The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทยากร ธรรมรัตน์, 2021-03-31 00:15:02

`โครงการ pm2.5` โดยใช้เซนเซอร์ keyes studo แจ้งเตือนผ่าน line Notify

ilovepdf_merged (3)

อุปกรณ์วดั ค่า PM 2.5 โดยใชเ้ ซนเซอร์ Keyes Studio แจ้งเตอื นผ่าน
Line Notify

PM 2.5 Detector with Sensor by Keyes Studio Notification via Line
Notify

1. นายภาณุวัฒน์ แก้วพวง รหัสนกั ศึกษา 6122040104
2. นายอรรณพ คูณศรี รหสั นกั ศกึ ษา 6122040115
3. นายทยากร ธรรมรัตน์ รหัสนักศกึ ษา 6122040118

โครงการนเี้ ป็นสว่ นหนึง่ ของรายวชิ าโครงการ รหัสวชิ า (2204-8501)
ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกจิ ดิจิทัล
วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง



โครงการ อุปกรณว์ ดั ค่า PM 2.5 โดยใชเ้ ซนเซอร์ Keyes Studio แจง้ เตือนผ่าน
ผู้รบั ผิดชอบโครงการ
Line Notify
ครูทป่ี รกึ ษา
สาขาวิชา 1. นายภาณวุ ฒั น์ แกว้ พวง รหัสนกั ศึกษา 6122040088
ปกี ารศึกษา
2. นายอรรณพ คูณศรี รหสั นกั ศกึ ษา 6122040093

3. นายทยากร ธรรมรัตน์ รหสั นกั ศึกษา 6122040098

นายปรชี า คางงเู หลือม

นายวกิ ร รัตนาธนบดี

คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ

2/2563

บทคัดยอ่

การจัดทําโครงการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างอุปกรณ์วัดค่า PM 2.5 ให้กับแผนกวิชา
เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลด้วยโปรแกรม Arduino ศึกษาความพึงพอใจในการใช้อุปกรณ์วัดค่า PM 2.5
โดยใช้เซนเซอร์ Keyes Studio แจ้งเตือนผ่าน Line Notify ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพ
ชมรมวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจโดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ
ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชัน้ สงู สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ิทลั วิทยาลัยเทคนิคระยอง สถิติท่ีใช้
ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล คอื รอ้ ยละ คา่ เฉล่ีย และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน

ผลที่ได้จากแบบสอบถามความพึงพอใจพบว่าเป็นเพศชายจำนวน 105 คน ร้อยละ 47.7
เพศหญิงจำนวน 115 คน ร้อยละ 52.3 ระดับความพึงพอใจภาพรวมอยู่ในระดับมาก

(x̅=4.36,S.D=0.43) โดยแบ่งเป็นทั้งหมด 3 ด้าน ได้แก่ ด้านวัตถุประสงค์อยู่ในระดับมาก
(x̅=4.45,S.D=0.45) ดา้ นการดำเนนิ งานอย่ใู นระดับมาก (x̅=4.31,S.D=0.57) ดา้ นผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ
อย่ใู นระดับมาก (x̅=4.31,S.D=0.57) ตามลำดับ



กติ ติกรรมประกาศ

โครงการอุปกรณ์วัดค่า PM 2.5 โดยใช้เซนเซอร์ Keyes Studio แจ้งเตือนผ่าน Line Notify
ฉบับนี้สามารถสําเร็จลุล่วงตามเป้าหมายได้ด้วยดีเพราะได้รับความช่วยเหลือและคําแนะนําของ
นายวิกร รัตนาธนบดี นางสาวอัจฉราภรณ์ เกลี้ยงพร้อม นางสาวพัณณ์ชิตา คํามะฤทธิ์สินชัย
นายปรชี า คางงเู หลอื มและ นายมงคล พรมประเสริฐ อาจารย์ในแผนกวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลท่ีได้
ให้คาํ ปรึกษา แนะนํา ชแ้ี นะในการศึกษาคน้ คว้า แนะนําขน้ั ตอนและวิธีจดั ทําโครงงานจนสําเร็จลุล่วง
ดว้ ยดี คณะผ้จู ดั ทําจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสนี้ สุดท้ายนี้ขอขอบพระคุณบิดา
มารดา และครอบครัวของผู้จัดทําโครงการวิจัย รวมไปถึงผู้ที่มิได้กล่าวนามทุกท่านที่คอยให้ความ
ช่วยเหลอื และกาํ ลังใจท่ดี เี สมอมาจนโครงการสาํ เร็จลุลว่ งไปด้วยดี

คณะผจู้ ัดทำ

สารบัญ ค
เน้ือหา
หน้า
บทคัดย่อ
นิติกรรมประกาศ ก
สารบญั ข
สารบัญ (ตอ่ ) ค
สารบัญตาราง ง
สารบัญภาพ จ
สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ฉ
บทที่ 1 บทนำ ช

1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ 1
1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1
1.3 ขอบเขตของโครงการ 2
1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1
1.5 คำจำกัดความ 3
บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีท่ีเกีย่ วข้อง
2.1 ความรทู้ ่วั ไปเกี่ยวกบั ฝ่นุ ละออง 4
2.2 ประเภทของฝนุ่ ละออง 6
2.3 แหลง่ ท่มี าฝุ่นละออง 6
2.4 ชนดิ ของฝุน่ ละออง 8
2.5 คา่ AQI และค่าฝุน่ 9
2.6 วิธกี ารหลกี เลยี่ ง และ ป้องกันฝ่นุ p.m.2.5 11
2.7 ความรเู้ ก่ียวกบั Line Notify 13
2.8 ความรู้เกีย่ วกบั เทคโนโลยีและเซนเซอร์ 17

สารบัญตอ่ ง
เน้ือหา
บทท่ี 3 วธิ ีการดำเนนิ งานโครงการ หนา้

3.1 การศกึ ษาข้อมูล 25
3.2 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 25
3.3 ขนั้ ตอนการดำเนนิ การ 27
3.4 เครื่องมือทีใ่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 32
3.5 ขั้นตอนการดำเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 33
3.6 พจิ ารณาจากคะแนนตามเกณฑ์ 34
3.7 สถติ ิทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 34
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงการ
4.1 ผลการดำเนินงาน 36
บทท่ี 5 สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปอภปิ รายผล 44
5.2 ปญั หาและแนวทางการแก้ไขปัญหา 45
5.3 ขอ้ สอนแนะ 45
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แบบเสนออนุมัตโิ ครงการ
ภาคผนวก ข ขนั้ ตอนการดำเนินงาน
ภาคผนวก ค วธิ กี ารใชง้ าน
ภาคผนวก ง แบบสอบถามพึงพอใจ
ประวิตผิ ูจ้ ัดทำ



สารบญั ตาราง

เน้ือหา หนา้

2.1 แสดงความแตกต่างระหว่างฝุ่นขนาดใหญ่และฝนุ่ ขนาดเลก็ ตามแหลง่ กำเนิด 7

และแหล่งท่ีมาของฝนุ่

2.2 แสดงค่าAQI 9

3.1 แสดงตวั อยา่ งทฤษฎมี อแกน 26

4.1 แสดงจำนวนของผตู้ อบแบบประเมินคิดเป็นรอ้ ยละจำแนกตามเพศ 36

4.2 แสดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามเปน็ รอ้ ยละจำแนกตามอายุ 37

4.3 แสดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามคดิ เปน็ ร้อยละตามระดับชน้ั 38

4.4 แสดงความพึงพอใจด้านวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 39

4.5 แสดงจำนวนผู้ตอบแบสอบถามคดิ เป็นร้อยละจำแนกตามสถานนะของผู้ตอบแทน 40

แบบประเมินแสดง

4.6 แสดงจำนวนผู้ตอบแบบประเมนิ คิดเป็นร้อยละจำแนกตามสถานะของ 41

ผตู้ อบแทนประเมิน

4.7 แสดงสถิตริ ะดับความพึงพอใจ ของ นักเรียนขนักศกึ ษา ท่ไี ด้รบั ชม 42

สารบญั ภาพ ฉ
ภาพท่ี
หน้า
2.1 แสดงภาพฝุ่นละออง 5
2.2 แสดงขนาดของ PM/ 2.5 8
2.3 แสดงปริมาณของ P.M 2.5 ในอากาศ 10
2.4 แสดงคา่ P.M 2.5 ท่ีอันตรายต่อมนุษย์ 11
2.5 แสดงประเภทของหนา้ กากอนามัย 12
2.6 แสดงหน้ากาอนามัยแบบพกั ลม 12
2.7 หลักการทำงานของเคร่ืองฟอกอากาศ 13
2.8 แสดงภาพ line Notify 13
2.9 แสดงการแอดกับเพ่ือน line Notify 14
2.10 แสดงการเข้าสู่ระบบ line Notify 14
2.11 แสดงรบั การแจง้ เตือน line Notify 15
2.12 แสดงการรบั การแจง้ เจือนกับตวั เอง หรือแบบกล่มุ 16
2.13 แสดงการออก token 16
2.14 แสดง Personal Access Token 17
2.15 แสดง Arduino ต่างไรกบั AVR 19
2.16 แสดงการสอนเขยี นเบ้ืองตน้ 19
2.17 แสดงการหลกั การทำงาน ของ Arduino 20
2.18 แสดงชนิด board 20
2.19 เลือก port ทตี่ ่อกับคอม 21
2.20 แสดงการลงโปรแกรม 21
2.21 แสดงลงโปรแกรมสำเร็จ 22
2.22 แสดงภาพเซนเซอร์ Pms 3003 22
2.23 แสดงภาพ Esp8266 23
3.2. แสดงผังงานขนั้ ตอนการทำงาน 27
3.3 แสดงขั้นตอนการสร้างช้ินงาน 28
3.4 การแสดงใสโ่ ค้ดให้กับ Esp8266 29
3.5 แสดงการใส่โคด้ ให้กบั Line Notify 29
3.6 แสดงภาพอปุ กรณ์ Aeduino Esp8266 30
3.7 แสดงภาพเซนเซอร์ Keyes Studio 30

