The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nanthida Khunsiri, 2024-01-31 00:04:59

ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง

ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง

ชุชุ ชุ ม ชุ มชนเศรษฐกิกิ กิ จ กิ จพอเพีพี พี ย พี ยง


เศรษฐกิกิ กิ จ กิ จพอเพีพี พี ย พี ยง เป็นปรัช รั ญาที่พ ที่ ระบาทสมเด็จ ด็ พระเจ้าอยู่หัว หั ทรงมีพ มี ระราชดำ รัส รั ชี้แนะแนวทางการดำ เนินชีวิต วิ แก่ พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนาน กว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนวิก วิ ฤติการณ์ ทางเศรษฐกิจ และเมื่อ มื่ ภายหลังได้ ทรงเน้นย้ำ แนวทางการแก้ไขเพื่อให้ รอดพ้น และสามารถดำ รงอยู่ได้ อย่างมั่นคงและยั่งยืน ยื ภายใต้กระแส โลกาภิวัฒ วั น์และความเปลี่ยนแปลง ต่างๆ


ปรัรั รัชรั ญาของเศรษฐกิกิ กิ จ กิ จพอเพีพี พี ย พี ยง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัช รั ญาชี้ถึงแนวการ ดำ รงอยู่และปฏิบัติ บั ติ ตนของประชาชนในทุก ระดับ ดั ตั้งแต่ระดับ ดั ครอบครัว รั ระดับ ดั ชุมชนจนถึง ระดับ ดั รัฐ รั ทั้งในการพัฒ พั นาและบริห ริ ารประเทศ ให้ดำ เนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการ พัฒ พั นาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทัน ทั ต่อโลกยุค โลกาภิวัฒ วั น์ความพอเพียง หมายถึง ความพอ ประมาณ ความมีเ มี หตุผลรวมถึงความจำ เป็นที่จ ที่ ะ ต้องมีร มี ะบบภูมิคุ้ มิ คุ้ มกัน กั ในตัว ตั ที่ดี ที่ ดี พอสมควรต่อ การมีผ มี ลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะ ต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และ ความระมัด มั ระวัง วั อย่างยิ่ง ยิ่ ในการนำ วิช วิ าการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำ เนินการทุก ขั้นตอน และขณะเดียวกัน กั จะต้องเสริม ริ สร้าง พื้นฐานจิต จิ ใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้า หน้าที่ข ที่ องรัฐ รั


ปรัรั รัชรั ญาของเศรษฐกิกิ กิ จ กิ จพอเพีพี พี ย พี ยง นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ดั ให้มีสำ มี สำนึก ในคุณธรรม ความซื่อสัต สั ย์สุจริต ริ และให้มี ความรอบรู้ที่เ ที่ หมาะสม ดำ เนินชีวิต วิ ด้วยความ อดทน ความเพียร มีส มี ติ ปัญญา และความ รอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการ รองรับ รั การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ร็ และกว้าง ขวางทั้งด้านวัต วั ถุ สัง สั คม สิ่งแวดล้อม และ วัฒ วั นธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี ประมวลและกลั่นกรองจากพระราชดำ รัส รั ของ พระบาทสมเด็จ ด็ พระเจ้าอยู่หัว หั เรื่อ รื่ งเศรษฐกิจ พอเพียง ซึ่งพระราชทานในวโรกาสต่างๆ รวม ทั้งพระราชดำ รัส รั อื่นๆที่เ ที่ กี่ยวข้อง โดยได้รับ รั พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำ ไปเผย แพร่ เมื่อ มื่ วัน วั ที่ 21 พฤศจิก จิ ายน 2542 เพื่อ เป็นแนวทางปฏิบัติ บั ติ ของทุกฝ่ายและประชาชน โดยทั่วไป


