The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Patcharapon Pittapan, 2021-11-23 03:47:19

6419050017

6419050017

เคร่ืองมือการบริหาร
จดั การสถานศกึ ษา

สมยั ใหม่

นายพชรพล ปิตตะพันธ์
6419050017 sec 01

คานา

รายงานฉบับนเี้ ปน็ สว่ นหน่ึงของรานวิชา 905-502 หลักการและทฤษฎกี ารบริหาร
โดยมจี ุดประสงค์ เพื่อการศึกษาองคค์ วามรู้ เรอ่ื งเคร่ืองมือการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา
สมัยใหม่ ตลอดจนการประยุกต์ใช้กับสถานศกึ ษา

ผู้จัดทาไดเ้ ลอื กหวั ขอ้ การบรหิ ารสถานศกึ ษา แบบ Benchmarking นใ้ี นการทา
รายงาน เนอื่ งมาจากเปน็ เรอ่ื งทีน่ า่ สนใจ และมีผลลพั ท์ในการบรหิ ารท่ดี ี ผ้จู ดั ทาจะต้อง
ขอขอบคุณอาจารย์เชาวนี แกว้ มโน อาจารยผ์ ใู้ ห้ความรู้ และแนวทางการศึกษา ผู้จดั ทา
หวงั ว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และเปน็ ประโยชน์แก่ผู้อ่านทกุ ๆ ท่าน

พชรพล ปติ ตะพันธ์

สารบัญ

เร่ือง หน้า

คาจากดั ความของการบรหิ าร 1
การบรหิ ารการศกึ ษา 2
ทฤษฎกี ารบริหารการศึกษา 3
พฒั นการของทฤษฎใี นการบริหารการศึกษา 3
ลกั ษณะสาคญั ของทฤษฎีการบรหิ ารการศึกษา 4
ความสัมพันธร์ ะหว่างทฤษฎกี บั แนวปฏบิ ัตทิ างการบริหารการศกึ ษา 5
คาจากดั ความ Benchmarking 6
Benchmarking กบั การบรหิ ารสถานศึกษา 7

1

ทฤษฎแี ละการบรหิ ารจดั การศกึ ษา

ในการบริหารสถานศึกษา ผู้บรหิ ารควรมหี ลักและกระบวนการบรหิ าร การ
บรหิ ารการศกึ ษา หลกั การแนวคิดในการบรหิ าร ภาพรวมของการบรหิ ารทั้งน้ีเพอ่ื ให้
การจดั การบรหิ ารสถานศึกษามคี วามเหมาะสม ผู้เขียนจะได้กลา่ วถึงประเดน็ ดงั กลา่ ว
เพอื่ ให้เกิดความเขา้ ใจและมมุ มองในการ บริหารสถานศกึ ษายิง่ ขึ้นตอ่ ไป

คาจากัดความ
คาว่า “การบรหิ าร” (Administration) ใช้ในความหมายกวา้ ง ๆ เช่น การ

บรหิ ารราชการ อกี คาหนงึ่ คือ “ การจดั การ” (Management) ใชแ้ ทนกันได้กับคาว่า
การบริหาร สว่ นมากหมายถงึ การจดั การทางธรุ กิจมากกว่าโดยมหี ลายท่านได้ระบดุ งั นี้
Peter F. Drucker : คอื ศลิ ปะในการทางานให้บรรลเุ ปา้ หมายรว่ มกับผูอ้ ่นื (ภาวดิ า
ธาราศรีสทุ ธ,ิ 2542: 2)
Herbert A. Simon : กล่าวว่าคือ กจิ กรรมท่บี คุ คลต้งั แต่ 2 คนข้ึนไป ร่วมมือกนั
ดาเนินการให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคอ์ ยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ หรือหลายอย่างร่วมกนั (ภาวิดา
ธาราศรสี ทุ ธ,ิ 2542: 2)

การบรหิ าร หมายถงึ ศลิ ปะในการทาให้สงิ่ ต่าง ๆ ไดร้ ับการกระทาจนเปน็
ผลสาเร็จ กลา่ วคอื ผ้บู ริหารไม่ใช้เป็นผู้ปฏบิ ตั ิ แตเ่ ปน็ ผใู้ ชศ้ ิลปะทาให้ผ้ปู ฏบิ ัติทางาน
จนสาเร็จตามจุดมงุ่ หมายที่ผบู้ รหิ าร ตัดสนิ ใจเลือกแล้ว (Simon)

การบรหิ าร คอื กระบวนการทางานร่วมกับผูอ้ ่ืนเพื่อใหเ้ กิดผลสัมฤทธ์ิตาม
เปา้ หมายอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

การบริหาร คอื การทางานของคณะบคุ คลตงั้ แต่ 2 คนขึน้ ไป ท่ีรวม
ปฏิบตั กิ ารให้บรรลุเปา้ หมายร่วมกัน (Barnard)

การบริหาร หมายถงึ กิจกรรมตา่ งๆ ท่ีบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปร่วมมือกัน
ดาเนนิ การ เพอื่ ใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงคอ์ ยา่ งหน่ึงอย่างใดหรือหลายๆอย่างทบ่ี ุคคล
รว่ มกัน กาหนดโดยใชก้ ระบวนอย่างมีระบบและใหท้ รัพยากรตลอดจนเทคนิคตา่ งๆ
อยา่ งเหมาะสม (สมศักดิ์ คงเทีย่ ง , 2542 : 1)

2

คาวา่ “การบรหิ ารการศึกษา” หมายถึง กจิ กรรมตา่ งๆ ท่บี ุคคลหลายคน
ร่วมกนั ดาเนินการ เพื่อพฒั นาสมาชกิ ของสงั คมในทุกๆ ดา้ น นับแต่ บุคลิกภาพ
ความรู้ ความสามารถ เจตคติ พฤตกิ รรม คณุ ธรรม เพ่อื ใหม้ ีค่านยิ มตรงกนั กบั
ความตอ้ งการของสังคม โดยกระบวนการตา่ งๆ ที่อาศัยควบคมุ สิ่งแวดลอ้ มใหม้ ี
ผลตอ่ บคุ คล และอาศัยทรพั ยากร ตลอดจนเทคนิคตา่ งๆ อยา่ งเหมาะสม เพื่อให้
บุคคลพัฒนาไปตรงตามเปา้ หมายของสังคมทต่ี นดาเนนิ ชีวติ อยู่(ภาวิดา ธาราศรี
สุทธ,ิ 2542: 6)

คาวา่ “สถานศึกษา” หมายความ วา่ สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั
โรงเรยี น ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและตามอัธยาศยั ศนู ย์
การเรยี น วิทยาลัย วทิ ยาลยั ชุมชน สถาบนั หรอื สถานศึกษาทเ่ี รียกชือ่ อยา่ งอ่ืน
ของรัฐที่มอี านาจหนา้ ทห่ี รอื มี วตั ถปุ ระสงค์ในการจดั การศึกษา ตามกฎหมายวา่
ดว้ ยการศกึ ษาแห่งชาติและตาม ประกาศกระทรวง (พระราชบญั ญัติระเบยี บ
ขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา, 2547 : 23)

การบริหารเป็นท้งั ศาสตร์และศิลป์
การ บรหิ ารเปน็ สาขาวิชาที่มกี ารจดั การระเบยี บอย่างเปน็ ระบบ คือมี

