The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่มีศักยภาพในการเป็นไม้ดอก-ไม้ประดับและไม้ให้ร่มเงา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by man.pro.dmcr, 2021-08-05 11:13:16

พันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่มีศักยภาพในการเป็นไม้ดอก-ไม้ประดับและไม้ให้ร่มเงา

พันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่มีศักยภาพในการเป็นไม้ดอก-ไม้ประดับและไม้ให้ร่มเงา

Keywords: mangrove plant

กองอนรุ กั ษทรพั ยากรปาชายเลน
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

ชนดิ พันธไุ ม พันธุไมปาชายเลนที่มศี กั ยภาพในการเปน ไมด อก-ไมประดบั และไมใหร มเงา ♦ 2
ฝาดดอกขาว
ฝาดดอกแดง สารบัญ
พงั กาหัวสมุ ดอกแดง
เตยทะเล หนา
ปรงหนู 3
ปรงทะเล 5
เทียนทะเล 7
รามใหญ 9
ตนี เปด ทะเล 11
ตนี เปด ทราย 13
ลำแพน 15
สารภีทะเล 17
จิกทะเล 19
หยีทะเล 21
กะพอ 23
หูกวาง 25
นนทรี 27
มะพลับ 29
โคลงเคลง 31
33
บรรณานุกรม 35
37
39
41

พันธุไ มป า ชายเลนทีม่ ศี ักยภาพในการเปนไมด อก-ไมประดบั และไมใหรมเงา ♦ 3

ฝาดดอกขาว

ชือ่ วิทยาศาสตร : Lumnitzera racemosa Willd.
วงศ : COMBRETACEAE
ช่อื อนื่ : ขวาด (สมทุ รสาคร); กะลุง (ชุมพร); ฝาด (ภาคกลาง, ภาคใต) ; ฝาดขาว (ภาคกลาง)

ลักษณะทั่วไป ไมตนขนาดเลก็ หรือไมพุม สงู 8 เมตร เปลือกนอกขรุขระหรือแตกลอนเปนแผ นเล็กๆ
สนี ้ำตาลแดง มรี ากหายใจไมเดนชัด

นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ พบบอ ยตามพ้นื ท่รี าบทีน่ ำ้ ทะเลทว มถงึ บางครงั้ พบข้นึ เปนกลุมในพ้นื ท่ี
เปดโลง มกั ขน้ึ ไดดีในทรี่ ะบายน้ำดีหรือเปนดินทราย พบการกระจายพันธุในแอฟรกิ าตะวันออก มาดากัสการ
เอเชียเขตรอ น เกาะกวิ ริว ตอนเหนอื ของออสเตรเลยี ตลอดถึงหมูเกาะในมหาสมทุ รแปซิฟก สำหรบั การจำแนก
หมวดหมูใน IUCN Red List นั้น อยใู นสถานภาพมีความเส่ียงนอ ย (LC)

ใบ เดีย่ ว เรยี งเวียนสลับ กระจดั กระจายตลอดกิ่ง แผน ใบรปู ใบหอกกลบั รูปรีแกมรูปไขก ลับถงึ รปู ขอบขนาน
ขนาด 1-3x3-9 เซนตเิ มตร โคนใบสอบเปน รูปลม่ิ แคบ ขอบใบเรยี บถงึ หยักมนเลก็ นอย ปลายใบกลมถึงเวาต้ืน
ดา นบนมตี อมนูนไมเดน และดา นลา งเปนขีดรอยแผลไมช ัดเจน เสนใบมองเหน็ ไมชัดเจน เน้อื ใบอวบนำ้ ผิวใบเกลย้ี ง
แตใ บออ นบางครั้งมขี นปกคลุม ดานบนสีขาวเร่อื ดานลางสีซดี กวา กา นใบสน้ั สเี ขยี วออ น ดา นบนนนู เลก็ นอ ย

พันธุไมปาชายเลนทม่ี ีศักยภาพในการเปน ไมด อก-ไมประดับและไมใหร ม เงา ♦ 4

ดอก คลา ยชอ เชิงลดไรก าน ออกตามงามใบใกลป ลายกิ่ง ยาว 2-3 เซนตเิ มตร แตล ะชอ มีดอกยอยขนาดเลก็
สีขาว 5-15 ดอก ไมม ีกานดอก สมบรู ณเพศ สมมาตรตามรศั มี ฐานรองดอกและหลอดกลีบเลี้ยงรปู ทอแบนดา นขา ง
และแคบลงทางสวนปลาย ยาว 0.6-1 เซนติเมตร มีใบประดบั ยอยขนาดเลก็ รูปไขกวาง 1 คู ติดอยูเหนือ
จดุ กง่ึ กลางเล็กนอ ย กลบี เลี้ยง 5 กลีบ สนั้ มาก รูปไขก วา ง ปลายกลีบเรยี วแหลม กลบี ดอก 5 กลีบ รูปรีแคบถงึ รปู
ใบหอก ยาว 0.3-0.5 เซนตเิ มตร แตล ะกลบี แยกจากกัน เกสรเพศผู 10 อนั ยาวไลเล่ยี กับกลบี ดอก เรียงซอนกัน
เปน สองวง ภายในมไี ขอ อน 2-5 เมลด็ หอยหวั ลง ออกดอกเดอื นสิงหาคม-มนี าคม

ผล คลายผลเมล็ดเดียวแข็ง แบน รูปรี ขนาด 0.3-0.5x1-1.4 เซนติเมตร ปลายผลยังคงมีกลบี เล้ยี งตดิ อยู
ผิวผลเกลยี้ งหรอื มขี นละเอยี ดส้นั นุม เปลอื กเปนคอรก หนา มี 1 เมล็ด ออกผลเดอื นสงิ หาคม-มนี าคม

พันธไุ มปา ชายเลนทม่ี ศี ักยภาพในการเปน ไมด อก-ไมประดับและไมใ หรมเงา ♦ 5

ฝาดดอกแดง

ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Lumnitzera littorea (Jack) Voigt
วงศ : COMBRETACEAE
ช่อื อืน่ : ตำเสาทะเล (พงั งา, กระบ,่ี ตรงั ); ฝาดแดง (ภาคกลาง, ภาคใต)

ลกั ษณะทว่ั ไป ไมตนขนาดกลางถึงใหญ สูงถงึ 25 เมตร เรือนยอดแผกวางไมสมมาตร เปลือกนอก
แตกเปน รอ งลึกตามยาว สนี ้ำตาลคล้ำ เปลือกในสแี ดงเขม หรอื สสี ม กิง่ ออ นสแี ดงเรอ่ื มีรากหายใจคลา ยรปู หัวเขา

นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพนั ธุ พบขน้ึ ตามขอบปา ชายเลนที่เปดโลง มกั ข้ึนเปนกลุมบริเวณปากแมน ำ้ ทม่ี ี
ดินเลนแขง็ หรอื เปนทราย พบการกระจายพันธุในทวปี เอเชียเขตรอ น ตอนเหนือของออสเตรเลีย ตลอดถึงหมูเกาะ
ในมหาสมุทรแปซฟิ ก สำหรบั การจำแนกหมวดหมูใน IUCN Red List น้ัน อยใู นสถานภาพมคี วามเสยี่ งนอ ย (LC)

ใบ เดย่ี ว เรยี งเวียนสลบั เปน กระจกุ ตามปลายก่ิง แผนใบรปู ใบหอกกลบั รูปรีแกมรูปไขกลับถงึ รูปขอบขนาน
ขนาด 1-3x3-9 เซนติเมตร โคนใบสอบเปน รูปลม่ิ ขอบใบเรียบถงึ หยกั มนเลก็ นอ ย มีตอ มนนู ขนาดเล็กตามรอยหยกั
ปลายใบกลมถงึ เวา ตน้ื ๆ ดา นบนมีตอ มนนู ขนาดเล็กและดา นลางเปนขีดรอยแผลชัดเจน เสน ใบมองเหน็ ไมช ัดเจน
เนอ้ื ใบอวบน้ำ ผวิ ใบเกลย้ี งท้งั 2 ดา น ดา นบนสีเขียวเขม ดานลางสีเขยี วออ น กา นใบสนั้ มาก ดา นบนแบนสีแดงเรื่อ

ดอก คลายชอเชิงลดไรก า น ออกตามปลายก่งิ ยาว 2-5 เซนติเมตร แตล ะชอมดี อกยอยขนาดเล็กสีขาว
5-15 ดอก ดอกยอ ยขนาดเลก็ สีแดง สมบรู ณเพศ คอนขา งสมมาตรทางดา นขา ง กานดอกสั้น ฐานรองดอกและ

พันธไุ มปาชายเลนท่มี ศี กั ยภาพในการเปน ไมดอก-ไมประดับและไมใ หร ม เงา ♦ 6

หลอดกลบี เลี้ยงรปู ทอ พองออกเล็กนอ ยและแบนดานขา ง ยาว 0.8-1.2 เซนติเมตร มักมใี บประดบั ยอย รปู ไข 1 คู
ตดิ อยูใ ตจ ุดกึง่ กลาง สวนปลายคอดเล็กนอ ยแลว ผายออกเปนแฉกกลีบรปู ไขกวาง 5 แฉก สีเขียว ขอบแฉกมีขน
กลบี ดอก 5 กลีบ แยกออกจากกนั หลดุ รว งงา ย เกสรเพศผู 10 อัน ยาวเปนสองเทา ของกลบี ดอก เรยี งซอ นเปน 2 วง
ออกดอกระหวางเดือนสิงหาคม-มนี าคม

ผล คลายผลเมลด็ เดยี วแข็ง รปู กระสวยปอ งตรงกลาง และมีสนั ตามยาว ขนาด 0.45-0.5x1.2-1.8
เซนตเิ มตร ปลายผลยงั คงมกี ลีบเลยี้ งติดอยู เปลือกเปนคอรก หนา ผวิ เกลยี้ ง ผลแกม สี ีนำ้ ตาลแดง มี 1 เมล็ด
ออกผลระหวา งเดอื นสิงหาคม-มนี าคม (ชวงเดียวกบั ฝาดดอกขาว)

