หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เรื่องคุณค่าและความสำคัญ
หลักธรรมทางพระพุ ทธศาสนา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
คำนำ
หนังสืออิเลกทรอนิคส์ อีบุ๊ค (eBook : electronic book) เรื่องคุณค่าและ
ความสำคัญหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม วิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 5 จัดทำขึ้นเพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักธรรมทาง
พระพุทธศา่สนา ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ เพื่อให้มนุษย์ทั้งหาลายหลุดพ้นจาก
ความทุกข์ทั้งปวง จนบรรลุนิพพานอันเป็ นเป้ าหมายสูงสดุของพระพุทธศาสนาใน
การจัดทาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มน้ี นักเรียนสามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้ได้
ด้วยตนเองเป็ นการพัฒนาตนเองตามความสามารถ ศักยภาพ และความแตกต่าง
ของนักเรียนเป็ นสำคัญหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้ จะเป็ นประ
โยชน์สาหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชา
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมสาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
และผุ้ที่สนใจได้เป็ นอย่างดี
ธัญญารัตน์ คุ้มกลาง
สารบัญ
1.คำชี้แจงสำหรับนักเรียน....................................................
2.มาตรฐานการเรียนรู้ .......................................................
3.สาระการเรียนรู้ ..............................................................
4.จุดประสงค์การเรียนรู้ ....................................................
5.สาระสาคัญ ..................................................................
6.แบบทดสอบก่อนเรียน .......................................................
7.เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ..............................................
8. หลักศรัทธา 4.................................................................
9.อริยสัจ 4 ..................................................................
10.หลักกรรม
สารบัญ
11 ไตรสิกขา....................................................
12.โอวาท 3 .......................................................
13.เบญจศีล ..............................................................
14.เบญจธรรม ....................................................
15.บุญกิริยาวัตถุ 3 ..................................................................
16.อคติ 4 .......................................................
17.อิทธิบาท4 ..............................................
18. ความกตัญญูต่อพระพุทธศาสนา..........................................
19.มงคลชีวิต 38..................................................................
20.พุทธศาสนสุภาษิต.................... ......................................
สารบัญ
21 แบบฝึกหัด
22.เฉลยแบบฝึ กหัด
23.แบบทดสอบหลังเรียน
24.เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
25บรรณานุกรม
หนังสืออิเลกทรอนิคส์ อีบุ๊ค (eBook : electronic book) เรื่องคุณค่าและความสำคัญหลัก
ธรรมทางพระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม วิชา สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
1. ภายในประกอบไปด้วย
1.1 แบบทดสอบก่อนเรียน
1.2 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
1.3 เนื้อหา
1.4 แบบฝึกหัด
1.5 เฉลยแบบฝึกหัด
1.6 แบบทดสอบหลังเรียน
2. ให้นักเรียนเลือกประธานกลุ่ม เพื่อดูแลและควบคุมการทางานของสมาชิกภายในกล่มุ และ
เลือกเลขานุการเพื่ อบันทึกผลการทำปบบฝึ กหัดของสมาชิกในกลุ่ม
3. นักเรียนทุกคนคนต้องร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
มาตรฐานการเรียนรู้
ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา
หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือและศาสนาอื่นๆ มีศรัทธา ที่ถูกต้อง ยึดมั่น
และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ ออยู่ร่วมกันอย่าง
สันติสุข
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด ป 5/6เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา
มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือ
การพัฒนาจิต ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตาม
ที่กำหนด
ตัวชี้วัด ป 5/7 ปฏิบัติตนตามหลักธรรมที่ตนนับถือ
เพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม
จุดประสงค์การเรียน
รูเ
1. อธิบายความหมาย วิเคราะห์การกระทำตาม
หลักธรรมสำคัญอริยสัจ 4
2. ตระหนักและเห็นคุณค่าในหลักอริยสัจ 4
3. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมอริยสัจ 4
หลักธรรมของพระพุ ทธศ าสนา
ศรัทธา 4
เริ่ม
มี 4 ประการ ดังนี้
01 เชื่อกรรม
02 เชื่อผลของกรรม
03 เชื่อว่าสัตว์โลกมีกรรมเป็นของตน
04 เชื่อพระปัญญาและการตรัสรู้ของพระ
ตถาคต (พระพุทธเจ้า)
เชื่อกรรม
กัมมสัทธา
เชื่อผลของกรรม
วิปากสัทธา
เชื่อว่าสัตว์โลก
มีกรรมเป็นของตน
กัมมัสสกตาสัทธา
เชื่อพระปัญญาและ
การตรัสรู้ของพระตถาคต
(พระพุ ทธเจ้า)
ตถาคตโพธิสัทธา
หลักธรรมของพระพุ ทธศ าสนา
อริยสัจ 4
เริ่ม
มี 4 ประการ ดังนี้
ทุกข์ หมายถึง ความไม่สบายกาย ไม่
01 สบายใจ
02 สมุทัย หมายถึง สาเหตุของความทุกข์
03 นิโรธ หมายถึง ความดับทุกข์
04 มรรค หมายถึง ข้อปฏิบัติให้ถึงความ
ดับทุกข์ 8 ประการ
1. สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ)
2. สัมมาสังกัปปะ (ความดำริชอบ)
3. สัมมาวาจา (ความเจรจาชอบ)
4. สัมมากัมมันตะ (การกระทำชอบ)
5. สัมมาอาชีวะ (การเลี้ยงชีพชอบ)
6. สัมมาวายามะ (ความพยายามชอบ)
7. สัมมาสติ (ความระลึกชอบ)
8. สัมมาสมาธิ (จิตตั้งมั่นชอบ)
หลักธรรมของพระพุ ทธศ าสนา
หลักกรรม
เริ่ม
กรรม หมายถึง การกระทำที่ประกอบด้วยเจตนา
แบ่งได้ 2 ประเภท ได้แก่
1.กุศลกรรม (กรรมดี)
2.อกุศลกรรม (กรรมชั่ว)
หลักธรรมของพระพุ ทธศ าสนา
ไตรสิกขา
เริ่ม
มี 3 ประการ ดังนี้
01 ศีล คือ การฝึกอบรมในด้านความประพฤติ
02 สมาธิ คือ การฝึกอบรมจิตใจ
03 ปัญญา คือ การฝึกอบรมให้เกิดความรู้
1. อธิสีลสิกขา 2. อธิจิตตสิกขา 3. อธิปัญญาสิกขา
หลักธรรมของพระพุ ทธศ าสนา
โอวาท 3
โอวาทปาติโมกข์
เริ่ม
โอวาท 3 (โอวาทปาติโมกข์)
หมายถึง คำแนะนำ คำกล่าวสอน คำว่ากล่าวตักเตือน
มี 3 ประการ ดังนี้
01 การไม่ทำความชั่วทั้งปวง
02 การทำความดีให้ถึงพร้อม
03 การทำจิตใจให้ผ่องใสบริสุทธิ์
1.การไม่ทำความชั่วทั้ งปวง
- เบญจศีล
- อบายมุข 4
2. การทำความดีให้ถึงพร้อม
- เบญจธรรม
- บุญกิริยาวัตถุ 3
- อคติ 4
- อิทธิบาท 4
- กตัญญูกตเวทีต่อพระพุทธศาสนา
- มงคล 38 ได้แก่ ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรียน การงานไม่อากูล อดทน
3. การทำจิตใจให้บริสุทธ์
- การบริหารจิตและเจริญปัญญา