แนวคิคิ คิ ด คิ ดเศรษฐกิกิ กิ จ กิ จพอเพีพี พี ย พี ยง การพัฒ พั นาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒ พั นาที่ตั้ ที่ ตั้ งอยู่บนพื้นฐานของ ทางสายกลางและความไม่ประมาท โดย คำ นึงถึง ความพอประมาณ ความมี เหตุผล การสร้างภูมิคุ้ มิ คุ้ มกัน กั ที่ดี ที่ ดีในตัว ตั ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และ คุณธรรม ประกอบการวางแผน การ ตัด ตั สินใจและการกระทำ ปรัช รั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีห มี ลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดัง ดั นี้


ปรัรั รัชรั ญาเศรษฐกิกิ กิ จ กิ จพอเพีพี พี ย พี ยง เป็นปรัช รั ญาที่ชี้ ที่ ชี้ แนะแนวทางการดำ รงอยู่ และปฏิบัติ บั ติ ตนในทางที่ ควรจะเป็น โดยมีพื้ มี พื้ นฐานมาจากวิถี วิ ถี ชีวิต วิ ดั้งเดิมของ สัง สั คมไทย สามารถนำ มาประยุกต์ใช้ได้ ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิง ระบบที่มี ที่ ก มี ารเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด เวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย ภั และ วิก วิ ฤต เพื่อ ความมั่นคง และ ความ ยั่งยืน ยื ของการพัฒ พั นา กรอบแนวคิด


ปรัรั รัชรั ญาเศรษฐกิกิ กิ จ กิ จพอเพีพี พี ย พี ยง เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำ มา ประยุกต์ใช้กับ กั การปฏิบัติ บั ติ ตนได้ใน ทุกระดับ ดั โดยเน้นการปฏิบัติ บั ติ บน ทางสายกลาง และการพัฒ พั นาอย่าง เป็นขั้นตอน คุณลักษณะ


ปรัรั รัชรั ญาเศรษฐกิกิ กิ จ กิ จพอเพีพี พี ย พี ยง หมายถึง ความพอดีที่ไที่ ม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียน ตนเองและผู้อื่น เช่นการผลิตและการ บริโริ ภคที่อ ที่ ยู่ในระดับ ดั พอประมาณ ความพอประมาณ คำ นิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อมๆกัน กั ดัง ดั นี้


ปรัรั รัชรั ญาเศรษฐกิกิ กิ จ กิ จพอเพีพี พี ย พี ยง ความมีเหตุผล หมายถึง การตัด ตั สินใจเกี่ยวกับ กั ระดับ ดั ของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป อย่างมีเ มี หตุผลโดยพิจารณาจากเหตุ ปัจจัย จั ที่เ ที่ กี่ยวข้องตลอดจนคำ นึงถึงผลที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำ นั้น ๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดี หมายถึง การเตรีย รี มตัว ตั ให้พร้อมรับ รั ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆที่จ ที่ ะเกิดขึ้นโดยคำ นึงถึงความเป็นไป ได้ของสถานการณ์ต่างๆที่ค ที่ าดว่าจะเกิด ขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล


ปรัรั รัชรั ญาเศรษฐกิกิ กิ จ กิ จพอเพีพี พี ย พี ยง เงื่อนไข การตัด ตั สินใจและการดำ เนินกิจกรรมต่างๆ ให้ อยู่ในระดับ ดั พอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับ กั วิช วิ าการต่าง ๆ ที่เ ที่ กี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่ จะนำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยง กัน กั เพื่อประกอบการวางแผน และความ ระมัด มั ระวัง วั ในขั้นปฏิบัติ บั ติ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จ ที่ ะต้องเสริม ริ สร้างประกอบด้วย มีค มี วาม ตระหนักในคุณธรรม มีค มี วามซื่อสัต สั ย์สุจริต ริ และมีค มี วามอดทน มีค มี วามเพียร ใช้สติปัญญา ในการดำ เนินชีวิต วิ