หลกั เกณฑแ์ ละทฤษฎที ีพ่ งึ เช่ือถอื ได้ อนั เกดิ จาการค้นคว้าเชงิ วทิ ยาศาสตร์ เพ่อื
ประโยชนใ์ นการบริหาร โดยลักษณะน้ี การบริหารจึงเป็นศาสตร์ (Science) เปน็
ศาสตรส์ ังคม ซง่ึ อย่กู ลมุ่ เดยี วกบั วิชาจติ วิทยา สงั คมวทิ ยา และรฐั ศาสตรแ์ ตถ่ ้า
พิจารณาการบรหิ ารในลกั ษณะของการปฏบิ ัตทิ ่ีตอ้ ง อาศยั ความรู้ ความสามารถ
ประสบการณ์และทกั ษะของผบู้ รหิ ารแตล่ ะคน ทจี่ ะ ทางานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย ซึ่ง
เปน็ การประยกุ ต์เอาความรู้ หลักการและทฤษฎไี ปรับใช้ในการปฏิบัตงิ านเพื่อให้
เหมาะสมกบั สถานการณ์ และสิ่งแวดลอ้ ม การบรหิ ารก็จะมีลกั ษณะเป็นศลิ ป์
(Arts) ปัจจัยสาคัญการบริหารท่ีสาคัญมี 4 อย่าง ที่เรียกวา่ 4Ms ได้แก่
1. คน (Man)
2 เงนิ (Money)
3. วสั ดุสง่ิ ของ(Materials)
4. การจัดการ (Management)

3

ทฤษฎี : การบริหารการศกึ ษา

มผี ู้ใหค้ านิยามไว้วา่ ทฤษฎี หมายถึง ชดุ ของแนวคดิ (Concepts) คติฐานหรอื
ข้อสันนษิ ฐาน (Assumption) และขอ้ ยุตโิ ดยทว่ั ไป (Generalization) ท่อี ธิบาย
พฤติกรรมขององค์การ อยา่ งเปน็ ระบบ และมคี วามสัมพนั ธ์ต่อกัน
แต่สาหรบั ข้อสมมตฐิ าน (Hypothesis) หมายถงึ การตั้งขอ้ กาหนด หรือขอ้ สมมตทิ ี่
คิดหรอื คาดวา่ น่าจะเปน็ ขนึ้ มา แล้วพยายามศกึ ษา คน้ ควา้ ทดลอง เพ่อื หาข้อสรุปมา
พิสูจน์ใหจ้ งไดว้ า่ ขอ้ สมมตฐิ านทีต่ ัง้ ไวน้ ั้น จรงิ หรือไมจ่ รงิ

พัฒนการของทฤษฎีในการบรหิ ารการศึกษา

ความเก่ียวขอ้ งของทฤษฎีท่ีเขา้ มาสมั พันธก์ บั การบรหิ ารการศึกษานน้ั มีจุดเริม่ ต้นมา
จากการกระต้นุ ให้เกิดการเปลยี่ นแปลงทเี่ กิดข้นึ ในดา้ นสงั คมศาสตร์ ก่อนสงครามโลก
คร้ังท่ี 2 เชสเตอร์ ไอ บารน์ ารด์ ,เอลตัน มาโย และเอฟ เจ รอธลิสเบอร์เกอรไ์ ด้เปดิ
ทศั นะใหมแ่ ห่งการศึกษาการบริหาร แตส่ งครามได้ผลักดนั ใหน้ ักวิทยาศาสตร์สงั คมหนั
เหไปจากการทดลองในห้องปฏบิ ตั ิการไประยะหน่ึง ในระยะนน้ั นักจิตวิทยา นกั สังคม
วิทยา และนกั มานษุ ยวทิ ยากต็ อ้ งเขา้ จัดการกบั ปญั หาดา้ นตา่ งๆ ทีร่ มุ เรา้ เข้ามา เม่อื
สงครามส้ินสดุ นักคน้ ควา้ เหล่านี้ก็หนั มาศึกษาเร่อื งราวเก่ียวกับการบริหารอย่างจรงิ จงั
อีกครั้งหนึง่ ในปี 1947 มีการประชมุ แหง่ ชาตขิ องศาสตราจารยแ์ ห่งการบริหาร
การศึกษา (National Conference of Professors of Educational
Administration NCPEA) ซ่ึงการประชมุ ในครัง้ นน้ั ทปี่ ระชุมไดต้ ระหนกึ ถงึ การ
พัฒนาทางด้านสงั คมศาสตร์ และในปี 1950 มโี ครงการรว่ มมอื ระหวา่ งกันในการ
บริหารการศกึ ษา (Cooperative Program in Eductational Administration
CPEA) เพอ่ื แสวงหาแนวทางใหม่ ๆ ในการบริหารการศึกษา แตก่ ารปฏิบตั งิ านในคร้งั
กระนนั้ กม็ ไิ ด้ค้นพบอะไรท่เี กย่ี วกบั ทฤษฏกี ารบรหิ ารมากนัก
ต่อมา บรรดาสมาชกิ NCPEA เสนอแนะใหท้ ่ปี ระชุมสนสั นุนการเขยี นหนงั สอื ที่
รายงานผลการวิจัยสิ่งทค่ี น้ พบเกย่ี วกับการบริหารการศึกษา และในปี 1954 โรอัลด์
แคมป์เบล และเกร๊ก รัสเซลได้รว่ มกันเปน็ บรรณาธิการหนังสอื ชือ่ Administrative
Behavior in Education แตป่ รากฎว่า ในบรรดาผเู้ ขยี นจานวน 14 คน ทเ่ี ขียนเรอื่ ง
ลงหนังสอื เลม่ น้ี ได้พบวา่ หนังสอื เลม่ นีย้ ังขาดทฤษฎีการบริหาร ทาให้เกิดชอ่ งวา่ ง
ใหญ่โตในระหว่างความรู้เกีย่ วกบั การวิจัยด้านพฤตกิ รรมการบรหิ าร
(ฮัลปนิ ,1968 : xii)

อทิ ธพิ ลลาดบั ท่สี ามท่มี ตี ่อการบรหิ ารการศึกษาของสหรัฐอเมริกา ไดแ้ ก่การท่ี 4
มีการก่อตง้ั คณะกรรมการมหาวิทยาลยั ท่ีดลู แลด้านการบรหิ ารการศึกษา (The
University Council for Educational Administration UCEA) ขึ้นในปี 1956
คณะกรรมการชดุ นไี้ ด้ร่วมมอื กับ Educational Testing Service and Teachers
College รว่ มกันสนบั สนนุ ส่งเสรมิ การวิจยั ในโครงการขนาดใหญ่ ที่มุ่งออกแบบเพอื่
พัฒนามาตรการสาหรับการปฏิบตั ิงานของผูบ้ รหิ ารโรงเรียน ในชว่ งนเ้ี อง ทมี่ กี ารเขยี น
หนงั สอื ดัง ๆ ออกมาหลายเล่ม ได้แก่
1. The Use of Theory in Educational Administration แต่งโดยโคลาดารซ์ ี
และ เกตเซล ในปี 1955 เนน้ บรู ณาการของทฤษฎีและการปฏบิ ตั ิ
2. Uneasy Profession แต่งโดยกรอส กล่าวถึงอาชีพนกั บริหารการศึกษาว่าเป็น
อาชพี ทม่ี ใิ ช่ของง่าย ๆ เขาได้ชีใ้ ห้เหน็ ว่า จะตอ้ งมีทฤษฎเี ขา้ มาเก่ียวขอ้ งว่าผ้นู เิ ทศ
การศึกษาจะต้องปฏิบตั อิ ยา่ งไร มิใชว่ า่ “ควรจะปฏิบตั อิ ย่างไร”
3. Studies in School Administration แตง่ โดยมวั ร์ ได้รับการสนบั สนนุ จาก
สมาคมผูบ้ ริหารโรงเรยี นอเมริกนั (American Association
of School Administrators) มัวรไ์ ด้ทบทวนเรอื่ งราวที่มผี เู้ ขยี นบทความให้แก่ศนู ย์
CPEA 9 ศูนย์ แล้วพบว่า บทความเหล่านมี้ ีน้อนมากทกี่ ล่าวถึงทฤษฎกี ารบริหาร
การศกึ ษา
4. Administration Behavior in Education แตง่ โดยแคมป์เบลและเกรก็ ไดร้ ับ
เงนิ ทนุ สนับสนุนจาก NCPEA และก็เช่นเดยี วกนั ก็พบว่า งานเขยี นสว่ นใหญ่ขาดการ
วิจัยท่ีมุ่งค้นควา้ ดา้ นทฤษฎี (ฮัลปนิ , 1968 :3)