สารบญั ภาพต่อ ช
ภาพที่
หน้า
3.8 แสดงภาพสาย Jumper 31
3.9 แสดงการต่อสาย Jumper เข้ากบั เซนเซอร์ Keyes Studio 31
3.10 แสดงการต่อสานเซนเซอร์ Keyes Studio เขา้ กับ Esp8266 32
4.1 แผนภาพแสดงเพศของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ 36
4.2 แผนภมู แิ สดงอายุของผู้ตอบแทนแบบประเมนิ โครงการ 37
4.3 แผนภูมิแสดงระดบั ช้ันของตอบแบบประเมินโครงการ 38
4.4 แผนภมู ิแสดงระดบั ความพึงพอใจด้านวัตถปุ ระสงค์ 39
4.5 แผนภูมริ ะดบั พอใจด้านการดำเนินงาน 40
4.6 แผนภูมิแสดงระดับความพงึ พอใจดา้ นผู้เข้าร่วมโครงการ 41
4.7 แผนภูมแิ ท่งแสดงสถิตริ วมความพึงพอใจ 43

บทที่ 1
บทนำ

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ
ในปัจจุบันประเทศไทยกำลังประสบปัญหามลพิษทางอากาศ อันเนื่องมาจากหมอกควันใน

เกือบทุกภูมภิ าค โดยเฉพาะในพื้นทภี่ าคเหนือตอนบน ซ่ึงปญั หามลพิษทางอากาศนั้นส่งผลกระทบต่อ
สุขภาพอนามัยของประชาชนเป็นอยา่ งมากโดยเฉพาะปญั หาหมอกควนั การสะสมของควันหรือฝุ่นใน
อากาศ โดยส่วนใหญ่เกิดจากการเผาเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ไฟป่า ควันจากท่อไอเสียและมี
แนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้นในทุก ๆ ปี ซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้ที่ได้รับ PM 2.5 เข้าไปในปริมาณมากอาจทำให้
ฝุ่นแพร่กระจายเข้าสู่ทางเดินหายใจ กระแสเลือดและอวัยวะอื่น ๆ ในร่างกายได้ ตัวฝุ่นเป็น
พาหะนำสารต่าง ๆ เขา้ มาด้วย เชน่ ปรอท โลหะหนกั และสารกอ่ มะเรง็ เปน็ ตน้

ในการหลีกเลี่ยงปัญหาดังกล่าว จึงได้มีการคิดค้นแนวทางการป้องกันเกี่ยวกับฝุ่น PM 2.5 จึง
ได้มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการสร้างอุปกรณ์วัดค่าฝุ่น PM 2.5 ขึ้นมา โดยอุปกรณ์ตรวจสอบได้
เฉพาะพื้นที่ขนาดใหญ่ หากตอ้ งการตรวจสอบเฉพาะจุดจะไม่สามารถทำได้ ดงั นนั้ ผจู้ ัดทำจึงได้พัฒนา
อุปกรณว์ ดั ค่า PM 2.5 โดยใชร้ ะบบเซ็นเซอร์ Keyes Studio แจ้งเตือนผ่าน Line Notify

ดังนั้นผู้จัดทำได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพจากมลพิษทางอากาศภายในแผนก
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง จึงได้มีการพัฒนาอุปกรณ์วัดค่า PM 2.5
เฉพาะจุดโดยแจ้งเตือนผ่านแอปพลิเคชัน Line เพื่อเป็นแนวทางการหลีกเลี่ยงฝุ่น PM 2.5 ให้กับ
อาจารยผ์ ้สู อนและนกั ศกึ ษาสาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจดิจทิ ัล

1.2 วัตถุประสงคข์ องโครงการ
ในการทำโครงการคร้ังน้ี ผูจ้ ัดทำได้ต้งั วัตถุประสงค์ไวด้ ังน้ี

1.2.1 เพอ่ื สร้างอปุ กรณว์ ดั คา่ PM 2.5 โดยใชเ้ ซ็นเซอร์ Keyes Studio แจ้งเตอื นผ่าน Line
Notify

1.2.2 เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาฝุน่ PM 2.5 ให้กับอาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยี
ธุรกจิ ดจิ ทิ ัล

1.2.3 เพื่อสำรวจความพึงพอใจของอาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจ
ดจิ ทิ ัล ในการใช้อปุ กรณ์วดั ค่า PM 2.5

2

1.3 ขอบเขตของโครงการ
1.3.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
1.3.1.1 ประชากรคือ นักเรียนสาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ทิ ัล จำนวน 494 คน
. 1.3.1.2 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล จำนวน 217

ดว้ ยการเลอื กเฉพาะเจาะจง
1.3.2 ขอบเขตชิ้นงาน
1.3.2.1 ด้านฮาร์ดแวร์
1.3.2.1.1 โนต้ บุ๊ค LENOVO ideapad 320 intel CORE i3
1.3.2.1.2 เซ็นเซอร์วดั ฝ่นุ PM 2.5 ย่หี ้อ Keys Studio GP2Y1014AU
1.3.2.1.3 PICO KIT V4 ESP32 Development Board
1.3.2.1.4 Breadboard 830 Point MB-10
1.3.2.1.5 Jumper (M2M)

1.3.2.2 ด้านซอฟตแ์ วร์
1.3.2.2.1 LINE API (Application Program Interface)
1.3.2.2.2 Arduino IDE

1.3.3 เครื่องมอื ที่ใช้ในการประเมินผล
1.3.3.1 แบบสอบถามโดยใช้ Google Form

1.4 ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ
1.4.1 ได้อุปกรณ์วัดค่า PM 2.5 แจ้งเตอื นผ่าน Line Notify ดว้ ยเซนเซอร์ Keyes Studio
1.4.2 หลกี เล่ยี งปญั หาฝ่นุ PM 2.5 ผ่าน Line Notify ดว้ ยระบบเซน็ เซอร์ Keyes Studio
1.4.3 ได้ความพงึ พอใจในของอาจารยผ์ ้สู อนและนักศึกษาสาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ิทัล

PM 2.5 แจง้ เตือนผา่ น Line Notify ด้วยเซนเซอร์ Keyes Studio ในระดบั ดี

3

1.5 คำจำกัดความ
1.5.1 โปรแกรม หมายถึง ชุดคำสั่งที่เป็นระบบขั้นตอนสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทํางาน

ซึ่งโปรแกรมที่จะใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้นั้นจะต้องเขียนด้วยภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ
และสามารถปฏิบัติตามได้

1.5.2 PM 2.5 หมายถึง คือฝุ่นละอองในอากาศท่ีมีขนาดอนุภาคเล็กมาก ๆ (ขนาดเล็กกว่า2.5
ไมครอน หรอื ไมโครเมตร)ด้วยขนาดทเ่ี ลก็ มาก ๆ เราจงึ มองไมเ่ หน็ ดว้ ยตาเปล่า แต่ถา้ ฝุน่ น้มี ีปรมิ าณสูง
มาก ๆ ในอากาศ จะดูคล้ายกับมหี มอกหรือควันสาเหตสุ ่วนใหญม่ าจากการเผาไหม้จากท่อไอเสียของ
เครื่องยนต์ ควันบุหรี่ การเผาขยะ เผาหญ้า เผาเชื้อเพลิงที่ใช้ในโรงงาน เป็นต้นฝุ่น PM 2.5นี้ยัง
สามารถรวมตัวกับสารมลพิษ เช่นสารไฮโดรคาร์บอน และโลหะหนักและด้วยขนาดที่เล็กมากจึง
สามารถลอดผ่านการกรองของขนจมกู ไปยังหลอดลม และลงลึกจนถงึ ถุงลมปอดและซมึ เขา้ สู่กระแส
เลอื ด และทำให้เกิดผลเสยี ตอ่ รา่ งกาย

1.5.3 เซ็นเซอร์ Keyes Studio หมายถึง เป็นเซ็นเซอร์ตรวจจับอนุภาคฝุ่นละอองขนาดเล็ก
ให้ผลการวัดเป็นข้อมูลแบบดิจิทัล ซึ่งสามารถใช้ตรวจจับอนุภาคแขวนลอยในอากาศ เพื่อให้ได้ค่า
ขอ้ มูลความเขม้ ขน้ ท่ีถูกต้องทนั เวลาในสภาวะแวดล้อมจรงิ

1.5.4 แอปพลิเคชัน Line Notify หมายถึง บริการที่ทาง Line ได้เตรียมไว้ให้ในรูปแบบของ
API ให้กับเหล่านักพัฒนานั้นสามารถนำไปใช้ต่อยอด พัฒนาโปรเจค ที่มีความต้องการส่งข้อความใน
การแจง้ เตอื นเขา้ ไปยัง กลุม่ หรือบัญชีสว่ นตัวของเราได้

บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎที ี่เก่ยี วขอ้ ง

บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎีทีเ่ กยี่ วข้อง

เพ่อื เปน็ แนวทางในการจัดทำโครงการครั้งนี้ คณะผูจ้ ดั ทำได้ศึกษาเอกสารและทฤษฎที ี่
เกยี่ วข้องต่าง ๆ ดงั น้ี

2.1 ความรูท้ ่วั ไปเกี่ยวกับฝุน่ ละออง
2.2 ประเภทของฝนุ่ ละออง
2.3 แหลง่ ทมี่ าของฝุน่ ละออง
2.4 ชนดิ ของฝุ่นละออง
2.5 ค่า AQI และค่าฝนุ่ PM 2.5
2.6 วธิ กี ารหลีกเลย่ี ง และ ปอ้ งกันฝนุ่ PM 2.5
2.7 ความรเู้ กี่ยวกับ Line Notify
2.8 ความรเู้ กีย่ วกับเทคโนโลยีและเซนเซอร์

2.1 เอกสารและทฤษฎีทเ่ี กีย่ วข้อง
2.1 ความรู้ทั่วไปเกยี่ วกบั ฝุ่นละออง
ฝุ่นละออง หมายถึง อนุภาคของแข็งและหยดละอองของเหลวท่ีแขวนลอยกระจายในอากาศ

อนุภาค ท่ีแขวนลอยอยู่ในอากาศ บางชนิดมีขนาดใหญ่และสีดำจนมองเห็นเป็นเขม่าและควัน
แต่บางชนิดมีขนาดเล็กมาก จนมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ฝุ่นละอองที่แขวนลอยในบรรยากาศ
โดยทั่วไปมีขนาดตั้งแต่ 100 ไมครอนลงมา และ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของคน สัตว์
พืช เกิดความเสียหายต่ออาคารบ้านเรือน ทำให้เกิดความ เดือดร้อนรำคาญต่อประชาชน
บดบังทัศนวิสัย ทำให้เกิดอุปสรรคในการคมนาคมขนส่ง นานาประเทศจึงได้มี การกำหนดมาตรฐาน
ฝุ่นละอองในบรรยากาศขึ้น สาหรับในประเทศสหรัฐอเมริกา โดย US.EPA (United State
Environmental Protection Agency) ได้ มี ก ารก ำห น ด ค่ าม าต ร ฐ าน ข อ งฝุ่ น รว ม (Total
Suspended Particulate)และฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า10ไมครอน (PM10) แต่เน่ืองจากมีการ
ศึกษาวิจัยพบว่าฝุ่นขนาดเลก็ นั้น จะเป็นอันตรายตอ่ สุขภาพมากกวา่ ฝุ่นรวม เนื่องจากสามารถผ่านเข้า
ไปในระบบทางเดินหายใจส่วนล่างและมีผลต่อ สุขภาพมากกว่าฝุ่นรวม ดังน้ัน US.EPA จึงได้มีการ
ยกเลิกค่ามาตรฐานฝุ่นรวมและกำหนดค่าฝุ่นขนาดเล็กเป็น 2 ชนิด คือ ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10
ไมครอน (PM10) และฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) PM10 ตามคำจำกัดความ
ของ US.EPA หมายถึง ฝุ่นหยาบ (Course Particle) เป็นอนุภาคท่ีมี เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 - 10
ไมครอน มีแหล่งกำเนิดจากการจราจรบนถนนท่ีไม่ได้ลาดยางจากการขนส่งวัสดุ ฝุ่นจาก

5

กิจกรรมบด ย่อย หิน PM 2.5 ตามคำจำกัดความของ US.EPA หมายถึง ฝุ่นละเอียด (Fine Particle)
เป็นอนุภาคที่มี เส้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า 2.5 ไมครอน ฝุ่นละเอียดมีแหล่งกำเนิดจากควันเสียของ
รถยนต์ โรงไฟฟ้า โรงงาน อุตสาหกรรม ควันที่เกิดจากหุงต้มอาหารโดยใช้ฟืน นอกจากนี้
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ออกไซต์ของ ไนโตรเจน (NOX) และสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs)
จะทำปฏิกิริยากบั สารอ่ืนในอากาศทำให้เกดิ เป็นฝุ่นละเอยี ดได้ ฝนุ่ ละอองขนาดเล็กจะมีผลกระทบต่อ
สุขภาพเป็นอย่างมาก เม่ือหายใจเข้าไปในปอดจะเข้าไปอยู่ใน ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง
ในสหรัฐอเมริกาพบว่าผู้ท่ีได้รับฝุ่น PM10 ในระดับหน่ึงจะทำให้เกิดโรคหอบหืด (Asthma)
และฝุ่น PM 2.5 ในบรรยากาศจะมีความสัมพันธ์กับอัตราการเพ่ิมของผู้ป่วยท่ีเป็นโรคหัวใจและ
โรคปอด ที่เข้ามารักษาตัวในห้องฉุกเฉิน เพิ่มอาการของโรคทางเดินหายใจ ลดประสิทธิภาพการ
ทำงานของปอด และเกี่ยวโยง กับการเสียชีวติ ก่อนวันอันควร โดยเฉพาะผู้ป่วยสูงอายุผู้ป่วยโรคหัวใจ
โรคหอบหืด และเด็กจะมีอัตราเสี่ยงสูงกว่า คนปกติในประเทศไทยได้มีการให้ความหมายของ
คำว่าฝุ่นละออง หมายถึง ฝุ่นละอองรวม (Total Suspended Particulate : TSP) ซึ่งเป็น
ฝุ่นขนาดใหญ่ท่ีมีเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 100 ไมครองลงมา ส่วนฝุ่นขนาดเล็ก (PM10) หมายถึง
ฝนุ่ ท่ีมีเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 10 ไมครอนลงมา ฝุ่นละอองเป็นปัญหามลพิษท่ีสำคัญอันดับหน่ึงของ
กรุงเทพมหานครในปีพ.ศ.2541 ธนาคารโลก (World Bank) ได้ให้ทุนสนับสนุนการศึกษาเรื่อง
ผลกระทบต่อ สุขภาพอนามัยโดยมีระดับความรุนแรงใกล้เคียงกับผลการศึกษาจากเมืองต่าง ๆ
ทั่วโลก โดยระดับของฝุ่นขนาดเล็ก อาจทำให้คนในเขตกรุงเทพมหานครตายก่อนเวลาอันควร
ถึง 4,000 – 5,500 รายในแต่ละปีนอกจากน้ียังพบว่า การเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
มีความสัมพันธ์กับปริมาณฝุ่นขนาดเล็กและจากการประเมินทางด้าน เศรษฐศาสตร์แสดงให้เห็นว่า
ถ้าสามารถลดปริมาณ PM10 ในบรรยากาศลงได้10 ไมครอน จะช่วยลดผลกระทบ ต่อสุขภาพคิด
เป็นจำนวนเงนิ 35,000 – 88,000 ลา้ นบาทตอ่ ปี (นพภาพร และคณะ 2547)

ภาพท่ี 2.1 แสดงภาพฝ่นุ ละออง

6

2.2 ประเภทของฝนุ่ ละออง
การจำแนกประเภทของฝุ่นละอองในอากาศสามารถจำแนกได้อีกลักษณะหน่ึง คือ

ลกั ษณะการเกดิ ของ ฝุ่นละออง ดังนี้
2.2.1. ฝุ่นปฐมภูมิ (Primary Emission Particulate Matter) เกิดจากการปล่อยของ

แหล่งกำเนิดโดยตรง เช่น ฝุ่นจากถนน ฝุ่นเกลือจากทะเล ฝุ่นจากกระแสลม ที่พัดผ่าน ข้ีเถ้า เขม่า
ควันไฟ

2.2.2. ฝุ่นทุติยภูมิ (Secondary Emission Particulate Matter) เกิดจากปฏิกิริยา
ต่างๆ ในบรรยากาศหลังจากที่ฝุ่นถูกปล่อยออกจากแหล่งกำเนิดได้ระยะหน่ึง ฝุ่นประเภทน้ีอาจเป็น
อนุภาคใหม่หรือเป็นอนุภาคเดิมที่มีองค์ประกอบเพิ่มข้ึน สารท่ีเป็น องค์ประกอบหลักคือ ซัลเฟต
ไนเตรท และคาร์บอนอินทรีย์ โดยซัลเฟตและไนเตรทในบรรยากาศเกือบท้ังหมด เป็น Secondary
Emission โดยมีก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และไนโตรเจนไดออกไซด์เป็นสารเริ่มต้นปฏิกิริยาของ
ฝุ่นทุติยภูมิกล่าวคือ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เม่ือถูกปล่อยสู่บรรยากาศจะถูกออกซิไดซ์เป็นกรด
ซัลฟูริก ทำให้เร่ิม จับตัวเป็นฝุ่นขนาดเล็กจากกระบวนการ Nucleation และเพิ่มขนาดเม็ดฝุ่น
จากกระบวนการ Coagulation และ Condensation (Wilson and Suh 1997) ปฏิกิริยาต่างๆ
ท้ังในวัฏภาคก๊าซและในกลุ่มเมฆล้วนเป็นส่วนสำคัญ ที่ทำให้ซัลเฟตจับตัวเป็นเม็ดฝุ่นใหม่ (U.S.EPA.
1996a) และยังมีส่วนทำให้สารอินทรีย์จับกันเป็นเม็ดฝุ่นใหม่ เช่นกัน (Organic Aerosol)
(Gray et al. 1986 Turpin and Huntzicker 1991 Hideman et al.1994) ปั จจัยที่ มีอิ ท ธิพ ล
ต่อระดับของการจับกันเป็นเม็ดฝุ่นใหม่ ได้แก่ ปริมาณของ Precursor สภาพบรรยากาศและ
ปฏิกรยิ าของ Precurser กับอนุภาคฝุน่ ทมี่ อี ยู่ในกลมุ่ เมฆหรือละอองหมอก

