิษย์เก่า นักเรียน และผู้ทรงคุณวุฒิทางกฎหมาย
เพอื่ ให้โรงเรียนนาไปใชเ้ ป็นกรอบในการบริหารภารกิจใหเ้ กิดประสิทธิภาพ และมีประสทิ ธิผลเปน็ ไปตาม
จุดประสงค์ของโรงเรยี น

๖. ธรรมนญู โรงเรียนให้มผี ลตง้ั แต่วนั ทโี่ รงเรยี นประกาศใชเ้ ปน็ ต้นไป

มาตรา ๒ ธรรมนูญโรงเรียนอุตรดิตถ์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ มีเจตนาเพื่อรวบรวมระเบียบ ข้อบังคับ
นโยบาย หรือแนวปฏิบัติที่เป็นวัฒนธรรมขององค์กร หากมีมาตราใดหรือข้อความใดขัดกับ
ข้อกฎหมายที่ทางราชการกาหนด ให้ถอื ปฏบิ ัตติ ามข้อกฎหมายน้ัน ๆ เปน็ สาคัญ

หมวดท่ี 2
นโยบายโรงเรยี น

มาตรา ๓ วัตถุประสงค์ของโรงเรยี น
1. เพอ่ื พฒั นาคุณภาพผ้เู รียนให้เป็นเลิศทางวิชาการค่คู ณุ ธรรมและความเป็นพลโลก

ตามมาตรฐานระดบั สากล
2. เพ่อื ส่งเสริม สนับสนนุ ระบบการเรยี นรู้ด้วยนวัตกรรมที่หลากหลาย และพฒั นาครูให้มี

ความสามารถจดั การเรียนร้ตู ามหลักสตู รมาตรฐานสากล
3. เพอ่ื พฒั นาการบริหารจัดการดว้ ยระบบคุณภาพตามหลักธรรมาภบิ าล สร้างภาคเี ครือขา่ ย

และพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ รว่ มมือกบั สถาบนั และองค์กรตา่ ง ๆ ส่งเสริมพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา

มาตรา ๔ โรงเรียนกาหนดเป้าหมายให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพทางด้านความรู้
ความสามารถอยา่ งสูงสุดตามมาตรฐานของโรงเรียน ดังต่อไปนี้

1. โรงเรียนมาตรฐานสากล
2. โรงเรยี นที่มีอตั ราการแขง่ ขันสูง

~ 15 ~

3. โรงเรียนคณุ ธรรม
4. โรงเรยี นสถานศกึ ษาวชิ าทหาร

มาตรา ๕ โรงเรียนกาหนดแนวทางเพ่ือยกระดับคุณภาพการศกึ ษา ท้งั ดา้ นผ้เู รยี น ดา้ นกระบวนการ
บรหิ ารและการจัดการ และด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ เพื่อความ
เปน็ เลิศและมาตรฐานสากลโดยมกี ลยทุ ธ์ ดังน้ี

กลยุทธ์ท่ี ๑ พัฒนาแผนการเรียนทม่ี คี วามหลากหลาย เนน้ หลักสูตรเฉพาะด้าน
กลยทุ ธท์ ี่ ๒ พฒั นาความเข้มแข็งเครือขา่ ยส่งเสริมประสทิ ธิภาพทางวชิ าการท้ังในและ
ตา่ งประเทศ
กลยทุ ธ์ที่ ๓ ส่งเสรมิ งานพระราชดาริตามโครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
กลยุทธท์ ่ี ๔ พฒั นาระบบบริหารจดั การแบบองค์กรอจั ฉริยะ
กลยทุ ธ์ท่ี ๕ พัฒนาครูและบคุ ลากรสคู่ วามเปน็ ต้นแบบแตล่ ะด้าน

มาตรา ๖ โรงเรียนจัดกิจกรรมบริการทางวิชาการเพ่ือส่งเสริมคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนและ
สังคม โดยการจัดใหม้ ีการทดสอบความรตู้ ามโครงการ “เพชรท่าเหนือ”

หมวดที่ 3
รูปแบบการจัดการศกึ ษา

มาตรา ๗ โรงเรียนมีรูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อมุ่งพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ความสามารถ
ทั้งทางด้านวิชาการ กีฬา ดนตรี ศิลปะ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรักสามัคคี และเสียสละ รักหมู่
คณะ มคี ุณลักษณะตามความมงุ่ หมายทโี่ รงเรียนกาหนด

มาตรา ๘ โรงเรียนจัดการจัดการศึกษาสาหรับนักเรียนต้ังแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง
มัธยมศึกษาปีท่ี 6 การจัดแผนการเรียนในแต่ละระดับชั้น เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา จานวน
นกั เรยี นต่อหอ้ งเปน็ ไปตามกฎกระทรวงศึกษาธกิ าร

มาตรา ๙ หลักสตู รสถานศึกษา
โรงเรียนจัดการบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้นักเรียน

มีความรู้ความสามารถในทุกแขนงวิชาเป็นไปตามวัตถุประสงค์การจัดการศึกษาของโรงเรียน
เพ่ือให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพทั้งทางด้านความรู้ ความสามารถ และทักษะทางสังคม
เตม็ ตามศักยภาพ โดยหลักสูตรสถานศกึ ษา มอี งคป์ ระกอบดงั นี้

1. หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
2. หลกั สูตรรายวชิ าเพมิ่ เตมิ (ทอ้ งถน่ิ ) ให้เป็นไปตามเปา้ หมายของโรงเรยี นกาหนด
3. กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ประกอบดว้ ย

3.1 กจิ กรรมลกู เสือ/กิจกรรมนักศกึ ษาวชิ าทหาร
3.2 กจิ กรรมชมุ นมุ /ชมรม

~ 16 ~

3.3 กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์
3.4 กจิ กรรมแนะแนว

มาตรา ๑๐ โรงเรียนต้องให้การสนับสนุนการจัดการศึกษาเพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงในอนาคต
โดยการพัฒนาและนาระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการส่ือสารมาเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนา
ระบบบริหารจดั การ และระบบการจัดการเรยี นรู้ของผเู้ รียนใหท้ ันยคุ สมัยและมีประสทิ ธิภาพสงู สดุ

มาตรา 1๑ โรงเรียนต้องมีการวิจัยหลักสูตรหรือวิจัยสถาบันอย่างน้อยปีละ 1 เรื่อง เพ่ือนา
ผลการวจิ ัยมาปรบั ปรงุ พฒั นา คุณภาพของโรงเรียนอยา่ งตอ่ เนือ่ ง

มาตรา 1๒ โรงเรียนต้องมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการกากับติดตามและ
ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

มาตรา 1๓ โรงเรียนต้องมีระบบรักษาความปลอดภัย สาหรับนักเรียน ครู และบุคลากร และจัด
สงิ่ แวดลอ้ มท่ีเออ้ื ตอ่ การจดั การเรียนการสอน

หมวดท่ี 4
ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา

มาตรา 1๔ คณุ สมบัตขิ องผบู้ ริหารโรงเรยี นอุตรดิตถ์
1. มคี วามจงรักภักดีในสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
2. มีความรอบรู้ มีความแม่นยาในกฎระเบียบของทางราชการ
3. มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจไดอ้ ย่างถูกต้องรวดเรว็ และกลา้ ตดั สนิ ใจ ปฏิบัติตาม

นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ
4. มีความเปน็ ประชาธิปไตย ประพฤตติ นเป็นแบบอย่างทดี่ ีแกผ่ ู้ใต้บังคับบัญชา

