The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง พระบรมวงศานุวงศ์ที่มีบทบาทในการสร้างสรรค์ชาติไทยและได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/8

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bm56289, 2022-11-30 00:04:54

พระบรมวงศานุวงศ์ที่มีบทบาทในการสร้างสรรค์ชาติไทยและได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโก

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง พระบรมวงศานุวงศ์ที่มีบทบาทในการสร้างสรรค์ชาติไทยและได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/8

พระบรมวงศานุวงศ์ ที่มีบทบาท
ในการสร้างสรรค์ชาติไทย

และได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโก

จัดทำโดย

1. นายชนม์สวัสดิ์
ขันคำ เลขที่ 3
เลขที่ 9
2. นายชาคริต ใจชื่น เลขที่ 13
เลขที่ 14
3. นายปฏิพัทธ์ กฤตอำพัน เลขที่ 16
เลขที่ 29
4. นายเปรม ฉวีวงศ์ เลขที่ 30
เลขที่ 31
5. นายวิชิตพงษ์ กันยามา เลขที่ 33
เลขที่ 38
6. นางสาวฐิติรัตน์ ยามประโคน

7. นางสาวลดาดล อินถาเครือ

8. นางสาววรณัฎฐ์ ถึงประชา

9. นางสาวกรกัญญา เหลาผา

10. นางสาวปัณฑิตา เศรษฐมาตย์




ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/8
เสนอ

คุณครูกนกพร สุขสาย



หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้เป็ นส่วนประกอบของ
รายวิชาประวัติศาสตร์ (ส31112)

โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช อำเภอเมืองอุบลราชธานี
จังหวัดอุบลราชธานี



คำนำ

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK) เรื่อง พระบรมวงศานุวงศ์ที่มี
บทบาทในการสร้างสรรค์ชาติไทย เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา
ประวัติศาสตร์ (ส31112) คณะผู้จัดทำจึงได้ทำการรวบรวมเนื้อหาเกี่ยว
กับประวัติพระบรมวงศานุวงศ์ที่มีบทบาทในการสร้างสรรค์ชาติไทย

คณะผู้จัดทำหวังว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้จะเป็นเป็น
ประโยชน์ต่อผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษาที่สนใจศึกษาพระบรมวงศา
นุวงค์ที่มีบทบาทในการสร้างสัญชาติไทยนี้อยู่ หากมีข้อแนะนำ
นักศึกษาที่สนใจศึกษาพระบรมวงศานุวงค์ที่มีบทบาทในการ
สร้างสรรค์ชาติไทยนี้อยู่หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใด
คณะผู้จัดทำขอน้อมรับและขออภัยมา ณที่นี้

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ ข

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส 1

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท 2

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยเทวะวงศ์วโรปการ 3

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ 4

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ 5

พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ 6

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก 7

สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า 8

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา 9

กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส 10

บรรณานุกรม 11

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรม 1
พระยาวชิรญาณวโรรส


พระประวัติ

เสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณว
โรรส ทรงเป็นสมเด็จพระมหาสังฆราชพระงองค์
ที่๑๐ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีพระนามเดิมคือ
"พระองค์เจ้ามนุษยนาคมมานพ" ทรงเป็นพระ
อนุชาต่างมารดาในพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติเมื่อ
พ.ศ.๒๔๐๒ ได้ทรงเป็นกรมหมื่นวชิรญาณวโรรส
แล้ว
เลื่ิอนขึ้นตามลำดับ จนในที่สุดได้เป็นสมเด็จพระ
มหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส และ
ทรงดำรงตำแหน่ง "สกลมหาสังฆปรินายก" ใน
พ.ศ. ๒๔๕๓

พระกรณียกิจ

ด้านการศึกษา ด้านประวัติศาสตร์

ทรงได้รับโปรดเกล้าฯจากพระบาท พระองค์ได้ทรงศึกษาค้นคว้า
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวให้ วิชาการทางด้านประวัติศาสตร์
ทรงเป็นผู้รับผิดชอบการจัดการ พระนิพนต์ เช่น
ศึกษาของชาติในหัวเมือง โดยให้
แยกออกจากกรมศึกษาธิการ ทรง พงศาวดารสยาม
แต่งตั้งพระราชคณะไปเป็นผู้อำนวย ตำนานประเทศไทย
การออกไปตรวจสอบการดำเนินงาน นิพนตธ์ทางด้านประวัติศาสตร์
ของคณะสงฆ์พร้อมทั้งให้จัดตั้งโณง ไทยของพระองค์ในยุคล่า
เรียนขึ้นใหม่ในตำบลต่างๆ ทำให้การ อาณานิคมของชาติตะวันตก
จัดการศึกษาในหัวเมืองมีความ ขณะนั้นได้กระตุ้นให้คนไทยรู้จัก
เจริญ ความเป็นมาของชนชาติไทย และ
รักชาติ

