แบบทดสอบก่อนเรียน
1.ภาษขี าย หมายถงึ อะไร
ก. ภาษีมูลคา่ เพ่ิมท่ี ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลคา่ เพม่ิ ได้ เรียกเกบ็ จากผซู้ ้ือสินคา้ หรือบริการ
ข. ภาษีที่จดั เกบ็ จากบุคคลทว่ั ไปที่มีการขายสินคา้
ค. ภาษีมูลค่าเพมิ่ ที่จดั เกบ็ รวบรวมการซ้ือสินคา้
ง. เป็นการเกบ็ ภาษีจากการขายสินคา้ หรือการใหบ้ ริการในแต่ละข้นั ตอนการผลิต
2.วธิ ีการคานวณภาษีมูลค่าเพม่ิ มสี ูตรว่าอย่างไร
ก. ภาษีเงินได้ – ภาษีซ้ือ
ข. ข.ภาษีมูลคา่ เพมิ่ – ภาษีขาย
ค. ภาษีขาย – ภาษีซ้ือ
ง. ง.ภาษีหกั ณ ที่จ่าย – ภาษีซ้ือ
3.คาขอทใ่ี ช้ในการจดทะเบยี นภาษี มูลค่าเพม่ิ ได้แก่ แบบ ภ.พ. ใด
ก. ภ.พ. 01
ข. ภ.พ. 02
ค. ภ.พ. 03
ง. ภ.พ. 04
4.ซื้อสินค้าเป็ นเงินสด 30,000 บาท ภาษีมูลค่าเพม่ิ 7% สามารถบันทึกบญั ชีได้อย่างไร
ก. เดบิต เงินสด 30,000
ภาษีซ้ือ 2,100
เครดิต ซ้ือสินคา้ 32,100
ข. เดบิต เจา้ หน้ี 32,100
เครดิต ซ้ือสินคา้ 32,100
ค. เดบิต ลูกหน้ี 30,000
ภาษีซ้ือ 2,100
เครดิต ซ้ือสินคา้ 32,100
ง. เดบิต ซ้ือสินคา้ 32,100
ภาษีซ้ือ 2,100
เครดิต เงินสด 32,000
5.หากภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อจะต้องทาอย่างไร
ก. ก.เป็นภาษีที่มีสิทธิขอคืนหรือขอเครดิตภาษี
ข. ข.เป็นภาษีท่ีจะตอ้ งชาระเพิม่
ค. ค.เป็นภาษีท่ีไดร้ ับการยกเวน้ ไม่ตอ้ งชาระ
ง. ง.เป็นภาษีท่ีตอ้ งขอคืนภายใน 14 วนั
6.หากภาษีขายน้อยกว่าภาษซี ื้อจะต้องทาอย่างไร
ก. ก.เป็นภาษีท่ีมีสิทธิขอคืนหรือขอเครดิตภาษี
ข. ข.เป็นภาษีท่ีจะตอ้ งชาระเพิม่
ค. ค.เป็นภาษีที่ไดร้ ับการยกเวน้ ไม่ตอ้ งชาระ
ง. ง.เป็นภาษีท่ีตอ้ งขอคืนภายใน 14 วนั
7.ซื้อสินค้าเป็ นเงินสด 70,000 บาท ภาษมี ูลค่าเพมิ่ 7% ด้านเดบิตบันทกึ ว่าอย่างไร
ก. ก.เดบิต ซ้ือสินคา้ 70,000 บาท
ข. ข.เดบิต เงินสด 70,000 บาท
ค. ค.เดบิต ซ้ือสินคา้ 70,000 บาท
ภาษีซ้ือ 7,900 บาท
ง. ง.เดบิต ซ้ือสินคา้ 74,000 บาท
8.ซื้อสินค้าเป็ นเงินสด 107,000 บาท รวมภาษีมูลค่าเพม่ิ 7% มภี าษมี ูลค่าเพมิ่ อยู่เท่าใด
ก. 7,000
ข. 6,500
ค. 7,100
ง. 7,490
9.หน่วยงานใดมหี น้าทจ่ี ดั เกบ็ ภาษี
ก. ก.กรมคลงั
ข. ข.ตรวจเงินแผน่ ดิน
ค. ค.กรมการบญั ชี
ง. ง.กรมสรรพากร
10.ข้อใดหมายถึงภาษีมูลค่าเพม่ิ
ก. ก.Inventory
ข. ข.Value Added Tax
ค. ค.Appropeiated
ง. ง.Accounting
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax) หรือ VAT เป็ นการเก็บภาษีจากการขายสินค้า หรื อการ
ใหบ้ ริการในแต่ละข้นั ตอนการผลิต และจาหน่ายสินคา้ หรือบริการ ท้งั ท่ีผลิต ภายในประเทศและนาเขา้ จาก
ต่างประเทศ
ผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีมูลค่าเพมิ่ ได้แก่ ผปู้ ระกอบการที่เป็นผผู้ ลิตหรือเป็นผทู้ ี่ขาย สินคา้ หรือใหบ้ ริการ
ในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ เป็ นปกติธุระ ไม่ว่าจะประกอบกิจการในรูป ของบุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือ
หา้ งหุน้ ส่วนสามญั ที่มิใช่นิติบุคคลหรือนิติบุคคลใดๆ หากมีรายรับจากการขายสินคา้ หรือใหบ้ ริการ เกินกวา่
1.8 ลา้ นบาทต่อปี และมีหนา้ ท่ีตอ้ ง ยื่นคาขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเพ่ือเป็ น ผูป้ ระกอบการจดทะเบียน
(หากไม่เกินกข็ อ จดทะเบียนได)้
วธิ ีการคานวณภาษีมูลค่าเพม่ิ
ภาษีท่ีตอ้ งเสีย คานวณจากการนา ภาษีขายท้งั เดือนภาษีมาหักด้วยภาษีซ้ือท้งั เดือนภาษีหากมีภาษีขาย
มากกว่าภาษีซ้ือ ให้ ชาระภาษีส่วนต่างน้นั หากมีภาษีซ้ือมากกว่า ภาษีขาย จะขอคืนภาษีส่วนต่างเป็นเงินสด
หรือยกไปเครดิตภาษีในเดือนถดั ไปกไ็ ดด้ งั น้ี
ภาษมี ูลค่าเพมิ่ = ภาษีขาย - ภาษีซื้อ หากภาษขี าย > ภาษีซื้อ = ภาษมี ูลค่าเพม่ิ ทต่ี ้องชาระ
หากภาษีขาย < ภาษีซื้อ = ภาษีทมี่ สี ิทธิขอคืน หรือขอเครดติ ภาษี
ภาษีขาย หมายถึง ภาษีมูลคา่ เพิม่ ท่ี ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลคา่ เพมิ่ ได้ เรียกเกบ็ หรือพึงเรียก
เกบ็ จากผซู้ ้ือสินคา้ หรือ ผรู้ ับบริการ เมื่อมีการขายสินคา้ หรือรับคา่ บริการ
ภาษีซื้อ หมายถึง ภาษีมูลค่าเพิ่มท่ี ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้ จ่ายให้กบั ผูข้ าย
สินคา้ หรือผูใ้ ห้บริการท่ีเป็ น ผูจ้ ดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เม่ือซ้ือสินคา้ หรือ ชาระค่าบริการเพื่อใชใ้ นการ
ประกอบกิจการ ของตน ภาษีซ้ือท่ีจะนามาหกั ไดน้ ้ีคลุมไปถึง ภาษีซ้ือของสินคา้ ประเภททุนดว้ ย
จะต้องจดทะเบยี นฯ เม่ือไร
1.วนั เร่ิมประกอบกิจการขายสินคา้ หรือให้ บริการ หรือกรณีอยรู่ ะหวา่ งเตรียมการที่จะเร่ิม ประกอบ
กิจการ (เช่น อยใู่ นช่วงการก่อสร้าง โรงงาน ก่อสร้างอาคารสานกั งาน หรือกาลงั ติด ต้งั เครื่องจกั ร) และไดม้ ี
การซ้ือสินคา้ หรือรับ บริการที่อยใู่ นข่ายตอ้ งเสียภาษีมูลค่าเพ่ิม ผปู้ ระกอบการมีสิทธิยน่ื คาขอจดทะเบียนภาษี
มูลค่าเพิ่ม ภายใน 6 เดือนก่อนวนั เร่ิมประกอบ กิจการขายสินคา้ หรือใหบ้ ริการ
2. ภายใน 30 วนั นบั แต่วนั ท่ีมีมูลคา่ ของฐาน ภาษี(รายรับ) เกินกวา่ 1.8 ลา้ นบาทต่อปี
การจดทะเบยี นภาษมี ูลค่าเพม่ิ ต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง
1. แบบคาขอท่ีใชใ้ นการจดทะเบียนภาษี มูลค่าเพ่ิม ไดแ้ ก่ แบบ ภ.พ.01 ซ่ึงในเขตกรุงเทพมหานคร
ขอ รับไดท้ ่ีสานกั งานสรรพากรพ้ืนที่สาขา (เขต) หรือสานกั งานสรรพากรพ้ืนที่ สาหรับในจงั หวดั อ่ืนขอรับ
ไดท้ ี่ สานกั งานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขา(อาเภอ) ทุกแห่ง
2. เอกสารท่ีตอ้ งใชใ้ นการจดทะเบียนภาษี มูลค่าเพ่มิ