2.3 แหลง่ ท่มี าของฝุ่นละออง
แหล่งท่ีมาของฝุ่นละอองทั่วไปในบรรยากาศ จำแนกได้ 2 ประเภท คือ ฝุ่นละอองที่เกิด

จากกิจกรรม ที่มนุษย์กระทำ เช่น การเผาไหม้เช้ือเพลิง ได้แก่ น้ำมันเตา ถ่านหิน ฟืน กระบวนการ
ผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม และฝุ่นละอองท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติเช่น เกิดจากกระแสลมพัดผ่าน
ตามธรรมชาติทำให้เกิดฝุ่น เช่น ดิน ทราย เขม่าควันจากไฟป่า ภูเขาไฟระเบิด ฝุ่นเกลือจากทะเล
เป็นตน้

7

ตารางท่ี 2.1 แสดงความแตกต่างระหว่างฝ่นุ ขนาดใหญ่และฝนุ่ ขนาดเลก็ ตามแหลง่ กำเนิดและ

แหล่งท่ีมาของฝุ่นละออง

ฝุน่ ขนาดใหญ่ ฝุ่นขนาดเล็ก

แหลง่ ที่มา - การฟ้งุ ของฝุ่นดนิ บนถนน - การเผาไหม้ถา่ นหิน น้ำมัน เศษไม้

- การฟุ้งของฝุ่นดนิ ที่เกิดจาก - การเปล่ียนสภาพของก๊าซ

การทำ เหมืองแร่ เลี้ยงสัตว์ ไนโตรเจน ออกไซด์ ซัลเฟอรไ์ ด

- เศษสงิ่ มชี ีวิต ออกไซด์ และ สารประกอบอินทรยี ์

- การก่อสรา้ งและรื้อถอน ในบรรยากาศ

- การเผาไหมข้ องถ่านหินและ - กระบวนการท่ีใช้ความรอ้ นสงู เตา

น้ำมัน หลอม โรงบดเหลก็ เป็นตน้

- ทะเล มหาสมุทร

กระบวนการ - ถกู บด กระแทก -กระบวนการทางเคมี/ การ

- การระเหยของแก๊สบางชนดิ กลายเปน็ ไอ

- การแขวนลอยของผงฝุน่ - Nucleation,Condensation และ

Coagulation

- การระเหยของหมอก และหยดน้ำ

ในกอ้ นเมฆ ซึง่ มีกา๊ ซละลายและเกดิ

ปฏิกิรยิ า

องค์ประกอบหลกั - ผงฝุ่นทฟี่ ุ้งกระจาย - ซัลเฟต (SO4 2)

- ขเ้ี ถา้ ลอยจากถ่านหนิ และ - ไนเตรท (NO3)

น้ำมนั - แอมโมเนยี ม (NH4)

- ออกไซด์ของธาตทุ ่ีเปน็ - ไฮโดรเจนอิออน (H+)

องคป์ ระกอบ ของเปลือกโลก - ธาตุคารบ์ อน

- CaCO 3 NaCl, ฝุน่ จาก - คารบ์ อนอนิ ทรีย์ (PAHs)

เกลือทะเล - โลหะ (Pb Cd Ni V Cu Zn) -

- เกสรดอกไม้ สปอร์ของเช้ือรา ละอองนำ้ ทจ่ี บั ตวั เป็นฝุ่น

- ฝ่นุ ท่ีเกดิ จากยางรถยนต์

8

2.4 ชนิดของฝุ่นละออง
หน่วยงานป้องกันสิ่งแวดล้อม ประเทศสหรัฐอเมริกา US. EPA (United State

Environmental Protection Agency) ได้ทำการกำหนดค่ามาตรฐานของฝุ่นละอองขนาดเล็กใน
อากาศที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพมนุษย์เอาไว้โดยใช้ค่า PM (Particulate Matters) เป็นเกณฑ์ในการ
ตรวจวัดคุณภาพอากาศ ดงั น้ี

2.4.1 PM 10 หรือท่ีโดยทั่วไปเรียกว่า “ฝุ่นหยาบ” (Course Particles) คือ อนุภาค
ฝุ่นละอองในอากาศที่มเี ส้นผา่ ศูนยก์ ลางขนาด 2.5 - 10 ไมครอน ฝุน่ ประเภทนเี้ ม่อื รวมกันเป็นจำนวน
มากแล้วมักจะสังเกตเห็นได้ง่าย เช่น ฝุ่นที่เกาะอยู่ตามข้าวของเคร่ืองใช้ เกสรดอกไม้ หรือฝุ่นละออง
จากงานก่อสรา้ ง เปน็ ต้น

2.4.2 PM 2.5 หรือที่เรียกว่า “ฝุ่นละเอียด” (Final Particles) คือ อนุภาคฝุ่นละออง
ในอากาศที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางอยู่ที่ 2.5 ไมครอน สำหรับแหล่งกำเนิดของฝุ่น PM 2.5 ก็มักมา
จากควันท่อไอเสียรถยนต์ โรงงานไฟฟ้า โรงงานอุตสาหกรรม ควันท่ีเกิดจากการหุงต้มอาหารด้วยฟืน
ควันจากการเผาขยะ ไฟป่า รวมทั้งการทำปฏิกิริยาของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ไนโตรเจน
ออกไซด์ (NOx) และสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ก็มีส่วนก่อให้เกิดฝุ่นประเภทน้ีได้ด้วย
เชน่ กนั

ภาพที่ 2.2 แสดงขนาดของ PM 2.5

9

2.5 คา่ AQI และค่าฝุ่น PM 2.5
ค่า AQI และค่าฝนุ่ PM 2.5 แตกตา่ งกนั อย่างไร ? ทางกรมควบคมุ มลพิษ (Pollution

Control Department) ไดท้ ำการกำหนดคา่ AQI (Air Qulity Index) หรือคา่ ดชั นีคุณภาพอากาศ
เอาไว้ทั้งหมด 6 ระดบั ดังน้ี

ตารางท่ี 2.2 แสดงค่า AQI ผลกระทบต่อสุขภาพ ผลกระทบต่อสขุ ภาพ
คา่ AQI คุณภาพ (บุคคลทว่ั ไป) (ผู้มีปัญหาสุขภาพ)
อากาศ -
0-50 ดี - -
51-100 ปานกลาง ลดระยะเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง
100-150 แย่ ลดระยะเวลาการทำกจิ กรรมกลางแจง้ หลกี เลี่ยงการทำกิจกรรมกลางแจง้

151-200 แย่มาก หลีกเลยี่ งการทำกจิ กรรมกลางแจง้ เปน็ เวลานาน
เป็นเวลานาน หลกี เลยี่ งการทำกจิ กรรมกลางแจง้
201-300 อนั ตราย
หลกี เลย่ี งการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หลกี เลี่ยงการทำกิจกรรมกลางแจ้ง
ทุกรูปแบบ

300 ขน้ึ ไป อันตรายเป็น หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หลกี เลย่ี งการทำกจิ กรรมกลางแจง้
ทุกรปู แบบ
อยา่ งมาก ทกุ รูปแบบ

แต่ค่า AQI นไ้ี ม่ได้ตรวจวัดเฉพาะแคฝ่ ุ่น PM 2.5 เท่านั้น ยังรวมปรมิ าณฝุ่น PM 10 และ
ก๊าซที่เป็นมลพิษในอากาศอย่าง โอโซน (O3) คาร์บอนมอนออกไซด์ (CO) ไนโตรเจนไดออกไซด์
(NO2) และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) รว่ มด้วย จงึ ทำใหป้ รมิ าณคา่ AQI กับค่าฝุ่น PM 2.5 ในอากาศ
ที่เป็นอันตรายต่อมนุษยน์ ้ันมีความแตกต่างกนั ค่อนขา้ งมาก