พนั ธไุ มป าชายเลนทีม่ ีศกั ยภาพในการเปน ไมดอก-ไมป ระดบั และไมใ หร ม เงา ♦ 7

พังกาหวั สุมดอกแดง

ช่ือวทิ ยาศาสตร : Bruguiera gymnorrhiza (L.) Savigny.
วงศ : RHIZOPHORACEAE
ชือ่ อ่นื : ประสักดอกแดง, โกงกางหวั สมุ ดอกแดง (ภาคกลาง); พลกั (ชมุ พร)

ลักษณะท่ัวไป ไมตนขนาดใหญ สูง 20-30 เมตร เรือนยอดเปนพุมกลม ทึบ โคนตนมีพูพอนสูง
และมีชอ งอากาศขนาดใหญแ ละกระจายทั่วไป รากหายใจคลา ยหวั เขา กิง่ ออ นและกา นใบมักมีคราบขาว

นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ พบขึ้นในที่เลนแขง็ น้ำทะเลทวมถงึ เปน ครง้ั คราว นอกจากนี้ยังข้ึนตาม
รมิ ลำคลองและพ้ืนทีด่ อน ขึ้นแทรกประปรายตามหมไู มโกงกางใบใหญแ ละโกงกางใบเล็ก พบการกระจายพันธุ
ในบรเิ วณชายฝง ทะเลของประเทศเขตรอ น ตั้งแตต อนใตและตะวันออกของทวปี แอฟรกิ าถงึ เอเชีย ตอนเหนือของ
ออสเตรเลีย หมูเกาะริวกิว และหมูเกาะในมหาสมุทรแปซฟิ ก การจำแนกหมวดหมูใน IUCN Red List น้ัน
อยใู นสภาพมคี วามเสย่ี งนอ ย (LC)

ใบ เดย่ี ว เรยี งตรงขามสลับตัง้ ฉาก ออกเปนกระจกุ ทป่ี ลายกิ่ง ขนาด 4-10×8-20 เซนติเมตร แผน ใบรปู รี
ถงึ รูปขอบขนานแกมรปู รี โคนใบมนถงึ สอบเปนรูปล่มิ ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลมถึงเรียวแหลมสน้ั ๆ เสน ใบแบบ
รางแหขนนก มองเหน็ ไมชัดเจน เสนกลางใบยกตัวและขนาบขา งดว ยคราบสีขาว เสนแขนง 8-10 คู ปรากฏลาง ๆ

พันธไุ มปา ชายเลนท่มี ศี ักยภาพในการเปนไมด อก-ไมประดับและไมใ หรมเงา ♦ 8

ผวิ ใบเกลี้ยงทง้ั สองดาน ดานบนสีเขียวเขมเปน มนั ดา นลา งสีเขียวอมเหลือง เนื้อใบอวบน้ำแกมเหนยี วคลา ยแผนหนงั
กา นใบยาว 3-6 เซนติเมตร ดานบนเปน รองตื้น ๆ โคนสีแดงเรอ่ื หูใบแหลมประกบกันเปน คทู ปี่ ลายกงิ่ ยาว 4-6
เซนตเิ มตร สีแดงเรื่อ หลดุ รว งงาย

ดอก เด่ยี ว ตามงา มใบ กานดอกโคง ลงยาว 1-3 เซนตเิ มตร ดอกตูมรปู ทรงกระสวย ยาว 2.5-3.5 เซนตเิ มตร
เม่ือบานมลี ักษณะคลา ยสุม กลบี เลีย้ งสีแดงปนเขยี ว โคนกลีบเชื่อมตดิ กนั เปนหลอดรูประฆงั สวนปลายแยก
เปนแฉกแคบ ๆ ลึกลงมาประมาณคร่ึงหนึ่งของความยาวทัง้ หมด มี (10-)12-14(-16) แฉก ยาว 1.5-2 เซนติเมตร
กลบี ดอกแยกกนั (10-)12-14(-16) กลีบ รูปขอบขนานสีขาวนวลถึงสสี ม ออ น ปลายกลบี เวาลกึ ลงมาเกือบถงึ กลางกลบี
เปน 2 แฉก ปลายแหลมและกลางรอ งแฉกมีรยางคเ ปนเสน แข็ง 1 เสน ยาวไมเ กนิ ปลายแฉก ปลายแฉกมรี ยางคตดิ อยู
3-4 เสน แตละเสนยาวประมาณ 0.3 เซนตเิ มตร ขอบกลีบใกลโ คนกลบี มีขนสขี าวเปน มัน คลา ยเสน ไหมปกคลุม

ผล แบบผลมีเนื้อเมลด็ เดยี ว รูปทรงไขค ลายรปู ขา ง ยาว 2-3 เซนตเิ มตร ผวิ เรียบ หลอดจุกผลมีสันนูน
เฉพาะสว นบน เมล็ดงอกตั้งแตอ ยบู นตน ลำตน ใตใบเลีย้ งหรือ “ฝก” รูปทรงกระสวย ขนาด 1.5-2×10-25 เซนติเมตร
เปน เหลีย่ มหรอื มีสนั เล็กนอ ย โคนฝก สอบทู ฝก ออ นสเี ขยี วและเปลยี่ นเปน สนี ้ำตาลอมเขยี วเมอ่ื แก

พันธไุ มป า ชายเลนทีม่ ีศักยภาพในการเปน ไมด อก-ไมป ระดบั และไมใ หร มเงา ♦ 9

เตยทะเล

ชื่อวิทยาศาสตร : Pandanus odorifer (Forssk.) Kuntze
วงศ : PANDANACEAE
ชือ่ อนื่ : ลำเจยี ก, การะเกด (กลาง); ปาหนัน, ปาแนะ (มลาย,ู นราธวิ าส)

ลักษณะทว่ั ไป ไมต น ขนาดเลก็ มักแตกแยกกิง่ ออกเปน สองหรือสามงา ม สูง 4-8 เมตร ลำตนมีขนาด
เสน ผานศูนยกลาง 8-20 เซนติเมตร ต้ังตรงหรือเอนชยู อดขึ้น ท่ีลำตน และก่ิงมกั มีหนาม ลำตน ขาวอมนำ้ ตาลออน ๆ
มีรากคำจุนทโ่ี คนตน

พันธไุ มปาชายเลนที่มศี กั ยภาพในการเปนไมดอก-ไมป ระดบั และไมใหรมเงา ♦ 10

นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพันธุ มักข้ึนเปน กลมุ ตามแนวหลงั ปา ชายหาด ไมพ บในพืน้ ทห่ี า งจากทะเลมาก ๆ
พบการกระจายพันธใุ นทวปี เอเชยี เขตรอนและแปซฟิ ก เขตรอน สำหรับการจำแนกหมวดหมใู น IUCN Red List นน้ั
อยูในสถานภาพมีความเส่ยี งนอย (LC)

ใบ เดยี่ ว เรยี งเวียนสลบั เปน เกลยี วเกยกนั รอบตนเปน 3 แถว โคนใบเปน กาบหุม รอบลำตน แผน ใบรูปดาบ
ขอบใบสองขา งเกอื บขนานกนั ปลายใบเรยี วแหลมโคง รปู แซ ขนาดใบ 4-8x100-250 เซนติเมตร เมื่อตัดใบตามขวาง
จะไดเปน รปู ตวั “M” ใบออ นปลายใบตรงแข็ง แตเ ม่ืออายมุ ากขนึ้ ปลายใบจะหอยตกลงตั้งแตก ลางใบ ดานทอ งใบ
มีนวลเห็นไดชัด ขอบใบและเสน กลางใบดานลา งมีหนามแหลมแขง็ เน้อื ใบแข็ง หนา คลายแผน หนัง

ดอก ดอกแยกเพศอยูต า งตน กัน ดอกเพศผแู ยกแขนงเปน ชอ ยอ ยแบบชอ เชงิ ลดไรก าน ออกตามงามใบ
ยาว 30-60 เซนติเมตร มีกานชอ ดอกและใบประดับหมุ ชอดอกยอ ย ชอ ดอกยอ ยขนาดเล็ก สีนวล มีกล่ินหอม
รุนแรงและเห่ียวอยา งรวดเร็วหลงั จากบานเต็มที่ ดอกเพศเมยี ออกตามปลายยอด กา นชอ ดอกยาว 10-30 เซนติเมตร
มกี า นดอกและใบประดบั ลางสุดลกั ษณะคลายใบ ใบประดบั บนสดุ ส้นั สีเหลอื งออ น ดอกอยูช ิดตดิ กนั ชอกระจกุ แนน
ลกั ษณะเกอื บกลมถึงรปู ทรงรี

ผล แบบผลรวม รปู ทรงรหี รอื เกือบกลม ขนาด 12-20×15-30 เซนติเมตร แตล ะผลประกอบดวยผลยอ ย
แบบเมล็ดเดียว แข็ง 4-10 ผล เช่อื มตดิ กันเปนรูปลมิ่ มี 5 หรอื 6 เหล่ียม ขนาด 2-5×14-8 เซนติเมตร จำนวน
หลายกลมุ เรียงชดิ ตดิ กันแนน ปลายผลยอ ยมหี นามแหลม 1 อัน ในระยะแรก ผลมสี ขี าวอมเขียวแลว เปล่ยี นเปน
สเี หลือง เมอ่ื แกจะเปน สสี มหรอื แดง เมลด็ รูปกระสวย แตละผลยอยมี 1 เมลด็

พนั ธุไ มปาชายเลนทีม่ ศี ักยภาพในการเปน ไมด อก-ไมประดับและไมใหรม เงา ♦ 11

ปรงหนู

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Acrostichum speciosum Willd.
วงศ : PTERIDACEAE
ชอ่ื อืน่ : ปรง (ตราด)

ลกั ษณะทว่ั ไป เฟรนแตกกอ ลกั ษณะทั่วไปคลายกบั ปรงทะเล แตเ งาปกคลุมดวยเกลด็ เลก็ ๆ สีนำ้ ตาลคลำ้
ยาวประมาณ 0.8 เซนติเมตร มกั ขึน้ เปน กอเดย่ี ว ๆ พบนอ ยทข่ี ้นึ เปน กลุม

นิเวศวทิ ยาและการกระจายพนั ธุ พบขน้ึ ในพน้ื ที่น้ำกรอ ยคอ นขา งเปน ทีด่ อน มีนำ้ ทว มถงึ เปน ครั้งคราว
พบการกระจายพันธุในเขตเอเชียรอนชื้น และออสเตรเลยี สำหรบั การจำแนกหมวดหมูใน IUCN Red List น้ัน
อยใู นสถานภาพมีความเสยี่ งนอย (LC)