(1) คาขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพม่ิ ตามแบบ ภ.พ.01จานวน 3 ฉบบั
(2) สาเนาทะเบียนบา้ นหรือหลกั ฐานแสดงการอยอู่ าศยั จริง พร้อมภาพถ่ายสาเนา ดงั กล่าว
(3) บตั รประจาตวั ประชาชนและบตั รประจา ตวั ผเู้ สียภาษีอากร พร้อมภาพถ่ายบตั รดงั กล่าว
(4) ภาพถ่ายสัญญาเช่าอาคารหรืออสังหาริมทรัพยอ์ นั เป็ นที่ต้งั สถานประกอบการ (กรณี
เช่า) หรือภาพถ่ายหนงั สือยินยอมให้ใช้ เป็ นท่ีต้งั สถานประกอบการ และหลกั ฐานแสดง
กรรมสิทธ์ิเช่น เป็นเจา้ บา้ น, สญั ญาซ้ือขาย, คาขอหมายเลขบา้ น, ใบโอนกรรมสิทธ์ิ, สญั ญา
เช่าช่วง พร้อมสาเนาทะเบียนบา้ นอนั เป็ นท่ีต้งั สถานประกอบการและภาพถ่ายเอกสาร
ดงั กล่าว
(5) หนังสือจัดต้งั ห้างหุ้นส่วน พร้อมภาพ ถ่ายหนังสือดังกล่าว (กรณีเป็ นห้างหุ้นส่วน
สามญั หรือคณะบุคคล)
(6) หนังสือรับรองของนายทะเบียนห้าง หุ้นส่วน บริษทั พร้อมวตั ถุประสงค์ หนังสือ
บริคณห์สนธิและขอ้ บงั คบั และใบทะเบียน พาณิชยพ์ ร้อมภาพถ่ายหนงั สือดงั กล่าว (กรณี
เป็ นนิติบุคคล)
(7) บตั รประจาตวั ประชาชนของกรรมการ ผูจ้ ัดการ หรือหุ้นส่วนผูจ้ ัดการ และสาเนา
ทะเบียนบา้ น พร้อมภาพถ่ายเอกสารดงั กล่าว
(8) แผนท่ีซ่ึงแสดงท่ีต้งั ของสถานประกอบ การโดยสงั เขป และภาพถ่ายสถานประกอบการ
(9) กรณีมอบอานาจใหผ้ อู้ ่ืนทาการแทน ตอ้ งมีหนงั สือมอบอานาจปิ ดอากรแสตมป์ 10 บาท
บตั รประจาตวั ประชาชนของผมู้ อบอานาจ และผรู้ ับมอบอานาจพร้อมภาพถ่ายบตั รดงั กล่าว
โดยผรู้ ับมอบอานาจตอ้ งมีอาย2ุ 0 ปี ข้ึนไป
กรณไี ด้รับยกเว้นภาษมี ูลค่าเพม่ิ หรือ ประสงค์ขอ จดทะเบยี นภาษีมูลค่าเพมิ่ เป็ นการชั่วคราว
1. กรณีผูป้ ระกอบการท่ีได้รับการยกเว้น ภาษีมูลค่าเพ่ิมตามกฎหมายสามารถขอจด
ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มได้ (เฉพาะกิจการตามท่ี กฎหมายกาหนด ) โดยยนื่ คาขอแจง้ ขอใชส้ ิทธิ เพื่อ
ขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.01.1) และยื่นคาขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.01) พร้อม
เอกสารประกอบ ภายใน 30 วนั นบั แต่วนั ท่ีไดย้ นื่ ภ.พ.01.1
2. กรณีผปู้ ระกอบการอยนู่ อกราชอาณาจกั ร- อาณาจกั ร (บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล
ท่ี ต้งั ข้ึนตามกฎหมายของต่างประเทศ และมิไดม้ ี สานกั งานสาขาต้งั อยู่เป็ นการถาวรในประเทศ
ไทย) และเข้ามาประกอบกิจการขายสินคา้ หรือให้บริการในราชอาณาจักรเป็ นคร้ังคราว มี
กาหนดเวลาในการประกอบกิจการในราชอาณาจกั รเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี (ท้งั น้ีตอ้ ง เป็ นไปตาม
หลกั เกณฑว์ ิธีการและเงื่อนไขท่ีกาหนดไวใ้ นประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเก่ียวกบั ภาษีมูลค่าเพ่ิม