ลกั ษณะสาคัญของทฤษฎีการบรหิ ารการศกึ ษา

1. ทฤษฎปี ระกอบด้วยแนวคดิ คติฐาน และข้อยุติทัว่ ไปอยา่ งมเี หตผุ ล
2. ทฤษฎีมุง่ อธบิ ายและคาดการณก์ ฎตา่ ง ๆ ของพฤติกรรม อย่างมีระบบ
3. เป็นความเกีย่ วขอ้ งสมั พนั ธ์กันของวิธกี ารทดลองท่ีกระตุ้น และน้นี าให้มกี ารพฒั นา
หาความรู้เพิม่ เตมิ ในเร่อื ง
นั้น ๆ ให้ลา้ ลึกย่ิงข้นึ ในโอกาสตอ่ ไป

ความสาคญั ของทฤษฎี

1. ทาหน้าทีใ่ ห้ขอ้ ยตุ ิท่ัวไป (Generalization)
2. ก่อให้เกิดการวิจยั ทางดา้ นบริหารการศึกษา มกี ารทดสอบความเป็นไปได้ของ
ทฤษฏี และเมือ่ ต้ังเป็นทฤษฎีข้ึนมาได้แล้ว กเ็ ปน็ เครื่องชว่ ยชน้ี าในการปฏบิ ตั ิงาน หรือ
กอ่ ให้เกดิ การพัฒนางานใหม่ ๆ ขึ้นมา
3. การมีทฤษฎีบริหารการศกึ ษาขึน้ มาใช้ ชว่ ยอานวยความสะดวกใหแ้ กผ่ ศู้ กึ ษา
ทาให้ไม่จาเปน็ จะตอ้ งไปจดจาข้อมูล หรือข้อความต่าง ๆ มากมาย เพยี งแตจ่ าหลัก
การหรอื ทฤษฎีตา่ ง ๆ เหลา่ นนั้ ได้ ก็นับวา่ เปน็ การเพยี งพอแล้ว

5

ดังนน้ั ผู้บรหิ ารการศกึ ษาท้ังหลาย จะต้องเป็นนกั ปฏบิ ตั ทิ สี่ นใจปญั หาและ
เหตุการณอ์ ยา่ งเฉพาเจาะจงทเี่ กดิ ขน้ึ ในองค์การ ตอ้ งตคี วาม วเิ คราะห์ ประยกุ ต์เอา
หลักการและทฤษฏีต่าง ๆ ทางการบริหารการศกึ ษา มาใชใ้ นการปฏบิ ัติ มงุ่ แก้ปญั หาท่ี
เกิดขึน้ โดยอาศัยหลกั การ และทฤษฎีบริหารการศึกษาทไ่ี ด้มผี ู้ศึกษาคน้ ควา้ เอาไวอ้ ย่าง
ละเอยี ดรอบคอบแลว้ น้นั เป็นแนวทางในการดาเนินการ เพื่อความถกู ตอ้ ง และ
เหมาะสม

ความสมั พันธ์ระหวา่ งทฤษฎกี บั แนวปฏบิ ัตทิ างการบริหารการศึกษา

การบริหารงานใด ๆ กต็ าม จาเปน็ จะต้องมที ฤษฎีเป็นพื้นฐาน การบริหาร
การศึกษาก็เชน่ เดยี วกัน หากนกั บรหิ ารการศึกษาบรหิ ารงานไป โดยมิได้ใชท้ ฤษฎีเข้า
มาชว่ ยในการคิดและตัดสนิ ใจ กห็ มายความวา่ เขาดาเนนิ การไปโดยอาศัย
ประสบการณด์ ้ังเดมิ อาศัยสามญั สานึก ท่ีเรียกวา่ Common sense หรือท่ีเรียกวา่
ใช้กฎแหง่ นิ้วหัวแม่มือ (Rule of Thumb) ลองเดา ๆ ดู ว่าหากทาอยา่ งนี้แลว้ ผลจะ
ออกมาเป็นอยา่ งไร หากถกู ต้องกด็ ีไป หากผดิ ก็ถือวา่ ผิดเป็นครู แล้วลองทาใหม่ โดย
ไม่ยอมทาผิดซ้าในลกั ษณะเดิมอกี เปน็ ต้น นเ่ี ปน็ การลองผิดลองถูก (Trial and Error)
นนั่ เอง การคดิ และแก้ไขปัญหาด้วยสามญั สานึกเช่นน้ี เป็นการกระทาอยา่ งไมม่ ี
หลกั การ เปน็ การมองในแงม่ มุ แคบ ๆ หรอื ผูกติดอย่กู บั แนวทางใดแนวทางหนงึ่ แตเ่ พยี ง
อยา่ งเดียว อาจจะทาใหต้ ัดสินใจผิดพลาดไดโ้ ดยงา่ ย

ในทางตรงกนั ข้าม หากผูบ้ รหิ ารการศกึ ษาบริหารงานโดยอาศยั หลกั การและ
ทฤษฎกี ารบรหิ าร (การบรหิ ารการศึกษา) เป็นหลักหรอื เปน็ พืน้ ฐานในการคิด พิจารณา
และตดั สนิ ใจแล้ว กจ็ ะทาให้สามารถบรหิ ารงานได้อย่างมที ิศทางทตี่ รงแน่วไปในทางใด
ทางหน่งึ ที่พงึ ประสงค์ ไมส่ ะเปะสะปะ เมอ่ื จะตัดสินใจ กม็ ีหลกั การ และทฤษฎีเข้ามา
สนับสนุน วา่ สงิ่ ที่จะตัดสินใจกระทาลงไปนนั้ ไดเ้ คยมผี ูป้ ฏิบัตแิ ละกระทาซา้ ๆ ใน
ลกั ษณะเดียวกนั นั้นมาแลว้ มากมาย และเขาก็ทาได้ถูกต้องและเป็นผลดีด้วยกนั ทัง้ ส้ิน
ดังนั้น เมอ่ื เราปฏิบัติ หรอื ตัดสินใจในลักษณะอยา่ งเดยี วกนั นัน้ บ้าง กน็ า่ จะไดร้ ับผลดี
หรือทาได้ถกู ตอ้ งเช่นเดียวกัน

ความสมั พันธร์ ะหวา่ งทฤษฎกี ับการปฏบิ ตั ิ

การบริหารงานน้นั เป็นทง้ั ศาสตร์และศลิ ป์ ดงั ไดเ้ คยกล่าวไวแ้ ลว้ ดงั นนั้ นกั บรหิ าร
การศึกษาจะตอ้ งบรหิ ารงานในภารกจิ หน้าที่ทตี่ นกระทาอยู่ อยา่ งชาญฉลาด มคี วาม
แนบเนียนในการปฏิบตั ิ ให้งานนน้ั ดาเนนิ ไปได้โดยราบรนื่ สามารถขจัดปดั เปา่ อุปสรรค
ท้ังหลายที่เกดิ ขนึ้ ได้ เมื่อมีปญั หา ก็สามารถแก้ไขให้ลุลว่ งไปไดด้ ้วยดเี สมอ