ใบ ประกอบแบบขนนกปลายใบค่ี ชอใบขอบขนานแกมรปู ใบหอก ขนาด 10-25×30-50 เซนติเมตร
ประกอบดวยใบยอย 5-10 คู กา นชอ ใบ ยาว 30-50 เซนติเมตร เกล้ยี ง สีเขียวถงึ สีน้ำตาล ดานบนเปนรองตื้น
ขอบใบมีหนามสน้ั ๆ ซง่ึ เกิดจากการลดรูปของใบยอ ยกระจายหา ง ๆ หนาตดั ขวางกลมุ ทอลำเลียงของกานใบคลา ย
รูปวงกลมท่มี ีจุดศนู ยก ลาง ใบยอยไมสรา งสปอร รปู ขอบขนานแกมเรียว เรียงสลับอยูตอนลางข องข อบใบ

พนั ธุไมปา ชายเลนทม่ี ศี ักยภาพในการเปนไมดอก-ไมประดบั และไมใหรม เงา ♦ 12

ขนาด 2-6×15-20 เซนตเิ มตร โคนใบรูปล่มิ ถงึ มน ไมสมมาตร ขอบใบเรียบถงึ เปนคลน่ื เล็กนอ ย ปลายใบแหลม
เปน ติง่ ส้นั เสน ใบสานกันคลายรังผึ้ง เสนกลางใบนนู เดน เนือ้ ใบหยาบ หนา คลา ยแผน หนงั ผิวเกลีย้ งทั้งสองดาน
ดา นบนสเี ขียวเขม เปน มนั ใบแหง สีนำ้ ตาลอมเขยี ว กานใบยอ ยยาวถงึ 1 เซนตเิ มตร ดา นบนราบ ใบยอยสรางสปอร
อยูเ ฉพาะตอนปลายชอใบ ลักษณะทั่วไปคลายใบที่ไมส รา งสปอร แตมขี นาดเล็กเรยี วกวา ปลายใบเรียวแหลม
อบั สปอรส นี ำ้ ตาลแดงปกคลุมทว่ั ผวิ ใบดา นลา ง ยกเวน เสนกลางใบ สปอรโ ปรงใส ไมมสี ี

พันธไุ มป าชายเลนที่มีศกั ยภาพในการเปนไมดอก-ไมประดบั และไมใหรมเงา ♦ 13

ปรงทะเล

ช่ือวิทยาศาสตร : Acrostichum aureum L.
วงศ : PTERIDACEAE
ชือ่ อื่น : ปรงทอง, ปรงไข, ปรงใหญ (ภาคกลาง); บโี ย (มลายู-สตลู )

ลกั ษณะทว่ั ไป พชื พวกเฟร น มีลำตน เปนเงาส้นั ตง้ั ตรง อยใู ตด ิน ซเู ฉพาะสวนของ ใบขึ้ นม าเป นกอ
สว นปลายของลำตนและโคนใบปกคลุมดวยเกล็ดขนาดสีน้ำตาลคลำ้ ขอบเรียบ บางใส ขนาด 1.5×4 เซนติเมตร
โคนตน มรี ากค้ำยัน หนา อวบ

นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ มักขึ้นเปนกลุมตามพ้ืนท่ปี าใชเลนดานใน ริมฝงแมน้ำลำคลอง
ใกลป ากอา ว พนื้ ทชี่ มุ แฉะ และทเ่ี ปดโลงซึง่ เคยถกู ทำลายมากอน บางคร้งั พบตามท่ีโลง ในปา พรุ พบการกระจาย
พนั ธใุ นเขตรอ นชน้ื ท่ัวโลก สำหรับการจำแนกหมวดหมใู น IUCN Red List นั้น อยใู นสถานภาพมีความเสย่ี งนอ ย (LC)

ใบ ประกอบแบบขนนกปลายค่ี ขอบใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก ขนาด 20-60×60-180 เซนติเมตร
ประกอบดวยใบยอ ย 15-30 คู กา นชอใบอวบอวน สีเขยี วโทนสีนำ้ ตาลออ นคลายฟางขา ว ผวิ เกลย้ี ง ยาว 1 เมตร
ดา นบนเปน รอ งตน้ื ปลายกา นมีหนามแข็งส้นั ๆ ซึ่งเกิดจากการลดรปู ของใบยอย หนา ตดั ขวางของกลมุ ทอ ลำเลียง
ของกานใบลักษณะคลายตวั อกั ษร “W” ใบยอ ยไมสรางสปอร รปู ขอบขนานแคบ ขนาด 4-8×30-50 เซนติเมตร
เรยี งสลับอยูตอนลา งของชอ ใบ โคนใบรปู ล่ิมถึงมนไมส มมาตร ขอบไปเรียบ บางใส ปลายใบกลมถงึ เวาบุม และมตี ง่ิ
หนามส้ัน ๆ เสน ใบสานกันคลายรงั ผง้ึ เสนกลางใบนูนเดน เนื้อใบหยาบ หนา คลา ยแผน หนัง ผวิ ใบเกลย้ี งท้ังสองดา น

พันธไุ มปาชายเลนทีม่ ีศักยภาพในการเปน ไมด อก-ไมประดับและไมใ หร ม เงา ♦ 14

ดานบนสีเขียวเขมเปนมัน ใบแหงสนี ้ำตาลอมเขียว กานใบยอยยาวถึง 2.5 เซนติเมตร ดานบนแบนราบ
ใบยอยสรา งสปอรอยูตอนปลายของชอ ใบ ลักษณะทั่วไปคลายใบทไ่ี มสรา งสปอรแตมีขนาดเล็กกวา อบั สปอรสี
น้ำตาลแดง ปกคลุมทัว่ ผวิ ใบดา นลาง สปอรโปรงใส ไมม ีสี

พันธุไมปา ชายเลนท่มี ีศักยภาพในการเปนไมด อก-ไมประดับและไมใ หรมเงา ♦ 15

เทยี นทะเล

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Pemphis acidula J. R. & G. Forst.
วงศ : LYTHRACEAE
ช่อื อื่น : เทียนเล (สุราษฎรธ าน)ี

ลกั ษณะท่วั ไป ไมตนขนาดเลก็ สงู 2-10 เมตร เรือนยอดเปน พุมแนน ทบึ เปลอื กเรียบสเี ทาถึงน้ำตาล
อายุมากขึน้ จะแตกเปนรองลกึ ตามแนวยาว แลวมวนลอ นเปน แถบ ก่งิ แตกไมเปน ระเบียบ กิ่งออ นเปนเหล่ียม
มขี นส้นั นมุ ปกคลุม

นเิ วศวิทยาและการกระจายพันธุ พบข้นึ ตามชายฝง ทะเลทเ่ี ปดโลง ดินเปนทรายระบายน้ำดี และตามหาดหนิ
พบนอยตามขอบปา ชายเลนท่ีดินเปนทรายจัด พบการกระจายพันธใุ นทวปี แอฟรกิ าตะวนั ออก เอเชียเขตรอน
ตอนเหนือของออสเตรเลยี และหมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟก รวมถงึ เกาะฮองกง ในมาเลเซยี พบเฉพาะชายฝง
ดานตะวันออกของประเทศ สำหรับการจำแนกหมวดหมูใน IUCN Red List นน้ั อยใู นสถานภาพมีความเสี่ยงนอ ย (LC)

พันธุไมปาชายเลนทมี่ ศี กั ยภาพในการเปน ไมด อก-ไมประดับและไมใหร ม เงา ♦ 16

ใบ เดีย่ ว เรยี งตรงขามสลบั ตงั้ ฉาก ใบท่ีปลายกงิ่ เรยี งชดิ กนั คลา ยกลบี กุหลาบ แผนใบรูปขอบขนาน
แกมรปู รีถึงรปู ใบหอกกลบั ขนาด 0.3-1×1-3 เซนติเมตร โคนใบสอบเปนรปู ลม่ิ ขอบใบเรยี บปลายใบมนกลม
ถึงแหลม เสน ใบแบบรางแหขนนกมองเห็นไมชัด เสนกลางใบยกตัว ผวิ ใบสีเขียวหมน มีขนนมุ ปกคลมุ ท้ังสองดาน
เนอ้ื ใบอวบน้ำ หนาประมาณ 0.2 เซนติเมตร กา นใบส้นั ยาวไมเ กนิ 0.2 เซนตเิ มตร

ดอก เดย่ี ว ออกดอกตามงามใบ พบนอยทอ่ี อกเปน คูหรือกระจุกสั้น ๆ ดอกตูมสแี ดงอมชมพู ดอกบาน
ขนาดเลก็ สีขาว เสนผา นศนู ยก ลางประมาณ 1 เซนตเิ มตร กานดอกยาว 0.5-1.5 เซนตเิ มตร กลบี เล้ียงยาว 0.3-0.7
เซนติเมตร โคนเชื่อมติดกันเปนรปู ระฆงั มีสันตามยาว 12 สัน ปลายแยกเปนแฉกหนา 6 แฉก สลับกบั รปู
สามเหล่ียมเล็ก ๆ 6 แฉก แฉกกลีบเลยี้ งจรดกนั มีขนออ นปกคลมุ หนาแนน กลีบดอก 6 กลีบ รูปไขก วางยาว 0.3-0.8
เซนติเมตร เรยี งจรดกนั ตดิ กับผนงั ดา นในของปากหลอดกลบี เล้ยี ง ขอบกลีบพบั ยน โคนกลีบคอดเปนกานส้ัน
ออกดอกเกือบตลอดป

ผล แบบผลแหง แตกแบบฝาเปด รูปทรงไขก ลับหรอื ทรงรี เสนผา นศนู ยก ลางประมาณ 0.4-0.8 เซนตเิ มตร
ตวั ผลหอหมุ ดว ยหลอดกลีบเล้ียง ปลายผลมีกานเกสรเพศเมยี ตดิ อยู ผวิ เกลีย้ ง เมลด็ แบนรูปลมิ่ แกมรูปไขกลับ
ขอบแผเปน ปกสอบไปทางดานลาง แตละผลมีเมล็ดจำนวนมาก (20-30 เมล็ด) ออกผลเกือบตลอดทง้ั ป