10

ภาพท่ี 2.3 แสดงปรมิ าณของ PM 2.5 ในอากาศ
2.5.1 ผลกระทบ และ อันตรายท่ีเกิดขึน้ จากฝ่นุ PM 2.5
อนุภาคของฝุ่น PM 2.5 นั้นเป็น อันตรายต่อการใช้ชีวิต ไม่ว่าจะเป็น อาการเคืองตา คันคอ คัดจมูก
ไอ จาม หรือบางคนอาจเกิดอาการ “เลือดออกในโพรงจมูก” หรือเลือดกำเดาไหลจากการได้รับฝุ่น
ละอองเข้าไปเป็นจำนวนมากในระยะเวลาส้ันๆและหากได้รับฝุ่นละอองติดต่อกันเป็นเวลานานก็เพ่ิม
ความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง (โดยเฉพาะมะเร็งปอด) โรคหัวใจและหลอดเลือด รวมทั้งอาจเป็น
สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคเก่ียวกับทางเดินหายใจอ่ืน ๆ ตามมาได้ง่ายส่วน ผู้ท่ีมีปัญหาสุขภาพ และมีโรค
ประจำตัวอย่าง โรคมะเร็งที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง (COPD - Chronic
Obstuctive Pilmonary Diease) โรคภูมิแพ้เกสรดอกไม้ โรคหัวใจและหลอดเลือด การเสื่อม
สมรรถภาพทางเพศ โรคหอบหืด หรือผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ การได้รับฝุ่นละออง
ในอากาศก็จะไปเพ่มิ ความรนุ แรงของอาการป่วยมากขึ้นและเพิ่มความเสี่ยงในการเสียชวี ิตตามไปด้วย
เช่นกัน รวมท้ังอาจเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงท่ีทำให้เกิดโรคทางจิตเวชอย่างโรคซึมเศร้า โรคไบโพลาร์
โรคทางบุคลิกภาพ (Personality Disorder) โรคจิตเภท (Schizophrenia) และการได้รับฝุ่นละออง
ต้ังแต่อายุยังน้อยก็อาจส่งผลต่อพัฒนาการของเด็กจนทำให้เกิดภาวะสมาธิส้ัน (ADHD) และ
ภาวะการปรบั ตวั ผดิ ปกตใิ นเดก็ ได้

11

ภาพที่ 2.4 แสดงคา่ PM 2.5 ทอ่ี ันตรายต่อมนุษย์
2.6 วิธีการหลีกเลี่ยง และ ปอ้ งกันฝนุ่ PM 2.5

ฝ่นุ PM 2.5 นั้นดูเหมอื นจะเปน็ ส่ิงทีห่ ลีกเลี่ยงได้ยากเน่อื งจากมันลอยปะปนอยู่ในอากาศ
ท่ีเราใช้หายใจในทุก ๆ วัน และถึงแม้ว่าในตอนนี้เราจะสวมหน้ากากอนามัยเพ่ือป้องกันตนเองจาก
เช้ือไวรัส COVID-19 ท่ีกลับมาระบาดหนกั อกี ครง้ั หน่ึงแล้ว แตห่ น้ากากอนามัยท่ีเราสวมใส่กันทุกวันน้ี
อย่างหน้ากากอนามัยแบบทั่วไป (Face Mask) หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ (Surgical Face
Mask) และหน้ากากผ้า (Fabric Face Mask) ก็ไม่สามารถป้องกันฝุ่นละอองที่มีอนุภาคขนาดเล็ก
อย่างฝุ่น PM 2.5 ได้อยู่ดีสำหรับหน้ากากที่สามารถป้องกันฝุ่น PM 2.5 ได้น้ันจะต้องเป็นหน้ากาก
ท่ีมีลักษณะแนบสนิทไปกบั ใบหน้าและมปี ระสิทธิภาพในการป้องกันฝุน่ ละอองและสสารที่มีขนาดเล็ก
กว่า 0.3 ไมครอนได้อย่างหน้ากากชนิด N-95 ขึ้นไป ท่ีผ่านมาตรฐานการรับรองจาก NIOSH
(สถาบันอาชีวอนามัยและความปลอดภัยแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา) โดยสามารถแบ่งประเภทของ
หน้ากากได้ตามประสิทธิภาพการกรอง (95.99% และ 99.97%) และชนิดของไส้กรอง N (ไส้กรอกท่ี
ไมท่ นตอ่ น้ำมนั ) R (ไส้กรองทีท่ นตอ่ น้ำมนั ) และ P (ไสก้ รองทใ่ี ชเ้ มื่อมนี ้ำมนั หรือไมม่ ีนำ้ มันกไ็ ด้)

12

ภาพที่ 2.5 แสดงประเภทของหนา้ กากอานามัย
แต่หน้ากากอนามัยชนิดท่ีกล่าวมาข้างต้นน้ันเป็นหน้ากากสำหรับสวมใส่ในระยะสั้น
(เช่น การทำงานร่วมกับสารเคมี หรือตรวจหาเชื้อ) เน่ืองจากเมื่อใส่ติดต่อกันนาน ๆ จะทำให้รู้สึก
หายใจลำบาก ดังน้ันบริษัทต่าง ๆ จึงได้ผลิต หน้ากากที่มีความสามารถในการกรองฝุ่นละออง
PM 2.5 สำหรับใส่ในชีวิตประจำวันออกมา เช่น หน้ากากอนามัยแบบ 3D หน้ากากที่มีฟิลเตอร์กรอง
ฝุ่น PM 2.5 หรอื หน้ากากรนุ่ พดั ลมทีช่ ว่ ยใหห้ ายใจไดส้ ะดวกมากขนึ้ ออกมาใหเ้ ลือกใช้กนั อีกดว้ ย

ภาพที่ 2.6 แสดงหนา้ กากอานามยั แบบพัดลม

13

โดยเคร่ืองฟอกอากาศนี้จะมีไส้กรอง หรือแผ่นกรองอากาศ HEPA (High Efficiency
Particulate Air Filter) ที่ทำหน้าที่ดักจับสสารและฝุ่นละอองท่ีมีอนุภาคขนาดเล็กต้ังแต่ 0.1 - 0.3
ไมครอน เข้าไปในเคร่ืองก่อนจะทำการฟอกและปล่อยอากาศท่ีผ่านการกรองแล้วออกมา ทำให้ใน
พ้ืนท่ีท่ีใช้งานเคร่ืองฟอกอากาศมีจำนวนฝุ่นในอากาศท่ีน้อยกว่า แต่ผู้ใช้ก็ต้องเลือกใช้งานเคร่ืองฟอก
อากาศทมี่ ขี นาดเหมาะสมกับพนื้ ทภ่ี ายในห้องเพ่ือประสทิ ธภิ าพในการฟอกอากาศทีด่ ีด้วยเช่นกนั

ภาพท่ี 2.7 หลักการทำงานของเคร่ืองฟอกอากาศ
2.7 ความรู้เกี่ยวกับ Line Notify

Line Notify คือ บริการที่ทาง Line ไดเ้ ตรยี มไว้ให้ในรปู แบบของ API ให้กบั เหล่า
นักพฒั นาน้นั สามารถนำไปใชต้ อ่ ยอด พัฒนาโปรเจค ทม่ี คี วามต้องการส่งขอ้ ความในการแจ้งเตือนเขา้
ไปยัง กลมุ่ หรอื บญั ชสี ว่ นตวั ของเราได้

ภาพที่ 2.8 แสดงภาพ Line Notify

14

2.7.1 วิธีการลงทะเบยี น Line Notify
อันดบั แรก เราเพ่ิมเป็นเพ่อื นกับเจ้า Line Notify ก่อน ดว้ ยการคน้ หาเพื่อนช่ือ Line

Notify แล้วแอดเปน็ เพื่อน

ภาพที่ 2.9 แสดงการแอดเพ่ือนกบั Line Notify
2.7.2 หลังจากนั้น ให้ไปท่ี https://notify-bot.line.me/th/ แล้วเขา้ ส่รู ะบบ

ภาพท่ี 2.10 แสดงการเขา้ สู่ระบบ Line Notify

15

ให้คลกิ๊ เลอื กเมนดู ้านขวาบนตรงชื่อ account ของเรา และเลือกท่หี นา้ ของฉันหลังจากที่
คล๊ิกเลอื กท่หี น้าของฉันแลว้ ให้สงั เกตวุ า่ จะมีปุ่มให้เลอื กทมี่ ีคำวา่ “ออก Token”

ภาพท่ี 2.11 แสดงรับการแจ้งเตือน Line Notify
ในการออก Token คือ Line Notify จะทำการ Generate ขอ้ ความออกมา ตัวอย่างเช่น
8zH7u77FjpjrUZxv28qIybQr7CB0PqwMrfx8yLnZjjl ให้เราคัดลอกข้อความนเ้ี ก็บเอาไว้ เพื่อใชใ้ น
การส่งข้อมูลการสร้างการแจ้งเตือนเราสามารถเลือกได้ว่าจะส่งข้อมูลให้กับตัวเราเอง หรือเข้าไปยัง
กลุ่ม หากเลือกส่งให้ตวั เองก็เพียงแค่คลิ๊กที่รูปของเราแล้วกด ออก Token แต่หากต้องการส่งเขากลุ่ม
ส่งิ ทตี่ อ้ งทำกอ่ นหรือ Add Line Notify เขา้ ไปยังกลุ่มทเ่ี ราต้องการ

16

ภาพท่ี 2.12 แสดงการรับการแจง้ เตอื นกับตัวเอง หรือแบบกลุ่ม
หลังจากนัน้ ในหนา้ ออก Tokenเพียงแคเ่ ลือกกลุ่มท่เี รา Add Line Notify เข้าไปแลว้ กด
ออก Token เทา่ นนั้

ภาพที่ 2.13 แสดงการออก Token

17

หลงั จากกดออก Token จะแสดงขอ้ ความใหเ้ ราทำการ คัดลอกเกบ็ ไว้

ภาพท่ี 2.14 แสดง Personal Access Token
2.8 ความรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีและเซนเซอร์

2.8.1 เทคโนโลยี หมายถึง ส่ิงท่ีมนุษย์พัฒนาข้ึน เพ่ือช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหา
ตา่ ง ๆ เขน่ อุปกรณ์ เคร่ืองมอื เครอ่ื งจักร วสั ดุ หรอื ส่งิ ของทจ่ี บั ตอ้ งได้ เช่น กระบวนการต่าง ๆ

