The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by neung.eiei01, 2019-01-19 07:31:02

บทที่7เวอชั่นM

ค ำน ำ















รอใส่

สำรบัญ












หัวข้อเรื่อง หน้าที่



ความหมายของผลิตภัณฑ์ 1




ระดับผลิตภัณฑ์ 2




ประเภทของผลิตภัณฑ์ 3,4,5




ส่วนประสมผลิตภัณฑ์ 6





การตัดสินใจ 7




ขั้นตอนการตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่ 8




กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ 9




การตัดสินใจเกี่ยวกับตราสินค้า 10,11,12




การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ 13




วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ 14,15




บรรณานุกรม 16




ประวัติส่วนตัวของผู้จัดท า 17,18,19

ควำมหมำยของผลิตภัณฑ์























ผลิตภัณฑ์ (Product) หมำยถึง "สิ่งใด ๆ ที่น ำเสนอเพื่อ

ตอบสนองควำมจ ำเป็นหรือควำมต้องกำรของตลำดให้ได้รับควำม

พึงพอใจ" ดังนั้นจำกควำมหมำยนี้ "ผลิตภัณฑ์" จึงมีควำมหมำยที่

กว้ำงครอบคลุมถึงทุกสิ่งทุกอย่ำงที่สำมำรถตอบสนองควำมจ ำเป็น

และควำมต้องกำรของตลำดหรือผู้บริโภคได้ โดยครอบคลุมถึง

สินค้ำ (Goods) เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีตัวตนจับต้องได้ เช่น รองเท้ำ

อำหำร ยำรักษำโรค โทรศัพท์

บริกำร (Service) เป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีตัวตนจับต้องไม่ได้ เช่น

กำรตัดผม กำรชมคอนเสิร์ต

บุคคล (Person) เช่น นักกีฬำที่มีชื่อเสียง ดำรำ นักร้อง

นักกำรเมือง

สถำนที่ (Place) เป็นสถำนที่ที่สร้ำงควำมพึงพอใจแก่ผู้บริโภคใน

แง่ใดแง่หนึ่งได้ เช่น เพื่อกำรพักผ่อน สถำนที่ทำงประวัติศำสตร์

เป็นต้น ตัวอย่ำงของผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ เช่น พระรำชวัง อุทยำน

ประวัติศำสตร์ เกำะภูเก็ต เขำใหญ่ ถนนข้ำวสำร เป็นต้น

แนวควำมคิด (Idea) เป็นแนวควำมคิดที่สำมำรถเป็นที่ยอมรับได้

ของผู้บริโภค (ประชำชน) เช่น นโยบำยพรรคกำรเมือง กำรรณรงค์

ไม่สูบบุหรี่ กำรรณรงค์ควำมประหยัด







1

ระดับผลิตภัณฑ์






















ระดับของผลิตภัณฑ์

ในกำรซื้อสินค้ำ นอกจำกตัวสินค้ำแล้ว ผู้บริโภคจะได้รับประโยชน์

ในด้ำนอื่นๆ ด้วย ซึ่งทั้งหมดเป็นปัจจัยในกำรเลือกซื้อสินค้ำ และ

กำรตัดสินใจในซื้อซ ้ำ สิ่งที่ผู้บริโภคได้รับจำกกำรซื้อสินค้ำนั้น แบ่ง

ได้เป็น 5 ระดับดังนี้

1. Core Product เป็นประโยชน์พื้นฐำนที่ได้รับจำก

ผลิตภัณฑ์โดยตรง

2. Tangible or formal product คือรูปลักษณ์ของ

ผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภคสัมผัสได้ เช่น ระดับคุณภำพ รูปร่ำง

ลักษณะ กำรออกแบบ บรรจุภัณฑ์ ตรำสินค้ำ

3. Expected Product คือคุณสมบัติที่ผู้ใช้คำดหวัง

4. Augmented product คือ ผลประโยชน์เพิ่มเติม

5. Potential product คือ สิ่งที่จะมีเพิ่มเติมในอนำคต






















2

ประเภทของผลิตภัณฑ์



















ประเภทของผลิตภัณฑ์

อำจจ ำแนกประเภทของผลิตภัณฑ์ได้ต่ำง ๆ กัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ

เกณฑ์ที่ใช้ในกำรจ ำแนก ดังนี้

1. เกณฑ์อำยุใช้งำน แบ่งผลิตภัณฑ์ได้เป็น 2 ประเภท คือ

- ผลิตภัณฑ์คงทน (Durable goods) เป็น

ผลิตภัณฑ์ที่มีอำยุกำรใช้งำนนำน ผู้บริโภคจึงมักต้องกำร

บริกำรเพิ่มเติม เช่น กำรรับประกันสินค้ำ เป็นต้น

- ผลิตภัณฑ์ไม่คงทน (nondurable goods) เป็น

ผลิตภัณฑ์ที่มีอำยุกำรใช้งำนสั้น ต้องซื้อบ่อย ๆ

2. เกณฑ์ทำงกำยภำพ แบ่งผลิตภัณฑ์ได้ 2 ประเภท คือ

- ผลิตภัณฑ์ที่จับต้องได้ (Tangible goods) อำจจะ

เป็นสินค้ำที่คงทนหรือไม่คงทนก็ได้


- ผลิตภัณฑ์ที่จับต้องไม่ได้ (Intangible goods)
ผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ต้องกำรกำรควบคุมคุณภำพเป็นพิเศษและต้อง

สร้ำงควำมเชื่อถือต่อกันระหว่ำงผู้ขำยและผู้ซื้อ

3. เกณฑ์ผู้ใช้ แบ่งผลิตภัณฑ์ตำมเกณฑ์ผู้ใช้ได้3 ประเภท

ดังนี้


3.1 ผลิตภัณฑ์เกษตรกรรม (Agricultural goods)
เป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในภำคเกษตรกรรม






3

ประเภทของผลิตภัณฑ์





















3.2 ผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรม (Industrial goods) เป็น

ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในภำคอุตสำหกรรมซื้อเพื่อน ำไปผลิตต่อแบ่งได้เป็น

(1) วัตถุดิบ (Materials) หมำยถึง วัตถุดิบ

และชิ้นส่วนประกอบในกระบวนกำรผลิต

(2) สินค้ำคงทน (Capitalism) เป็นสินค้ำ

คงทน

(3) อยู่ในส่วนของกำรผลิต เช่น ตัวอำคำร

โรงงำน อุปกรณ์เครื่องจักร เป็นต้น


(4) อะไหล่และบริกำรเสริม (Supplied and
services) เป็นวัสดุส ำนักงำนที่มีอำยุกำรใช้งำนสั้นและบริกำร

เพื่อให้กำรผลิตด ำเนินต่อไปได้ เช่น กำรดูแลรักษำ ซ่อมแซม

อุปกรณ์ ฯลฯ























4

ประเภทของผลิตภัณฑ์



















3.3 ผลิตภัณฑ์อุปโภคบริโภค (Consumer goods) ผู้ซื้อซื้อ

ผลิตภัณฑ์ไปเพื่อบริโภค/ ใช้เอง แบ่งได้เป็น 4ประเภท คือ


(1) สินค้ำสะดวกซื้อ (Convenience
goods) เป็นสินค้ำที่ใช้บ่อย รำคำไม่แพง จึงไม่ต้องใช้ควำม

พยำยำมมำกในกำรซื้อ

(2) สินค้ำเลือกซื้อ (Shopping goods) เป็น

สินค้ำที่ผู้ซื้อต้องกำรเลือกสรรก่อนซื้อจึงมัก เปรียบเทียบคุณสมบัติ

ต่ำง ๆ ของผลิตภัณฑ์ รำคำและรูปแบบของผลิตภัณฑ์ก่อนตัดสินใจ

ซื้อ

(3) สินค้ำเจำะจงซื้อ (Specialty goods) เป็น

สินค้ำเฉพำะอย่ำงที่ผู้บริโภคเจำะจงซื้อ เช่น ยี่ห้อนี้คุณสมบัติอย่ำงนี้

เป็นต้น


(4) สินค้ำไม่อยำกซื้อ (Unsought goods)
เป็นสินค้ำที่มีผู้บริโภคไม่รู้จัก และไม่คิดที่จะซื้อจนกระทั่งได้รู้จัก