ปรัรั รัชรั ญาเศรษฐกิกิ กิ จ กิ จพอเพีพี พี ย พี ยง แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำ ปรัช รั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้ คือ การพัฒ พั นาที่ส ที่ มดุลและยั่งยืน ยื พร้อมรับ รั ต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้ง ด้านเศรษฐกิจ สัง สั คม สิ่งแวดล้อม ความรู้และ เทคโนโลยี


ปรัรั รัชรั ญาเศรษฐกิกิ กิ จ กิ จพอเพีพี พี ย พี ยง " ถ้าไม่มี เศรษฐกิจพอเพียง เวลาไฟดับ ดั… จะพัง พั หมด จะทำ อย่างไร. ที่ที่ ที่ ที่ ต้ ที่ ต้ องใช้ไฟฟ้าก็ ต้องแย่ไป. … หากมี เศรษฐกิจพอเพียง แบบไม่เต็มที่ ถ้าเรามีเ มี ครื่อ รื่ งปั่นไฟ ก็ให้ปั่นไฟ หรือ รื ถ้าขั้นโบราณกว่า มืด มื ก็จุดเทีย ที น คือมีท มี างที่จ ที่ ะแก้ปัญหาเสมอ. … ฉะนั้น เศรษฐกิจพอเพียง นี้ ก็มีเ มี ป็นขั้น ๆ แต่จะบอกว่า เศรษฐกิจพอเพียง นี้ ให้พอเพียงเฉพาะตัว ตั เองร้อยเปอร์เซ็นต์ นี่ เป็นสิ่งที่ทำ ที่ ทำไม่ได้. จะต้องมีก มี ารแลกเปลี่ยน ต้องมีก มี ารช่วยกัน กั. …… พอเพียงในทฤษฎีหลวงนี้ คือให้สามารถ ที่จ ที่ ะดำ เนินงานได้. " พระราชดำ รัส รั เนื่องในโอกาสวัน วั เฉลิมพระชน พรรษา 23 ธัน ธั วาคม 2542


เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำ ริ เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำ ริ เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบัติ บั ติ ของ ทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการ พัฒ พั นาที่นำ ที่ นำไปสู่ความสามารถในการพึ่ง ตนเอง ในระดับ ดั ต่างๆ อย่างเป็นขั้น ตอน โดยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับ กั ความ ผัน ผั แปรของธรรมชาติ หรือ รื การ เปลี่ยนแปลงจากปัจจัย จั ต่างๆ โดยอาศัย ความพอประมาณและความมีเ มี หตุผล การสร้างภูมิคุ้ มิ คุ้ มกัน กั ที่ดี ที่ ดี มีค มี วามรู้ ความ เพียรและความอดทน สติและปัญญา การช่วยเหลือซึ่งกัน กั และกัน กั และความ สามัค มั คี


เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำ ริ เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำ ริ เศรษฐกิจพอเพียงมีค มี วามหมายกว้าง กว่าทฤษฎีใหม่โดยที่เ ที่ ศรษฐกิจพอ เพียงเป็นกรอบแนวคิดที่ชี้ ที่ ชี้ บอกหลัก การและแนวทางปฏิบัติ บั ติ ของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ แนวพระราชดำ ริเ ริ กี่ยวกับ กั ทฤษฎีใหม่หรือ รื เกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่ง เป็นแนวทางการพัฒ พั นาภาคเกษตร อย่างเป็นขั้นตอนนั้น เป็นตัว ตั อย่างการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทาง ปฏิบัติ บั ติ ที่เ ที่ ป็นรูปธรรมเฉพาะในพื้นที่ ที่เ ที่ หมาะสม ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำ ริ อาจ เปรีย รี บเทีย ที บกับ กั หลักเศรษฐกิจพอ เพียง ซึ่งมีอ มี ยู่ 2 แบบ คือ แบบพื้น ฐานกับ กั แบบก้าวหน้า ได้ดั้งนี้


เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำ ริ เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำ ริ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน เทีย ที บได้ กับ กั ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 ที่มุ่ ที่ มุ่ งแก้ปัญหาของ เกษตรกรที่อ ที่ ยู่ห่างไกลแหล่งน้ำ ต้องพึ่งน้ำ ฝน และประสบความเสี่ยงจากการที่น้ำ ที่ น้ำไม่พอเพียง แม้กระทั่งสำ หรับ รั การปลูกข้าวเพื่อบริโริ ภค และ มีข้ มี ข้ อสมมติว่า มีที่ มี ที่ ดิ ที่ ดิ นพอเพียงในการขุดบ่อ เพื่อแก้ปัญหาในเรื่อ รื่ งดัง ดั กล่าวจากการแก้ปัญหา ความเสี่ยงเรื่อ รื่ งน้ำ จะทำ ให้เกษตรกรสามารถ มีข้ มี ข้ าวเพื่อการบริโริ ภคยัง ยั ชีพในระดับ ดั หนึ่งได้ และใช้ที่ดิ ที่ ดิ นส่วนอื่น ๆ สนองความต้องการ พื้นฐานของครอบครัว รั รวมทั้งขายในส่วนที่ เหลือเพื่อมีร มี ายได้ที่จ ที่ ะใช้เป็นค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่ไที่ ม่สามารถผลิตเองได้ ทั้งหมดนี้เป็นการ สร้างภูมิคุ้ มิ คุ้ มกัน กั ในตัว ตั ให้เกิดขึ้นในระดับ ดั ครอบครัว รั ความพอเพียงในระดับ ดั บุคคลและครอบครัว รั โดยเฉพาะเกษตรกร


เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำ ริ เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำ ริ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซึ่ง ครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 2 เป็นเรื่อ รื่ งของ การสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกัน กั ในรูป กลุ่มหรือ รื สหกรณ์ หรือ รื การที่ธุ ที่ ธุ รกิจต่าง ๆ รวมตัว ตั กัน กั ในลักษณะเครือ รื ข่ายวิส วิ าหกิจ ความพอเพียงในระดับ ดั ชุมชนและระดับ ดั องค์กร กล่าวคือ เมื่อ มื่ สมาชิกในแต่ละครอบครัว รั หรือ รื องค์กรต่าง ๆ มีค มี วามพอเพียงขั้นพื้นฐานเป็น เบื้อ บื้ งต้นแล้วก็จะรวมกลุ่มกัน กั เพื่อร่วมมือ มื กัน กั สร้างประโยชน์ให้แก่กลุ่มและส่วนรวมบนพื้น ฐานของการไม่เบียดเบียนกัน กั การแบ่งปันช่วย เหลือซึ่งกัน กั และกัน กั ตามกำ ลังและความสามารถ ของตนซึ่งจะสามารถทำ ให้ ชุมชนโดยรวม หรือ รื เครือ รื ข่ายวิส วิ าหกิจนั้น ๆ เกิดความพอ เพียงในวิถี วิ ถีปฏิบัติ บั ติ อย่างแท้จริง ริ


เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำ ริ เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำ ริ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซึ่ง ครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 3 ซึ่งส่งเสริม ริ ให้ ชุมชนหรือ รื เครือ รื ข่ายวิส วิ าหกิจสร้างความร่วมมือ มื กับ กั องค์กรอื่นๆในประเทศ เช่น บริษั ริ ท ษั ขนาด ใหญ่ ธนาคาร สถาบัน บั วิจั วิ ย จั เป็นต้น ความพอเพียงในระดับ ดั ประเทศ การสร้างเครือ รื ข่ายความร่วมมือ มื ในลักษณะ เช่นนี้จะเป็นประโยชน์ในการสืบทอด ภูมิปัมิ ปั ญญา แลกเปลี่ยนความรู้ เทคโนโลยี และบทเรีย รี นจากการพัฒ พั นา หรือ รื ร่วมมือ มื กัน กั พัฒ พั นา ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ทำ ให้ ประเทศอันเป็นสัง สั คมใหญ่อันประกอบด้วย ชุมชน องค์กร และธุรกิจต่าง ๆ ที่ดำ ที่ ดำเนินชีวิต วิ อย่างพอเพียงกลายเป็นเครือ รื ข่ายชุมชนพอ เพียงที่เ ที่ ชื่อมโยงกัน กั ด้วยหลัก ไม่เบียดเบียน แบ่งปัน และช่วยเหลือซึ่งกัน กั และกัน กั ได้ในที่สุ ที่ สุ ด