เทคโนโลยี เป็นการประยุกต์ นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ แ ละก่อให้
เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบตั ิ แก่มวลมนุษย์กลา่ วคือเทคโนโลยีเป็นการนำเอาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์
มาใช้ในการประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส่วนท่ีเป็นข้อแตกต่างอย่างหนึ่งของ
เทคโนโลยี กับวิทยาศาสตร์ คือเทคโนโลยีจะข้ึนอยู่กับปัจจัย ทางเศรษฐกิจเป็นสินค้ามีการซ้ือขาย
ส่วนความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นสมบัติส่วนรวมของ ชาวโลกมีการเผยแพร่โดยไม่มีการซื้อขายแต่
อย่างใดกล่าวโดยสรปุ คอื เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดข้นึ โดยมคี วามร้ทู างวิทยาศาสตรเ์ ปน็ ฐานรองรบั

ลกั ษณะของเทคโนโลยี
สามารถจำแนกออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ (Heinich Molenda and Russell. 1993
: 449)
1. เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ ( process) เป็นการใช้อย่างเป็นระบบของ
วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรห์ รอื
ความรู้ต่าง ๆ ที่ได้รวบรวมไว้ เพื่อนำไปสู่ผลในทางปฏิบัติ โดยเช่ือว่าเป็นกระบวนการท่ีเช่ือถือ
ไดแ้ ละนำไปส่กู ารแกป้ ญั หาต่าง ๆ

18

2. เทคโนโลยีในลักษณะของผลผลิต (product) หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์ท่ีเป็นผลมา
จากการใชก้ ระบวนการทางเทคโนโลยี

3. เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (process and product)
เช่น ระบบคอมพวิ เตอร์ซ่ึงมีการทำงานเปน็ ปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ งตัวเคร่ืองกบั โปรแกรม

เทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ที่สำคัญท่ีสุดของเทคโนโลยีชีวภาพในอนาคต คือ การพัฒนาพันธ์ุพืชและสัตว์
เพ่ือเพ่ิมผลผลิตอาหารเลี้ยงชาวโลก การปฏิวัติทางเทคโนโลยีชีวภาพที่กำลังจะเกิดขึ้น จะมี
ความสำคัญตอ่ มนุษยชาติไม่นอ้ ยไปกว่าการปฏวิ ตั ทิ างเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในขณะที่ประเทศไทยกำลังซวนเซอันเน่ืองจากวิกฤติเศรษฐกิจ หลายคนหันมาคิดได้ว่า
เราตอ้ งหาทางต้ังตัวใหม่ ผลิตสินค้าและ เปิดบรกิ ารใหม่ ๆ แทนที่จะอาศัยวัตถุดบิ และค่าแรงราคาถูก
ซึ่งเคยเป็นข้อได้เปรียบของไทย แนวทางใหม่คงต้องเป็นการใช้สมอง ใช้ความสามารถที่เรามีอยู่บ้าง
มาเพ่ิมพูนและผสมผสาน กับเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อผลิตสินค้า หรือ เสนอบริการท่ีสามารถ แข่งขันใน
ตลาดโลกได้
2.8.2 Arduino คืออะไร Arduino คือ

โครงการท่ีนำชิปไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูลต่างๆ มาใช้ร่วมกันในภาษา C
ซึ่งภาษา C น้ีเป็นลักษณะเฉพาะ คือมีการเขียนไลบารี่ของ Arduino ข้ึนมาเพ่ือให้การสั่งงาน
ไมโครคอนโทรลเลอร์ที่แตกต่างกัน สามารถใช้งานโค้ดตัวเดียวกันได้ โดยตัวโครงการได้ออกบอร์ด
ทดลองมาหลายๆรูปแบบ เพ่ือใช้งานกับ IDE ของตนเอง สาเหตุหลักท่ีทำให้ Arduino เป็นนิยมมาก
เป็นเพราะซอฟแวร์ที่ใช้งานร่วมกันสามารถโหลดได้ฟรี และตัวบอร์ดทดลองยังถูกแจกแปลน ทำให้
ผู้ผลิตจีนนำไปผลิตและขายออกตลาดมาในราคาท่ีถูกมาก ๆ โดยบอร์ดที่ถูกท่ีสุดในตอนนี้คือบอร์ด
Arduino ที่มีราคาเพียง 120 – 150 บาทเทา่ น้ัน

2.8.3 Arduino ตา่ งอะไรกบั AVR แบบปกติ
จากท่ีได้กล่าวไปแล้ว Auduino น้ันได้ใช้ชิป AVR เป็นหลักใน Auduino แทบรุ่น

สาเหตุมาจากไมโครคอนโทรเลอรข์ องตะกูล AVR นัน้ มคี วามทันสมัย ในชิปในบางตัวสามารถเชื่อมต่อ
ผ่าน USB ได้โดยตรง สามารถใช้กับคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี และในไมโครคอนโทรเลอร์
ตะกูล AVR ยังมีส่วนของโปรแกรมพิเศษที่เรียกว่า Bootloader อยู่ในระดับล่างกว่าส่วนโปรแกรม
ปกติ ซึ่งจะเป็นส่วนโปรแกรมทีจ่ ะถกู เรียกข้นึ มาก่อนการเรียกโปรแกรมปกติ ทำให้สามารถเขยี นส่ังให้
ทำงานใดๆก็ได้ ก่อนการเรียกโปรแกรมปกติ ทำให้ Arduino น้ันอาศัยส่วนโปรแกรมแกรมพิเศษนี้ใน
การทำให้ชิปสามารถโปรแกรมผ่านพอร์ตอนุกรมชนิด UART ได้ จึงทำให้การเขียนโปรแกรมลงไปใน
ชิปใช้เพียง USB to UART ก็เพียงพอแล้ว แต่การโปรแกรมด้วยการใช้โปรโตคอล UART ก็มีข้อเสีย
ตรงทต่ี ้องใช้เวลาในการบตู เข้าโปรแกรมปกตปิ ระมาณ 1 – 2 วนิ าที

19

ภาพท่ี 2.15 แสดง Arduino ตา่ งอะไรกับ AVR
2.8.4 Arduino IDE คอื

เป็นเคร่ืองมือสำหรับเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Arduino โดยภาษา Arduino มี
การเขียนคล้ายกับภาษาซีถ้ามีพ้ืนฐานความเข้าใจภาษาซีก็สามารถเขียน Arduino ได้ แต่ถ้าใครไม่
เคยเขียนภาษาซีก็สามารถเขียน Arduino ได้เช่นกันเพราะใน Arduino มีเมนู Examples เป็นการ
สอนการเขียนเบื้องตน้

ภาพท่ี 2.16 แสดงการสอนเขียนเบื้องตน้

20

2.8.5 หลักการใชบ้ อรด์ Arduino
หลักการใช้งานของบอร์ด Arduino จะเป็นการ INPUT/OUTPUT ค่าผ่านทาง

Port Analog และ Digitalการ INPUT ข้อมลู เขา้ มาเช่น การรบั ค่าเซนเซอร์จบั สขี าวดำ
การวัดอุณหภูมิหรือค่าความชื่นจาก DHT11การ OUTPUT ข้อมูลเช่น การควบคุมไฟ

LED เปดิ /ปิด การควบคุมมอเตอร์และอ่นื ๆ
2.8.6 วธิ ีการใช้งาน Arduino

ภาพที่ 2.17 แสดงหลกั การทำงานของ Arduino
2.8.7 เลอื กชนิดของบอรด์ ท่ีจะใช้ ในรูปจะใช้บอร์ด Arduino Mega

ภาพที่ 2.18 แสดงเลือกชนดิ board

21

2.8.8 เลือก Port ทเ่ี ช่ือมต่อกบั บอรด์ Arduino

ภาพที่ 2.19 เลือก Port ที่ตอ่ กบั คอมพิวเตอร์
2.8.9 กดลงโปรแกรมตรงลกู ศร

ภาพท่ี 2.20 แสดงการลงโปรแกรม

22

2.8.10 ถ้าโปรแกรมไม่ ERROR จะขนึ้ ว่า Done compiling

ภาพท่ี 2.21 แสดงลงโปรแกรมสำเรจ็

2.8.11 เซน็ เซอรว์ ัดฝุ่น PM2.5 PMS3003
PMS3003 pm2.5 Laser Dust Sensor เซนเซอร์ตรวจจับฝุ่น pm 2.5

แบบเลยเซอร์PMS3003 เซนเซอร์ตรวจจับฝุ่น pm2.5 ใช้พัดลมดูดอากาศเข้าไปในตัวเซนเซอร์
แล้วตรวจจับฝุ่นด้วยแสงลเซอร์pm2.5 คือฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน คือ มลพิษ
ฝุ่นท่ีมีขนาดเล็กกว่า 1 ใน 25 ส่วนของเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นผมมนุษย์กล่าวคือเล็กจนสามารถ
เล็ดลอดขนจมูกเขา้สู่ร่างกายได้และมีขนาดเพียงคร่ึงหน่ึงของขนาดเม็ดเลือด (5 ไมครอน) ดังนั้น
ฝุ่นพิษจึงสามารถเข้าสู่เส้นเลือดฝอยและกระจายไปตามอวยัวะได้ฝุ่นมีลกัษณะที่ขรุขระคล้ายสาลี
ฝุ่น เป็นพาหะนา สารอ่ืนเข้ามาด้วย เช่น แคดเมียม ปรอท โลหะหนัก ไฮโดรคาร์บอน และ
สารก่อมะเร็งจำนวนมาก