และเห็นโฆษณำ เช่น พจนำนุกรม ประกันชีวิต

















5

ส่วนประสมผลิตภัณฑ์















ส่วนประสมผลิตภัณฑ์

องค์ประกอบของส่วนประสมผลิตภัณฑ์

อำจพิจำรณำส่วนประสมผลิตภัณฑ์ของกิจกำรใดกิจกำรหนึ่งออก

ได้เป็น 3 ระดับ คือ

1. ควำมกว้ำงของผลิตภัณฑ์ (Product Width)

หมำยถึง จ ำนวนสำยของผลิตภัณฑ์ (Product Line)

ที่กิจกำรจ ำแนกไว้ ธุรกิจส่วนใหญ่มักขำยผลิตภัณฑ์มำกกว่ำ 1 สำย

เช่น บริษัทไล อ้อน (ประเทศไทย) จ ำกัด มีผลิตภัณฑ์ทั้งสิ้น 8 สำย

ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ผงซักฟอก ผลิตภัณฑ์ซักผ้ำ

ผลิตภัณฑ์ถนอมเสื้อผ้ำ ผลิตภัณฑ์เพอซัลนอล แคร์ ผลิตภัณฑ์

ส ำหรับเด็ก ผลิตภัณฑ์สำรเคมี

2. ควำมบำงของผลิตภัณฑ์ (Procuct Length)

หมำยถึง จ ำนวนผลิตภัณฑ์ในแต่ละสำยผลิตภัณฑ์ธุรกิจ

สำมำรถหำควำมบำงเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์ในแต่ละสำยได้โดยใช้