6

ทฤษฎีกบั การปฏบิ ตั นิ น้ั มคี วามเกย่ี วข้องสมั พนั ธ์กันใน 3 ลกั ษณะ ดังต่อไปน้ี

1. ทฤษฎวี างกรอบความคิดแกผ่ ้ปู ฏิบัติ
ทฤษฎีช่วยให้ผู้ปฏบิ ัตมิ เี ครอื่ งมอื ใชใ้ นการวิเคราะหป์ ัญหาที่ประสบ นกั บรหิ าร
การศึกษาทม่ี คี วามสามารถนั้น จะต้องมีความสามารถสูงในการใช้ความคิด
(Conceptual Skill) โดยรู้จกั ตคี วาม และนาเอาทฤษฎกี ารบริหารการศึกษามา
ประยุกตใ์ ช้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ภายใต้สถานการณแ์ ละสิง่ แวดลอ้ มท่มี ีขีดจากดั และมี
ทรพั ยากรตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเปน็ ดา้ นเวลา กาลงั คน หรอื ทรัพย์สินเงนิ ทอง อยา่ งจากัด
ด้วยเชน่ กัน

2. การนาเอาทฤษฎีมาใช้ ชว่ ยใหแ้ นวทางวเิ คราะห์ผลท่ีเกดิ ขึน้ จากการปฏิบัติ
การทผ่ี บู้ รหิ ารนาทางเลอื กต่าง ๆ มาพิจารณา และตัดสนิ ใจดาเนินการลงไป โดย
อาศยั ทฤษฎีการบริหารมาประยุกตใ์ ช้ เพ่อื ประกอบเป็นเหตผุ ลในการตดั สินใจวินิจฉัย
สัง่ การ อนั เน่ืองมาจากความมีประสบการณส์ งู ของนักบรหิ ารการศึกษาเท่านัน้

3. ทฤษฎีชว่ ยในการตัดสนิ ใจ
ทฤษฎีชว่ ยให้ขอ้ มลู พน้ื ฐานแกก่ ารตดั สนิ ใจ การตดั สินใจท่ดี ีน้นั จะต้องประกอบไป
ด้วยกรอบความคดิ ท่ีแนน่ อนชัดเจน หากปราศจากกรอบความคดิ เสยี แลว้ การ
ตัดสนิ ใจก็อาจจะไม่ถูกตอ้ ง ไม่บงั เกดิ ผลดี ข้อมูลต่าง ๆ ทีไ่ ดร้ ับมาขอ้ มูลนั้น บางคร้งั
อาจไมช่ ดั เจน ตอ้ งมีการตีความเสยี ก่อน การมพี นื้ ฐานของทฤษฎีที่ดจี ะช่วยให้นัก
บริหารการศกึ ษาสามารถตัดสนิ ใจไดอ้ ย่างรวดเร็ว มคี วามม่นั ใจในการตัดสนิ ใจน้นั
และผลลพั ธท์ ่ไี ด้รับน้ัน มกั จะถูกตอ้ ง และบังเกิดผลดตี อ่ องคก์ ารเสมอ

ทฤษฏีประเภทต่าง ๆ ที่เกย่ี วขอ้ งกบั การบริหารการศกึ ษา

จากทไ่ี ด้มีการศึกษาเรอื่ งราวเก่ยี วกับประวัติ ความเป็นมาทางด้านการบริหาร และ
บ่อเกดิ แห่งทฤษฎีต่าง ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ งกับการบริหาร และการบรหิ ารการศกึ ษาแล้ว ทา
ใหส้ ามารถแยกทฤษฎีต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การบรหิ ารการศกึ ษาออกไดเ้ ปน็ 3 จาพวก
ดังต่อไปน้ี
1. ทฤษฎภี าวะผูน้ า
2. ทฤษฎมี นษุ ยสัมพนั ธ์
3. ทฤษฏอี งคก์ าร
4. ทฤษฏกี ารบริหาร
5. ทฤษฏกี ารบรหิ ารการศึกษา

7

Benchmarking เป็นกระบวนการปรบั ปรงุ เปลยี่ นแปลงขององค์กร
แม้วา่ จะมีการบอกที่มาทีไ่ ปของคาๆ น้จี ากหลายที่มา บา้ งกว็ า่ "มาจากทมี นักสารวจ
พน้ื ทีท่ ่ีต้องทารอยตาหนิ หรอื ตอกหมดุ รังวัดที่ดินบนกอ้ นหนิ ต้นไม้ กาแพง หรอื เสา
เพ่อื บอกระดบั ความสงู ต่าของภูมปิ ระเทศ (รอยตาหนิเหลา่ นี้เรียกว่า Benchmark)" หรอื
บ้างก็วา่ "มาจากที่น่งั บนม้านง่ั ยาวของนักตกปลา(Bench) ครั้งเม่ือตกปลาได้ ตา่ งก็จะนา
ปลาของตนมาวางเทยี บขนาดและทาเคร่ืองหมาย (Marking) บนมา้ น่งั (Bench) เพ่อื วัด
ว่าปลาของคนไหนตัวใหญ่-ยาวทสี่ ดุ "
แตไ่ ม่วา่ จะมที ี่มาอย่างไร คาว่า Benchmark กล็ ว้ นแล้วแตส่ ะทอ้ นให้เห็นถงึ การ
เปรยี บเทียบระหว่างกัน เพ่ือให้เหน็ จดุ แตกต่าง หรือ ช่องวา่ ง (Gap) ระหวา่ งสภาพ/
ความสามารถของตนเอง กับผู้ท่ีเหนือกว่า หรือเกง่ กวา่ นัน่ เองอยา่ งไรกต็ าม ความสาคญั
ของ BENCHMARKING นั้นไม่ไดห้ ยดุ อยทู่ ี่การรับรวู้ ่าตนเองออ่ นด้อย หรือหา่ งชั้นกว่าผ้ทู ี่
เกง่ ทส่ี ุด (The Best) มากนอ้ ยแคไ่ หนเทา่ น้ัน หากแตย่ งั รวมไปถึงว่า The Best เหล่านนั้
ทาอย่างไร (How) จงึ เกง่ กาจเช่นนั้นได้ การเรียนรู้และพฒั นาจากผูท้ ี่เกง่ กวา่ เช่นนี้ จะทา
ให้ตนเองมเี ปา้ หมายที่ท้าทายและเปน็ ไปได้ (เพราะผู้ทเี่ ก่งที่สุดเคยทาได้มาก่อน) ยอ่ มทา
ให้เกดิ การพฒั นาอย่างก้าวกระโดด จึงพอสรปุ ได้วา่ BENCHMARKING เป็นเครอื่ งมือ/
กลไกในการพัฒนา และนาไปสู่การจัดการบรหิ ารองคก์ ร หรอื หนว่ ยงานหรือ
กระบวนงาน เพื่อวดั -เปรยี บเทยี บสมรรถนะของตนกับผู้เกง่ กวา่ หรือเก่งท่สี ดุ และเรยี นรู้
วิธกี ารเพ่อื ก้าวส่คู วามเปน็ ทสี่ ุด หรือเหนอื กว่าในด้านน้นั ๆ
ความหมายของ Benchmarking

