แผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2566 - 2569)
เป็นแผนระดับ 3 ท่ีมีสถานะของแผนสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ แผนปฏิรูปประเทศ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 13 รวมท้ังเป็นแผนที่มุ่งเน้นกรอบแนวทางการบริหารงานยุติธรรม
ในภาพรวมระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนที่เก่ียวข้องกับงานยุติธรรม เป้าหมาย
ที่สําคัญในการขับเคลื่อนแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 4
(พ.ศ. 2566 - 2569) ให้นําไปสู่การปฏิบัติอย่างแท้จริง จึงมุ่งหวังให้แผนแม่บทฯ
ดังกล่าวเป็นกรอบในการบริหารงานของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมร่วมกัน
เพ่ือนําไปสู่เป้าหมายการอํานวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชนในทิศทางเดียวกัน โดยมี
แนวทางในการขับเคลอื่ นแผนทส่ี ําคัญ ดังน้ี
46
47
1 แนวทางการขับเคลื่อนแผนไปสู่การปฏิบตั ิ
การขับเคลื่อนแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2566 - 2569)
ไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ ควรมีการดาํ เนนิ งานใน 2 ส่วนหลกั ดังน้ี
ส่วนที่ 1 การสร้างการรับรู้และเข้าใจในเป้าหมายและแนวทางการดําเนินงานในแผนแม่บท
การบรหิ ารงานยุติธรรมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2566 - 2569) แก่หน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง
1.1 หน่วยงานหลักท่ีต้องดําเนินงานตามแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ
ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2566 - 2569) คือ หน่วยงานท่ีมีบทบาทภารกิจและหน้าท่ีตามกฎหมายเก่ียวข้องกับ
การบริหารงานยุติธรรม ซึ่งเป็นหน่วยงานที่คาดหวังให้มีการนําแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ
ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2566 - 2569) ไปพิจารณาดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ของหน่วยงาน โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ี
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกําหนดแผนและนโยบายของหน่วยงาน ท่ีควรพิจารณานําเป้าหมายและแนวทาง
การดําเนินงานท่ีกําหนดไว้ในแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2566 - 2569) ไปเป็น
กรอบในการกําหนดและพัฒนาแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมการดําเนินงานของหน่วยงาน เพื่อให้เกิด
การปฏิบัติงานตามเป้าหมายและแนวทางการดําเนินงานท่ีกําหนดไว้ในแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ
ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2566 - 2569) อย่างเปน็ รูปธรรม
1.2 หน่วยงานท่ีมีส่วนสนับสนุนให้แผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับท่ี 4
(พ.ศ. 2566 - 2569) ประสบความสําเร็จ เช่น สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ใน
ฐานะหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการกํากับดูแลทิศทางการพัฒนาตามแนวทางในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับท่ี 13 ซึ่งเป็นกรอบการพัฒนาสําคัญท่ีขับเคลื่อนผ่านทางการดําเนินงานในแผนแม่บทการ
บริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2566 - 2569) ในประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม
สํานักงบประมาณ ซ่ึงเป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจําปี ให้แก่หน่วยงาน
ท่ีเกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม ในการจัดทําคําของบประมาณตามกรอบแผนแม่บทฯ สํานักงาน
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ซ่ึงเป็นหน่วยงานท่ีมี
บทบาทสําคัญต่อการกําหนดแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างส่วนราชการ กฎระเบียบและ
การกําหนดตัวชี้วัดการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน เพ่ือให้การดําเนินงานของหน่วยงานในกระบวนการ
ยุติธรรมเกิดประสิทธิภาพ และสัมฤทธ์ิผลตามแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 4
(พ.ศ. 2566 - 2569) ซึ่งหน่วยงานดังกล่าว ถือเป็นหน่วยงานสนับสนุนท่ีสําคัญท่ีควรรับรู้และมีความเข้าใจใน
เป้าหมายและรายละเอียดของแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2566 - 2569) เพ่ือ
เอ้ืออํานวยให้หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม หรือหน่วยงานที่มีภารกิจเกี่ยวกับการบริหารงานยุติธรรม
สามารถขับเคล่ือนแนวทางการดําเนินงานตามกรอบของแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับท่ี 4
(พ.ศ. 2566 - 2569) ได้อย่างเปน็ รปู ธรรมและมีประสทิ ธิภาพ
48
ส่วนท่ี 2 การพัฒนาและสนับสนุนกลไกประสานความร่วมมือในการดําเนินงานระหว่าง
หน่วยงาน
2.1 กรอบการจัดทําแผนงบประมาณรายจ่ายประจําปี โดยผลักดันให้เกิดการพิจารณา
กรอบการจัดทําแผนงบประมาณร่วมกันระหว่างหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม ผ่านกลไกการบริหารงาน
ของคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ (กพยช.) ซ่ึงมีสํานักงานกิจการยุติธรรม กระทรวง
ยุติธรรม เป็นหน่วยงานเจ้าภาพ ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรแห่งชาติ
โดยพิจารณาจากกรอบการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ แผนปฏิรูปประเทศ และ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 ในประเด็นท่ีเกี่ยวกับการบริหารงานยุติธรรม ควบคู่ไปกับ
เป้าหมายและกรอบการดําเนินงานตามแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2566 -
2569) เพ่ือให้เกิดการบริหารงานยุติธรรมของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม ทั้งในส่วนของเป้าหมาย
แผนงาน โครงการและแนวทางการดําเนินงานที่ประสานสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันอย่างเป็นรูปธรรม และ
เปน็ ไปตามแนวปฏิบัตใิ นการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาํ ปขี องสาํ นักงบประมาณ
2.2 กลไกคณะกรรมการในส่วนกลางและภูมิภาค โดยในส่วนกลางใช้กลไก
คณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ (กพยช.) ซึ่งมีคณะอนุกรรมการประสานและพัฒนา
ระบบงานยุติธรรมมีหน้าท่ีสําคัญในการสนับสนุน ให้ข้อเสนอแนะเก่ียวกับการจัดทํา ขับเคลื่อนและติดตาม
ประเมินผลแผนแม่บทฯ สําหรับในส่วนภูมิภาค ใช้กลไกคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานจังหวัด (กพยจ.)