ภาพท่ี 2.25 แสดงภาพเซนเซอร์ PMS3003

23

2.8.12 ESP8266
ESP8266 คือโมดลู WiFi จากจีน ที่มคี วามพิเศษตรงที่ตวั มันสามารถโปรแกรม

ลงไปได้ ทำให้สามารถนำไปใช้งานแทนไมโครคอนโทรลเลอร์ได้เลย และมีพื้นท่ีโปรแกรมที่มากถึง
4MB ทำให้มีพ้ืนที่เหลือมากในการเขียนโปรแกรมลงไป ESP8266 เป็นช่ือของชิปไอซีบนบอร์ดของ
โมดูล ซึ่งไอซี ESP8266 ไม่มีพ้ืนท่ีโปรแกรม (flash memory) ในตัว ทำให้ต้องใช้ไอซีภายนอก
(external flash memory) ในการเก็บโปรแกรม ที่ใช้การเชื่อมต่อผา่ นโปรโตคอล SPI ซง่ึ สาเหตุนเ้ี อง
ทำให้โมดูล ESP8266 มีพ้ืนที่โปรแกรมมากกว่าไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์เบอร์อื่น ๆ ESP8266
ทำงานที่แรงดันไฟฟ้า 3.3V - 3.6V การนำไปใช้งานร่วมกับเซ็นเซอร์อื่น ๆ ท่ีใช้แรงดัน 5V ต้องใช้
วงจรแบ่งแรงดนั มาช่วย เพื่อไม่ให้โมดูลพังเสียหาย กระแสทีโ่ มดลู ใช้งานสูงสุดคือ 200mA ความถ่ีคลิ
สตอล 40MHz ทำให้เม่ือนำไปใช้งานอุปกรณ์ที่ทำงานรวดเร็วตามความถี่ เช่น LCD ทำให้การ
แสดงผลข้อมูลรวดเร็วกว่าไมโครคอนโทรลเลอร์ยอดนยิ ม Arduino มาก

ภาพท่ี 2.22 แสดงภาพ ESP8266

24

ขาของโมดูล ESP8266 แบ่งได้ดงั นี้

• VCC เปน็ ขาสำหรับจ่ายไปเข้าเพื่อใหโ้ มดลู ทำงานได้ ซึ่งแรงดนั ท่ีใช้งานได้คือ 3.3 -3.6VGND
• Reset และ CH_PD (หรือ EN) เป็นขาที่ต้องต่อเข้าไฟ + เพ่ือให้โมดูลสามารถทำงานได้ ท้ัง

2 ขาน้ีสามารถนำมาใช้รีเซ็ตโมดูลได้เหมือนกัน แตกต่างตรงที่ขา Reset สามารถลอยไว้ได้
แต่ขา CH_PD (หรือ EN) จำเป็นต้องต่อเข้าไป + เท่านั้น เม่ือขาน้ีไม่ต่อเข้าไฟ + โมดูลจะไม่
ทำงานทันที
• GPIO เป็นขาดจิ ิตอลอินพตุ / เอาต์พุต ทำงานท่แี รงดัน 3.3V
• GPIO15 เป็นขาทต่ี ้องตอ่ ลง GND เท่านั้น เพ่อื ใหโ้ มดูลทำงานได้
• GPIO0 เป็นขาทำหรับการเลือกโหมดทำงาน หากนำขาน้ีลง GND จะเข้าโหมดโปรแกรม
หากลอยไว้ หรือนำเข้าไฟ + จะเข้าโหมดการทำงานปกติ
• ADC เป็นขาอนาล็อกอินพุต รับแรงดันได้สูงสุดท่ี 1V ขนาด 10 บิต การนำไปใช้งานกับ
แรงดันทีส่ งู กวา่ ต้องใชว้ งจรแบ่งแรงดันเขา้ ชว่ ย

บทท่ี 3
วธิ ีการดำเนินงานโครงการ

บทท่ี 3
วธิ ีการดำเนนิ งานโครงการ

การดำเนินโครงการอุปกรณ์วัดค่า PM 2.5 ด้วยเซนเซอร์ Keyes Studio โดยมีการแจ้งเตือน
ผา่ น Line Notify มรี ายละเอยี ดในการดำเนนิ งานโครงการ ดงั น้ี

3.1 การศึกษาข้อมลู เบ้อื งตน้
3.2 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
3.3 ขัน้ ตอนการดำเนินงาน
3.4 เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
3.5 ข้ันตอนการดำเนนิ การและเกบ็ รวบรวมข้อมลู
3.6 พิจารณาจากคะแนนตามเกณฑ์
3.7 สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู

3.1 การศึกษาข้อมลู เบ้ืองต้น
3.1.1 หาขอ้ มลู สว่ นทส่ี ำคัญและนา่ สนใจที่จะใหค้ วามรู้เร่ืองปัญหาฝ่นุ PM 2.5
3.1.2 ค้นควา้ หาข้อมูลเก่ยี วกับแนวทางปอ้ งกัน
3.1.3 สำรวจกลุ่มเป้าหมายและจัดทำโครงร่างแบบสอบถามจะเป็นการ ทำแบบสอบถามความพึง

พอใจที่มีต่ออุปกรณ์วัดค่า PM 2.5 ด้วยเซนเซอร์ Keyes Studio โดยมีการแจ้งเตือนผ่าน Line
Notify เพื่อนำข้อผดิ พลาดมาปรบั ใชแ้ ละปรบั ปรงุ อปุ กรณ์ให้ดีย่ิงขน้ึ

3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
3.2.1 ประชากร คือ นักเรียน-นักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง

จำนวน 494 คน
3.2.2 กลุ่มตัวอยา่ ง คือ นักเรียน-นักศกึ ษา สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง

จำนวน 217 คน

26

ภาพที่ 3.1 แสดงตัวอย่างทฤษฎมี อแกน

ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด
ประชากร ตวั อย่าง ประชากร ตัวอยา่ ง ประชากร ตวั อยา่ ง ประชากร ตวั อยา่ ง ประชากร ตัวอยา่ ง

10 10 100 80 280 162 800 260 2,800 338
15 15 110 86 290 165 850 265
20 19 120 92 300 169 900 269 3,000 341
25 24 130 97 320 175 950 274
30 28 140 103 340 181 1,000 278 3,500 346
35 32 150 108 360 186 1,100 285
40 36 160 113 380 191 1,200 291 4,000 351
45 40 170 118 400 196 1,300 297 4,500 354
50 44 180 123 420 201 1,400 302 5,000 357
55 48 190 127 440 205 1,500 306 6,000 361
60 52 200 132 460 210 1,600 310
65 56 210 136 480 214 1,700 313 7,000 364
70 59 220 140 500 217 1,800 317
75 63 230 144 550 226 1,900 320 8,000 367
80 66 240 148 600 234 2,000 322
85 70 250 152 650 242 2,400 327 9,000 368
90 73 260 155 700 248 2,500 331
95 76 270 159 750 254 2,600 335 100,000 370
15,000 375
20,000 377
30,000 379

40,000 380

50,000 381

75,000 382

100,000 384

27

3.3 ขนั้ ตอนการดำเนินงาน
3.3.1 การออกแบบผงั งาน

เรมิ่ ต้น

รวบรวมข้อมูลและปญั หา

สรา้ งอปุ กรณ์

ไม่ผา่ น

นำเสนอ

ผา่ น
ทดสอบอุปกรณ์

นำเสนอ ไม่ผา่ น

ผ่าน

ติดตั้งใช้งาน

สิน้ สดุ
ภาพที่ 3.2 แสดงผังงานข้นั ตอนการทำงาน

28

3.3.2 ขน้ั ตอนการสร้างช้นิ งาน

3ภาพที่ 3.3 แสดงข้ันตอนสร้างช้ินงาน

29

3.3.3 ข้ันตอนการทำชนิ้ งาน
3.3.3.1 ใส่โค้ดใหก้ บั Arduino ESP8266 ดว้ ยโปรแกรม Arduino IDE

ภาพที่ 3.4 แสดงการใสโ่ คด้ ให้กบั ESP8266
3.3.3.2 ใส่โคด้ ให้กบั Line Notify

ภาพท่ี 3.5 แสดงการใสโ่ คด้ ใหก้ ับ Line Notify

30

3.3.3.3 อปุ กรณ์ Arduino ESP8266

ภาพท่ี 3.6 แสดงภาพอุปกรณ์ Arduino ESP8266
3.3.3.4 เซนเซอร์ Keyes Studio

ภาพท่ี 3.7 แสดงภาพเซนเซอร์ Keyes Studio

31

3.3.3.5 สาย Jumper

ภาพท่ี 3.8 แสดงภาพสาย Jumper
3.3.3.6 ตอ่ สาย Jumper เขา้ กับเซนเซอร์ Keyes Studio

ภาพที่ 3.9 แสดงการตอ่ สาย Jumper เข้ากับเซนเซอร์ Keyes Studio

32

3.3.3.7 การตอ่ สายจากเซนเซอร์ Keyes Studio เข้ากบั อุปกรณ์ ESP8266

ภาพท่ี 3.10 แสดงการต่อสายจากเซนเซอร์ Keyes Studio เข้ากบั อุปกรณ์ ESP8266

3.4 เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
3.4.1 อุปกรณ์วัดค่า PM 2.5 ด้วยเซนเซอร์ Keyes Studio โดยมีการแจ้งเตือนผ่าน Line