มบี ุคลกิ ภาพและมนุษยธรรมทีด่ ีตอ่ ผรู้ ่วมงาน และมีความจริงใจต่อผ้รู ่วมงาน
5. มคี วามสจุ รติ โปรง่ ใส และเท่ยี งธรรม รกั ษาผลประโยชนข์ องสว่ นรวม มีความเสยี สละ
6. มีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจดั การสถานศึกษา สามารถปรับใช้ศาสตร์และศิลป์

ในการบริหารจัดการ วางแผนพัฒนาโรงเรียน สร้างองค์กรแหง่ การเรยี นรู้

มาตรา 1๕ ผู้อานวยการโรงเรยี นมีบทบาทหน้าท่ี ดังต่อไปนี้
๑. วางแผนการจัดการศกึ ษาและปฏิบตั ิงานของโรงเรียนให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ

ขอ้ บังคบั ของทางราชการ
๒. กาหนดวิธดี าเนินงานและตดิ ตามผลดา้ นวชิ าการ งบประมาณ บุคลากร กจิ การนักเรียน

และบรหิ ารทว่ั ไป
๓. จดั ทาและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ควบคมุ การเรียนการสอน การวัดผลการศึกษา

ให้เป็นไปตามหลกั สูตร

~ 17 ~

๔. ปฏบิ ัติหน้าทีร่ ับผดิ ชอบดาเนินงานเก่ียวกับงานท่ีได้รบั มอบหมายต่าง ๆ ที่กาหนด
เปน็ อานาจหน้าท่ีท่ีต้องปฏิบตั ิ

๕. ควบคุมดูแล ปกครอง จัดระบบงานโรงเรียน จัดทามาตรฐานการปฏิบัติงาน ขอบข่าย
ภาระงาน มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมกับความสามารถของบุคลากร

๖. ติดตามให้คาปรึกษา แก้ปัญหา และนิเทศครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนให้
สามารถปฏบิ ัติตามหนา้ ท่ไี ด้อย่างถูกต้องครบถ้วน

๗. ดูแลสวัสดิภาพความเป็นอยู่ของครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และส่งเสริม
สนบั สนุนใหม้ กี ารพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง

๘. สง่ เสริมและสร้างความสมั พนั ธ์ระหวา่ งผปู้ กครองและชุมชน
๙. เขา้ ร่วมประชุมคณะกรรมการต่าง ๆ ตามที่ไดร้ ับการแต่งตง้ั
๑๐. จัดให้มีการวิเคราะห์ วิจัย ประเมินผลและรวบรวมข้อมูล จัดทารายงานประจาปีของ
สถานศึกษา จัดทาสถิติต่าง ๆ เป็นสารสนเทศที่สาคัญ โดยนาเทคนิคและวิธีการใหม่ ๆ มาใช้เพื่อ
ปรบั ปรงุ การเรียนการสอนและพัฒนาโรงเรยี นให้ไดม้ าตรฐานเป็นท่นี ยิ ม
๑๑. ประสานงานกับหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนเพ่ือประโยชน์ของโรงเรียนและ
ชมุ ชน
๑๒. ดาเนินการตามความเห็นชอบและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสถานศึกษา
ข้ันพืน้ ฐานของโรงเรียนอุตรดิตถ์
๑๓. ปฏิบตั ิหนา้ ที่อนื่ ๆ ตามท่ีได้รบั มอบหมาย

มาตรา 1๖ รองผู้อานวยการโรงเรียนมีบทบาทหน้าท่ี ดังต่อไปนี้
๑. ปฏิบัติหน้าที่รองผู้อานวยการสถานศึกษา โดยปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย

จากผู้อานวยการสถานศึกษาในการช่วยบริหารกิจการของสถานศึกษา การวางแผนการปฏิบัติงาน
การควบคุม กากับ ดูแลเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการ บริหารงบประมาณ บริหารงานบุคคล บริหาร
ท่วั ไป ความสัมพันธ์กบั ชมุ ชน และงานอน่ื ทีเ่ กย่ี วข้องหรือที่ไดร้ ับมอบหมาย

๒. บริหารกิจการของสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบายและ
วัตถุประสงค์ของสถานศึกษา

๓. วางแผนพัฒนาการศึกษา ประเมนิ และรายงานผลการจัดการศึกษา
๔. จัดทาและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดกระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาสื่อ
นวัตกรรม และเทคโนโลยีการศึกษา การนเิ ทศ และการวัดผล ประเมนิ ผล
๕. ส่งเสริมและจัดการศึกษาให้กับผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายท้ังในระบบ นอกระบบ และ
ตามอัธยาศยั
๖. จัดทาระบบประกนั คุณภาพการศึกษา
๗. การบริหารการเงิน การพัสดุและทรัพย์สนิ
๘. วางแผนการบริหารงานบุคคล การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน วินัยและ
การรกั ษาวนิ ัย การดาเนนิ การทางวินยั และการออกจากราชการ
๙. จัดทามาตรฐานและภาระงานของครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
ประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

~ 18 ~

๑๐. สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
๑๑. ประสานความร่วมมือกับชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ ในการระดมทรพั ยากรเพื่อการศึกษาและ
ให้บรกิ ารวชิ าการแก่ชุมชน
๑๒. จัดระบบควบคุมภายในสถานศึกษา
๑๓. จัดระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน
๑๔. ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีอนื่ ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมายจากผ้อู านวยการโรงเรยี น

มาตรา 1๗ คณุ สมบัตขิ องครูและบุคลากรทางการศึกษา
1. มุ่งม่ันพัฒนาและสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ทกั ษะและนสิ ัยท่ีถูกตอ้ งดีงามแก่นักเรียน
2. สามารถปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทางวิชาการเกีย่ วกบั การพฒั นาวิชาชพี ครู
3. มจี ติ วญิ ญาณของความเปน็ ครทู ่ีดี ให้บรกิ ารดว้ ยความจรงิ ใจและเสมอภาค
4. มคี วามร้คู วามสามารถ มคี วามเสยี สละอุทศิ ตนเป็นประโยชนแ์ กน่ กั เรยี น

ด้วยความเตม็ ใจ
5. มจี ิตใจช่วยเหลอื เกือ้ กูลซึง่ กนั และกันอย่างสรา้ งสรรค์ โดยยดึ ม่นั ในคณุ ธรรมและ

เสริมสร้างความสามคั คใี นหมู่คณะ
6. สามารถปฏบิ ัตหิ น้าท่ีในการจัดการเรียนการสอนแกน่ ักเรียนและมีหน้าทใ่ี นการอบรม

บ่มนิสัยนักเรียนใหน้ ักเรียนเป็นคนดี มคี ุณธรรม
7. สามารถประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งทีด่ แี กน่ ักเรียนทั้งทางกาย วาจา ใจ
8. ไมเ่ ป็นผ้ทู ี่แสวงหาผลประโยชน์ใด ๆ ทงั้ ทางตรงและทางอ้อมจากโรงเรยี น ผู้ปกครอง

และนกั เรียน

มาตรา 1๘ ครูมบี ทบาทหนา้ ที่ ดังต่อไปน้ี
1. ศึกษาหาความรู้วิธีการสอน วิธีประเมินผล การใช้ส่ือการเรียนการสอน หนังสือเรียนและ

คู่มอื การเรยี นการสอนตามหลักสูตร
2. ปฏิบัติงานในหน้าท่ีให้ได้ผลตามนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น