(ฉบบั ที่ 43) มีสิทธิขอ จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเป็ นการชว่ั คราว โดยยื่นแบบคาขอจดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพ่ิม (ภ.พ.01.2) พร้อมเอกสารประกอบ ดงั น้ี
(1) ภาพถ่ายหนงั สือต้งั ตวั แทนเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรซ่ึงมีการรับรองโดยสถานทูต
หรือ สถานกงสุลหรือบุคคลอ่ืนที่ไดร้ ับความเห็นชอบจากอธิบดีกรมสรรพากร (กรณีผู้
ประกอบกิจการท่ีอยนู่ อกราชอาณาจกั รมีตวั แทนอยใู่ นราชอาณาจกั รเป็นผยู้ น่ื คาขอแทน)
(2) กรณีมอบอานาจ ภาพถ่ายบตั รประจา ตวั ประชาชนของผมู้ อบอานาจและผรู้ ับ
มอบอานาจพร้อมหนงั สือมอบอานาจ
(3) ภาพถ่ายเอกสารการดาเนินกิจการร่วมคา้ (ถา้ มี)
(4) ภาพถ่ายสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์ (กรณีเช่า)หรือภาพถ่ายหนงั สือยินยอมให้
ใช้ เป็นท่ีต้งั สถานประกอบการ(กรณีเจา้ ของอสงั หาริมทรัพยใ์ หใ้ ชอ้ สงั หาริมทรัพยน์ ้นั โดย
ไม่มีคา่ ตอบแทน)
(5) แผนที่ซ่ึงแสดงท่ีต้งั ของสถานประกอบการโดยสังเขปพร้อมภาพถ่ายสถาน
ประกอบการน้นั
(6) ภาพถ่ายใบอนุญาตประกอบธุรกิจ (กรณีเป็นนิติบุคคลต้งั ข้ึนตามกฎหมายต่าง
ประเทศ ไดร้ ับอนุญาตใหป้ ระกอบกิจการในประเทศไทย)
(7) ภาพถ่ายสัญญา หรือโครงการที่แสดง ถึงคู่สัญญา มูลค่าของสัญญาระยะเวลา
ของสญั ญาหรือโครงการที่เร่ิมตน้ และสิ้นสุด
จดทะเบียนภาษมี ูลค่าเพม่ิ ได้ทไี่ หน
การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มของผูป้ ระกอบ การให้ย่ืนคาขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิมตาม แบบ
ภ.พ.01 ณ สถานท่ีดงั ต่อไปน้ี
1. กรณีสถานประกอบการต้งั อยใู่ นเขต กรุงเทพมหานคร ให้ยน่ื ณ สานกั งานสรรพากรพ้ืนที่หรือ
จะยนื่ ผา่ นสานกั งานสรรพากรพ้ืนท่ี สาขา(เขต) ท่ีสถานประกอบการต้งั อยู่
2. กรณีสถานประกอบการต้งั อยู่ในจังหวดั อื่นนอกเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สานักงาน
สรรพากรพ้ืนที่สาขา (อาเภอ)ท่ีสถานประกอบการต้งั อยู่
3. กรณีมีสถานประกอบการหลายแห่งให้ยื่นคาขอจดทะเบียนไดท้ ี่ สานกั งานสรรพากรพ้ืนท่ีหรือ
สานกั งานสรรพากรพ้นื ท่ีสาขา(เขต/อาเภอ)ที่ซ่ึงสถานประกอบการท่ีเป็นท่ีต้งั ของสานกั งาน ใหญ่ต้งั อยู่ หาก
ไม่มีสถานประกอบการที่เป็น สานกั งานใหญ่ใหผ้ ปู้ ระกอบการเลือกสถานประกอบการแห่งใดแห่งหน่ึงเป็น
สานกั งานใหญ่
4. กรณีสถานประกอบการต้งั อยู่ในท้องที่ต้งั ใหม่ที่ยงั ไม่มีสานักงานสรรพากรต้งั อยู่ให้ย่ืน ณ
สานกั งานสรรพากรพ้ืนที่สาขา (เขต/อาเภอ) ที่เคยควบคุมทอ้ งที่น้นั
5. กรณีเป็ นผูป้ ระกอบการท่ีอยใู่ นการกากบั ดูแลของสานกั บริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ให้ ยื่นขอ