การทา Benchmarking เริม่ เกิดทปี่ ระเทศสหรัฐอเมรกิ า ตง้ั แต่ปี 2523 โดยเป็น
กระบวนการบริหารธรุ กจิ ทม่ี กี ลยทุ ธเ์ ฉพาะตัว Benchmarking เปน็ กระบวนการทไ่ี ด้
จากการเรียนรจู้ ากผอู้ ืน่ โดยการเปรยี บเทียบกับหนว่ ยงานอน่ื ๆ ในส่วนต่างๆ ได้ โดยเปน็
กระบวนการต่อเน่อื ง ทใ่ี ช้ระยะเวลาดาเนนิ การระยะยาว อย่างมีระเบียบแบบแผน โดยมี
ตัววัดความกา้ วหน้า ในแตล่ ะระยะเวลาได้ Benchmarking process เป็นกลวธิ ีท่เี ปน็
ประโยชน์ ในการปรับปรงุ องค์กรทกุ ประเภท ท้ังในภาครฐั และภาคเอกชน

8

“Benchmarking” เปน็ เครือ่ งมอื ทางการบรหิ ารจัดการ เพ่อื นาองค์กรไปสคู่ วามเปน็
เลิศในการดาเนนิ งาน (Best Practice) โดยการนาองคค์ วามรู้ทางการบรหิ ารจัดการองคก์ ร
ของตน และผลสาเร็จจากการดาเนินงานของกิจการหรือองคก์ รของตน ไปเปรยี บเทียบกับ
องค์กรอ่นื หรือกิจการอืน่ เพ่อื ศกึ ษาข้อมูลและกลยุทธใ์ นการบริหารงาน ท้ังนเ้ี พือ่ ให้ได้แนวคดิ
และขอ้ เสนอแนะ ในการกาหนดทศิ ทางในการปรับปรงุ งาน และการบรหิ ารงานใหบ้ รรจผุ ลดี
ย่งิ ขึน้ เป็นการบรหิ ารงาน โดยการศึกษาจากความสาเร็จของผูอ้ ืน่ ตามปกติแนวคิดการ
บรหิ ารงานแบบ Benchmarking ถูกนามาใช้ในองค์กรธุรกจิ เป็นสว่ นใหญ่ โดยมชี ื่อเรียกวา่
"การเปรยี บเทียบสคู่ วามเปน็ เลิศ" การเปรียบเทียบตามวธิ ีการของ Benchmarking สมารถทา
ได้หลายระดบั เช่น เปรียบเทยี บกบั คูแ่ ขง่ ในธุรกจิ เดยี วกัน เปรยี บเทียบกบั หน่วยงานในองค์กร
เดยี วกนั เปรียบเทยี บกับหน่วยงานท่มี ลี กั ษณะการทางานเหมอื นกัน เปรียบเทียบกบั
กระบวนการผลติ ของบรษิ ัทอนื่ หรอื อาจเปรยี บเทียบกับนโยบายของบรษิ ัทอ่นื เปน็ ต้น สาหรับ
กรณีของการ บรหิ ารจัดการสถานศึกษาแลว้ การนาแนวคดิ Benchmarking มาใชใ้ นการ
บรหิ ารสถานศึกษา จะชว่ ยให้เกิดการพัฒนา (Development) และการเปลี่ยนแปลง
(Change) ไปส่สู ิง่ ที่ดกี ว่า ทงั้ สภาพแวดล้อมทางกายภาพของสถานศึกษา รวมทง้ั
บุคลากรทง้ั ในระดบั บริหารและระดบั ปฏิบัตกิ ารในสถานศึกษาน้ัน 1 ในการน้ีจาเป็นต้อง
เริ่มต้นจากกระบวนการเปรยี บเทยี บ (Benchmark) กบั ผู้ท่ดี กี ว่าหรือดที ส่ี ดุ เปน็ อนั คับแรก ซ่ึง
วงการบริหารทั่วไปตา่ งขอมรบั กันวา่ Benchmark' เปน็ ขั้นตอนมาตรฐานสากลท่ที าไดโ้ ดยง่าย
วงการศึกษากเ็ ช่นเดียวกัน สถานศกึ ษาเปน็ หนว่ ยงานท่รี ับผิดชอบในการจดั การศึกษา และ
เพือ่ ใหก้ ารพฒั นางานเข้าสูม่ าตรฐานท้ัง ๓ ดา้ น คือ มาตรฐานคา้ นการบริหารโรงเรียน
มาตรฐานคา้ นการเรียนการสอนและมาตรฐานดา้ นคุณภาพนกั เรยี น ได้อยา่ งมคี ุณภาพ

9

ทาไมต้อง Benchmarking

หวั ใจสาคัญของการทา Benchmarking อยู่ตรงทท่ี าให้องค์กรมวี ิธีการปรบั ปรุงที่
ชดั เจนเปน็ รูปธรรม เพราะใชอ้ งคก์ รทเ่ี หนอื กวา่ เปน็ ตวั ตั้งและนามาเปรยี บเทียบหรอื
เทยี บเคยี ง ซึ่งเปน็ การเปรยี บเทียบทม่ี ิใชก่ ารลอกเลียนแบบ เปน็ การเปรียบเทียบเพ่ือให้
เรารูว้ า่ องคก์ รของเราอยหู่ ่างชั้นกบั องค์กรน้ันๆ แคไ่ หน และตอ้ งทาอยา่ งไรบา้ งจงึ จะ
สามารถบรรลุเปา้ หมายได้ตามต้องการ ซ่ึงแนวทางทไี่ ดม้ าจากการรวบรวมข้อมูล ศกึ ษา
วิเคราะห์ถึงรปู แบบการดาเนินงาน กระบวนการ และวธิ ที ่ีองคก์ รแม่แบบใช้แลว้ ประสบ
ความสาเร็จ จากน้นั นามาเปรียบเทียบกับองค์กรของตนเพ่อื ให้เข้าใจถงึ ขอ้ แตกต่าง และ
แนวทางปฏบิ ตั ิ เพื่อนามาปรับปรุงการดาเนินงานขององค์กร ด้วยวธิ ีการของ
Benchmarking จะช่วยให้องคก์ รไดแ้ นวทางปฏบิ ตั ิ โดยลดความผิดพลาดอันอาจเนอื่ ง
มากจากการดาเนนิ งาน หรือการคาดการณผ์ ิด ทงั้ น้ีเนือ่ งจากองคก์ รแม่แบบ สามารถ
ดาเนินงานจนบรรลผุ ลสาเร็จมาแล้ว และยังเปน็ การชว่ ยประหขัดทรพั ยากร ในการ
บรหิ ารจดั การ ได้อีกทางหนง่ึ ด้วยโดยเฉพาะวงการศกึ ษาท่ีมีสถานศึกษาหลายแหง่
ประสบผลสาเร็จในการบรหิ ารจดั การตามเกณฑ์มาตรฐานจนไดร้ บั รางวัลมาแลว้ ดงั นน้ั
การนาBenchmarking มาใช้ในการบรหิ ารสถานศกึ ษาถอื ว่ามีความเหมาะสมอย่างยงิ่