พนื้ ฐาน
3. ประพฤติปฏิบตั ิตนตามระเบยี บวินยั ของทางราชการอย่างเครง่ ครดั
4. จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนและอบรมบ่มนิสยั นกั เรียนอย่างเต็มความสามารถ
5. พัฒนาและปรับปรงุ การเรียนการสอนใหม้ ปี ระสิทธภิ าพอย่างตอ่ เนือ่ ง
6. ส่งเสรมิ และเผยแพร่การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็น

ประมุข
7. ปลูกฝงั วฒั นธรรม ค่านยิ มและเอกลักษณ์ไทย
8. ส่งเสรมิ ความสามัคคีในหมู่ครู นักเรยี นและผู้ทเี่ กยี่ วข้อง

มาตรา 1๙ บทบาทและหน้าทขี่ องผ้ปู กครองนักเรียนโรงเรยี นอุตรดติ ถ์
ผู้ปกครองนักเรียนมีความเข้าใจในระบบการจัดการศึกษาของโรงเรียนและยินยอมปฏิบัติ

ตามระเบียบของโรงเรยี นทุกประการ ได้แก่

~ 19 ~

1. ใหค้ วามรว่ มมอื สนบั สนุนกจิ กรรมของโรงเรียน
๒. ศึกษาและเข้าใจวัฒนธรรม กฎระเบียบ ของโรงเรียนอุตรดิตถ์
๓. ดแู ล เอาใจใส่ กาชับติดตามบตุ รในอปุ การะใหป้ ฏิบัติตามธรรมนญู ของโรงเรยี น
๔. มคี วามพรอ้ มในการสนบั สนุนคา่ เล่าเรียนของบุตรและค่าใช้จ่ายอน่ื ๆ

มาตรา ๒๐ โรงเรียนควรจัดหาเจ้าหน้าที่และบุคลากรเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการจัดการ
เรียนการสอนโดยตรง เพือ่ เพ่ิมประสิทธิภาพในการบรหิ ารจัดการ การบริการ และสนบั สนุน การเรยี น
การสอนใหม้ คี ุณภาพและประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ข้นึ ดงั ตาแหนง่ งานและคุณสมบัติขั้นต้น ดังนี้

๑. เจ้าหนา้ ทีก่ ารเงนิ และบัญชี
ปฏิบตั ิหน้าท่ี
๑.1 งานการเงนิ งบประมาณและรายไดส้ ถานศกึ ษา
๑.2 งานบัญชีทะเบยี นคุมการเบิกจ่าย
๑.3 งานค่าใชจ้ ่ายนกั เรยี น
๑.4 งานเงนิ เดอื นและสวสั ดกิ าร

๒. เจ้าหน้าท่ีพัสดุ
ปฏิบัติหนา้ ที่
๒.1 งานจัดซื้อ จัดจ้าง จ้างออกแบบและควบคุมงาน จัดทาสัญญาและแก้ไขสัญญา

จัดทาหนงั สือ รับรองผลงาน เบิกจ่ายเงนิ คา่ จดั ซื้อจดั จ้าง
๒.2 งานทะเบียนผู้รับจ้าง การรับจดทะเบียนผู้รับจ้างงานก่อสร้าง การตรวจสอบและ

พิจารณาคุณสมบัติผู้รับจ้าง การเลื่อนช้ันประเภทการจดทะเบียนผู้รับจ้าง การต่ออายุทะเบียน
ผ้รู บั จ้าง การจดั ทาบัญชีทะเบียนผ้รู บั จา้ ง

๒.3 งานคุมคลังพัสดุ ควบคุมการเบิกจ่าย เก็บรักษาตรวจสอบ การโอน การยืม
การจาหน่ายพัสดุท่ีชารุดหรือเสื่อมสภาพ หรือไม่จาเป็นต้องใช้ประโยชน์ในทางราชการ การทาบัญชี
ทะเบียนครุภัณฑ์ บัญชีทะเบยี นสนิ ทรัพย์ บัญชีเบกิ จ่ายพสั ดุ

๒.4 งานบันทึกข้อมูลการดาเนินการ บันทึกข้อมูลการจัดซ้ือ/จัดจ้าง/เช่า เข้าสู่ระบบ
อเิ ล็กทรอนิกสด์ าเนินการสร้างและเปล่ียนแปลงขอ้ มลู หลกั ผขู้ าย

๒.5 งานตรวจสอบรบั -จ่ายพสั ดปุ ระจาปี
๓. เจ้าหนา้ ที่งานธรุ การ

ปฏิบัติหน้าที่
๓.1 ลงเวลาการปฏบิ ตั งิ าน การลา การขออนุญาตออกนอกโรงเรยี นของครูและ
บุคลากร สรุปรายงานการปฏบิ ตั ิงาน การลา ในแตล่ ะวัน พรอ้ มทัง้ ตดิ ตามใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บและ
จดั ทาสารสนเทศอย่างเป็นระบบ
๓.2 จดั ทาและเกบ็ รักษาทะเบียนประวัตขิ า้ ราชการครูและบุคลากรรวมท้ังการแกไ้ ข
เปลี่ยนแปลงข้อมลู ในทะเบียนประวัติข้าราชการครูและบุคลากรใหเ้ ปน็ ปจั จบุ นั
๓.3 รบั – สง่ และลงทะเบียนหนังสอื ราชการให้ถูกต้องตามระเบยี บงานสารบรรณ
๓.4 ร่าง – พมิ พ์ โต้ตอบหนังสอื ราชการ ให้ถูกต้องตามระเบยี บงานสารบรรณ และ
ทนั เวลา

~ 20 ~

๓.5 ประสานงานผู้ท่เี ก่ยี วขอ้ งในการให้ขอ้ มูลเกยี่ วกบั หนังสือราชการ เพื่อใหก้ าร
ดาเนนิ งานทันกาหนดเวลา

๓.6 จดั ทาแบบฟอร์มในการตดิ ต่อทางราชการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้รับบริการไดร้ ับความ
สะดวกในการติดต่อราชการกับทางโรงเรยี น

๓.7 สามารถปฏบิ ตั ิงานอ่นื ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
๔. เจา้ หนา้ ท่โี สตทศั นปู กรณ์

ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่
๔.1 จดั ทาระบบการใหบ้ ริการโสตทัศนปู กรณ์ ให้บริการติดตั้ง ยืม คนื อุปกรณโ์ สตฯ
แกบ่ คุ ลากรและหนว่ ยงานทข่ี อใชบ้ รกิ ารให้ได้รับความสะดวก
๔.2 บนั ทกึ ภาพนง่ิ ภาพเคล่ือนไหว กิจกรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรยี น
๔.3 บริการระบบภาพและเสียงภายในโรงเรยี น
๔.4 ตดิ ต้งั เคร่ืองเสียง ไมค์ และอปุ กรณ์อ่ืน ๆ ภายในโรงเรยี น
๔.5 ซอ่ มบารงุ เครื่องมอื และอปุ กรณ์ วสั ดุ โสตทัศน์
๔.6 ดูแลซ่อมแซมและปรับปรุง ระบบเคเบิลทีวี ระบบวงจรปดิ
๔.7 ให้บริการห้องประชุม ควบคุม ดูแล ปรับปรุงและซ่อมแซมให้พร้อมใช้งาน
๔.8 ปฏบิ ตั งิ านอื่น ๆ ทไ่ี ด้รับมอบหมาย
๕. เจา้ หนา้ ท่ีห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์
ปฏบิ ัตหิ น้าท่ี
๕.1 บารงุ รกั ษาเครือ่ งคอมพิวเตอร์และห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์
๕.2 ควบคุมการยืม-คืน อปุ กรณ์ท่ีนักเรียนใชใ้ นการปฏบิ ัตกิ ารต่างๆ
๕.3 ติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพิ่มเติมเมื่อมีผ้มู าใช้ห้องปฏิบตั กิ าร
๕.4 ปฏบิ ัติงานอืน่ ๆ ที่ได้รบั มอบหมาย
๖. เจ้าหนา้ ทีห่ อ้ งสมดุ
ปฏบิ ัติหนา้ ท่ี
๖.1 ลงทะเบียนและวเิ คราะห์ให้หมวดหมสู่ อ่ื ทุกประเภทและบนั ทกึ รายละเอียดของ
หนงั สอื เข้าฐาน
๖.2 บริการสบื ค้นข้อมูลทางวชิ าการผา่ นทางเครือข่ายอินเตอร์เนต็
๖.3 จดั ทาส่อื ประชาสมั พันธ์ ผา่ นทางอินเตอรเ์ นต็ เช่น สร้าง Homepage หอ้ งสมุด
๖.4 จดั เตรยี มส่งิ พมิ พ์ก่อนออกให้บรกิ าร เช่น ประทับตราหนังสอื ติดสันหนังสอื
ติดซองบตั รหนังสือ เปน็ ต้น
๗. เจ้าหนา้ ทหี่ อ้ งพยาบาล
ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่
๗.1 บรหิ ารจัดสรรทรพั ยากรท่ีใช้ในงานอนามัยที่จาเป็นให้เพยี งพอต่อความต้องการ
ของนักเรยี น
๗.2 จัดบรรยากาศในห้องพยาบาลให้สะอาดและเป็นระเบยี บ
๗.3 จดั ทาระเบยี บปฏิบตั ิการขอใช้หอ้ งพยาบาล

~ 21 ~

๗.4 ให้การปฐมพยาบาลนกั เรียนทไ่ี ดร้ ับอุบตั เิ หตุหรอื เจ็บปว่ ยฉกุ เฉนิ ในขณะทอี่ ยู่ใน
โรงเรียนและจัดสง่ โรงพยาบาลในกรณีจาเปน็

๗.5 ติดตอ่ ประสานงานกับครูทีป่ รกึ ษา ผู้ปกครองของนักเรียนในกรณีที่นักเรียนเจบ็ ปว่ ย
๗.6 รวบรวมข้อมูลสถติ ิและรายงานผลการดาเนินงานของอนามัยโรงเรยี นท้ังรายวัน
รายสปั ดาห์ รายเดอื นและรายภาคเรียน
๘. เจา้ หน้าท่ปี ระชาสมั พนั ธ์
ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่
๘.1 กาหนดแผนการประชาสัมพนั ธภ์ ายนอกและภายในโรงเรียน
๘.2 นาข้อมูลข่าวสารเพ่ือสนองการดาเนินงานตามศึกษานโยบาย เป้าหมายและ
พันธกิจของโรงเรียน
๘.3 จัดทาส่ือที่เหมาะสมประกอบข้อมูลที่ถูกต้องและน่าสนใจเพ่ือสร้างความน่าสนใจ
ให้กับการประชาสัมพนั ธ์
๘.4 กาหนดรูปแบบการประชาสัมพันธ์ให้ไปถึงกลุ่มเป้าหมาย อาจด้วยแผ่นพับ ใบปลิว
ตดิ บอร์ดและผ่านส่ือออนไลนต์ า่ ง ๆ
๘.5 จัดเกบ็ ขอ้ มูลจากการประชาสมั พันธท์ ผี่ ่านมา
๘.6 พิจารณา ประเมินผลการทางาน และรายงานผลสรุปข้อมลู
๘.7 ปฏิบตั งิ านอนื่ ๆ ที่ไดร้ บั มอบหมาย
๙. พนักงานขับรถ
ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี
๙.1 ขบั รถของโรงเรยี นตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
๙.2 รกั ษาวนิ ยั การปฏบิ ตั หิ นา้ ทีด่ ว้ ยความวิริยะอตุ สาหะ อุทศิ เวลาแก่ราชการอย่าง
เครง่ ครดั
๙.3 ดแู ลรักษารถยนตม์ ิให้สูญหายและรกั ษาเครื่องยนต์ให้อยูใ่ นสภาพท่ีใช้การไดด้ อี ยู่
เสมอ โดยปฏิบัติตามหลักการและวิธกี ารรกั ษาเครื่องทีถ่ ูกต้องและใหอ้ ยู่ในสภาพพร้อมใช้ทกุ วนั
๙.4 ขบั รถดว้ ยความระมดั ระวังมใิ หเ้ กิดอบุ ตั ิเหตุหรือเปน็ โอกาสให้เกิดการชารุด
เสยี หาย ไม่ขบั รถดว้ ยความเร็ว ซึง่ เกดิ การจากความคกึ คะนองหรืออารมณ์อ่ืน ๆ ซ่ึงเปน็ โอกาสให้เกิด
อบุ ตั ิเหตุ เกิดความทรุดโทรมแกส่ ภาพรถและมีน้าใจรับ - ส่งครูและนักเรียนดว้ ยความเต็มใจ
๙.5 ปฏิบตั งิ านอื่น ๆ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายได้
๑๐. พนกั งานทาความสะอาด
ปฏิบัติหน้าที่
๑๐.1 ดแู ลทาความสะอาดภายในและภายนอกอาคาร ห้องเรียน ห้องพักครู ห้องน้า
ห้องสุขาใหเ้ ปน็ ระเบียบเรยี บร้อย
๑๐.2 ดูแล บารุงรกั ษาต้นไม้ สนามหญา้ ของโรงเรียนให้สวยงาม
๑๐.3 ดูแลรักษาวัสดุ ครุภณั ฑใ์ นส่วนพน้ื ที่งานทีร่ ับผิดชอบ
๑๐.4 ปฏิบตั งิ านอนื่ ๆ ทไี่ ด้รับมอบหมาย

~ 22 ~

มาตรา 2๑ สทิ ธิของครูและบคุ ลากรของโรงเรยี นอุตรดิตถ์พงึ ได้รบั ดงั ต่อไปนี้
1. บุตรทกุ คนมสี ิทธิ์เขา้ เรียนในโรงเรียนอตุ รดติ ถ์ ประเภทเง่ือนไขพเิ ศษ
2. ไดร้ ับสวัสดกิ ารของโรงเรียนตามระเบียบสวัสดกิ ารโรงเรยี นอตุ รดิตถ์ พ.ศ. 2563
3. คณะครู บุคลากร และนักเรยี น มีสทิ ธถิ์ อื หุน้ อย่างน้อย คนละ 1 หุ้น แต่ไม่เกนิ 250

หนุ้ โดยสมาชกิ ตอ้ งชาระคา่ หุ้นเม่ือแรกสมคั รคร้งั เดียว

มาตรา 2๒ โรงเรียนตอ้ งจัดใหม้ ีสหกรณ์ภายในโรงเรียนเพือ่ ฝึกใหน้ ักเรยี นเรียนรรู้ ะบบของสหกรณ์
โดยคณะครู บุคลากร และนักเรียน มสี ทิ ธิ์ถอื หุ้นอยา่ งน้อย คนละ 1 หุ้น แตไ่ ม่เกนิ 250 หุ้น โดย
สมาชกิ ตอ้ งชาระคา่ หุน้ เม่ือแรกสมคั ร