จ ำนวนผลิตภัณฑ์ทั้งหมดที่มีไว้ขำย หำรด้วย

จ ำนวนสำยผลิตภัณฑ์ที่มี ในกรณีของบริษัท ไลออน (ประเทศ

ไทย) จ ำกัด มีจ ำนวนผลิตภัณฑ์ในแต่ละสำยไม่เท่ำกัน ควำมบำง

เฉลี่ยของผลิตภัณฑ์ คือ 40 ¸ 8 = 5

3. ควำมลึกของผลิตภัณฑ์ (Product Depth) หมำยถึง

ขนำด สีต่ำง ๆ หรือควำมสูงต่ำง ๆ กันของแต่ละผลิตภัณฑ์ในสำย

ควำมลึกเฉลี่ยของแต่ละผลิตภัณฑ์หำได้โดยบวกควำมลึกของทุก

ผลิตภัณฑ์หำรด้วยจ ำนวนผลิตภัณฑ์

กำรตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์

6

กำรตัดสินใจ























กำรตัดสินใจ

กำรตัดสินใจ คือ เป็นกระบวนกำรที่ใช้เหตุผลในกำรพิจำรณำ

วิเครำะห์ และหำทำงเลือกเพื่อน ำไปสู่ขั้นของกำรปฏิบัติที่ดีที่สุดซึ่ง

จะน ำไปสู่เป้ำหมำยที่ก ำหนด กำรตัดสินใจจึงต้องเป็นไปตำม

ขั้นตอนของกระบวนกำรอย่ำงรอบคอบ เพื่อประสิทธิภำพและ

ประสิทธิผลของกำรบริหำรองค์กำร จะเห็นว่ำกำรตัดสินใจมั่งกำร

เป็นหัวใจของกำรบริหำรหน่วยงำน เพรำะผู้บริหำรไม่อำจหลีกเลี่ยง

ได้ จะต้องท ำหน้ำที่เกี่ยวกับกำรตัดสินใจหลำยครั้งในวันหนึ่งๆ

บำงครั้งก็มีควำมส ำคัญถึงขั้นของกำรอยู่รอดหรือไม่ขอบหน่วยงำน

บำงครั้งก็เป็นเหตุให้กระทบกระเทือนถึงกำรท ำงำนของบุคคลอื่นๆ

และยิ่งเป็นผู้บริหำรระดับสูงขึ้นไปจะต้องเกี่ยวพันกับกำรตัดสินใจ

ตลอดเวลำ ผลของกำรตัดสินใจของผู้บริหำรไม่ว่ำจะปรำกฏออกมำ

ดีหรือไม่ก็ตำม ผู้บริหำรจะต้องรับผิดชอบต่อผลที่เกิดขึ้นนั้นด้วย













7

ขั้นตอนกำรตัดสินใจ


เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่
















ขั้นตอนกำรตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่


ในกำรตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่และกำรออกแบบระบบกำร

ผลิตนั้นมีขั้นตอนต่ำงๆตำมล ำดับดังนี้

1.กำรค้นหำและริเริ่มควำมคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่ ควำมคิด
เกี่ยวกับสินค้ำและบริกำรใหม่ จะเกิดขึ้นได้ 2 ทำงคือ


1.1 ภำยในองค์กร ได้แก่หน่วยงำนต่ำงๆในองค์กร คือฝ่ำย
ด ำเนินงำน ฝ่ำยบริหำร ฝ่ำยกำรตลำด ฝ่ำยกำรเงิน ฝ่ำยบุคคล และ


ฝ่ำยวิศวกร
1.2 ภำยนอกองค์กร ซึ่งอำจเป็นหน่วยงำนโฆษณำ หรือจำกลูกค้ำ


จำกกฎระเบียบข้อบังคับของรัฐบำลก็ได้
2. ขั้นกลั่นกรองควำมคิด กิจกำรจะมีค ำถำมเกี่ยวกับหลอดไฟเพื่อให้


เกิดควำมคิดสร้ำงสรรค์มำกขึ้น และเพื่อสกัดควำมคิดที่ไม่ดีทิ้งไป
เก็บแต่ควำมคิดที่ดีของหลอดไฟเพื่อน ำไปสู่ขั้นตอนต่อไป


แนวควำมคิดต่ำงๆ นี้ได้แก่
2.1 ได้ระบุถึงปัญหำของหลอดไฟหรือยัง?


2.2 มีผู้ผลิตไว้แล้วหรือยัง?
2.3 วัตถุดิบที่ใช้เป็นอย่ำงไร? มีวัตถุดิบอื่นๆใช้ทดแทนได้หรือไม่?


2.4 รูปร่ำงดีหรือยัง? กำรท ำงำนเป็นอย่ำงไร?










8

กระบวนกำรพัฒนำ


ผลิตภัณฑ์ใหม่























กระบวนกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ใหม่

กระบวนกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ใหม่มี 8 ขั้นตอน ดังนี้คือ

1. กำรริ่เริ่มควำมคิด

2. กำรกลั่นกรองเลือกเฟ้นควำมคิด

3. กำรพัฒนำแนวควำมคิดและกำรทดสอบ

4. กำรพัฒนำกลยุทธ์กำรตลำด

5. กำรวิเครำะห์ทำงธุรกิจ

6. กำรผลิตเป็นรูปผลิตภัณฑ์

7. กำรทดสอบตลำด

8. กำรน ำผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลำด




















9

กำรตัดสินใจเกี่ยวกับตรำ


สินค้ำ
















กำรตัดสินใจเกี่ยวกับตรำสินค้ำ




ควำมส ำคัญของตรำยี่ห้อ ผู้บริโภคส่วนใหญ่พึงพอใจที่จะซื้อ


ผลิตภัณฑ์ที่มีตรำยี่ห้อมำกกว่ำผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีตรำยี่ห้อ ทั้งนี้
เพรำะตรำยี่ห้อท ำให้ผู้บริโภคแน่ใจว่ำได้ซื้อผลิตภัณฑ์ที่ต้องกำร