รูปแบบของการทา Benchmarking ในสถานศกึ ษา

๑. การเปรียบเทยี บกบั ค่แู ข่งขัน (Competitive Benchmarking) เป็นการทา
Benchmarking ทที่ าการศึกษากระบวนการทางาน หนา้ ที่ และกิจกรรมต่างๆ รวมท้งั การ
ดาเนนิ งานและข้อมูลในมตติ ่าง ๆ ระหว่างสถานศึกษาของตนกับสถานศกึ ษาอืน่ (คู่แข่งขนั ) ทม่ี ี
ศักยภาพ โดยตรงเพื่อทผี่ ้บู ริหารจะได้เห็นจุดอ่อนของตน ความแตกตา่ งในความสามารถและ
ศักยภาพ ตลอดจนวิธกี ารดาเนินงานเพ่อื ท่ีจะสามารถพฒั นาสถานศึกษาของตนเองใหเ้ ทา่
เทยี มหรอื เหนอื กว่าสถาบันการศึกษาตน้ แบบทด่ี ที ส่ี ุดได้
๒. การเปรยี บเทยี บภายในองค์กร (Internal Benchmarking) โดยการทา Benchmark
เปรียบเทยี บกันระหวา่ งหนว่ ยงานหรอื กระบวนการตา่ งๆ ภายในสถาบนั การศึกษา เพอื่
ทาการศึกษาและวเิ คราะหป์ ัญหาเพื่อให้เป็นต้นแบบ (Prototype) ในการพฒั นาการ และเพ่ือ
การเปรยี บเทยี บในรูปแบบอ่ืนตอ่ ไป

10

๓. การเปรียบเทียบตามหนา้ ท่ี(Functional Benchmarking) เปน็ การเปรียบเทียบการ
ดาเนินงานในแตล่ ะหนา้ ท่ี (Function)ทีเ่ ราสนใจ โดยไม่คานงึ ถึงความแตกตา่ งของ
ความเป็นสถาบนั การศึกษาหรือหนว่ ยงานขององค์กร เป็นการปฏบิ ัตทิ ัว่ ทั้งองคก์ าร
เน่อื งจากการ Benchmarkตามหน้าท่ีจะชว่ ยลดความยุ่งยากในการหาคเู่ ปรียบเทียบ
(Benchmarking Partner) ซึ่งเราสามารถคดั เลอื กคเู่ ปรยี บเทียบได้จากองคก์ ร หรือ
หนว่ ยงานที่มใิ ช่เพียงสถาบนั การศกึ ษาเท่าน้นั แต่จะทาการเปรียบเทียบจากหนา้ ทก่ี าร
ปฏิบัตงิ าน โดยการเลอื กองคก์ ร ที่มีการปฏบิ ัตงิ านดที สี่ ดุ (Best Practice) มาเปน็
แม่แบบในแตล่ ะหน้าท่ี ก่อนกระจายหรอื ขยายผลไปขังส่วนอ่นื ขององค์กร
๔. การเปรียบเทียบทัว่ ไป (Generic Benchmarking) เปน็ การดาเนนิ งานท่ีให้
ความสาคญั กับกระบวนการเฉพาะ (Specific Benchmarking) เป็นการดาเนินงานทีใ่ ห้
ความสาคญั กับกระบวนการเฉพาะ (Specific Process)ทีใ่ ช้กันอย่างทั่วไปในการจดั
การศึกษาและสถาบนั การศกึ ษา โดยกระบวนการต่าง ๆ อาจมกี ารดาเนินงานท่ี
เก่ียวขอ้ งกับหลายหนา้ ท่ี การ Benchmark ทัว่ ไปจะเป็นประโยชน์ในการบรหิ ารและ
พัฒนากระบวนการต่างของสถาบันการศึกษาใหท้ นั สมัยและมีประสทิ ธิภาพอยู่เสมอ

ข้อจากัดของการทา Benchmarking

๑. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาไม่รู้ปัญหาที่แท้จรงิ ของตนเอง ทาใหไ้ ม่สามารถกาหนดออกมาได้
วา่ จะเปรียบเทยี บกบั อะไร หรอื แกป้ ญั หาดา้ น ใด ดังน้นั ผู้บรหิ ารและบุคลากรภายใน
สถานศกึ ษาทีจ่ ะทาการ Benchmarking ต้องรู้รายละเอียดเกย่ี วกับสถาบันการศึกษาของ
ตนเปน็ อย่างดี เพอื่ จะได้ทราบวา่ ตนมีจดุ เดน่ หรือจุดดอ้ ยอยา่ งไร มีความต้องการท่ีจะ
แก้ปัญหาด้านใด
๒. สถาบนั การศกึ ษาทีจ่ ะเลือกเป็นแมแ่ บบในการทา Benchmarking น้นั ควรเป็น
สถาบันการศกึ ษาทไ่ี ดร้ บั การยอมรับวา่ ประสบความสาเรจ็ อยูใ่ นระดบั หน่งึ เพื่อจะได้นา
จดุ เด่นดังกลา่ วมาปรับปรงุ ในสว่ นของสถาบนั การศึกษาทจี่ ะทาการปรับปรุง
๓. ขอ้ มลู ทตี่ อ้ งการจะทราบจากสถาบนั การศึกษาทเี่ ราตอ้ งการศกึ ษาอาจหามาไดห้ ลาย
แต่วธิ ที ด่ี ที สี่ ดุ ก็คอื ขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากภายในสถาบันการศึกษาแม่แบบนน้ั ซ่งึ ตามปกตวิ ธิ ีการ
สถาบันการศกึ ษาแมแ่ บบ มกั เปน็ สถาบันท่ีไดร้ บั รางวลั และมคี วามต้องการเผยแพรข่ ้อมูล
ของตนอยู่แล้ว
๔. ไม่เขา้ ใจการทา Benchmarking อย่างแท้จรงิ ผบู้ ริหารบางคนคิดว่าเป็นการลอก
กระบวนการ วธิ ีการของแม่แบบมาใช้ โดยขาดการวเิ คราะหใ์ ห้เหมาะสมกับ
สถาบนั การศึกษาของตน ซึ่ง Benchmarking เป็นเคร่อื งมอื บรหิ ารสาหรบั องค์กรที่
ต้องการพฒั นาและปรับปรงุ การทางานให้มีประสทิ ธิภาพมากขึน้ ดังนัน้ ความสาคญั ของ
Benchmnarking อยตู่ รงทีท่ าให้องคก์ รมี

11

รปู แบบของการทา Benchmarking ในสถานศกึ ษา

๑. การเปรียบเทยี บกบั คู่แข่งขัน (Competitive Benchmarking) เป็นการทา
Benchmarking ท่ที าการศกึ ษากระบวนการทางาน หนา้ ท่ี และกิจกรรมต่างๆ รวมทง้ั
การดาเนนิ งานและขอ้ มูลในมตติ า่ ง ๆ ระหว่างสถานศึกษาของตนกับสถานศกึ ษาอนื่ ที่
มศี ักยภาพ โดยตรงเพอ่ื ทีผ่ บู้ ริหารจะได้เห็นจุดอ่อนของตน ความแตกตา่ งใน
ความสามารถและศักยภาพ ตลอดจนวิธกี ารดาเนนิ งานเพือ่ ที่จะสามารถพัฒนา
สถานศกึ ษาของตนเองให้เท่าเทยี มหรอื เหนือกวา่ สถาบนั การศึกษาต้นแบบทีด่ ีทีส่ ุดได้

๒. การเปรยี บเทียบภายในองค์กร (Internal Benchmarking) โดยการทา
Benchmarkเปรียบเทยี บกันระหว่างหน่ายงานหรือกระบวนการต่างๆ ภายใน
สถาบันการศึกษา เพื่อทาการศึกษาและวเิ คราะหป์ ญั หาเพอ่ื ให้เปน็ ต้นแบบ
(Prototype) ในการพฒั นาการ และเพ่อื การเปรียบเทยี บในรปู แบบอนื่ ตอ่ ไป