" … ขอให้ทุกคนมีค มี วามปรารถนาที่จ ที่ ะให้เมือ มื ง ไทยพออยู่พอกิน มีค มี วามสงบและทำ งานตั้งอธิษ ธิ ฐาน ตั้งปณิธาน ในทางนี้ ที่จ ที่ ะให้เมือ มื งไทยอยู่แบบพอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรือ รื งอย่างยอด แต่มีค มี วามความ พออยู่พอกิน มีค มี วามสงบ เปรีย รี บเทีย ที บกับ กั ประเทศอื่น ๆ ถ้าเรารัก รั ษา ความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่ง ยิ่ ยวดได้ … ฉะนั้นถ้าทุกท่านซึ่งถือว่าเป็นผู้มีค มี วามคิดและมี อิทธิพ ธิ ล มีพ มี ลังที่จ ที่ ะทำ ให้ผู้อื่น ซึ่งมีค มี วามคิดเหมือ มื นกัน กั ช่วยกัน กั รัก รั ษาส่วนรวมให้อยู่ดีกินดีพอสมควร ขอย้ำ พอควร พออยู่พอกิน มีค มี วามสงบ ไม่ให้คนอื่นมาแย่ง คุณสมบัติ บั ติ นี้จากเราไปได้ ก็จะเป็นของขวัญ วั วัน วั เกิดที่ถ ที่ าวรที่จ ที่ ะมีคุ มี คุ ณค่าอยู่ ตลอดกาล " พระราชดำ รัส รั เนื่องในโอกาสวัน วั เฉลิมพระชน พรรษา 23 ธัน ธั วาคม 2542


ตัตั ตั ว ตั วอย่ย่ ย่ า ย่ างชุชุ ชุ ม ชุ มชนหมู่มู่มู่บ้มู่บ้ บ้ า บ้ านเกตรีรี รีรี หมู่ที่ ๓ ตำ บลเกตรี อำ เภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล แหล่งเรีย รี นรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพ่อหลวง ซึ่งเป็นขุมทรัพ รั ย์แห่ง ปัญญาของชาวบ้านที่จั ที่ ด จั ตั้งจุดเรีย รี นรู้ให้มี หลายๆจุด เช่น พลังงานทดแทน , การ ใช้พลังงานลมผลิตกระแสไฟฟ้า , การ ทำ โรงเพาะฟักปลาน้ำ จืด จื , การเลี้ยงปลา น้ำ จืด จื , ห้องอบสมุนไพร , โฮมสเตย์ และแนวปรัช รั ญาเศรษฐกิจพอเพียง และ เราจะได้เห็น ห็ ถึงพลังสามัค มั คีและความ แข็งแกร่งของคนในชุมชน ที่เ ที่ ราสามารถ เอาเป็นแบบอย่างได้ ภูมิปัมิ ปั ญญาท้องถิ่น คือ การผลิตกาแฟโบราณ การทำ ขนมบุ หงาบูดะ และขนมปะการัง รั การผลิตกาแฟ โบราณ การทำ ขนมบุหงาบูดะ


ขนมปะการัง ขนมบุหงาบูดะ


จัด จั ทำ โดย นาวสาวนันธิด ธิ า ขุนศิริ รหัส หั นักศึกษา 6613015001004 สาขาเทคโนโลยีก ยี ารท่อ ท่ งเที่ย ที่ วเชิงสุขภาพ วิท วิ ยาลัยชุมชนสตูล


Click to View FlipBook Version