มาตรา 2๓ โรงเรยี นตอ้ งจดั ใหม้ ีการพัฒนาครูและบุคลากรใหม้ คี วามรูค้ วามสามารถในการปฏบิ ตั ิ
หนา้ ทใี่ หม้ ีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น อย่างนอ้ ย ๑ รายการต่อปี ดงั นี้

๑. การศึกษาดงู าน
๒. การสมั มนาทางวชิ าการ
๓. การอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารในเรอื่ งทจ่ี าเปน็ ต่อครทู กุ คน
๔. การจดั ทาวิจยั ในชั้นเรยี น หรือผลงานทางวชิ าการ

หมวดท่ี 5
นักเรยี น

มาตรา 2๔ คุณสมบตั พิ ้ืนฐานของผทู้ ีจ่ ะสมัครเข้าเรยี นโรงเรยี นอตุ รดติ ถ์
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1
1. เปน็ นกั เรียนทีจ่ บการศกึ ษาในระดับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 หรอื เทียบเทา่ ตามหลกั สูตร

การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2. มีความประพฤตเิ รยี บร้อย มรี ะเบียบวนิ ยั อยู่รว่ มกับผ้อู ่นื ไดเ้ ป็นอย่างดี
3. ผปู้ กครองมีความพร้อมที่จะให้การสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการเรียนการสอน

นอกเหนือหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เพ่ือสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาใหน้ ักเรยี นเกิน
มาตรฐานรฐั และค่าใชจ้ ่ายอ่ืน ๆ ทโ่ี รงเรยี นกาหนด ตลอดเวลาที่ศกึ ษาอยู่ในโรงเรียน

4. ผปู้ กครองมีความพรอ้ มในการร่วมดแู ลความประพฤติของนักเรยี นกบั ทางโรงเรยี น
ตลอดเวลาท่ีกาลงั ศกึ ษา

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4
1. เป็นนักเรียนที่จบการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 หรือเทียบเท่าตามหลักสูตร
การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2. มีความประพฤติเรียบร้อย มีระเบียบวินัย อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี และสามารถ
ประพฤตติ นตามระเบยี บของโรงเรยี นได้
3. ผู้ปกครองมีความพร้อมที่จะให้การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนการสอน
นอกเหนือหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้นักเรียนเกิน

~ 23 ~

มาตรฐานรฐั และค่าใช้จา่ ยอน่ื ๆ ทโี่ รงเรียนกาหนด ตลอดเวลาที่ศกึ ษาอยูใ่ นโรงเรียน
4. ผู้ปกครองมีความพร้อมในการร่วมดูแลความประพฤติของนักเรียนกับทางโรงเรียน

ตลอดเวลาท่ีกาลงั ศึกษา

มาตรา ๒๕ โรงเรียนต้องจัดให้มีสภานักเรียน ซึ่งได้มาโดยการได้รับเลือกมาจากนักเรียนและครู
ภายในโรงเรียน เพื่อเป็นผู้แทนของนักเรียน เป็นสื่อกลางเพื่อความเป็นประชาธิปไตย รักษาสิทธิและ
หน้าที่ของนักเรียนโดยไม่ขัดกับระเบียบและนโยบายของโรงเรยี น กาหนดแผนการปฏิบัติกิจกรรมเชิง
สรา้ งสรรค์และเปน็ ประโยชนต์ ่อโรงเรียน สังคมและประเทศชาติ โดยต้องมคี ุณสมบตั ิดงั ตอ่ ไปน้ี

๑. เปน็ ผู้ท่ยี ึดมั่นในระบอบประชาธิปไตย และจงรักภักดตี ่อสถาบันชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์

2. เปน็ นกั เรียนโรงเรียนอตุ รดติ ถอ์ ย่างถูกต้องตามกฎหมาย
3. ผสู้ มคั รจะตอ้ งลงสมคั รตามระเบยี บสภานกั เรียนโรงเรียนอุตรดติ ถ์
4. เปน็ ผทู้ ่กี าลงั ศึกษาอยใู่ นระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 ในขณะทีม่ ีการเลอื กตัง้
5. ไมม่ ีผลการเรยี นเป็น 0, ร, มส หรอื มผ
6. ได้รับความยินยอมจากคุณครูประจาช้ัน/ครูที่ปรึกษาและผู้ปกครองให้เข้าสมัคร
รับเลือกตงั้ ประธานสภาและสมาชิกสภานกั เรียน
7. เปน็ ผู้มีคุณธรรมและมีความเป็นกลางในการดาเนนิ นโยบาย
8. เปน็ ผู้ท่รี กั และเทิดทูนในเกียรติของโรงเรยี นอย่างจรงิ ใจ

มาตรา 2๖ นักเรียนต้องได้รับการพัฒนาจากทางโรงเรียนและผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องเพ่ือให้มีคุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงคด์ งั น้ี

1. มีวินยั
๒. ใฝ่เรยี นรู้
3. อยอู่ ย่างพอเพียง
๔. ระเบียบ เรยี บร้อย รกั สะอาด
๕. มุ่งมน่ั ในการทางาน
6. ความเป็นผูน้ า
7. เจตคตเิ ชงิ บวก
8. ความซือ่ สตั ยส์ ุจรติ
9. ความกตญั ญกู ตเวที
10. การออ่ นน้อมถ่อมตน
11. ความรบั ผดิ ชอบ
12. มจี ติ สาธารณะ
13. ความสามคั คี
14. รกั ความเปน็ ไทย
15. จงรกั ภักดีต่อสถาบนั

~ 24 ~

มาตรา ๒๗ นักเรยี นตอ้ งแต่งกายให้ถูกตอ้ งตามระเบียบของโรงเรียนดังน้ี
1. นักเรียนชาย (ทั้งมัธยมศึกษาตอนต้น - ตอนปลาย)
1.1 เส้ือ เสื้อแบบเชิ้ตคอต้ัง ตัดเย็บด้วยผ้าขาวเกลี้ยงห้ามใช้ผ้าด้ายดิบ ผ้าเน้ือมัน

ผ้าแพร ผ้าที่มีลายในตัวหรือผ้าท่ีมีเนื้อบางเกินไป ให้มีสาบหน้าอกด้านซ้าย ติดกระดุมแบบกลม
เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 1 เซนติเมตร แขนเสื้อเหนือศอกประมาณ 5 เซนติเมตร ความกวา้ งของแบบ
เส้ือไม่รัดรูป หรือกว้างเกินไป ตะเข็บแขนพับเข้าไปไม่น้อยกว่า 1.5 เซนติเมตร และไม่กว้างกว่า 2.5
เซนติเมตร ด้านหลังเส้ือไม่มีสาบ มีกระเป๋าเปิดตามราวนมทางอกซ้าย 1 ใบ กว้าง 8 ยาว 12
เซนติเมตร และไม่เกิน 12 - 15 เซนติเมตร เหนือกระเป๋าเส้ือ 1 น้ิว ให้ปักชื่อ-นามสกุล สูง 1
เซนติเมตร อกขวาในระดบั เดยี วกนั ปกั อักษรย่อ อ.ต. ต่าลงมา 0.5 น้วิ ปักเลขประจาตวั เปน็ เลขไทย
ทั้งหมดนี้ปักด้วยไหมสีน้าเงนิ (หา้ มใช้รปู ลอกกามะหยี)่ เหนอื ชือ่ นามสกลุ ด้านซ้ายให้ปกั จุดเคร่อื งหมาย
ระดับช้ัน ม.ตน้ -ม.ปลาย ปกั ดว้ ยไหมสีน้าเงิน ม.1 และ ม.4 1 จุด, ม.2 และ ม.5 2 จดุ , ม.3 และ
ม.6 3 จดุ และติดเครื่องหมายสัญลักษณเ์ ขม็ โรงเรียน