จดทะเบียนได้ ณ สานกั บริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่หรือจะยน่ื ผา่ นสานกั งานสรรพากรพ้ืนที่หรือสานกั งาน
สรรพากรพ้นื ท่ีสาขา (เขต/ อาเภอ) ที่สถานประกอบการต้งั อยกู่ ไ็ ด้
หน้าทข่ี องผู้ประกอบการจดทะเบยี นภาษีมูลค่าเพมิ่ คืออะไร
หากทาธุรกิจที่อย่ใู นข่ายตอ้ งจดทะเบียนฯ แต่มิไดจ้ ดทะเบียนจะตอ้ งมีความผิดอยา่ งไร 1 เรียกเก็บ
ภาษีมูลค่าเพ่ิมจากผูซ้ ้ือสินคา้ หรือผูร้ ับบริการและออกใบกากับภาษีเพื่อเป็ นหลกั ฐานในการเรียกเก็บ
ภาษีมูลค่าเพ่ิม 2 จดั ทารายงานตามท่ีกฎหมายกาหนด ซ่ึง ไดแ้ ก่
(1) รายงานภาษีซ้ือ
(2) รายงานภาษีขาย
(3) รายงานสินคา้ และวตั ถุดิบ 3 ยนื่ แบบแสดงรายการเพอื่ เสียภาษีตาม แบบ ภ.พ.30
หากทาธุรกจิ ทอ่ี ยู่ในข่ายต้องจดทะเบียนฯ แต่มิได้จดทะเบยี นจะต้องมีความผดิ อย่างไร
1.ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 5,000 บาทหรือท้งั จาท้งั ปรับ
2. เสียภาษีมูลค่าเพ่ิมที่คานวณจากยอดขายสินคา้ หรือบริการต้งั แต่วนั ท่ีมีหนา้ ท่ีจดทะเบียนฯ เพ่ือ
เป็นผปู้ ระกอบการฯ
3. เสียเบ้ียปรับ 2 เท่าของเงินภาษีท่ีตอ้ งชาระในแต่ละเดือนภาษี
4. เสียเงินเพมิ่ อตั ราร้อยละ 1.5 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของเงินภาษีที่ตอ้ งชาระ
5. ไม่มีสิทธินาภาษีมูลค่าเพ่ิมท่ีถูกผูป้ ระกอบการจดทะเบียนอ่ืนเรียกเก็บในขณะท่ียงั ไม่ได้จด
ทะเบียนฯไปหกั ออกจากภาษีที่ตอ้ งชาระได้ (ภาษีขาย)
กาหนดเวลายื่นแบบภาษมี ูลค่าเพม่ิ เม่ือไหร่
1.การย่ืนแบบภาษมี ูลค่าเพมิ่ ภ.พ.30
- ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนตอ้ งยื่นแบบ ภ.พ.30 พร้อมชาระภาษีมูลค่าเพิ่ม(ถา้ มี)เป็ นราย
เดือนทุกเดือนภาษีไม่ว่าจะมีการขายสินคา้ หรือให้บริการในเดือนภาษีน้นั หรือไม่ก็ตามโดยให้ย่ืน
แบบภายในวนั ท่ี15ของเดือนถดั ไป
- กรณีผปู้ ระกอบการมีสถานประกอบการหลายแห่งให้แยกย่นื แบบแสดงรายการภาษีและ
ชาระภาษีเป็ นรายสถานประกอบการเวน้ แต่ไดย้ ื่นคาร้องขออนุมตั ิย่ืนแบบแสดงรายการภาษีและ
ชาระภาษีรวมกนั ณ สานกั งานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาในทอ้ งที่ท่ีสถานประกอบการอนั เป็นสานกั งาน
ใหญ่ต้งั อยู่ และไดร้ ับอนุมตั ิจากอธิบดีกรมสรรพากรแลว้ ก็สามารถย่ืนแบบรวมกนั ไดต้ ้งั แต่เดือน
ภาษีที่อธิบดีกาหนดเป็นตน้ ไป
2.การยื่นแบบใบขนสินค้าขาเข้า
ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนหรือผนู้ าเขา้ ตอ้ งยน่ื แบบใบขนสินคา้ ขาเขา้ และชาระภาษีมูลค่าเพิม่ พร้อม
กบั การชาระอากรขาเขา้ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยศุลกากร ณ ด่านศุลกากรท่ีมีการนาเขา้ สินคา้
3. การย่ืนแบบนาส่งภาษีมูลค่าเพมิ่ ภ.พ.36
3.1 กรณีเป็ นผูจ้ ่ายเงินค่าซ้ือสินคา้ หรือค่าบริการมีหน้าที่ตอ้ งย่ืนแบบพร้อมชาระภาษี