๓. การเปรียบเทยี บตามหน้าท่ี (Functional Benchmarking) เป็นการ
เปรียบเทียบการดาเนินงานในแต่ละหนา้ ท่ี (Function) ท่เี ราสนใจ โดยไม่คานึงถงึ
ความแตกต่างของความเปน็ สถาบันการศกึ ษาหรือหนว่ ยงานขององคก์ ร เปน็ การ
ปฏบิ ตั ิทวั่ ทงั้ องคก์ าร เน่อื งจากการ Benchmark ตามหน้าที่จะช่วยลดความ
ยงุ่ ยากในการหาค่เู ปรยี บเทยี บ (Benchmarking Partner) ซ่ึงเราสามารถ
กัดเลือกคู่เปรียบเทียบได้จากองค์กร หรือหน่ายงานทม่ี ใิ ชเ่ พียงสถาบนั การศกึ ษา
เทา่ น้ัน แตจ่ ะทาการเปรียบเทียบจากหน้าท่กี ารปฏบิ ตั งิ าน โดยการเลอื กองคก์ รที่
มีการปฏบิ ัตงิ านดีท่สี ุด (Best Practice) มาเปน็ แมแ่ บบในแตล่ ะหนา้ ที่ ก่อน
กระจายหรือขยายผลไปยังส่วนอืน่ ขององคก์ ร

๔. การเปรียบเทียบท่วั ไป (Generic Benchmarking) เป็นการดาเนินงานท่ีให้
ความสาคญั กบั กระบวนการเฉพาะ (Specific Benchmarking) เปน็ การ
ดาเนนิ งานทใี่ หค้ วามสาคญั กบั กระบวนการเฉพาะ (Specific Process) ทใี่ ช้กนั
อย่างท่วั ไปในการจดั การศึกษาและสถาบันการศึกษา โดยกระบวนการตา่ ง ๆ อาจ
มีการดาเนินงานทเ่ี กี่ยวข้องกับหลายหน้าท่ี การ Benchmark ท่ัวไปจะเป็น
ประโยชนใ์ นการบริหารและพัฒนากระบวนการตา่ งของสถาบนั การศึกษาให้
ทันสมยั และมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ

ข้อจากัดของการทา Benchmarking 12

๑. ผบู้ ริหารสถานศึกษาไม่รู้ปัญหาที่แทจ้ รงิ ของตนเอง ทาให้ไม่สามารถกาหนด
ออกมาไดว้ า่ จะเปรียบเทยี บกบั อะไร หรือแกป้ ัญหาด้านใด ดังน้นั ผูบ้ รหิ ารและ
บคุ ลากรภายในสถานศึกษาท่จี ะทาการ Benchmarking ต้องรูร้ ายละเอียด
เกี่ยวกบั สถาบันการศกึ ษาของตนเป็นอยา่ งดี เพอ่ื จะได้ทราบวา่ ตนมจี ดุ เด่น หรือ
จดุ ด้อยอย่างไร มคี วามตอ้ งการท่จี ะแก้ปญั หาดา้ นใด
๒ . สถาบันการศกึ ษาทจ่ี ะเลอื กเปน็ แมแ่ บบในการทา Benchmarking นั้นควร
เปน็ สถาบันการศกึ ษาทไี่ ด้รับการยอมรับว่าประสบความสาเร็จอยู่ในระดบั หน่งึ
เพอ่ื จะไดน้ าจุดเด่นดังกล่าวมาปรับปรุงในสว่ นของสถาบันการศกึ ษาที่จะทาการ
ปรบั ปรงุ ข้อมูลทีต่ อ้ งการจะทราบจากสถาบนั การศกึ ษาทีเ่ ราตอ้ งการศึกษาอาจหา
มาไดห้ ลายวธิ กี าร แต่วิธที ่ีดที ่สี ุดกค็ ือ ข้อมลู ท่ีไดจ้ ากภายในสถาบนั การศกึ ษา
แม่แบบน้ัน ซง่ึ ตามปกตสิ ถาบนั การศึกษาแม่แบบ มักเป็นสถาบนั ท่ีไดร้ ับรางวลั
และมคี วามตอ้ งการเผยแผข่ อ้ มลู ของตนอยู่แล้ว
๓. ไม่เขา้ ใจการทา Benchmarking อย่างแทจ้ รงิ ผูบ้ ริหารบางคนคิดว่าเปน็ การ
ลอกกระบวนการ วธิ ีการของแมแ่ บบมาใช้ โดยขาดการวเิ คราะหใ์ หเ้ หมาะสมกับ
สถาบนั การศกึ ษาของตน (ซ่งึ Benchmarking เป็นเครือ่ งมอื บริหารสาหรบั องคก์ ร
ท่ตี ้องการพฒั นาและปรบั ปรุงการทางานให้มปี ระสิทธิภาพมากขนึ้ ดงั น้ัน
ความสาคญั ของ Benchmarking อย่ตู รงทีท่ าให้องคก์ รมี

หนา้ ทีข่ องผ้บู ริหารในการบรหิ ารสถานศกึ ษาสไตล์ “Benchmarking”

๑. หน้าท่ดี า้ นการวางแผน (Planning) หนา้ ที่ด้านการวางแผนเปน็ หน้าท่ี ท่เี กีย่ วขอ้ ง
กับการกาหนดเปา้ หมาย (Goals) วัตถปุ ระสงค์ (Objective) กลยุทธ์ (Strategies)
และแผนงาน (Plan) เป็นการกาหนดเปา้ หมายและกลยทุ ธต์ ่าง ๆ และจัดทาแผนงาน
เพื่อประสานกจิ กรรมตา่ งๆ ทีจ่ ะกระทาในอนาคต เปน็ การเตรยี มการเพอ่ื ใหป้ ระสบ
ความสาเร็จ ลดความเสย่ี งท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคตดงั นัน้ ในการทาหน้าที่ด้านการ
วางแผนของผบู้ รหิ ารในการบรหิ ารสถานศึกษาสไตล์ "Benchmarking" ตอ้ งมกี าร
เทียบเคยี งกับสถานศกึ ษาในระดบั เดยี วกันกบั สถานศกึ ษาของตนเพื่อศกึ ษารปู แบบ
และเทคนคิ วิธกี ารในการวางแผน อันจะนาไปส่คู วามสาเร็จในการบริหารจดั การ
สถานศึกษาของตน อาทิเชน่ การกาหนดเปา้ หมายในการปฏิบัตงิ านให้แกบ่ คุ ลากรใน
สถานศึกษาโดยยดึ สถานศึกษาต้นแบบเป็นหลกั และทาการกาหนดเปา้ หมาย
สถานศกึ ษาของตนให้อย่ใู นระดับเดยี วกันหรอื ระดบั ทใี่ กล้เคยี ง เป็นตน้
๒. หน้าท่ีดา้ นการจัดองคก์ ร (Organizing) เป็นการพจิ ารณาถงึ งานท่ีจะตอ้ งกระทา
ใครเป็นผู้ทางานนน้ั ต้องมีการจัดกลุ่มงานอยา่ งไร ใครตอ้ งรายงานใคร และใครเป็นผู้
ตัดสินใจ นนั่ คอื การมอบหมายหนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบ และกาหนดสายการบังกับ
บัญชาดงั น้นั ในการทาหน้าที่ดา้ นการจดั องค์กรของผู้บริหารในการบรหิ ารสถานศึกษา
สไตล์ "Benchmarking" ต้องมกี ารเทียบเคียงกบั สถานศึกษาในระดบั เดยี วกนั กบั
สถานศกึ ษาของตน อกี ทัง้ ควรมีการเทยี บเคียงภาขในสถาบันการศึกษาเอง เพ่ือให้
บคุ ลากรเกดิ ความรูส้ กึ ต่นื ตัวอยู่ตลอดเวลาการจัดสายการบังคับบัญชา ควรมีความ
ยดื หยนุ่ พร้อมรบั ต่อการเปลี่ยนแปลง ควรมีการศึกษาดา้ นการจัดโครงสร้างองค์กรของ
สถาบันการศกึ ษาที่ประสบความสาเร็จในการบริหารจดั การ เพือ่ นามาปรับปรงุ
โครงสร้างการบริหารองค์กรภายในสถาบนั การศกึ ษาของตน