1.2 กางเกง ช้ัน ม.ต้น ใช้กางเกงส้ันสีกากี ชั้น ม. ปลาย ใช้กางเกงขาสั้นสีกรมท่า ห้ามใช้
ผ้าท่ีมีสีเข้มหรืออ่อนจนเกินไป ห้ามใช้ผ้ามันหรือผ้าด้ายดิบ ให้ตัดเย็บทรงสุภาพไม่รัดรูปหรือ
เอวหลวมจนเกินไป ความยาวของกางเกงเหนือเข่า 5 เซนติเมตร กระเป๋าตรงข้าง ๆ ละ 1 ใบ ไม่มีกระเป๋า
หลัง มีจีบด้านหลัง ข้างละ 2 จีบ หันไปทางกระเป๋ากางเกง มีหูร้อยเข็มขัดรวม 7 หู ยาวไม่เกิน 5
เซนติเมตร

1.3 รองเท้า-ถุงเทา้
นักเรียน ม. ต้น ให้ใช้รองเท้าผ้าใบหุ้มส้นสีน้าตาล ไม่มีลวดลายหรือใช้รองเท้า

หนังสีนา้ ตาลห้มุ ส้น มีสายผูกสีเดยี วกันกบั รองเท้า ถุงเทา้ สนี ้าตาล หา้ มพับหรอื ม้วนถงุ เทา้
นักเรียน ม. ปลาย ใช้รองเท้าผ้าใบสีดาหุ้มส้นไม่มีลวดลาย หรือใช้รองเท้าหนัง

สดี าห้มุ ส้น มีสายผกู สเี ดยี วกบั รองเทา้ ถงุ เทา้ ส้นั สขี าว หา้ มพบั หรือมว้ นถุงเท้า
1.4 เข็มขดั
นักเรียน ม. ต้น ให้ใช้เข็มขัดโลหะสี่เหลี่ยม สายหนังสีน้าตาลกว้างไม่เกิน 4 เซนติเมตร

อนุญ าตให้ใช้หัวเข็มขัดลูกเสือได้ สายเข็มขัดห้ามสลักลวดลายหรือวาดรูปติดสต๊ิกเกอร์
ตา่ ง ๆ เปน็ อันขาด

นักเรียน ม.ปลาย ให้ใช้หัวเข็มขัดโลหะสีเงิน ส่ีเหลี่ยม สายหนังสีดากว้างไม่เกิน
4 เซนตเิ มตร สายเข็มขดั หา้ มสักลวดลายหรือวาดรปู ตดิ สติ๊กเกอรต์ า่ ง ๆ เปน็ อนั ขาด

1.5 ทรงผม
นกั เรยี น ม.ต้น ตัดผมรองทรงสั้น ด้านบนยาวไม่เกิน 2 เซนตเิ มตร หรือด้านข้าง

เกรียนตดิ หนังศรี ษะ ไม่อนุญาตใหต้ ดั ทรงสกนิ เฮด
นักเรียน ม.ปลาย ตัดผมรองทรงสูง ด้านบนยาวไม่เกิน 4 เซนติเมตร และ

ดา้ นหลังยาวไมเ่ กิน 1.5 เซนติเมตร ไมอ่ นุญาตใหต้ ัดทรงสกินเฮด
1.6 เคร่อื งประดับและของมีคา่ ห้ามนักเรยี นใช้เครื่องประดับและเครื่องสาอางทุกชนิด

~ 25 ~

2. นกั เรียนหญงิ
2.1 นกั เรียน ม. ตน้
2.1.1 เส้ือ เสื้อแบบคอบัวแขนยาวรูดปลายจ๊ัมแขน มีขอบ 4 เซนติเมตร ติด

กระดุม 1 เม็ด ตัดด้วยผ้าขาวเกล้ียงไม่มีลายเส้นหรือลายทางใด ๆ ห้ามใช้ผ้าเน้ือมัน ผ้าแพรผ้าดิบ
มีขอบเอว 4 เซนตเิ มตร ผูกไทสีกรมทา่ ผ่าหน้ากระดุม 6 เมด็ มีกระเป๋า 1 ใบ ด้านซา้ ยมือ ปกั ชอ่ื บน
กระเปา๋ เสอ้ื และด้านขวามือปกั สญั ลักษณโ์ รงเรียนและเลขประจาตัวเป็นเลขไทยด้วยไหมสีนา้ เงิน

2.1.2 กระโปรง นักเรียนหญิง ม. ต้น ให้ใช้กระโปรงสีกรมท่าตัดแบบนักเรียน
คอื มีจีบดา้ นหนา้ 6 จบี หันจีบออกดา้ นขา้ ง ๆ ละ 3 จีบ ดา้ นหลังเชน่ เดยี วกัน ตีเกร็ดทับลงมาจากเอว
ประมาณ 8 - 12 เซนตเิ มตร ความลกึ ของจีบ 5 - 7 เซนตเิ มตร ความยาวคลมุ เข่าวัดจากจุดกึ่งกลาง
ลงไป 8 - 10 เซนตเิ มตรและใหม้ กี ระเปา๋ เฉพาะดา้ นข้างตามแนวตะเข็บเท่านน้ั

2.1.3 ทรงผม ตัดผมทรงตรง เปิดหู ยาวไม่เกินตีนผม ห้ามย้อมสี ดัด ซอย
ที่ไม่ใช่ทรงนักเรียนหรือเปลี่ยนแปลงไปจากธรรมชาติ ถ้าไว้ผมยาวให้รวบด้วยริบบิ้นสีน้าเงิน ขนาด
กวา้ งไมเ่ กนิ 1 นิว้ ห้ามถักเปีย

2.1.4 เครื่องประดบั และของมคี ่า ห้ามนักเรียนใชเ้ ครื่องประดบั และเคร่ืองสาอาง
ทกุ ชนิด

2.2 นักเรียนหญิง ม. ปลาย
2.2.1 เส้ือ ใช้เส้ือคอเช้ิต ชายเส้ือซ่อนเข้าในกระโปรง มีกระดุมขนาด

เส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร ไม่มีสาบเส้ือแขนเสื้อ มีจีบหน้า 3 จีบ หลัง 3 จีบ แขนรัดเหนือ
ข้อศอกประมาณ 5 เซนติเมตร ขอบแขนเส้อื กว้าง 2.5 - 3 เซนติเมตร จะต้องตัดด้วยผ้าขาวเกล้ยี งไม่
มีลายเส้นหรือลายทางใด ๆ ทั้งสิ้น ห้ามใช้ผ้าเนื้อมัน ผ้าแพรผ้าด้ายดิบ หรือผ้าที่มีเนื้อบางจนเกินไป
อกขวาปัก อ.ต. แต่ต่าลงไป 0.5 นิ้ว ปักเลขประจาตัวด้วยเลขไทย อกด้านซ้ายปักชื่อ นามสกลุ ขนาด
สูง 1 เซนติเมตร ในระดับเดียวกันกับอกด้านขวา ทั้งหมดปักด้วยไหมสีน้าเงินเข้ม เหนือชื่อด้านซ้าย
ให้ปักจุดเครอื่ งหมายระดบั เดียวกนั กบั นักเรียนชาย