พนั ธไุ มปาชายเลนทม่ี ีศกั ยภาพในการเปนไมดอก-ไมป ระดบั และไมใ หรมเงา ♦ 17

รามใหญ

ช่ือวทิ ยาศาสตร : Ardisia elliptica Thunb.
วงศ : PRIMULACEAE
ชอื่ อนื่ : ลงั พสิ า (ตราด); ทุรังกาสา (ชุมพร); ปอนา (มลาย-ู นราธวิ าส)

ลักษณะทวั่ ไป ไมพ มุ แตกกิ่งต่ำ สูง 1-4 เมตร บางครง้ั อาจสูงถึง 10 เมตร ลำตนและกิง่ เรียบเกล้ียง
สนี ้ำตาลอมเทา ก่งิ ออ นมนกลม หรอื เหล่ียมเล็กนอย สแี ดงอมนำ้ ตาล

พันธไุ มป า ชายเลนที่มศี ักยภาพในการเปนไมดอก-ไมป ระดับและไมใ หร ม เงา ♦ 18

นิเวศวิทยาและการกระจายพนั ธุ พบขึน้ กระจายตามชายฝง ทะเล รมิ ฝงแมน้ำลำคลอง หรือปากแมน้ำ
แนวหลังปา ชายเลน และปา ดิบชืน้ พบการกระจายพนั ธุในบรเิ วณตอนใตข องประเทศอนิ เดีย ศรีลงั กา และเอเชีย
ตะวันออกเชยี งใต สำหรับการจำแนกหมวดหมใู น IUCN Red List น้นั ยงั ไมไดรับการประเมิน (NE)

ใบ เดี่ยว เรียงเวยี นสลบั แผน ใบรปู รี รปู ใบหอกกลบั ถึงรูปไขกลับ ขนาด 3-5.5×6-14 เซนติเมตร
โคนใบรปู ลม่ิ ขอบใบเรยี บ มจี ุดเล็ก ๆ สเี ขยี วออ นแลว เปล่ียนเปนสนี ้ำตาลเมอื่ ใบแก ปลายใบกลมทื่อถึงแหลม
ผิวใบเกลีย้ งทัง้ สองดา น มีจดุ โปรง แสงสเี ขยี วคลำ้ กระจายท่ัวแผนใบ ดานบนสเี ขียวคล้ำ ดา นลางสีเขียวนวล
เนือ้ ใบคลายแผน หนงั นุม อวบน้ำ กา นใบยาว 1-1.5 เซนตเิ มตร เสนใบแบบรา งแหขนนก เสนกลางใบยกตัว
เสน แขนง 12-14 คู เสนใบยอยสานกนั เปน รา งแห มองไมเ หน็ ชดั

ดอก แบบชอเชิงลดรปู พัดคลา ยชอ ซรี่ ม ออกตามงามใบใกลปลายกิ่ง แตละชอมี 5–8 ดอก กา นชอดอกยาว
1.5-2.5 เซนติเมตร กานดอกยอ ยเรียวยาว 1-1.5 เซนตเิ มตร ดอกตูมทรงกรวยยาว 0.5-0.7 เซนตเิ มตร ดอกบาน
รูปวงลอสีชมพู กลบี เลี้ยงโคนเชอื่ มติดกนั ปลายแยกเปน แฉกรปู ไขก วางถึงรูปมนกลม 5 แฉก เรียงบิดเวียน
ฐานวงกลบี ดอกเชือ่ มตดิ กันเปน หลอดสั้น ๆ มตี อมเล็ก ๆ หนาแนน กลบี ดอกแหลม 5 กลีบ เกสรเพศผู 5 อัน
อับเรณูรปู ใบหอก ออกดอกระหวา งเดอื นพฤษภาคม-กันยายน

ผล เปน เมล็ดเดียวแขง็ รูปกลมแปน ดา นแนวนอนยาวกวาแนวตง้ั เสนผา นศูนยก ลาง 0.6-0.8 เซนตเิ มตร
ปลายผลมีต่ิงแหลมสนั้ เน้ือผลนุม ผลสีแดงเร่ือกอ นจะเปล่ียนเปนสีดำเมือ่ สกุ มี 1 เมล็ด ออกผลระหวางเดือน
พฤษภาคม-กันยายน

พันธุไ มป า ชายเลนท่มี ีศักยภาพในการเปนไมด อก-ไมประดับและไมใ หรม เงา ♦ 19

ตีนเปด ทะเล

ชื่อวิทยาศาสตร : Cerbera odollam Gaertn.
วงศ : APOCYNACEAE
ช่อื อื่น : ตนี เปด ทะเล, ตนี เปด, ตนี เปดน้ำ (กลาง); สั่งลา (กระบี่); ตุม (กาญจนบรุ ี);

มะตะกอ (มลาย-ู นราธิวาส)

ลกั ษณะทั่วไป ไมตนขนาดเล็ก สูง 5-10 เมตร ก่ิงอวบอว น เรือนยอดโปรง มกั แตกกิง่ ตำ่ คลายไมพุม
เปลอื กนอกเรยี บสเี ทา มชี องอากาศกระจายทัว่ ไป เปลอื กชน้ั ในสเี หลอื งออ น มนี ำ้ ยางขนสีขาวตามสว นตาง ๆ

นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพนั ธุ พบขึ้นทวั่ ไปตามปา ชายเลนชั้นใน ริมฝง แมนำ้ ลำคลองทน่ี ้ำทะเลทว มถงึ
รวมถงึ คลองที่นำ้ คอ นขา งจืด พบการกระจายพันธุในประเทศศรลี ังกา อนิ เดีย เอเชยี ตะวันออกเชยี งใต ตลอดถึง
ตอนเหนือของออสเตรเลีย สำหรบั การจำแนกหมวดหมูใน IUCN RedList น้นั อยใู นสถานภาพมีความเสย่ี งนอ ย (LC)

ใบ เดย่ี ว เรยี งเวียนสลบั เปนกระจกุ ทปี่ ลายกิ่ง แผน ใบรูปหอกกลบั รปู ใบหอกกลบั แกมรปู ไขถ ึงรปู ขอบขนาน
แกมรูปไข โคนใบสอบเปน รูปลม่ิ แคบ ขนาด 4-7×15-30 เซนติเมตร ขอบใบเรียบ ปลายใบเปนตง่ิ แหลมออน
เสนใบแบบรางแหขนนก เสน กลางใบยกตวั เสน แขนง 20-30 คูเ รียงขนานกันเกอื บตั้งฉากกับ เส นกล างใบ

พันธไุ มป าชายเลนท่มี ีศกั ยภาพในการเปน ไมด อก-ไมประดับและไมใ หรมเงา ♦ 20

สวนปลายโคงงอจรดกนั เสนใบยอยสานกันเปนรางแห เนื้อใบหนาคลายแผนหนัง ใบเกลี้ยงท้ังสองดา น
ดานบนสีเขยี วคล้ำเปน มนั ดา นลา งสีซดี กวา ใบแกก อ นรว งสีสม กานใบยาว 2-3 เซนตเิ มตร

ดอก แบบชอกระจกุ ออกตามปลายยอด ชอ ดอกไมสมมาตร ดอกยอ ยสีขาวคลายดอกตีนเปดท ราย
แตกลางดอกเปนแทงสเี หลือง กา นดอกยอยยาว 1.5-4 เซนตเิ มตร ใบประดบั ยอ ยสเี ขยี วออน รูปไขห ลดุ รวงเร็ว
กลีบเลีย้ ง 5 กลีบ รปู ใบหอกแคบ สีเขยี วออ น หลุดรว งระหวา งดอกบาน กลีบดอกโคนเชอื่ มติดกันเปนหลอด
ปากแตร ยาว 1.5-2 เซนตเิ มตร กลบี ดอกยาวกวา หลอดดอกเลก็ นอ ย ออกดอกเกือบตลอดทงั้ ป

ผล แบบผลเมล็ดเดยี วแขง็ รปู ทรงคอ นขา งกลม มสี องพูตื้น ขนาด 4-7×5-8 เซนตเิ มตร ผิวเกล้ียงสเี ขียว
เปนมนั แกจัดสีเขียวอมมว งถึงมว งเขม ผนงั ผลช้ันในเปน เสน ใย เมลด็ แบน รปู ทรงไข มี 1-2 เมล็ด ออกผลเกือบ
ตลอดทั้งป

พนั ธุไมปาชายเลนทมี่ ีศกั ยภาพในการเปน ไมดอก-ไมป ระดับและไมใ หร ม เงา ♦ 21

ตีนเปด ทราย

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Cerbera manghas L.
วงศ : APOCYNACEAE
ชือ่ อน่ื : ตนี เปด ทราย (ปต ตาน)ี ; ตนี เปด เล็ก (ภาคกลาง); เทยี นหนู, เนียนหนู (สะตูล); ปงปง (พังงา);

ปากเปด (ตราด); มะตากอ (มลายู นราธวิ าส); รกั ขาว (จนั ทบรุ ี)

ลักษณะทัว่ ไป ไมต นขนาดเลก็ สูง 5-10 เมตร เรือนยอดโปรง มกั แตกกง่ิ ตำ่ คลายไมพุม กิ่งอวบอวน
เปลือกนอกเรียบสเี ทา มีชอ งอากาศกระจายท่วั ไป เปลอื กช้ันในสีเหลอื งออ น มีนำ้ ยางขนสขี าวตามสวนตา ง ๆ

นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพนั ธุ พบขึน้ ตามชายฝง ทะเลท่เี ปน ดนิ เลนปนทรายและหาดหนิ พบบางตาม
รอยตอ ของแนวหลงั ปา ชายเลนกับปา ชายหาด พบการกระจายพันธุใ นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใตตลอดถงึ ตอน
เหนอื ของออสเตรเลีย สำหรบั การจำแนกหมวดหมใู น IUCN Red List น้นั อยูในสถานภาพมีความเส่ยี งนอ ย (LC)