ถูกต้องแล้ว และมั่นใจได้ในคุณภำพของผลิตภัณฑ์ที่ซื้อภำยใต้
ยี่ห้อที่ระบุไว้นั้นตรำยี่ห้อท ำให้กระบวนกำรซื้อผลิตภัณฑ์ของ


ผู้บริโภคเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ กล่ำวคือผู้บริโภคสำมำรถ
เปรียบเทียบซื้อผลิตภัณฑ์ที่ต้องกำรได้จำกหลำย ๆ ยี่ห้อ และ


สำมำรถเห็นควำมแตกต่ำงของผลิตภัณฑ์ในแต่ละยี่ห้อได้ชัดเจน
ยิ่งขึ้น ท ำให้กำรตัดสินใจซื้อง่ำยและสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้นกว่ำ


กำรเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีตรำยี่ห้อ ผู้ขำยเองก็พึงพอใจที่จะขำย
ผลิตภัณฑ์ที่มีตรำยี่ห้อมำกกว่ำผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีตรำยี่ห้อเพรำะขำย


ได้ง่ำยกว่ำ เมื่อผู้บริโภคระบุชื่อตรำยี่ห้อของผลิตภัณฑ์ที่ต้องกำรซื้อ
ผู้ขำยก็สำมำรถรับค ำสั่งซื้อได้ทันที ตรำยี่ห้อของผลิตภัณฑ์ท ำให้


ผู้ขำยสำมำรถตกแต่งและจัดวำงผลิตภัณฑ์ที่ขำยได้สวยงำมมำกขึ้น
และสำมำรถแยกส่วนตลำดของผลิตภัณฑ์ที่ขำยออกจำกกันได้


ชัดเจนในส่วนของผู้ผลิตสำมำรถน ำผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีตรำยี่ห้อเข้ำ
เสนอขำยเข้ำเสนอขำย








10

กำรตัดสินใจเกี่ยวกับตรำ



สินค้ำ





















และแนะน ำในตลำดผลิตภัณฑ์ใหม่ได้ง่ำยกว่ำกำรน ำเสนอ


ผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีตรำยี่ห้อ ผู้ผลิตสำมำรถท ำให้ผลิตภัณฑ์ที่จะเสนอ
ขำยสู่ตลำดมีควำมหลำกหลำยแตกต่ำงจำกผลิตภัณฑ์เดิม ๆ ที่มีขำย


อยู่แล้วในตลำดและสำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรของตลำดได้
หลำย ๆ ส่วน ในเวลำเดียวกัน เช่น เมื่อต้องกำรขำยผลิตภัณฑ์ชนิด


เดียวกันแต่ละคนและตลำดก็ผลิตสินค้ำออกมำให้คุณภำพต่ำงกัน
รำคำต่ำงกันเพื่อส่วนตลำดที่ต่ำงกัน โดยผู้บริโภคแต่ละส่วนตลำด


สำมำรถเห็นควำมแตกต่ำงของผลิตภัณฑ์ที่ซื้อได้อย่ำงชัดเจน สังคม
โดยรวมก็ได้รับประโยชน์จำกผลิตภัณฑ์ที่มีตรำยี่ห้อเช่นกัน


กล่ำวคือ เมื่อผู้ผลิตต้องกำรเสนอผลิตภัณฑ์เพื่อขำยในตลำดให้มี
ควำมหลำกหลำยมำกขึ้น ท ำให้ผลิตภัณฑ์ที่ขำยต้องมีควำม


แตกต่ำงชัดเจนจำกผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขันนั้น ผู้ผลิตจ ำเป็นต้อง
คิดค้นและน ำเสนอประโยชน์และรูปแบบใหม่ ๆ ของผู้บริโภค


บริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์ มีคุณค่ำมำกขึ้นกว่ำเดิม