2

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิ
ราชสนิท

ด้านการแพทย์ ด้านภาษาและวรรณกรรม
ทรงมีความสามารถในด้านโคลง
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิ กลอน และฉันท์ โดยได้นิพนธ์
ราชสนิท ทรงพระปรีชาสามารถใน วรรณกรรมไว้หลายเรื่อง เช่น
เรื่องยาไทยและแพทย์แผนไทย จินดามณี เพลงยาวสามชาย ตำรา
พระองค์ได้รับพระบรมราชโองการแต่ง เพลงยาวกลบทสิงโตเล่นหาง
ตั้งให้ทรงว่าราชการกรมหมอและทรง โคลงนิราศพระประธม เป็นต้น
เป็นนายแพทย์ประจำราชสำนักมา
ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่3ถึงรัชกาลที่5

ด้านการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ในสมัยที่ประเทศไทยกำลังเผชิญกับการแสวงหาอาณานิคมของมหาอำนาจ
ตะวันตก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิททรงมีบทบาทสำคัญ
ในการเจรจาทางการฑูต เพื่อทำสนธิสัญญากับตะวันตก ทรงได้รับการโปรด
เกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นหนึ่งในกรรมการเจรจาเพื่อทำสนธิสัญญาทางไมตรี
และการพาณิชย์กับราชฑูตอังกฤษ สหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศษ จนเกิดผลดี

ต่อประเทศชาติอย่างมาก



4

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ 5
เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

(มีพระชนมายุระหว่าง พ.ศ. ๒๕๐๖ - ๒๕๕๐)

พระประวัติ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรง
เป็นพระราชโอรส ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว และพระ
สัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย ในช่วงระยะเวลาที่ทรงปฏิบัติ
ราชการแผ่นดินทรงดำรงตำแหน่ง เป็นเสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ
กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ กระทรวงกลาโหม และกระทรวงวัง เพื่อ
วางรากฐานในการ บริหารราชการให้มีความมั่นคง

สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ์ ทรงเป็นกำลังสำคัญ
ในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย ทรงส่งเสริมผู้มีความรู้ความ

สามารถให้เป็น กำาลังสําคัญในการสืบทอดมรดกงานช่างศิลป์ไทย
จนได้รับยกย่องให้เป็น “สมเด็จครู” ของช่างทั้งปวง

พระกรณียกิจสำคัญ

ด้านการเมืองการปกครอง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรา นุ
วัดติวงศ์ทรงเป็นอภิรัฐมนตรีที่ปรึกษาราชการแผ่นดินและหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ทรงเป็น
ผู้สำเร็จราชการเมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประทับนอกกรุงเทพฯ และนอกประเทศ

ด้านศิลปะและวัฒนธรรม สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงพระปรีชาสามารถทางด้าน การช่าง
และศิลปะจนได้รับการยกย่องให้เป็นบรมครูในการช่างและศิลปะ จนกระทั่งองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และ
วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ประกาศเกียรติคุณของพระองค์ในฐานะเป็นผู้มีผลงานดีเด่น ทาง
วัฒนธรรมระดับโลกประจำปี พ.ศ๒๕๐๖ ผลงานทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมที่สำคัญของพระองค์ ได้แก่ การ
ออกแบบสถาปัตยกรรมที่งดงาม เช่น พระอุโบสถวัดราชาธิวาส พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เป็นต้น

ด้านดุริยางคศิลป์ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงรอบรู้ในเรื่อง ดุริยางคศิลป์ และ ทรงสามารถ
ทรงดนตรีได้หลายอย่าง เช่น ขลุ่ย ระนาด เป็นต้น นอกจากนี้พระองค์ยังทรงมีผลงานด้านการ นิพนธ์เพลง เช่น
เพลงเขมรไทรโยค เพลงมาลัย เป็นต้น

ด้านจิตรกรรม ทรงมีผลงานทางด้านจิตรกรรมที่ทรงคุณค่าจำนวนมาก เช่น ภาพมัจฉาชาดกที่หอพระคันธาร
ราษฎร์ในวัดพระศรีรัตนศาสดารามภาพสีน้ำมันพระสุริโยทัยขาดคอช้างประกอบโคลงภาพพระราชพงศาวดาร
อยุธยา เป็นต้น