ใบ เดยี่ ว เรียงเวียนสลับเปน กระจุกท่ีปลายกงิ่ แผน ใบรปู หอกกลบั รูปใบหอกกลบั แกมรูปไขถ งึ รปู ขอบขนาน
แกมรปู ไข ขนาด 3-6×10-25 เซนติเมตร โคนใบสอบเขาหากา นใบเปนรปู ลมิ่ แคบ ๆ ขอบใบเรยี บ ปลายใบแหลม
เปนตง่ิ ทื่อ เสน ใบแบบรา งแหขนนก เสน กลางใบยกตวั เสนแขนง 15–25 คู โคงคลา ยคนั ศร เน้อื ใบหนาคลา ยแผน หนงั
ผวิ ใบเกล้ยี งทงั้ สองดาน ดานบนสเี ขียวคล้ำเปน มนั ดา นลางสซี ีดกวา ใบแกกอ นรว งสีสม กา นใบยาว 1-2 เซนติเมตร

พันธุไมป าชายเลนทมี่ ศี กั ยภาพในการเปนไมดอก-ไมป ระดับและไมใ หร มเงา ♦ 22

ดอก แบบชอ กระจุก ออกตามปลายยอด ชอ ดอกโปรงแขง็ ไมส มมาตร ยาว 12-30 เซนติเมตร แตละชอ
มหี ลายดอก ดอกยอยขนาดใหญรูปแตรสีขาว ตรงกลางสแี ดง ดอกบานมีมีขนาดเสน ผานศนู ยกล างป ระม าณ
5 เซนตเิ มตร กานดอกยาว 1.5-2.5 เซนตเิ มตร ใบประดบั ยอยสเี ขียวออ นรูปไข หลุดรว งเรว็ ยาว 1-2 เซนติเมตร
กลีบเลีย้ ง 5 กลบี เรยี งจรดกัน แผน กลีบรปู ใบหอกแคปสีขาวแกมเขียวออ น ขนาด 0.3-0.6×1.5-2 เซนติเมตร
กลีบดอกโคนเช่อื มติดกันเปนหลอดรปู ปากแตร ยาว 2.5-4 เซนตเิ มตร ออกดอกเกอื บตลอดทง้ั ป

ผล แบบผลเมล็ดเดียวแข็ง รปู ไข หรือรปู รี ขนาด 3-5×5-8 เซนตเิ มตร ผวิ เกล้ยี ง สเี ขยี วเปนมนั เม่อื สุก
เปน สีมวง ผนงั ผลชั้นในเปน เสน ใย เมล็ดแบนรปู ทรงรี แตละผลมี 1-2 เมล็ด ออกผลเกอื บตลอดทั้งป

พนั ธุไ มปา ชายเลนทม่ี ีศักยภาพในการเปนไมดอก-ไมประดบั และไมใ หร มเงา ♦ 23

ลำแพน

ชอ่ื วิทยาศาสตร : Sonneratia ovata Backer
วงศ : LYTHRACEAE
ชอ่ื อ่ืน : ลำพูหนิ

ลักษณะทัว่ ไป ไมตนไมผลดั ใบ ขนาดเล็กถึงกลาง สงู 4-12 เมตร แตกกิ่งตำ่ ก่ิงแขนงมกั เปนส่ีเหลี่ยม
เปราะ เปลอื กเรียบถึงแตกเปน รอ งตามยาวตื้น ๆ สนี ้ำตาลอมชมพูถงึ นำ้ ตาลอมเทา ราคหายใจรูปคลายหมุด
สูง 15-30 เซนตเิ มตร

นิเวศวทิ ยาและการกระจายพนั ธุ พบขึน้ ตามริมฝง แมน้ำท่นี ้ำทะเลทวมถงึ หรือตามแนวหลังปา ชายเลน
ที่นำ้ มีความเคม็ เลก็ นอ ยและเลนคอนขา งเหนียว พบการกระจายพนั ธุใ นประเทศไทย กัมพชู า มาเลเซีย และหมูเกาะ
มลายู (ยกเวน บอรเ นียว) อินโดนิเซียตลอดถึงปาปวนิวกนิ ี และควีนแลนด สำหรับการจำแนกหมวดหมใู น IUCN
Red List นนั้ อยูใ นสถานภาพใกลถกู คกุ คาม (NT)

ใบ เดยี่ ว เรยี งตรงขามสลับตัง้ ฉาก แผน ใบรปู ไขถึงรูปเกือบกลม ขนาด 3-8×4-10 เซนตเิ มตร โคนใบกลม
ถึงเกือบตดั ขอบใบเรยี บ ปลายใบมนกลม ผิวใบเกลย้ี งทง้ั สองดาน เน้อื ใบอวบน้ำ ดา นบนสีเขียวคลำ้ ดานลา งสซี ดี กวา
กา นใบแคบยาว 0.5-1.5 เซนตเิ มตร

พนั ธไุ มป า ชายเลนทม่ี ศี ักยภาพในการเปนไมด อก-ไมป ระดับและไมใหรมเงา ♦ 24

ดอก เดี่ยว หรือเปนชอ กระจุกสองดาน ออกตามปลายกงิ่ กานดอกยาว 1-2 เซนติเมตร ดอกตูมรูปทรงไขกวา ง
สีเขียวอมเหลือง ยาว 2-3 เซนติเมตร กลีบเล้ียงโคนเช่ือมติดกันเปนทอสั้น ๆ แลวผายออกเปนรูประฆัง
มีสนั เดนชัด ปลายแยกเปน 6(-8) แฉก รปู สามเหลย่ี มแกมรูปไข ดานนอกนุม คลายกำมะหย่ี และมีแตม สีชมพเู ร่ือ
ทโ่ี คนกลบี ดานใน กลีบดอกไมปรากฏ เกสรเพศผูจำนวนมาก กา นเกสรเพศผูสขี าว กานเกสรเพศเมยี สีเขยี วออน
ยาวกวาเกสรเพศผเู ลก็ นอย ยอดเกสรเพศเมยี เปน ตุม ออกดอกตลอดทง้ั ป

ผล แบบผลมีเนื้อหลายเมลด็ รูปทรงกลมแปน คลา ยตลับ ปลายบุมและมีต่งิ แหลม เสน ผานศูนยกลาง
3-4.5×2.5-3.5 เซนตเิ มตร สเี ขียวเขม ต้งั บนหลอดกลีบเล้ียงแผแ บนเปน จานรองรบั ตัวผล แฉกกลีบเลี้ยงงอ
หมุ ตดิ โคนผล ผลสกุ เน้ือนมิ่ มเี มล็ดขนาดเลก็ จำนวนมากฝง อยูใ นเนือ้ ผล ออกผลตลอดท้ังป

พนั ธไุ มปาชายเลนทีม่ ศี กั ยภาพในการเปน ไมดอก-ไมป ระดบั และไมใหร ม เงา ♦ 25

สารภีทะเล

ชื่อวทิ ยาศาสตร : Calophyllum inophyllum L.
วงศ : CALOPHYLLACEAE
ชือ่ อน่ื : กระทิง, กาทงึ , กากระทงึ , กากะทงิ (ภาคกลาง), ทิง (กระบี)่ , เนาวกาน (นาน),

สารภแี นน (ภาคเหนอื )

ลกั ษณะทวั่ ไป เปน ไมยนื ตนขนาดกลางถงึ ใหญ สงู 5-17 เมตร ไมผ ลดั ใบ ไมมพี พู อน เปลอื กสีน้ำตาล
ถงึ สเี ทาคอนขางเขม มรี อยแตกเปน รองลึก มีนำ้ ยางเหนียวสขี าวถงึ เหลอื ง ตายอดเปน รูปกรวยควำ่ มขี นสนี ำ้ ตาลแดง
ปกคลมุ ประปราย กง่ิ คอ นขา งเปนรูปสเี่ หล่ยี ม

นเิ วศวิทยาและการกระจายพนั ธุ พบข้ึนท่ัวไปตามปา ชายหาด บางคร้ังพบตามขอบแนวหลงั ปาชายเลน
พบการกระจายพันธใุ นทวีปแอฟรกิ าตะวันออกตลอดถงึ ประเทศไตหวนั และนวิ แคลโิ ดเนยี สำหรบั การจำแนก
ในหมวดหมู IUCN Red List นนั้ อยใู นสถานภาพมีความเส่ยี งนอย (LC)

ใบ เด่ียว เรียงตรงขามสลับตงั้ ฉาก แผนใบรปู รี รูปไข รูปไขกลับ หรอื รปู ขอบขนาน ขนาด 4-10×8-17
เซนติเมตร ปลายใบกลมถึงเวา บมุ หรอื แหลมเล็กนอย ฐานใบรูปล่มิ ถงึ กลม เปนครีบทโี่ คน ขอบใบเรียบเปน คลน่ื ยาว
ใบเกลี้ยงทั้งสองดาน ดานบนสเี ขียวเปนมัน ดานทองใบสีจางกวา เน้ือใบหนาคลา ยหนัง เสนใบมีจำนวนม าก
เรียงชิดและขนานกัน กา นใบยาว 1-2.8 เซนตเิ มตร

พนั ธไุ มป าชายเลนทม่ี ีศักยภาพในการเปนไมดอก-ไมประดบั และไมใหร มเงา ♦ 26

ดอก แบบชอ เชิงลดมีกา น ออกตามงา มใบ ยาว 10-15 เซนติเมตร แตละชอ มี 5-15 ดอก ดอกบาน
เสนผา นศูนยกลาง 1 เซนตเิ มตร สขี าว กลีบรวม 8 กลีบ เรยี งซอนเปน สองชนั้ ชั้นนอก 2 คู เรยี งตรงขา มสลบั ตง้ั ฉากกนั
ชน้ั ใน 4 กลีบ เรียงเปนวงซอ นเหล่อื มกัน เกสรเพศผมู ีจำนวนไมแนนอน โคนกานติดกัน ออกดอกเดือน
มถิ ุนายน-กรกฎาคม

ผล เปนผลเมล็ดเดียว แข็ง คอ นขา งกลม เสนผานศนู ยกลาง 2-4 เซนติเมตร ปลายผลเปนต่ิงแหลม
ผลออ นสีเขียวเปน มัน มี 1 เมลด็ รูปทรงมนกลมสนี ้ำตาลออ น เมื่อแกเปนสนี ำ้ ตาลอมเขียว มรี อยยน ออกผลเดือน
กรกฎาคม-พฤศจิกายน

พนั ธุไมป าชายเลนที่มีศกั ยภาพในการเปน ไมดอก-ไมป ระดบั และไมใ หร มเงา ♦ 27

จิกทะเล

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Barringtonia asiatica (L.) Kurz
วงศ : LECYTHIDACEAE
ชื่ออ่ืน : จกิ เล, โดนเล (ภาคใต) ; อามุง (มลายู-นราธิวาส)