11

กำรตัดสินใจเรื่องกำร



บรรจุภัณฑ์





















กำรตัดสินใจเรื่องกำรบรรจุภัณฑ์




ควำมหมำยของบรรจุภัณฑ์

บรรจุภัณฑ์หรือกำรบรรจุหีบห่อ หมำยถึงศำสตร์และศิลป์ที่ใช้ใน

กำรบรรจุสินค้ำโดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเป็นมิตรกับ

สิ่งแวดล้อม เพื่อกำรคุ้มครองปกป้องสินค้ำจำกผู้ผลิตจนถึงมือลูกค้ำ

อย่ำงปลอดภัยด้วยต้นทุนกำรผลิตที่เหมำะสม

จำกควำมหมำยพอสรุปได้ว่ำบรรจุภัณฑ์นั้นหมำยถึงเรื่องของ

วิทยำศำสตร์ และเรื่องของศิลปะที่ใช้เพื่อกำรบรรจุสินค้ำโดยใช้

เทคโนโลยีที่ทันสมัยและท ำให้เกิดควำมเสียหำยกับสิ่งแวดล้อม

และบรรจุภัณฑ์นั้นจะต้องปกป้องตัวสินค้ำให้อยู่ในสภำพที่ดีจำก

แหล่งผลิตจนถึงมือลูกค้ำโดยไม่ให้ได้รับควำมเสียหำย ทั้งนี้บรรจุ

ภัณฑ์นั้น ๆ จะต้องมีต้นทุนของกำรผลิตที่ไม่สูงจนเกินไป
















12

กำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ใหม่


















กำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ใหม่ (New Product

Development)

เป้ำหมำยหนึ่งของกำรลงทุนในด้ำนวิจัยและพัฒนำ

(R&D) ก็คือกำรผลิตสินค้ำและพัฒนำผลิตภัณฑ์ ซึ่งผลจำกกำร

วิจัยที่ได้ จะเป็นในรูปของสิ่งที่จับต้องไม่ได้ (Intangible)

ดังนั้นขั้นตอนนี้จึงเป็นกำรท ำให้สิ่งที่คำดหวังจำกกำรวิจัยและ

พัฒนำน ำมำสร้ำงผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีควำมแตกต่ำง ด้วยกำรน ำ

เทคโนโลยีและโอกำสในกำรท ำกำรตลำดมำผสมผสำนเพื่อน ำไป

จ ำหน่ำยหรือน ำไปจดสิทธิบัตรเพื่อสร้ำงรำยได้

ผลิตภัณฑ์ใหม่คืออะไร?

ผลิตภัณฑ์สำมำรถเป็นสิ่งที่ใหม่ในโลก หรืออำจเป็นสิ่งที่

ใหม่ในองค์กร ยกตัวอย่ำงเช่น บ.Hewlett-Packard (HP)

ผลิตเครื่องพิมพ์ Laser Jet ได้เป็นรำยแรกของโลก แต่ บ.IBM

ได้ผลิต Laser printer ในสำยผลิตภัณฑ์ใหม่ของกิจกำร ซึ่ง

เป็นผู้ผลิตหลังจำกที่ HPได้ผลิตมำก่อนหลำยปีแล้ว นอกจำกนี้ บ.

โบอิ้งได้แนะน ำ โบอิ้ง รุ่น 747:400 และได้เป็นเครื่องบินที่ได้มีกำร

พัฒนำให้เป็นส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์ในองค์กรที่ประสบ

ควำมส ำเร็จอีกรุ่นหนึ่ง หรือ บ.Microsoft ได้แนะน ำรุ่นต่ำง ๆ

ของระบบปฏิบัติกำร Windows ออกมำ เช่น Windows

3.1 Windows 98 Windows 2000 Windows

XP Windows NT เป็นต้น

13

วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
















วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ Product Life Cycle
ประกอบด้วย 4 ช่วงเวลำ โดยกำรก ำหนดกลยุทธ์ส่วน