ในการขับเคลื่อนให้หน่วยงานด้านกระบวนการยุติธรรมในพ้ืนท่ีมีการจัดทําแผนปฏิบัติตามกรอบแผนแม่บทการ
บริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2566 - 2569) และดําเนินการตามแผนแม่บทฯ รวมถึงผลักดัน
ประเด็นสําคัญในแผนแม่บทฯท่ีมีความสอดคล้องกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และแผนพัฒนาจังหวัด ท้ังน้ี ควร
เปิดโอกาสให้มีการรับฟังข้อมูลการดําเนินงาน รวมท้ังข้อจํากัดในการดําเนินงาน ตลอดจนสถานการณ์ปัญหา
หรือความต้องการในการพัฒนากระบวนการยุติธรรมระดับพื้นที่จากคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงาน
ระดับจังหวัด (กพยจ.) ผ่านการรายงานมายังคณะอนุกรรมการประสานและพัฒนาระบบงานยุติธรรม เพ่ือแจ้ง
ให้กับทางคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ (กพยช.) รับทราบ พร้อมท้ังพิจารณาให้
การสนับสนุนการดําเนินงานท่ีจําเป็นในระดับพื้นท่ีตามกรอบการแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ
ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2566 - 2569) อยา่ งเหมาะสมในลําดับต่อไป
49
2 แนวทางการตดิ ตามและประเมนิ ผล
เมื่อมีการขับเคลื่อนและการดําเนินงานตามแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 4
(พ.ศ. 2566-2569) ควรกําหนดให้มีการติดตามความคืบหน้าและผลของการนําแผนแม่บทฯ ไปใช้เป็นกรอบ
ในการดําเนินงานของหน่วยงานในหกระบวนการยุติธรรมอย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งการติดตามข้อมูลเก่ียวกับ
ปัญหาหรือข้อจํากัดในการดําเนินงาน เพ่ือประเมินความสําเร็จของแผนว่าเป็นไปตามเป้าหมายในการพัฒนางาน
ยุติธรรมตามท่ีกําหนดไว้ในแผนหรือไม่ พร้อมรายงานต่อ กพยช. เพื่อรับทราบและให้ข้อเสนอแนะ รวมถึง
ดําเนินงานร่วมกับสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (ซ่ึงเป็นหน่วยงานหลักในการ
ติดตามการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์ชาติและแผนปฏิรปู ประเทศ) โดยมแี นวทางการติดตามประเมินผล ดงั น้ี
2.1 การติดตามการนําแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2566 -
2569) ไปเป็นกรอบการดําเนินงานของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม โดยพิจารณาจากหน่วยงานใน
กระบวนการยุติธรรม มีการนําแนวนโยบายและทิศทางตามแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติฉบับท่ี 4
(พ.ศ. 2566 - 2569) ไปใช้เป็นกรอบในการกําหนดเป้าหมาย แผนงาน โครงการ กิจกรรมและการดําเนินงาน
ของหน่วยงานในประเด็นต่าง ๆ พร้อมปัญหาอุปสรรคจากการนําแผนไปใช้ จากการติดตามข้อมูลและสอบถาม
ความคิดเห็นของผู้แทนหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ด้วยวิธีการสํารวจข้อมูลเชิงเอกสารการสัมภาษณ์ หรือการประชุม
รบั ฟังความคดิ เห็น โดยกําหนดให้มกี ารดาํ เนินการเปน็ ประจาํ ทุกปีงบประมาณ
2.2 การติดตามผลสําเร็จตามเป้าหมายท่ีกําหนดไวใ้ นแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ
ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2566 - 2569) โดยพิจารณาจากตัวช้ีวัดและแนวทางการวัดผลตามที่กําหนดไว้ในแผนแม่บท
การบรหิ ารงานยุตธิ รรมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 4 (พ.ศ. 2566 - 2569) จากวิธีการหลกั 3 ส่วน ไดแ้ ก่
(1) การติดตามจากข้อมูลของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง (Administrative Data) เป็นการสํารวจ
ข้อมูลจากแผนปฏิบัติราชการ แผนงาน รายงานผลการดําเนินงาน และสถิติข้อมูลท่ีมีการจัดเก็บอย่างเป็น
ทางการของหนว่ ยงานในกระบวนการยตุ ธิ รรม
(2) การติดตามจากการสํารวจข้อมูลภาคประชาชน (Public Survey) เป็นการสํารวจข้อมูล
และความคิดเห็นของประชาชน ในประเด็นต่าง ๆ ท่ีสะท้อนให้เห็นความสําเร็จตามตัวชี้วัดที่กําหนดไว้ ในแผน
แม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2566 - 2569) โดยสํานักงานกิจการยุติธรรม กระทรวง
ยุติธรรม ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ เป็นหน่วยงานหลักท่ี
รับผิดชอบในการดําเนินการสํารวจ เพ่ือติดตามและประเมินผลความสําเร็จของแผนแม่บทการบริหารงาน
ยตุ ิธรรมแหง่ ชาติ
(3) การติดตามผลความสําเร็จของโครงการ/กิจกรรมสําคัญที่สอดคล้องและสนับสนุน
มิติการบริหารงาน เป้าหมายและแนวทางการดําเนินงานตามแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ
ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2566 - 2569)
50