2.2.2 กระโปรง นักเรียนหญิงทุกคน ให้ใช้กระโปรงสีกรมท่า ตัดแบบนักเรียน
คือ มีจีบด้านหน้า 6 จีบ หันจีบออกด้านข้าง ๆ ละ 3จีบ ด้านหลังก็เช่นกัน ตีเกร็ดทับลงมาจากเอว
ประมาณ 8 – 12 เซนติเมตร ความลึกของจีบ 5 – 7 เซนติเมตร ความยาวคลุมเข่าวัดจากจุด
ก่ึงกลางเข่าลงไป 8 – 10 เซนตเิ มตร และให้มีกระเป๋าเฉพาะด้านข้างตามแนวตะเขบ็ เทา่ นน้ั

2.2.3 เข็มขัด ให้หัวเข็มขัดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้หนังหุ้มไม่เกิน 5 เซนติเมตร
ความยาวของสายไม่เกิน 1 ใน 4 ของรอบเอว ห้ามสลักลวดลายหรอื ตดิ สต๊กิ เกอร์หรือวาดรูปตา่ ง ๆ

2.2.4 รองเท้า, ถุงเท้า ให้ใช้รองเท้าหนังสีดา มีสายรัดหลังเท้า ถุงเท้าสั้นสีขาว
พับให้เรียบรอ้ ย เหนือขอ้ เทา้ พอควร

2.2.5 ทรงผม ตัดผมทรงตรง เปดิ หู ยาวไม่เกินตนี ผม ห้ามย้อมสี ดดั ซอย ทไ่ี มใ่ ช่
ทรงนักเรียนหรือเปลี่ยนแปลงไปจากธรรมชาติ ถ้าไว้ผมยาวให้รวบด้วยริบบิ้นสีน้าเงิน ขนาดกว้าง
ไมเ่ กิน 1 น้ิว ห้ามถักเปยี

2.2.6 เครื่องประดับและของมีค่า ห้ามนักเรียนใช้เครื่องประดับและเครื่องสาอาง
ทุกชนิด

~ 26 ~

มาตรา ๒๘ นักเรยี นต้องปฏบิ ัติตนระหวา่ งเป็นนกั เรียนของโรงเรยี นอุตรดติ ถ์ ดงั นี้
1. หา้ มออกนอกบรเิ วณโรงเรยี น เว้นแต่จะไดร้ ับอนุญาต
2. ต้องเชอื่ ฟงั และปฏิบัติตนให้อยใู่ นโอวาทของครู
3. ประพฤติปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับวยั และสภาพของนักเรียน
4. มีความสุภาพอ่อนโยนต่อบุคคลทั่วไป รกั ษาความสามคั คีในหมูค่ ณะ ไม่กอ่ การ

ทะเลาะววิ าท
5. ไม่ทาการใด ๆ ท่ีจะนาความเสอื่ มเสยี มาสู่โรงเรียน ชว่ ยกันเสริมสรา้ งช่อื เสยี งมาสู่

โรงเรียนด้วยการแสดงซึ่งความสามารถตา่ ง ๆ ที่ดงี าม
6. ชว่ ยกันดแู ลรักษาทรัพย์สนิ สมบตั ขิ องโรงเรียน อนั เป็นของส่วนรวม
7. ชว่ ยกันประหยดั ในการใช้น้าและไฟฟ้าของโรงเรียน
8. มีบตั รประจาตวั นักเรียน และตอ้ งนาตดิ ตวั มาด้วยทุกวนั
9. นกั เรยี นท่จี ะมาติดต่อกับโรงเรยี นต้องแตง่ กายดว้ ยเครื่องแบบนักเรยี นทโี่ รงเรยี นกาหนด

ยกเว้นการจดั กิจกรรมทจี่ าเป็นตอ้ งแต่งกายในรปู แบบเฉพาะ
10. ทาความเคารพครู อาจารย์ทั้งในและนอกโรงเรียน
11. ในระหว่างทม่ี ีชั่วโมงเรยี น นักเรยี นจะต้องอยใู่ นหอ้ งเรียนเทา่ นั้น เว้นแตจ่ ะได้รบั อนญุ าต

จากครผู ้สู อนในคาบเรยี นน้ัน ๆ

มาตรา ๒๙ นกั เรียนตอ้ งดาเนนิ การเรอ่ื งการลาหยุด การขาดเรียน การมาสายและการออกนอก
บรเิ วณโรงเรยี น ดังน้ี

การลากิจและลาป่วย
1. จะต้องมีใบลาถงึ อาจารยท์ ่ีปรึกษาทุกครั้ง พรอ้ มท้งั มีลายเซ็นของผูป้ กครอง (ซ่ึงลงไว้
ในวันมอบตัว) ในวันทีน่ ักเรียนมาโรงเรยี นวันแรกหลังจากลา
2. ถ้านกั เรยี นหยุดเรยี นไปแลว้ เกิน 3 วัน โดยทางโรงเรยี นไมท่ ราบสาเหตุ ทางโรงเรียนจะ
ตดิ ต่อขอทราบเหตผุ ลโดยตรงกบั ผู้ปกครอง ซ่งึ ผู้ปกครองจะตอ้ งนาหนงั สือการติดต่อของทางโรงเรยี น
มาพบกับฝา่ ยปกครองของโรงเรียนทนั ที เม่อื ไดร้ ับหนงั สือ
การขาดเรยี น
1. ห้ามนักเรียนขาดเรียนโดยเดด็ ขาด
2. การขาดเรียนเป็นปกติถือว่า “เป็นความประพฤตทิ ่ีไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรยี น”
3. การขาดเรียนติดต่อกันเกิน 7 วัน โดยไม่ทราบสาเหตุ หรือผู้ปกครองไม่แจ้งให้ทาง
โรงเรียนทราบ ทางโรงเรียนจะมีหนังสือถงึ ผู้ปกครองเพ่ือให้แจง้ เหตุผลให้ทราบ ถ้าหลังจากโรงเรียนมี
หนงั สือไปถึงผ้ปู กครองแลว้ 7 วนั ผู้ปกครองยงั ไม่แจ้งเหตุผลให้ทราบ หรือไมม่ าติดต่อกบั ทางโรงเรียน
โรงเรียนจะถือว่านักเรียนไม่มีความประสงค์ท่ีจะเรียนต่อไป โรงเรียนจะจาหน่ายช่ือออกจากโรงเรียน
เพราะขาดเรียนนาน
การมาสาย
1. การมาสายเป็นประจาถือวา่ “เป็นความประพฤติท่ไี มเ่ หมาะสมกบั สภาพนกั เรียน”
นกั เรยี นทกุ คนตอ้ งมาให้ทันเวลาเขา้ แถวเคารพธงชาติ
2. นักเรียนทุกคนต้องมาถงึ โรงเรยี นก่อนเวลา 08.00 น. ถา้ มาหลงั จากนี้ถือวา่ มาสาย

~ 27 ~

มาตรา ๓ ๐ การลงโทษนักเรียนให้เป็นไปตามระเบียบโรงเรียนซึ่งเป็นไปตามระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยการลงโทษนกั เรยี นและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔ มี ๕ สถานดงั น้ี

๑. วา่ กลา่ วตักเตือน
๒. ทาทณั ฑ์บน
๓. ตดั คะแนนความประพฤติเป็นไปตามระเบยี บท่ีกาหนด
๔. ทากิจกรรมเพ่อื ใหป้ รับเปลยี่ นพฤติกรรม
๕. กรณีเป็นความผิดที่ร้ายแรงที่อาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยต่อผู้อื่นโดยส่วนรวม
โรงเรียนจะพิจารณาแก้ไขปัญหาของนกั เรียนตามระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นตามที่โรงเรียนกาหนด