6

พระเจ้าวรวงศ์ เธอ กรมหมื่น

นราธิปพงศ์ ประพันธ์

พระประวัติ



มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร หรือ

พระองค์วรรณ เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ และ หม่อมหลวงต่วน
ศรี (มนตรีกุล) วรวรรณ สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี
ในระดับเกียรตินิยมและปริญญาโท

พระกรณียกิจ

อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน ทรงเสนอให้คณะ

รัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้ง
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง)
-ด้านการทูตและต่างประเทศ มีพระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่าง
ประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก
-ด้านวรรณกรรม ทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วาง
กฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศ ผู้มีผลงานดีเด่น
-ด้านวัฒนธรรม โดยองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม แห่ง
สหประชาชาติ (ยูเนสโก) ประกาศพระเกียรติคุณในฐานะปูชนียบุคคลสำคัญ
ประจำปี พ.ศ. 2534

7

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดช
วิกรม พระบรมราชชนก

พระประวัติ
ทรงเป็นพระโอรสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระ
ศรีสวรินทิราบรมราชเทวีพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2434 ทรงได้รับ
พระราชอิสริยยศเป็นนายนาวาเอกและนายพันเอกทหารบก(ราชองครักษ์) ทรงลาออกจากกองทัพเรือเพื่อ
เสด็จไปศึกษาวิชาการสาธารณสุขและวิชาการแพทย์ ทรงสอบได้ประกาศนียบัตรการสาธารณสุขและปริญญา
แพทยศาสตรบัณฑิตทรงได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสมาคมเกียรตินิยมทางการศึกษาแพทย์ ทรงอภิเษกสมรส
กับนางสาวสังวาลย์ ตะละภัฏ (สมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี) พระราชโอรส และพระราชธิดา 3
พระองค์ ทรงสิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 รวมพระชนมายุ 37 พรรษา 8 เดือน 23 วัน

พระกรณียกิจ พระกรณียกิจ
ในด้านการแพทย์และการสาธารณสุขทรงอุทิศ เมื่อปี 2535 ยูเนสโกได้ประกาศยกย่องให้เป็นบุคคล
กำลังพระวรกายและพระหฤทัย ตลอดจน สำคัญของโลกด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์การแพทย์
ทรัพย์สินส่วนพระองค์เพื่อการแพทย์ไทยอย่าง การพยาบาลและการสาธารณสุข เนื่องในวาระฉลอง
มากมาย ทรงเป็นอาจารย์สอนนักศึกษาแพทย์ ทรง ครบรอบ 100 ปีวันคล้ายวันพระราชสมภพ เมื่อวันที่ 1
ช่วยเหลือในการขยายกิจการของโรงพยาบาล มกราคม 2535 บรรดาผู้ที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณได้
ศิริราช พระราชทานเงินสร้างตึกคนไข้ พระราชทาน พร้อมใจกันถวายพระราชสมัญญาว่า “พระบิดาแห่ง
ทุนส่งนักเรียนแพทย์และนักเรียนพยาบาลไปศึกษา การแพทย์ไทย” ต่อมาวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555
ต่อในต่างประเทศ เป็นผลทำให้กิจการแพทย์และ เนื่องในโอกาสวันพระราชสมภพครบ 120 ปี กระทรวง
สาธารณสุขของไทยเจริญก้าวหน้า ศึกษาธิการได้ถวายพระราชสมัญญาว่า “พระบิดาแห่ง
การอุดมศึกษาไทย”

ที่มา: www.royaloffice.th

สมเด็พจพระรพะัศนรวีัสสวสริานอทัิยรยาิบกรามเจร้าาชเทวี 8

พระประวัติ
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ทรงเป็นพระเจ้าลูกเธอ ใน

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้าจอมมารดาเปี่ยม ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 10
กันยายน พ.ศ. 2405 ได้รับพระราชทานพระนามว่า "พระเจ้าลูกเธอพระองค์เจ้าสว่างวัฒนา" เมื่อมีพระ
ชนมายุ 15พรรษาได้รับการสถาปนาเป็นภรรยาเจ้าในรัชกาลที่ 5ต่อมามีการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา
พระองค์เจ้าสว่างวัฒนาขึ้นเป็นพระนางเจ้าสว่างวัฒนาพระราชเทวี และสมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา
พระบรมราชเทวีตำแหน่งอัครมเหสี ตามลำดับ

ครั้นถึงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระศรี
สวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสามาตุจฉาเจ้า และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท
มหิดล ทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