ภายใน 7 วนั นบั แต่วนั สิ้นเดือนของเดือนท่ีจ่ายเงินใหแ้ ก่
- ผูป้ ระกอบการท่ีอยู่นอกราชอาณาจกั รซ่ึงเขา้ มาประกอบกิจการขายสินคา้ หรือ
ให้บริการ ในราชอาณาจกั รเป็ นการชว่ั คราวและไม่ไดจ้ ดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิมเป็ นการ
ชวั่ คราวหรือ
- ผูป้ ระกอบการท่ีได้ให้บริการในต่างประเทศและได้มีกาใช้บริการน้ันใน
ราชอาณาจกั ร
3.2 กรณีเป็ นผูท้ อดตลาดซ่ึงขายทอด ตลาดทรัพยส์ ินของผูป้ ระกอบการจดทะเบียนหรือ
ส่วนราชการซ่ึงขายทรัพยส์ ินของผปู้ ระกอบการจดทะเบียนท่ีถูกยดึ มาตามกฎหมายโดยวิธี
อื่น นอกจากการขายทอดตลาด มีหนา้ ท่ีตอ้ งยน่ื แบบพร้อมชาระภาษีภายใน 7 วนั นบั แต่วนั
สิ้นเดือนของเดือนที่ขายทอดตลาดฯ
3.3 กรณีเป็ นผรู้ ับโอนสินคา้ หรือเป็ นผรู้ ับโอนสิทธิในบริการที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอตั รา
ร้อยละ 0 มีหนา้ ท่ีตอ้ งยน่ื แบบพร้อมชาระภาษี ภายใน 7 วนั นบั แต่วนั สิ้นเดือนของเดือนที่
ครบ กาหนด 30 วนั ท่ีความรับผดิ ในการเสียภาษี มูลคา่ เพ่ิมเกิดข้ึน
ชาระภาษี ได้ช่องทางใดบ้าง
1. ชาระเป็นเงินสด
2. ชาระดว้ ยเชค็ ขีดคร่อมสง่ั จ่ายกรมสรรพากรโดยขีดฆ่าคาวา่ ผถู้ ือและหรือตามคาสงั่
3. ชาระดว้ ยบตั รเครดิต
4. ชาระดว้ ยบตั รTax Smart Card
5. ชาระทางe-payment หรือ ระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ของธนาคารพาณิชย์ ท่ีเขา้ ร่วมโครงการ
หรือบริษทั ไปรษณียไ์ ทย
* หมายเหตุ การยนื่ แบบแสดงรายการและชาระภาษีสามารถยน่ื ผา่ นเวบ็ ไซตข์ องกรมสรรพากรได้
หลกั ฐานทตี่ ้องใช้ได้แก่อะไรบ้าง
1. แบบแจง้ การเปล่ียนแปลงทะเบียนภาษี มูลค่าเพมิ่ (ภ.พ.09)จานวน 4 ฉบบั
2. ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพม่ิ (ภ.พ.20) ฉบบั จริงพร้อมภาพถ่ายเอกสารดงั กล่าว
3. สาเนาแบบคาขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เดิม (ภ.พ.01) หรือสาเนาแบบคาขอแจง้ การ
เปล่ียนแปลงรายการ (ภ.พ.09) คร้ังสุดทา้ ย
4. บตั รประจาควั ผเู้ สียภาษีอากรพร้อมภาพถ่ายบตั รดงั กล่าว
5. หนงั สือรับรองของนายทะเบียนหุน้ ส่วน บริษทั (กรณีเป็นนิติบุคคล) พร้อมภาพถ่าย
หนงั สือดงั กล่าว
6. ใบทะเบียนภาษีมูลคา่ เพ่ิมของสถานประกอบการแห่งที่ตอ้ งการยา้ ยออก
7. ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพม่ิ ของนิติบุคคลท่ีจะควบเขา้ กนั
8. ภาพถ่ายสญั ญาเช่าอสงั หาริมทรัพย(์ เช่น ตึกแถว บา้ น อาคาร อาคารชุด พ้นื ท่ีในหา้ ง
สรรพสินคา้ เป็นตน้ ) หรือ ภาพถ่ายหนงั สือ ยนิ ยอมใหใ้ ชอ้ สงั หาริมทรัพยเ์ ป็นท่ีต้งั สถาน ประกอบการ
9. แผนท่ีแสดงท่ีต้งั ของสถานประกอบการโดย สงั เขป พร้อมภาพถ่ายสถานประกอบการ
แห่งใหม่