13

๓. หนา้ ท่ใี นการชักนา (Leading) เปน็ การนาและจงู ใจผใู้ ต้บงั คบั บัญชา การส่ังการ
การเลอื กชอ่ งทางการส่ือสารท่ีมีประสทิ ธิภาพมากทีส่ ุด และการขจดั ความขัดแยง้
หรือเปน็ การกระต้นุ ให้พนักงานใช้ความพยายามอย่างเตม็ ท่ี ที่จะทาใหเ้ กิด
ความสาเร็จ รวมทงั้ แกไ้ ขปัญหาต่างๆท่เี กดิ ขนึ้ ในการทาหน้าท่ดี า้ นการชกั นาของ
ผู้บรหิ ารในการบริหารสถานศกึ ษาสไตล์ "Benchmarking" นัน้ ควรใชร้ ปู แบบการ
เปรียบเทียบทว่ั ไป (Generic Benchmarking) เป็นการดาเนินงานที่ใหค้ วามสาคญั
กบั กระบวนการเฉพาะ (Specific Benchmarking) หนา้ ท่ดี ้านการชกั นา

๔. หนา้ ท่ใี นการควบคุม (Controlling) เป็นการตรวจสอบกจิ กรรมตา่ งๆ ทไ่ี ด้
กระทาไวเ้ พื่อใหแ้ น่ใจวา่ การดาเนินงานไดเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน หรอื แผนที่วางไว้
รวมทัง้ แก้ไขข้อผิดพลาดที่เกดิ ข้นึ ให้ถูกต้องอกี ดว้ ย การควบคมุ จะนามาซ่ึงความ
มีมาตรฐาน และความสาเรจ็ ของการปฏบิ ตั งิ าน และดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย
ของการควบคมุ ตามหลกั ของการบรหิ ารจดั การหนง่ึ ในน้ันคือ การควบคุมด้วย
การเปรียบเทียบ (Comparisons) เปน็ การเปรยี บเทยี บจากมาตรฐาน หรือคูแ่ ข่ง
ดงั น้ันในการทาหนา้ ท่ีดา้ นการควบกุมของผู้บรหิ ารในการบรหิ ารสถานศึกษา
สไตล์ "Benchmarking" จึงมใิ ช่เรือ่ งแปลกใหม่ แต่เป็นแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีผู้บรหิ ารมี
หนา้ ท่ีทต่ี อ้ งกระทา แต่การควบคมุ ดว้ ยการเทยี บเคียงตามหลกั การของ
Benchmarking จะเปน็ การควบคมุ ในระดับองค์กร หรอื ระดับสถานศกึ ษาเปน็
หลกั ซึ่งจะมีความแตกต่างจากการควบคุมในระดับภายในองคก์ รหรือการ
ควบคมุ ระดับปฏิบตั ิงาน ผ้บู ริหารสถานศึกษาตอ้ งการเทียบเคียงสถานศึกษาของ
ตนกับสถานศึกษาทน่ี ามาเปน็ แม่แบบ และทาการศกึ ษาแนวทางที่สถานศกึ ษา
แมแ่ บบดาเนินงานจนสามารถผ่านเกณฑม์ าตรฐานทางการศึกษาตามระเบยี บ
ข้อบังคับ และนามาปรับใชก้ ับสถานศึกษาของตน ทัง้ นี้
การควบคุมดว้ ยการเทยี บเคียงควรอยใู่ นระดบั มาตรฐานเดียวกัน ยกเว้นจะเปน็
การเทยี บเคยี งเพ่อื ยกระดับมาตรฐานของตน กม็ ีความจาเปน็ ที่จะต้องเทยี บเคยี ง
กบั กบั สถานบันการศึกษาที่มีมาตรฐานทีส่ ูงกว่า โดยมาตรฐานหลกั มี ๓ ด้าน คอื
มาตรฐานดา้ นการบริหารโรงเรยี น มาตรฐานด้านการเรียนการสอน และ
มาตรฐานด้านคณุ ภาพนักเรยี น

14

สรปุ

ผู้บริหารเปน็ บคุ คลทมี่ คี วามสาคัญตอ่ การดารงอยู่และพัฒนาการของสถานศกึ ษา
สถานศกึ ษาจะเข้าสมู่ าตรฐานทัง้ ๓ ดา้ น (มาตรฐานด้านการบรหิ าร โรงเรียน
มาตรฐานด้านการเรียนการสอน และมาตรฐานด้านคณุ ภาพนกั เรยี น) หรือล้มเหลว
ขน้ึ อยู่กบั ความรูค้ วามสามารถ และการตดั สินใจของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาโดยตรง
ซึ่งในการบรหิ ารสถานศึกษาสไตล์ "Benchmarking"นนั้ นอกจากหน้าท่ที างการ

บริหารทผี่ บู้ ริหารต้องปฏบิ ัตแิ ล้ว ผบู้ รหิ ารควรมบี ทบาทสาคัญ คือ การ
เปน็ ผรู้ ิเรมิ่ ผบู้ ริหารสถานศึกษาจะตอ้ งเป็นผนู้ าในการเปลยี่ นแปลงและสร้าง
นวตั กรรมใหม่ของสถานศกึ ษา และมสี ว่ นร่วมทัง้ ทางตรงและทางออ้ ม ในการสร้าง
องค์การเรยี นรู้โดยเฉพาะการเป็นสว่ นสาคญั ในการวางแผนและดาเนินการของ
สถานศึกษา ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาตอ้ งสง่ เสริมและสนับสนุนการดาเนินการของ
โครงการพัฒนาสถานศึกษาอย่างเตม็ ความสามารถทั้งทางตรงและทางออ้ ม

อ้างอิง

- พจน์ พจนพาณิชย์กลุ . (๒๕๔๘). เอกสารบรรยายสรปุ วิชาการจัดการ ปราจนี บุรี: ม.ป.ท
- ดร.พจน์ พจนพาณิชย์กลุ /บทความ การบรหิ ารสถานศึกษาสไตล์ “Benchmarking”
เขา้ ถงึ ได้จาก : http://www.thaidisplay.com/content-24.html
(วนั ทค่ี ้นขอ้ มูล : 15 พฤศจกิ ายน 2564)
- สรปุ เรอื่ ง ทฤษฎแี ละการบริหารจัดการศึกษา ภาวะผนู้ า การคิดอย่างเป็นระบบ / เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :
shorturl.at/dvAF6 (วนั ท่ีคน้ ข้อมลู : 16 พฤศจกิ ายน 2564)
- นาง วิยะดา หมาดงะ๊ / ทฤษฎกี ารบริหารการศกึ ษา/เข้าถงึ ไดจ้ าก :
https://www.gotoknow.org/posts/521119 (วันทคี่ ้นข้อมลู : 17 พฤศจิกายน 2564)


Click to View FlipBook Version