Notify
3.4.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศกึ ษาเชิงปริมาณ เป็นแบบสอบถามความพึงพอใจทีผ่ ู้จดั ทำโครงการ

สร้างข้นึ จำนวน 1 ฉบบั โดยยึดตามวตั ถุประสงค์และกรอบแนวคิดในการทำโครงการแบง่ ออก เปน็
3 ส่วน คือ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ของ
ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ

ส่วนท่ี 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของผูท้ ดลองใช้แบ่งเป็น 5 ระดบั
5 หมายถงึ ความพงึ พอใจระดับมากท่ีสดุ
4 หมายถงึ ความพึงพอใจระดับมาก
3 หมายถึง ความพึงพอใจระดับปานกลาง
2 หมายถึง ความพงึ พอใจระดับนอ้ ย
1 หมายถงึ ความพึงพอใจระดับน้อยท่สี ดุ

ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะการจัดทำโครงการอุปกรณ์วัดค่า PM 2.5 ด้วยเซนเซอร์ Keyes
Studio โดยมกี ารแจง้ เตอื นผา่ น Line Notify
3.4.3 การสร้างเครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลมีดังนี้

33

1) กำหนดโครงสรา้ ง เนอ้ื หาสาระและวตั ถปุ ระสงค์ของแบบสอบถามความพงึ พอใจ ให้
สอดคล้องกบั เรอื่ งทจี่ ะศึกษา

2) ศึกษาวิธีสร้างแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า สร้างแบบสอบถามความพึง
พอใจฉบับรา่ งโดยเขยี นข้อความท่สี อดคล้องกับตัวแปรท่ีศึกษาใหค้ รบถ้วนตามโครงการสร้าง 5 ระดับ
คือ ระดับมากที่สดุ ระดบั มาก ระดับปานกลาง ระดบั น้อย ระดับน้อยท่สี ุด

3) ระบุเนอ้ื หาหรอื ประเดน็ หลักทีจ่ ะถามให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ที่จะประเมนิ
4) ร่างแบบสอบถาม โครงสรา้ งแบบสอบถามอาจแบ่งเปน็ 3 ตอน คือ

• ตอนท่ี 1 ข้อมลู เบอื้ งต้น/ข้อมลู ท่ัวไป

• ตอนที่ 2 ข้อมลู หลกั เกี่ยวกบั เร่อื งท่ีจะถาม

• ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
5) ดำเนินการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจให้ครอบคลุมกับการจัดทำโครงการ
อุปกรณ์วัดค่า PM 2.5 ดว้ ยเซนเซอร์ Keyes Studio โดยมกี ารแจง้ เตือนผา่ น Line Notify
6) ตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามเบ้ืองต้นโดยให้อาจารย์ทีป่ รึกษาโครงการตรวจสอบ
พิจารณาเพื่อความเที่ยงตรงของเน้ือหาและความถูกต้องในสำนวนภาษาทีใ่ ช้เพื่อให้คำถามครอบคลุม
และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการและปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำมาจัดทำแบบสอบถาม
ความพึงพอใจฉบับสมบูรณ์เพ่ือนำมาให้อาจารยท์ ่ปี รึกษาตรวจสอบก่อนนำไปประเมินผล
7) ปรบั ปรุงแก้ไขแบบสอบถามให้สมบูรณ์ เพ่อื นำไปใช้ประเมินผลชนิ้ งาน
8) ทดลองใช้แบบสอบถามเพื่อดูความเชื่อมั่นและเพื่อประมาณเวลาที่ใช้ในการทำ
แบบสอบถามประเมนิ ชนิ้ งาน
8) จัดพิมพ์และทำคู่มือแบบสอบถาม เพื่อนำไปประเมินผลชิ้นงานตามกลุ่มตัวอย่างที่
ระบไุ ว้ขา้ งต้น

3.5 ขน้ั ตอนการดำเนนิ การและเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
3.5.1 ศึกษาและรวบรวมขอ้ มูล
3.5.2 นำเสนออปุ กรณ์วัดค่า PM 2.5
3.5.3 ทดสอบการใชง้ านอปุ กรณก์ บั สถานที่จรงิ
3.5.4 แก้ไขในส่วนที่คิดว่าไม่เป็นไปตามความต้องการ หรือต้องการแก้ไขให้มันดียิ่งขึ้น มี

ประสทิ ธิภาพมากข้นึ

34

3.6 พจิ ารณาจากคะแนนตามเกณฑ์
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามเพื่อสำรวจความพึงพอใจของนักเรียน-

นกั ศกึ ษา สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกจิ ดจิ ทิ ลั วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง
3.6.1 สรา้ งแบบสอบถามซึ่งมีมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดบั ดงั น้ี
5 หมายถึงความพึงพอใจระดับมากทส่ี ดุ
4 หมายถงึ ความพงึ พอใจระดับมาก
3 หมายถงึ ความพงึ พอใจระดับปานกลาง
2 หมายถงึ ความพงึ พอใจระดับน้อย
1 หมายถึงความพงึ พอใจระดบั นอ้ ยที่สุด

3.6.2 เกณฑ์การประเมนิ ค่าความพึงพอใจ กำหนดคา่ คะแนนออกเป็น 5 ระดบั ดังนี้
4.50 – 5.00 หมายถึง ความพงึ พอใจระดบั มากทส่ี ุด
3.50 – 4.49 หมายถงึ ความพงึ พอใจระดบั มาก
2.50 – 3.49 หมายถงึ ความพึงพอใจระดับปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถึง ความพงึ พอใจระดับนอ้ ย
0.00 – 1.49 หมายถงึ ความพึงพอใจระดบั นอ้ ยที่สุด

หมายเหตุ คะแนน 3.50 ขนึ้ ไป หรอื มากขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์

3.7 สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ในการจัดทำโครงการเรื่องอุปกรณ์วัดค่า PM 2.5 ด้วยเซนเซอร์ Keyes Studio โดยมีการแจ้ง

เตอื นผา่ น Line Notify สถิตทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลแบ่งออกไดด้ ังน้ี
3.7.1 คา่ สถติ ิรอ้ ยละ (Percentage)

สูตร = ×100



เมอื่ คอื ร้อยละ
คอื ความถ่ีที่ต้องการแปลค่าใหเ้ ป็นรอ้ ยละ
คอื จำนวนความถี่ทงั้ หมด

3.7.2 การหาคา่ เฉลย่ี ̅

สูตร = ∑



35

เมื่อ ̅ คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณติ
∑ คอื ผลบวกของข้อมูลทุกค่า
คือ จำนวนขอ้ มลู ทั้งหมด

3.7.4 การหาคา่ เฉล่ียเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D. Standard Deviation)

2

สตู ร . . = √ ∑ −(∑ )2

( −1)

เมอื่ . . คอื คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน
∑ 2 คือ ผลรวมยกกำลังสองของคะแนนทกุ จำนวน
(∑ )2 คือ ผลรวมคะแนนทุกจำนวนยกกำลังสอง
คือ จำนวนข้อมูลทง้ั หมด


36

บทที่ 4
ผลการดำเนินโครงการ

บทที่ 4
ผลการดำเนนิ โครงการ

การดำเนินโครงการคร้ังน้ีได้มีการติดตามประเมินผล ผู้ศึกษาได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและ
เสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตามลำดับ ดังน้ี

4.1 ผลการดำเนินการ
ผลการดำเนินงานของโครงการ จากการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมด
จำนวน 141 คน แยกเพศ ชาย หญงิ แสดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตารางท่ี 4.1 แสดงจำนวนของผตู้ อบแบบประเมินคิดเปน็ ร้อยละจำแนกตามเพศ

กลุ่ม เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ
1 ชาย 105 47.7
2 หญงิ 115 52.3
220 100
รวม

จากตารางที่ 4.1 จำนวนร้อยละของผุ้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ โครงการ อุปกรณ์วัด
ค่า p.m2.5 แจ้งเตือนผ่าน Line Notify เซนเซอร์ Keys Studio และส่งแบบประเมินกลับคืน ดังนี้
เพศชายจำนวน 105 คน คิดเป็นร้อยละ 47.7 ของประชากรทั้งหมด เพศหญิงจำนวน 115 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 52.3 ของประชากรท้ังหมด

แผนภมู ิแสดงเพศของผ้ตู อบแบบประเมินโครงการ

ภาพที่ 4.1 แผนภมู แิ สดงเพศของผูต้ อบแบบประเมนิ โครงการ

37

ตารางท่ี 4.2 แสดงจำนวนของผ้ตู อบแบบสอบถามคดิ เปน็ รอ้ ยละจำแนกตามอายุ

กลมุ่ อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ
1 อายุ 15-18 ปี 170 77.3
2 อายุ 19-21 ปี 40 18.2
3 อายุ 21-25 ปี 10 4.5
220 100
รวม

จากตารางที่ 4.2 จำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกอายุ ได้แก่ อายุ 15-18 ปี
จำนวน 170 คน คิดเป็นร้อยละ 77.3 , อายุ 19-21 ปี จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 18.2 อายุ 21-
25 ปี จำนวน 10 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 4.5

แผนภมู ิแสดงอายขุ องผู้ตอบแบบประเมนิ โครงการ

ภาพที่ 4.2 แผนภมู แิ สดงอายุของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ


Click to View FlipBook Version