10. ภาพถ่ายหนงั สือเลิกนิติบุคคล (กรณีแจง้ เลิกนิติบุคคล)
11. ภาพถ่ายใบมรณบตั ร (กรณีผปู้ ระกอบการ ซ่ึงเป็นบุคคลธรรมดาถึงแก่ความตาย)
12. หนงั สือแสดงการเปล่ียนช่ือ ชื่อสกุล (กรณี เป็นบุคคลธรรมดา) พร้อมภาพถ่ายหนงั สือ
ดงั กล่าว
13. บตั รประจาตวั ประชาชน ทะเบียนบา้ นของ ผปู้ ระกอบการ หรือกรรมการผมู้ ีอานาจลง
นาม พร้อมภาพถ่ายเอกสารดงั กล่าว
14. กรณีมอบอานาจใหผ้ อู้ ื่นทาการแทน ตอ้ งมี หนงั สือมอบอานาจปิ ดอากรแสตมป์ 10 บาท
บตั ร ประจาตวั ประชาชนของผมู้ อบอานาจและผรู้ ับ มอบอานาจ พร้อมภาพถ่ายบตั รดงั กล่าว โดยผรู้ ับ มอบ
อานาจตอ้ งมีอาย2ุ 0 ปี ข้ึนไป
15. กรณีหยดุ กิจการชว่ั คราว ตอ้ งมีหนงั สือ จากผปู้ ระกอบการช้ีแจงเหตุผลในการหยดุ
กิจการ พร้อมประทบั ตรานิติบุคคลและลงนามโดย กรรมการผมู้ ีอานาจลงนาม
ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพม่ิ
เมื่อไดเ้ ป็นผปู้ ระกอบการจดทะเบียนภาษี มูลคา่ เพิม่ เรียบร้อยแลว้ กรมสรรพากรจะออก ใบทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพ่ิม (แบบ ภ.พ.20) ให้ ซ่ึง จะมีผลต้งั แต่วนั ที่ระบุไวใ้ นใบทะเบียนภาษีมูลค่า เพ่ิมน้นั เป็ นตน้ ไป
ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนจะ ตอ้ งนาใบทะเบียนดงั กล่าว ไปแสดงไว้ ณ สถาน ประกอบการในสถานที่ที่เห็น
ไดง้ ่ายและเปิ ดเผย
กรณีที่ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มสูญหาย ถูก ทาลาย หรือชารุดในสาระสาคญั ผูป้ ระกอบการ จด
ทะเบียนจะตอ้ งยนื่ คาขอรับใบแทนใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ สถานท่ีท่ีไดจ้ ดทะเบียนภาษี มูลค่าเพ่ิมไว้
ภายใน 15 วนั นบั แต่วนั ที่ทราบถึง การสูญหาย ถูกทาลาย หรือชารุด ซ่ึงใบแทน ดงั กล่าว ถือเป็นใบทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพ่มิ
เอกสารทใ่ี ช้ในการย่ืนคาขอรับ ใบแทนใบทะเบียนภาษมี ูลค่าเพม่ิ
1. แบบคาขอใบแทนใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิม (ภ.พ.04)จานวน 3 ฉบบั
2. ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่มิ (ภ.พ.20) ท่ีชารุด (ถา้ มี) พร้อมภาพถ่ายเอกสารดงั กล่าว
3. ใบแจง้ ความกรณีสูญหาย
4. หนงั สือมอบอานาจ กรณีใหผ้ อู้ ่ืนทาการแทน ปิ ดอากรแสตมป์ 10 บาท
5. บตั รประจาตวั ประชาชนของผมู้ อบอานาจ และ ผรู้ ับมอบอานาจ พร้อมภาพถ่ายเอกสาร ดงั กล่าว
แบบทดสอบหลงั เรียน
1.ภาษขี าย หมายถงึ อะไร
จ. ภาษีมูลคา่ เพ่ิมท่ี ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพม่ิ ได้ เรียกเกบ็ จากผซู้ ้ือสินคา้ หรือบริการ
ฉ. ภาษีที่จดั เกบ็ จากบุคคลทว่ั ไปที่มีการขายสินคา้
ช. ภาษีมูลค่าเพมิ่ ที่จดั เกบ็ รวบรวมการซ้ือสินคา้
ซ. เป็นการเกบ็ ภาษีจากการขายสินคา้ หรือการใหบ้ ริการในแต่ละข้นั ตอนการผลิต