หมวดที่ 6
คณะกรรมการสถานศึกษาศึกษาขั้นพื้นฐาน

มาตรา 3๑ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน มีองค์ประกอบ ดังนี้
๑. ประธานกรรมการ (มาจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ)
๒. กรรมการทเ่ี ป็นผูแ้ ทนผู้ปกครอง
๓. กรรมการท่ีเป็นผแู้ ทนครู
๔. กรรมการทเ่ี ป็นผแู้ ทนองค์กรชุมชน
๕ กรรมการทีเ่ ป็นตวั แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
๖. กรรมการทีเ่ ป็นผ้แู ทนศษิ ย์เกา่
๗. กรรมการท่เี ป็นผู้แทนพระภกิ ษุสงฆ์หรอื ผแู้ ทนองคก์ รศาสนาในพื้นที่
๘. กรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ิ
๙. ผู้อานวยการสถานศกึ ษาเป็นกรรมการและเลขานุการ

มาตรา 3๒ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มีบทบาทหน้าท่ี ดงั ต่อไปน้ี
๑. ให้ความเห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษาและให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาหลักสูตร

สถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้ นฐานและความต้องการของผู้เรียน
ชมุ ชนและท้องถ่ิน

๒. ให้ข้อเสนอแนะและส่งเสริมสนับสนุนในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม กระบวนการ
เรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ฯลฯ เพ่ือการปรับปรุงและพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของ
สถานศกึ ษาอยา่ งต่อเนอื่ ง

๓. ให้ความคิดเห็นเก่ียวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาในสถานศกึ ษาต่อผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา

๔. ให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการประจาปีและให้ข้อเสนอแนะเก่ียวกับการจัดตั้งและ
การใชง้ บประมาณของสถานศึกษา

๕. ให้ความเห็นชอบ และเสนอแนะในการออกระเบียบข้อบังคับ ประกาศและแนวปฏิบัติ
เก่ียวกับการบริหารการเงินและการจัดหารายได้จากทรัพย์สินของสถานศึกษาหรือปฏิบัติหน้าท่ีอื่น
เกี่ยวกบั เรอ่ื งน้ตี ามทีก่ ฎหมาย ระเบียบประกาศ ฯลฯ กาหนด

~ 28 ~

๖. ให้ความเห็นชอบ ข้อเสนอแนะและให้คาปรึกษาในการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาของ
สถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา ชมุ ชนและทอ้ งถิ่น

๗. ให้ความเห็นชอบ เสนอแนะและให้คาปรึกษา สนับสนุนเก่ียวกับการระดมทรัพยากรเพ่ือ
การศึกษาท่ีมีคุณภาพรวมทั้งปกครองดูแลบารุงรักษา และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ
สถานศกึ ษาตามที่กฎหมาย ระเบยี บ ประกาศ ฯลฯ กาหนด

๘. ปฏิบัติหน้าท่ีอื่นเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษาตามท่ีกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ
กาหนดให้เป็นอานาจหนา้ ทีข่ องคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

๙. ปฏิบัติหน้าทอี่ ่นื ๆ ตามท่ีไดร้ บั มอบหมายจากหน่วยงานต้นสงั กัด

หมวดท่ี ๗
วฒั นธรรมโรงเรียนอตุ รดิตถ์

มาตรา 3๓ โรงเรยี นอุตรดิตถ์ เป็นโรงเรยี นประจาจังหวดั อตุ รดติ ถ์ มีรูปแบบการบรหิ ารเปน็ องค์คณะ
เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถทั้งด้านวิชาการ กีฬา ศิลปะ ดนตรี มีความเป็นสุภาพบุรุษ
สุภาพสตรี มีคุณธรรมจริยธรรม เคารพผู้อาวุโส มีความรักสามัคคีและเสียสละในหมู่คณะ กตัญญู
กตเวทีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ พร้อมรับใชช้ าตบิ า้ นเมอื งโดยผา่ นกจิ กรรมดังต่อไปนี้

1. กจิ กรรมวันสาคัญของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ ได้แก่
1.1 วันคลา้ ยวนั พระราชสมภพ (พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวและพระราชินี)
๑.๒ วนั คล้ายวนั สวรรคตพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชบรมนาถ-

บพติ ร (วนั ที่ ๑๓ ตุลาคม)
๑.๓ วันปยิ มหาราช (วนั ที่ ๒๓ ตลุ าคม)
1.4 วนั มหาธรี ราชเจ้า (วนั ที่ ๒๕ พฤศจิกายน)
1.3 วนั พ่อแหง่ ชาติ (วนั ท่ี ๕ ธันวาคม)
1.4 วันแม่แหง่ ชาติ
1.5 วนั เดก็ แห่งชาติ
1.6 วันสาคัญทางพทุ ธศาสนา วันมาฆบูชา วนั วิสาขบูชา วนั อาสาฬหบูชา และ

วนั เขา้ พรรษา
2. วันสาคัญของโรงเรียน ได้แก่
2.1 วันสถาปนาโรงเรยี น
2.2 วนั ไหว้ครู
2.3 วันแข่งขันกฬี าคณะสี
2.4 วันสาคัญตามกิจกรรมของกลุ่มสาระการเรียนรู้
2.6 วันเกยี รตยิ ศ

~ 29 ~

หมวดท่ี 8
การประกาศใช้ธรรมนญู โรงเรียน

มาตรา 3๔ ให้โรงเรียนจัดพิมพ์ต้นฉบับธรรมนูญโรงเรียนอุตรดิตถ์อย่างน้อย จานวน ๕ ฉบับ
มีข้อความถูกต้องตรงกัน เพ่ือเป็นเอกสารหลักฐานแห่งธรรมนูญโรงเรียนนี้ รวมถึงหากมีการแก้ไข
เพม่ิ เติมธรรมนูญโรงเรียนนีใ้ นภายหลัง ให้จัดพิมพ์ขอ้ ความการแก้ไขเพม่ิ เตมิ ธรรมนูญโรงเรยี นขน้ึ ใหม่
ต่างหาก หรือการแก้ไขเพิ่มเติมข้อความจากธรรมนูญฉบับเดิมแล้วจัดพิมพ์ขึ้นใหม่ท้ังฉบับ โดยให้
กาหนดวา่ เปน็ ฉบบั แกไ้ ขเพิ่มเติมพุทธศักราช.......... และเป็นลขิ สทิ ธ์ขิ องทางโรงเรียน

มาตรา ๓๕ ให้เป็นหน้าที่ของกลุ่มบริหารบุคคล มีหน้าท่ีเผยแพร่ธรรมนูญโรงเรียนให้กับครูและ
บุคลากรทางการศึกษาที่บรรจุหรือย้ายมาใหม่ นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน และบุคคลที่เก่ียวข้อง ผ่านทางหนังสือส่ิงพิมพ์ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-book) หรือ
การนเิ ทศโดยตรง ตามความเหมาะสม

มาตรา ๓๖ ให้โรงเรียนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ประกาศใช้
ธรรมนูญโรงเรียน รวมถงึ หากมกี ารแก้ไขเพ่มิ เติมธรรมนญู โรงเรียนซึ่งอาจมีขึ้นในภายหลัง โดยใหม้ ีผล
ตั้งแต่วันท่ีประกาศใช้เป็นธรรมนูญโรงเรียน และให้โรงเรียนประกาศเป็นท่ีทราบโดยทั่วกัน


Click to View FlipBook Version