ลักษณะทั่วไป ไมต นไมผ ดั ใบ ขนาดสงู 8-15 เมตร เรือนยอดแผเ ปนพุมกวาง แตกก่ิงขนาดใหญร ะดบั ต่ำ
ตามก่งิ มรี อยแผลใบกระจายท่ัวไป เปลอื กสเี ทาคลำ้ ขรุขระถงึ แตกเปนรอ งตามยาวในตน แก เปนพืชชายฝง

นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ พบข้ึนทว่ั ไปตามชายฝง ทะเลทเ่ี ปนหาดหนิ หรอื หาดทราย พบนอย
บริเวณขอบแนวหลงั ปา ชายเลน พบการกระจายพนั ธุใ นบรเิ วณหมเู กาะโคโมโร เกาะมาดากัสการต ลอดถึงอนิ เดีย
เอเชยี ตะวนั ออกเชียงใต และหมเู กาะในมหาสมุทรแปซฟิ ก สำหรบั การจำแนกหมวดหมูใน IUCN Red List นั้น
อยูในสถานภาพมีความเสี่ยงนอ ย (LC)

ใบ เดยี่ ว เรยี งเวียนสลับเปน กระจุกตามปลายกิง่ แผนใบขนาดใหญรูปไขกลับ ขนาด 10-25×30-50
เซนติเมตร โคนใบแหลมหรือเปน รปู ติง่ หตู น้ื ๆ ขอบใบเรยี บ ปลายใบกลม เสนใบแบบรางแหขนนก เสน กลางใบยกตวั
เสนแขนง 10-18 คู เสนใบยอ ยสานกนั เปนรางแห เนื้อใบอวบนำ้ คลายแผน หนงั นมุ ผวิ ใบเกลี้ยงทั้งสองดาน
ดา นบนสเี ขยี วเขม เปน มันวาว ดานลา งสซี ดี กวา กา นใบอวบสน้ั

ดอก แบบชอเชิงรด มกี านออกตามปลายกิ่ง ชอ ดอกสั้นตง้ั ตรง แตละชอมปี ระมาณ 7 ดอก ดอกยอย
ขนาดใหญส ีขาว ดอกบานเสน ผานศนู ยกลาง 7-10 เซนติเมตร ใบประดับรปู ไข ไมมีกา น ใบประดับยอยรูป

พันธุไมป า ชายเลนทีม่ ศี กั ยภาพในการเปนไมดอก-ไมประดับและไมใ หร มเงา ♦ 28

สามเหลย่ี ม กานดอกยอ ยยาว 4-6 เซนตเิ มตร กลีบเลี้ยงสีเขียวออนตดิ แนน เปนเนือ้ เดียวกนั ในดอกตูม และเปด
ออกเปนสองกลีบเม่อื บาน แตล ะกลีบรปู มนกลม ขนาดไมเ ทา กนั กลีบดอก 4 กลบี เรียงซอ นเหล่ือมกนั รูปรี โคงออก
ออกดอกระหวา งเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน

ผล แบบผลเมล็ดเดยี วแขง็ ขนาดใหญ รูปทรงสีเ่ หลี่ยม ฐานเวาคลา ยประมดิ เสน ผา นศูนยก ลาง 10-15
เซนตเิ มตร ผิวสเี ขียวเปนมนั ปลายผลมีกลบี เลีย้ ง 2 กลบี ติดอยู เปลอื กผลเปน เสน ใยหนาคลา ยเปลอื กมะพราว
ผลแกไมแตก ผิวสนี ำ้ ตาลเปนมนั เบา ลอยนำ้ ได มี 1 เมล็ด ออกผลระหวางเดอื นสงิ หาคม-พฤศจิกายน

พนั ธุไ มปาชายเลนท่ีมีศกั ยภาพในการเปนไมดอก-ไมป ระดับและไมใ หรม เงา ♦ 29

หยที ะเล

ชอ่ื วิทยาศาสตร : Pongamia pinnata (L.) Pierre
วงศ : FABACEAE
ชอื่ อน่ื : กายี, ราโยค (ภาคใต); ขยี้ (ชุมพร); เพาะดะปาก้ี (มลาย-ู สงขลา); ปารี (มลาย-ู นราธวิ าส);

มะปากี (มลาย-ู ปตตานี)

ลักษณะทว่ั ไป ไมย นื ตน ขนาดเลก็ ถึงกลาง สงู 5-15 เมตร เรอื นยอดแผกวา ง ลำตนมักคดงอ แตกกิง่ มาก
เปลือกเรียบ สีเขียวแกมน้ำตาลถึงน้ำตาลเทาคล้ำ

นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพันธุ พบท่วั ไปตามขอบปา พรุ ริมฝงแมนำ้ ลำคลองที่เปน ดนิ เลน และบรเิ วณ
ที่เปนดนิ เลนรว นปนทรายใกลชายฝง พบการกระจายพันธุในประเทศอินเดีย เอเชยี ตะวนั ออกเชยี งใต ไตหวัน
หมูเกาะริวกิว ตลอดถึงหมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟก สำหรับการจำแนกหมวดหมูใน IUCN Red List น้ัน
อยูในสถานภาพมีความเสย่ี งนอย (LC)

ใบ ประกอบแบบขนนกปลายค่ี เรยี งสลับถงึ เวียนสลบั หา ง ๆ กา นชอใบยาว 4-6 เซนตเิ มตร โคนปอง
ประกอบดว ยใบยอ ย 5–7 ใบ เรยี งตรงกันขา ม แผน ใบรูปไข รปู ไขแกมรปู ขอบขนานถึงรปู รี เรยี งจากเลก็ ไปใหญ
ใบยอ ยคลู า งขนาด 5-7×7-15 เซนตเิ มตร ใบยอดขนาด 6-10×10-16 เซนติเมตร โคนใบกลมมน ขอบใบเรียบ

พนั ธไุ มปาชายเลนที่มีศักยภาพในการเปน ไมด อก-ไมป ระดบั และไมใ หร ม เงา ♦ 30

ปลายใบแหลมถึงเรยี วแหลม เสน ใบแบบรา งแหขนนก เสน แขนง 6–8 คู ผิวใบเกลี้ยงท้งั สองดาน ดานบนสเี ขียว
เขมเปน มนั ดานลา งสซี ดี กวา กา นใบยอ ยยาว 0.5-1 เซนตเิ มตร หใู บขนาดเลก็ หลดุ รวงงาย

ดอก แบบชอ เชิงลด มกี านออกตามงา มใบ ยาว 10-20 เซนตเิ มตร ประกอบดว ยดอกยอ ยจำนวนม าก
ดอกยอยรปู ดอกถ่วั ขนาดเลก็ สขี าวแลว เปลีย่ นเปน สีชมพู ชมพอู มแดงถึงมวง กลบี เลยี้ งโคนกลีบเชื่อมติดกัน
เปนรปู ระฆัง แฉกกลบี เล้ียงฝอ หรือลดรปู ลง กลบี ดอก 5 กลีบ กลบี บนคลา ยรปู โล ยาว 1-1.5 เซนติเมตร ผวิ ดานนอก
มีขนสน้ั นุมปกคลุม กานกลบี มรี ยางคเดน 1 คู กลีบคูข างรปู ขอบขนาน ไมส มมาตร สวนลา งของกลบี คลู า งเช่ือม
ติดกนั เปน รูปเรอื ยาวกวากลบี บนเล็กนอย ผิวดานนอกของกลบี คลู า งและกลีบคขู า ง มขี นสั้นนมุ ปกคลมุ ประปราย
เกสรเพศผู 10 อัน กา นเกสรเช่อื มติดกันเปน แผน ออกดอกระหวางเดอื นมกราคม–พฤษภาคม

ผล แบบฝก ถั่ว (ฝก มีจะงอย) หนาโปงออก รูปทรงขอบขนานถงึ รปู รี โคงเล็กนอยขนาด 2-4×4-7 เซนตเิ มตร
ปลายฝก จะเปนจะงอยส้ัน ๆ ขอบอวบหนา ผวิ เกลี้ยง ฝก แกส ีน้ำตาลไมแตก เมลด็ สีแดงคลำ้ รูปโลแกมรูปทรง
ขอบขนาน ขนาด 1.5×2 เซนตเิ มตร มหี นง่ึ เมล็ด ฝกแกร ะหวางเดือนกรกฎาคม–ธนั วาคม

พนั ธไุ มป าชายเลนที่มีศกั ยภาพในการเปน ไมด อก-ไมป ระดบั และไมใ หรม เงา ♦ 31

กะพอ

ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Licuala paludosa Griff.
วงศ : ARECACEAE
ชอ่ื อน่ื : กะพอ หนาม (ภาคกลาง) กะพอ เขยี ว พอ (ภาคใต) กวู าแมเราะ (มลายู – นราฯ) ขวน, พอ พรุ (นราธวิ าส)

ลกั ษณะทั่วไป กะพอ เปนไมป าลม ตน แตกกอ ขนาดเล็กสูง 3-5 เมตร มีลกั ษณะเรือนยอดเปนรูปพัด
หรือคลายรม หรือครึง่ วงกลม มชี ื่อสามัญภาษองั กฤษวา mangrove fan palm ลำตนมรี อยกาบจาง ๆ มกั มีกาบใบ
หรอื ใบแหง ที่ไมห ลุดรว งปกคลมุ บางครง้ั แตกหนอข้ึนอยรู วมกนั เปน กลุมหนาแนน

นเิ วศวิทยาและการกระจายพันธุ พบการกระจายพันธุบ รเิ วณภาคใตของประเทศไทย ในบรเิ วณท่ลี มุ น้ำ
ทว มขงั ทัง้ ในทรี่ มและทโ่ี ลง ตามชายปา ทที่ รายริมทะเลเปนไมพ มุ ปาลมพื้นเมอื งทีม่ ีอยูท วั่ ไปในบา นเรา มักข้นึ เปนกอ
อยูร มิ ทะเล หรอื ในท่ีซง่ึ นำ้ เค็มขน้ึ ถงึ หรือขน้ึ ตามปาดอนในที่ชมุ ช้นื และที่แฉะ เมื่อเจริญเติบโตไปสักระยะหนึ่ง
จะเกดิ หนออกมาตามบริเวณโคนตน มากมาย