2.วธิ ีการคานวณภาษีมูลค่าเพม่ิ มสี ูตรว่าอย่างไร
จ. ภาษีเงินได้ – ภาษีซ้ือ
ฉ. ข.ภาษีมูลคา่ เพมิ่ – ภาษีขาย
ช. ภาษีขาย – ภาษีซ้ือ
ซ. ง.ภาษีหกั ณ ที่จ่าย – ภาษีซ้ือ
3.คาขอทใ่ี ช้ในการจดทะเบยี นภาษี มูลค่าเพม่ิ ได้แก่ แบบ ภ.พ. ใด
จ. ภ.พ. 01
ฉ. ภ.พ. 02
ช. ภ.พ. 03
ซ. ภ.พ. 04
4.ซื้อสินค้าเป็ นเงินสด 30,000 บาท ภาษีมูลค่าเพม่ิ 7% สามารถบันทึกบญั ชีได้อย่างไร
จ. เดบิต เงินสด 30,000
ภาษีซ้ือ 2,100
เครดิต ซ้ือสินคา้ 32,100
ฉ. เดบิต เจา้ หน้ี 32,100
เครดิต ซ้ือสินคา้ 32,100
ช. เดบิต ลูกหน้ี 30,000
ภาษีซ้ือ 2,100
เครดิต ซ้ือสินคา้ 32,100
ซ. เดบิต ซ้ือสินคา้ 32,100
ภาษีซ้ือ 2,100
เครดิต เงินสด 32,000
5.หากภาษขี ายมากกว่าภาษีซื้อจะต้องทาอย่างไร
จ. ก.เป็นภาษีท่ีมีสิทธิขอคืนหรือขอเครดิตภาษี
ฉ. ข.เป็นภาษีท่ีจะตอ้ งชาระเพ่มิ
ช. ค.เป็นภาษีที่ไดร้ ับการยกเวน้ ไม่ตอ้ งชาระ
ซ. ง.เป็นภาษีท่ีตอ้ งขอคืนภายใน 14 วนั
6.หากภาษขี ายน้อยกว่าภาษซี ื้อจะต้องทาอย่างไร
จ. ก.เป็นภาษีท่ีมีสิทธิขอคืนหรือขอเครดิตภาษี
ฉ. ข.เป็นภาษีท่ีจะตอ้ งชาระเพิม่
ช. ค.เป็นภาษีที่ไดร้ ับการยกเวน้ ไม่ตอ้ งชาระ
ซ. ง.เป็นภาษีที่ตอ้ งขอคืนภายใน 14 วนั
7.ซื้อสินค้าเป็ นเงนิ สด 70,000 บาท ภาษมี ูลค่าเพมิ่ 7% ด้านเดบิตบันทกึ ว่าอย่างไร
จ. ก.เดบิต ซ้ือสินคา้ 70,000 บาท
ฉ. ข.เดบิต เงินสด 70,000 บาท
ช. ค.เดบิต ซ้ือสินคา้ 70,000 บาท
ภาษีซ้ือ 7,900 บาท
ซ. ง.เดบิต ซ้ือสินคา้ 74,000 บาท
8.ซื้อสินค้าเป็ นเงินสด 107,000 บาท รวมภาษีมูลค่าเพม่ิ 7% มภี าษมี ูลค่าเพมิ่ อยู่เท่าใด
จ. 7,000
ฉ. 6,500
ช. 7,100
ซ. 7,490
9.หน่วยงานใดมหี น้าทจ่ี ดั เกบ็ ภาษี
จ. ก.กรมคลงั
ฉ. ข.ตรวจเงินแผน่ ดิน
ช. ค.กรมการบญั ชี
ซ. ง.กรมสรรพากร
10.ข้อใดหมายถงึ ภาษีมูลค่าเพม่ิ
จ. ก.Inventory
ฉ. ข.Value Added Tax
ช. ค.Appropeiated
ซ. ง.Accounting
ตวั อย่างท่ี 1 1 มกราคม 2565 ป้อนซ้ือโทรศพั ทร์ าคา 70,000 บาท ภาษีมูลค่าเพมิ่ 7% ของ
ราคาสินคา้ น้นั อยากทราบว่าป้อนจ่ายภาษีมลู ค่าเพิ่มไปเท่าไร
วธิ ีการคาํ นวณ
ภาษซี ้ือ 70,000 x 7% 4900
สมดุ รายวนั ท่ัวไป
พ.ศ.2565 รายการ เลขทบี่ ญั ชี เดบติ เครดติ
บาท สต บาท สต
เดอื น วนั ที่
ม.ค. 1 Dr.ซอ้ื
สนิ คา้ 501 70,000
ภาษีซอ้ื 102 4,900
101
Cr. 74,900
เงนิ สด
บนั ทกึ ซอ้ื
สนิ คา้ เป็ น
เงนิ สด
ตวั อย่างท่ี 2 2. 1 มกราคม 2565 ขายสินคา้ ให้ บริษทั ลคั ก้ี จาํ กดั 40,000 บาท
วธิ กี ารคานวณ ภาษีมลู ค่าเพ่ิม7%
ภาษีขาย 40,000 x 7% 2800
สมดุ รายวนั ทั่วไป
พ.ศ. 2565 รายการ เลขทบี ญั ชี เดบติ เครดติ
บาท สต บาท สต
เดอื น วนั ที่
40,000
ม.ค. 1 Dr.เงนิ สด 101 42,800 2,800
Cr. ขายสนิ 4ค0า้1
ภาษีขา2ย01
บนั ทกึ ขายสนิ คา้ เป็ นเงนิ สด