ประสมทำงกำรตลำด (Marketing Mixs) ส ำหรับสินค้ำใน


แต่ละช่วงของ Product Life Cycle มีควำมแตกต่ำงกันอย่ำง

มำก โดยเฉพำะเรื่อง Promotion ซึ่งProduct Life

Cycle นั้น ประกอบไปด้วย
1. Introduction (ช่วงแนะน ำสินค้ำสู่ตลำด) เป็นช่วงแรกของ

กำรวำงตลำดเพื่อขำยสินค้ำดังกล่ำว ช่วงนี้สินค้ำจะยังไม่เป็นที่รู้จัก

ของลูกค้ำ จึงจ ำเป็นต้องท ำกำรตลำดเพื่อแนะน ำสินค้ำสู่ตลำดด้วย

วิธีกำรต่ำงๆ เช่น โฆษณำ ประชำสัมพันธ์ ส่งเสริมกำรขำย ฯลฯ ท ำ

ให้มีค่ำใช้จ่ำยสูง ยอดขำยยังต ่ำ และมีกำรเติบโตอย่ำงช้ำๆ


2. Growth (ช่วงสินค้ำได้รับควำมนิยมอย่ำงรวดเร็ว) เป็นช่วงที่
2 หลังจำกท ำกำรตลำดในช่วงแรกไปแล้ว เมื่อลูกค้ำเริ่มรู้จักสินค้ำ

ทดลองใช้ และบอกต่อ ร้ำนค้ำต่ำงๆ ที่เป็นช่องทำงกำรจัดจ ำหน่ำย

เริ่มรู้จักและแนะน ำให้ลูกค้ำท ำให้ยอดขำยสินค้ำเติบโตอย่ำงรวดเร็ว

เมื่อเทียบกับช่วงแรก อย่ำงไรก็ตำม ยังคงมีค่ำใช้จ่ำยสูงในกำรท ำ

ตลำดอย่ำงต่อเนื่อง เพื่อท ำให้สินค้ำติดตลำด


















14

วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์























3. Maturity (ช่วงสินค้ำติดตลำด) เป็นช่วงที่ 3 หลังจำกลูกค้ำ

ได้ทดลองใช้และพอใจในสินค้ำ ก็เริ่มใช้เป็นประจ ำจึงมียอดขำย

อย่ำงต่อเนื่อง ในขณะเดียวกันควำมจ ำเป็นในกำรโฆษณำ

ประชำสัมพันธ์ก็ลดลง เนื่องจำกสินค้ำเป็นที่รู้จักดีอยู่แล้ว ท ำให้

ค่ำใช้จ่ำยในกำรท ำตลำดลดลงกว่ำช่วงแรกและช่วงที่ 2 ท ำให้เป็น

ช่วงที่สร้ำงก ำไรได้มำกที่สุด

4. Decline (ช่วงสินค้ำตกต ่ำ) เป็นช่วงที่ 4 ซึ่งถือว่ำเป็นช่วง

สุดท้ำยในวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ เมื่อสินค้ำติดตลำดเป็นที่ต้องกำร

ของลูกค้ำ ย่อมมีคู่แข่งเข้ำมำท ำตลำดสินค้ำแบบเดียวกัน ลูกค้ำ

ประเภทที่ไม่มีควำมจงรักภักดีต่อตรำสินค้ำก็จะไปทดลองสินค้ำ

ใหม่ และอำจมีบำงส่วนที่เลิกใช้สินค้ำเดิมไปเลย ท ำให้ยอดขำยของ

สินค้ำตกลงเรื่อยๆ ลูกค้ำใหม่ก็แทบไม่มีเนื่องจำกสินค้ำลดกำรท ำ

ตลำดลงตั้งแต่ช่วงที่ 3 แล้ว ท ำให้ไม่ได้ยอดขำยจำกกลุ่มลูกค้ำใหม่

ในขณะที่ยอดขำยจำกกลุ่มลูกค้ำเก่ำลดลง จึงเป็นช่วงที่สินค้ำเริ่ม

ตกต ่ำ และค่อยๆ หำยไปจำกตลำดในที่สุด









15

บรรณำนุกรม






















































































16

17

18

19




Click to View FlipBook Version