ใบ เปนใบประกอบลกั ษณะคลายน้วิ มือ ดคู ลายใบเดี่ยว ต้ังขึ้นและแผอ อก 10-15 ทาง เรียงเวียนสลับ
ซอนกันเปนกระจุกท่ปี ลายยอด ชอใบรปู พดั ขนาดเสน ผา นศูนยกลาง 100-150 เซนติเมตร ใบยอยเวา ลึกถงึ แกนกลาง
และแผเปนรัศมี 15-25 แฉก แผนแฉกใบพัดกลีบรูปขอบขนานหรือรูปลิ่ม ปลายแฉกตัดหรือหยกิ ซกิ แซก
ไมส ม่ำเสมอ เสนใบแบบขนานตามความยาวของใบ ผวิ เกลยี้ งทง้ั สองดา น ดานบนสีเขียวเขม ดา นลางสีซีดกวา
ขอบกานใบมหี นามโคงเรยี งไมเปน ระเบยี บ ขอบกาบมรี กหรอื เสนใยหยาบสนี ำ้ ตาลสานกนั หอ หมุ ลำตน

พนั ธไุ มปาชายเลนทม่ี ีศกั ยภาพในการเปนไมดอก-ไมป ระดับและไมใหรม เงา ♦ 32

ดอก เปนแบบดอกชอ แบบชอเชิงลดไมม กี า น แยกแขนงออกชอ ตามงา มใบ 2-3 ชอ ชอ ดอกตงั้ ข้ึนโคง
แลว แผออก แตละชอแตกแขนง 7-10 ก่งิ แตล ะกง่ิ ประกอบดว ยชอยอย 3-4 ชอ ดอกสมบูรณเพศขนาดเล็ก
ดอกตมู รปู ทรงไข ไรก านสขี าวแกมเขียวออน กลบี เลยี้ งขนาดเลก็ มีโคนเชื่อมติดกนั เปนหลอด ปลายแยกเปนแฉก
รปู สามเหลย่ี ม 3 แฉก ออกดอกเดือนมกราคม

ผล เปนเมล็ดเดียวแข็ง รปู ทรงกลม ผิวเกลย้ี งเปน มัน สีสม หรอื แดง เน้อื ผลชุมน้ำ ผนังผลช้นั ในบางและแขง็
คลายหิน มี 1 เมล็ด ออกผลในเดอื นพฤษภาคม-มิถนุ ายน

พันธุไมปา ชายเลนทมี่ ศี กั ยภาพในการเปน ไมดอก-ไมป ระดบั และไมใหรม เงา ♦ 33

หูกวาง

ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Terminalia catappa L.
วงศ : COMBRETACEAE
ชอ่ื อื่น : โคน (นราธิวาส); ดัดมอื , ตดั มอื (ตรงั ); ตาปง (สตลู ); หลมุ ปง (ใต,สรุ าษฎรธานี);

ลกั ษณะทั่วไป ไมต น ผลัดใบ ขนาดกลางถงึ ใหญ สูง 10-25 เมตร กิง่ แตกเปนชนั้ รอบลำตน และแผก วาง
ในแนวระนาบเปน ชนั้ ๆ คลา ยฉตั ร เปลือกนอกเรียบ สนี ้ำตาล ก่ิงออ นมขี นสีนำ้ ตาล เมอื่ แกเ กล้ยี ง

นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพันธุ พบข้ึนทวั่ ไปตามหาดทราย หาดหนิ พบบา งตามแนวหลงั ปา ชายเลน
ทีเ่ ปน ดินรว นปนทราย พบการกระจายพนั ธุในมาดากสั การ เอเชียเขตรอ น ตลอดถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย
สำหรบั การจำแนกหมวดหมูใน IUCN Red List น้ัน อยใู นสถานภาพมีความเส่ียงนอ ย (LC)

ใบ เด่ียว เรยี งเวยี นสลับเปนกลมุ ตามปลายกิ่ง แผนใบรปู ไขก ลับ ขนาด 8-15×10-25 เซนติเมตร
โคนใบรูปหัวใจแคบ ขอบใบเรยี บ ปลายใบกลมถึงแหลมเปน ต่งิ สั้น เสน ใบแบบรา งแหขนนก เสน กลางใบยกตัว
เสนแขนง 6–9 คู เสน ใบยอ ยสานกนั เปนรา งแหกึ่งขนั้ บนั ได มีตอมนนู 1 คู ตดิ อยูใกลโ คนเสนกลางใบ เนื้อใบคลา ย

พันธไุ มป าชายเลนที่มศี ักยภาพในการเปนไมดอก-ไมป ระดับและไมใ หร ม เงา ♦ 34

แผนหนังบาง ๆ ผวิ ใบเกลี้ยงทัง้ สองดาน ดา นบนสีเขยี วเขม เปน มนั ดา นลางสซี ดี กวา กา นใบอวบอว น ยาว 0.5-1.2
เซนตเิ มตร ผลัดใบปละสองคร้ัง ระหวา งเดือนมกราคม–กมุ ภาพนั ธ และเดอื นกรกฎาคม-สิงหาคม

ดอก แบบชอ เชิงลดไรกา น ออกตามงา มใบยาว 10-12 เซนตเิ มตร ดอกยอยขนาดเลก็ สขี าว สมมาตรตามรศั มี
ไมม ีกา นดอก ดอกสมบรู ณเพศ และดอกเพศผอู ยบู นชอ เดียวกัน ดอกสมบูรณเพศออกตามโคนชอ รูปกงลอ
เสนผานศนู ยก ลางประมาณ 0.7 เซนติเมตร กลบี เลีย้ งติดกันเปนหลอดยาว 0.2-0.4 เซนตเิ มตร มขี นปกคลุม
ตอนบนผายออกเปนรูปถวยตื้น ๆ ปลายแยกเปนแฉก กลีบรูปสามเหล่ียมแกมรูปไข 5 แฉก ไมมีกลีบดอก
จานฐานดอกปกคลมุ ดว ยขนหนาแนน

ผล แบบผลเม็ดเดยี วแขง็ รูปทรงไขถงึ รกี วาง คอ นขา งแบนทางดานขา ง ขนาด 2-5×3-7 เซนติเมตร
ผวิ เกล้ยี ง เน้ือผลชั้นกลางเปน เสน ใย ผลสุกสเี หลืองหรอื สม อมแดง ผลแหง สดี ำเปน มนั วาว เบา มี 1 เมลด็

พันธไุ มป า ชายเลนทีม่ ศี ักยภาพในการเปน ไมด อก-ไมป ระดับและไมใหรม เงา ♦ 35

นนทรี

ชื่อวิทยาศาสตร : Peltophorum pterocarpum (DC.) Backer ex K. Heyne
วงศ : FABACEAE
ช่ืออน่ื : นนทรี (ภาคกลาง); กระถนิ ปา, กระถนิ แดง (ตราด); สารเงนิ (แมฮ องสอน)

ลักษณะทั่วไป ไมขนาดกลางถึงใหญ สูง 10-25 เมตร เรือนยอดแผกวา ง เปลอื กแตกเปน รองตามยาว
หรือลอนเปน สะเกด็ สีเทาถงึ น้ำตาลคลำ้ กิ่งออนมีขนส้ันนุมสสี นมิ ปกคลมุ

นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพนั ธุ พบขน้ึ ตามรอยตอ ระหวางปาชายเลนกบั ชายหาด พบการกระจายพันธุ
ในทวปี เอเชยี ตะวันออกเฉียงใตตลอดถงึ ตอนเหนือของออสเตรเลยี และหมูเกาะใกลเ คยี ง สำหรับการจำแนก
หมวดหมูใน IUCN Red List นัน้ ยังไมไดรบั การประเมิน (NE)

ใบ ประกอบแบบขนนกสองช้ัน เรียงเวียนสลับ ประกอบดวยแขนงชอใบยอยแบบขนนกปลายคู
เรียงตรงกันขาม 15-20 คู แตละแขนงมีใบยอยเรียงตรงขามกัน 10-22 คู แผนใบยอยรูปขอบขนาน
ขนาด 0.5-0.8×1-1.8 เซนตเิ มตร โคนใบมน เยือ้ ง ขอบใบเรียบ ปลายใบเวาตนื้ เสนใบแบบราง แหข นนก
เสนกลางใบยกตัวเล็กนอย เสนแขนง 6-10 คู เสนใบยอยสานกันเปน รางแห เนื้อใบบางคลายแผนหนัง
ผิวใบดา นบนเกอื บเกลย้ี ง ดา นลางมีขนสัน้ หนานมุ สีสนิมปกคลุม กา นใบยอยสน้ั มาก กา นชอ ใบยาว 6-10 เซนติเมตร
โคนบวมพอง แกนกลางชอ ใบยาว 20-30 เซนติเมตร หูใบคลา ยแสข นาดเล็ก หลุดรว งงา ย

พนั ธไุ มป า ชายเลนท่มี ศี ักยภาพในการเปนไมดอก-ไมประดับและไมใ หรมเงา ♦ 36

ดอก แบบชอเชงิ ลดมีกา นแยกแขนงขนาดใหญ ออกตามปลายกง่ิ ชอ ดอกตัง้ ขนึ้ ยาว 25-40 เซนติเมตร
ดอกยอ ยสเี หลอื ง มกี ลิน่ หอม กา นดอกยอ ยยาว 0.3-0.7 เซนติเมตร กลบี เล้ยี ง 5 กลบี ขนาด 0.4-0.6×0.4-0.8
เซนติเมตร ดา นนอกมขี นส้นั หนานุม สีสนิม กลีบดอกบอบบาง 5 กลีบ รูปไขก ลบั ขนาดประมาณ 1×2 เซนตเิ มตร
ขอบกลีบเปนคลื่น โคนกลีบมีขนปกคลุมหนาแนน เกสรเพศผู 10 อัน กานเกสรยาว 1.2-1.5 เซนติเมตร
รังไขม ขี นปกคลุม ภายในมไี ขออ น 3–4 เมลด็ ออกดอกระหวางเดือนกมุ ภาพันธ- กรกฎาคม

ผล แบบฝก ถวั่ (ฟก หักขอ) แบน รูปทรงรถี งึ รปู แถบแกมรปู ใบหอก สนี ้ำตาลอมแดง ขนาด 2-4×10-13
เซนตเิ มตร โคนและปลายฝกสอบ ขอบแบนคลา ยปก ผิวเกลยี้ งและมีลายฝกตามยาว ฝกแหงไมแตก เมล็ดแบน
รปู ทรงขอบขนานสีเหลืองอมน้ำตาล ขนาด 0.4-0.6×1-1.2 เซนติเมตร เรยี งเปนแถวตามยาว มี 1–4 เมล็ด
ฝกแกร ะหวา งเดอื นเมษายน-ตุลาคม

พันธไุ มปาชายเลนทีม่ ีศักยภาพในการเปน ไมดอก-ไมป ระดับและไมใ หร ม เงา ♦ 37

มะพลบั

ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Diospyros areolata King & Gamble
วงศ : EBENACEAE
ชื่ออื่น : พลบั ,มะพลบั (ภาคกลาง); เนียน (ตรงั )

ลักษณะทัว่ ไป ไมยืนตน ไมผลัดใบ ขนาดเลก็ ถึงกลาง สูง 5-15 เมตร เรือนยอดรปู กรวยคว่ำ ลำตน มกั คดงอ
เปลอื กนอกคอ นขางเรยี บหรือแตกเปน สะเกด็ และเปนหลมุ ต้ืน ๆ สนี ้ำตาลเทาถงึ คล้ำ เปลือกชั้นในสีน้ำตาล
ยอดออนปกคลมุ ดว ยขนสัน้ นุม สีน้ำตาลไหม

นเิ วศวิทยาและการกระจายพนั ธุ พบข้นึ ในปา ดิบช้ืนรอยตอระหวา งปา บกกับปา ชายเลน บรเิ วณชายคลอง
และชายปาพรุ หรือในพืน้ ที่ทเ่ี ปน เลนแขง็ นำ้ ทว มถงึ เปน คร้ังคราว พบการกระจายพันธใุ นภาคใตของประเทศไทย
และมาเลเซีย (เฉพาะบนคาบสมุทร) สำหรับการจำแนกหมวดหมูใน IUCN Red List น้ัน อยูในสถานภาพ
มคี วามเสีย่ งนอย (LC)

พนั ธไุ มปา ชายเลนที่มศี ักยภาพในการเปนไมด อก-ไมป ระดับและไมใหรม เงา ♦ 38

ใบ เด่ยี ว เรียงสลับระนาบเดียว แผน ใบหนาคลา ยแผน หนังรปู ขอบขนาน ขนาด 4-7×7-20 เซนติเมตร
โคนใบมนถงึ กลม ขอบใบเรยี บ ปลายใบสอบเปนตงิ่ ทู เสนกลางใบยบุ ตัว มเี สน แขนง 6-12 คู แตละเสนมักคดงอ
เสนใบยอยสานกนั เปน รางแห มองเหน็ ไมชัดเจน ผิวใบเกล้ยี งทงั้ สองดานหรอื ดานลา งเกือบเกล้ยี ง ใบออนมีขนส้นั นมุ
ดา นบนสีเขยี วคล้ำ ดา นลา งสซี ดี กวา กานใบยาว 1-1.5 เซนติเมตร มขี นประปราย

ดอก ดอกแยกเพศอยตู า งตน ดอกเพศผูเปนชอกระจุกสัน้ ๆ ออกทงี่ ามใบ ชอ ละ 3–4 ดอก ดอกยอ ยสขี าว
ขนาดเสน ผานศนู ยก ลาง 1 เซนตเิ มตร กา นดอกยอ ยยาว 0.2 เซนติเมตร มขี นสัน้ หนานมุ กลีบเลี้ยงและกลีบดอก
มีอยา งละ 4-5 กลีบ กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 0.3 เซนติเมตร โคนกลบี เชอ่ื มตดิ กันเปน รูปถว ยปากกวาง ปลายแยก
เปนแฉกสนั้ ๆ ผวิ เกล้ยี งท้ังสองดาน กลบี ดอกยาวประมาณ 0.7 เซนติเมตร โคนกลบี เชอ่ื มติดกันเปนรูประฆัง
หรือรูปทรงไข ปลายแยกเปนแฉกสั้น ๆ เกสรเพศผู 20-21 อนั ดอกเพศเมียมกั ออกเปนดอกเดียว ลักษณะท่วั ไป
คลายดอกเพศผู แตมีขนาดใหญก วา และกลบี เลีย้ งมีขนแบบขนแกะปกคลมุ ทง้ั สองดา น ออกดอกระหวางเดือน
มีนาคม-พฤษภาคม

ผล แบบผลมเี นือ้ หลายเมลด็ รูปทรงไขถ งึ กลม ขนาด 3-3.5×3-5 เซนตเิ มตร ผลแกนมุ ฉ่ำน้ำ มีขน
และเกล็ดละเอียดสนี ้ำตาลแดงปกคลุม หลุดรวงงา ย กลีบจกุ ผลขอบหยกั ลึกเกอื บไมต ิดกนั แตละกลบี มกั พับกลับ
ขอบกลบี เปน คล่ืน พ้นื กลีบพบั ยน ไมม ลี ายเสน กลบี กานผลยาว 1 เซนติเมตร มี 8 เมล็ด ผลแกร ะหวางเดือน
ตุลาคม-กมุ ภาพันธ

พนั ธไุ มป า ชายเลนที่มีศกั ยภาพในการเปนไมด อก-ไมป ระดบั และไมใ หร ม เงา ♦ 39

โคลงเคลง

ชื่อวทิ ยาศาสตร : Melastoma malabathricum L.
วงศ : MELASTOMATACEAE
ชือ่ อนื่ : กะดูดุ (มลาย-ู ปตตานี); กาดูโดะ (มลายู-สตลู , ปตตาน)ี ; โคลงเคลงขน้ี ก, โคลงเคลงขี้หมา

(ตราด); ซซิ ะโพะ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุร)ี ; ตะลาเดา ะ (กะเหรีย่ ง-แมฮ องสอน); เบร, มะเหร,
มังเคร, มงั เร, สาเร, สำเร (ภาคใต) ; มายะ (ชอง-ตราด); อา , อาหลวง (ภาคเหนอื )

ลกั ษณะทวั่ ไป โคลงเคลงเปน พชื ใบเล้ียงคู ประเภท ไมดอกลมลุกในวงศ โคลงเคลง (Melastomataceae)
ลกั ษณะก่งิ สี่เหลี่ยมมักมขี นปกคลมุ

นิเวศวทิ ยาและการกระจายพนั ธุ เปนพืชพ้ืนเมืองในบริเวณชวี ภูมิภาค อินโดมาลายา ญี่ปนุ และ
ออสเตรเลยี พบไดทัว่ ไปในทงุ หญา และปาโปรง ที่ความสูงระหวาง 100-2,800 เมตร

พันธไุ มปา ชายเลนที่มศี กั ยภาพในการเปน ไมด อก-ไมประดบั และไมใหรม เงา ♦ 40

ใบ เด่ียว ออกเรยี งตรงขา มกันเปนคู ๆ และสลบั ตง้ั ฉาก ลักษณะของใบเปนรปู ใบหอก ปลายใบและโคนใบแหลม
มีขนาดกวางประมาณ 1.7-5 เซนตเิ มตร และยาวประมาณ 4-14 เซนติเมตร แผน ใบคอนขา งแขง็ ผวิ ใบมีเกลด็ เลก็ แหลม
มีเสน ใบออกจากโคนใบไปจรดกนั ทีป่ ลายใบ ประมาณ 3-5 เสน สวนเสนใบยอ ยเรียงแบบขน้ั บันไดและไมมีหใู บ

ดอก ดอกออกเปนชอ ทปี่ ลายยอด ชอละประมาณ 3-5 ดอก ดอกเมอ่ื บานจะมขี นาดเสนผานศูนยกลาง
ประมาณ 4-5 เซนตเิ มตร ดอกเปนสีมวงอมสชี มพู โดยท่ัวไปดอกจะมกี ลบี ดอก 5 กลีบ หรือมีกลีบ 4 กลีบ
หรือ 6 กลีบก็มี สว นกลบี เลยี้ งดอกมี 5 กลีบ มถี ว ยรองดอกปกคลุมดวยเกล็ดแบนเรียบ ดอกเปน ชอแบบสมบูรณเพศ
ดอกมีเกสรเพศผูสีเหลือง 10 กา น เรยี งเปน วง 2 วง และมีรยางคสมี ว งโคงงอ สว นรงั ไขอ ยใู ตว งกลบี สามารถ
ออกดอกไดตลอดท้ังป แตจ ะมมี ากในชว งฤดฝู น

ผล ผลมีลักษณะคลายลูกขา ง มีขนาดกวา งประมาณ 0.6 เซนติเมตร ยาวประมาณ 0.8-1 เซนติเมตร
และมีขนปกคลุม เนอ้ื ในผลเปนสีแดงอมสมี ว ง ผลเมอ่ื แกเ ปลือกผลจะแหงแลวแตกออกตามขวาง ผลมคี วามยาว
ประมาณ 0.5-1.2 เซนติเมตร ภายในผลมีเมล็ดขนาดเลก็ จำนวนมาก หรือผลมเี นื้อนมุ อยหู ลายเมล็ด

พันธุไมป า ชายเลนท่มี ีศกั ยภาพในการเปน ไมด อก-ไมประดบั และไมใหรมเงา ♦ 41

บรรณานุกรม

กองอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน. 2563. พนั ธไุ มปาชายเลน. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กระทรวง
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม. โรงพิมพชมุ นมุ สหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย จำกัด, กรงุ เทพฯ.

ราชบณั ฑติ ยสถาน. 2538. อนกุ รมวธิ านพชื อกั ษร ก. กรงุ เทพมหานคร: เพ่ือนพิมพ.
ระบบฐานขอมลู กลางและมาตรฐานขอ มลู ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. ชนิดพนั ธไุ มป าชายเลน. คนเม่ือ

4 สงิ หาคม 2564, จาก https://km.dmcr.go.th/th/c_11/d_3072

พนั ธุไมปาชายเลนท่มี ีศกั ยภาพในการเปน ไมด อก-ไมป ระดับและไมใ หร มเงา ♦ 42

กองอนุรักษท รัพยากรปา ชายเลน
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

www.dmcr.go.th


Click to View FlipBook Version