พระกรณียกิจสำคัญ
ด้านสาธารณสุข ทรงจัดสร้างโรงพยาบาลสมเด็จ (ปัจจุบัน คือ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมทรงริเริ่ม
หน่วยแพทย์เคลื่อนที่เพื่อให้การรักษาแก่ประชาชนที่อยู่ห่างไกล และได้ทุนเพื่อส่งแพทย์พยาบาลไป
ศึกษาต่อต่างประเทศ เพื่อพัฒนาวงการแพทย์ไทยอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ยังทรงดำรงตำแหน่ง
สภานายิกาสภาอุณาโลมแดงองค์ที่ 2ต่อจากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ สภานายิกา
พระองค์แรกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นระยะเวลายาวนานถึง ๓๕ ปี และได้พระราชทานทรัพย์ส่งนักเรียน
ไปเรียนต่างประเทศ เพื่อให้มีผู้เชี่ยวชาญทางด้านการแพทย์อย่างพอเพียง
ด้านการศึกษา ทรงส่งเสริมการศึกษาทุกระดับ ทรงสนับสนุนสตรีให้มีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียนใน
ระดับสูง ทรงเน้นให้ศึกษารอบด้านไม่เพียงแต่ความรู้ในห้องเรียน อบรมให้เป็นคนมีเหตุผลมีกิริยา
มารยาทและการวางตัวที่เหมาะสม ทรงพระราชทานพระราชทรัพย์เพื่อบำรุงโรงเรียนต่าง ๆ ทั้งในส่วน
กลางและส่วนภูมิภาคเช่น โรงเรียนราชินี โรงเรียนนารีเฉลิม สงขลา เป็นต้น

9

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์



พระประวัติ

ศาสตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง
พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า
กัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (6
พฤษภาคม พ.ศ. 2466 – 2 มกราคม พ.ศ. 2551)
เป็นพระธิดาพระองค์เดียวในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรี
นครินทราบรมราชชนนี เป็นสมเด็จพระโสทรเชษฐภคินี
ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระ
อัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระบรมชนกา
ธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในพระบาทสมเด็จพระ
วชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระกรณียกิจ

ด้านการศึกษา ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ด้านการต่างประเทศ
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า พระองค์ทรงเป็นประธานของมูลนิธิ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ ได้เสด็จ
กัลยาณิวัฒนา กรมหลวง ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มูลนิธิ เยือนต่างประเทศทั้งตามคำ
นราธิวาสราชนครินทร์ ทรงก่อ แพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินท กราบทูลเชิญเสด็จอย่างเป็น
ตั้งสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่ง ราบรมราชชนนี(พอ.สว.) หรือ หมอก ทางการและเสด็จเยือนเป็นการ
ประเทศไทยขึ้นในปี พ.ศ. 2520 ระเป๋าเขียว รวมทั้งมูลนิธิโรคไต และ ส่วนพระองค์ ซึ่งเป็นการเจริญ
ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจเป็น ทรงเป็นประธานมูลนิธิหม่อมเจ้าบุญ สัมพั นธไมตรีกับนานาประเทศ
อเนกประการทั้งในด้านการศึกษา จิราธร (ชุมพล) จุฑาธุชซึ่งมี รวมทั้งยังเป็นโอกาสที่ทรงแนะนำ
สังคมสงเคราะห์ และสาธารณสุข วัตถุประสงค์เกี่ยวกับการให้ทุนการ ให้ชาวไทยรู้จักประเทศในแง่มุม
จนเป็นที่ประจักษ์ชัดในวงการ ศึกษาแพทย์ตามโครงการแพทย์ ต่าง ๆ อย่างถ่องแท้ด้วย โดย
ศึกษา มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ชนบท ให้ทุนการศึกษาแก่นักศึกษา ทรงศึกษาข้อมูล ศิลปวัฒนธรรม
จำนวน 10 กว่าแห่งและองค์การ พยาบาลที่เรียนดีแต่ขาดแคลนทุน ของประเทศที่จะเสด็จเยือน รวม
ระหว่างประเทศจึงถวายปริญญา ทรัพย์ และให้ทุนการศึกษาสำหรับผู้ที่ ถึงเรื่องข่าวสารเสด็จเยือนต่าง
ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์และ จะสมัครเป็นอาจารย์วิชาการ ประเทศทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะ
เหรียญสดุดีพระเกียรติคุณแด่ พยาบาล กิจแห่งประเทศไทย ทรงให้ข้อมูล
พระองค์ และทรงได้รับการ ด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับประเทศนั้นกับ
เทิดทูนพระเกียรติจากรัฐบาลและ ผู้จัดทำ อีกทั้งทรงตรวจแก้บท
องค์กรต่างประเทศหลายแห่ง โทรทัศน์ด้วยพระองค์เองก่อนการ
อาทิ รัฐบาลฝรั่งเศสและองค์การ เสนอข่าวทุกครั้งเพื่ อความถูก
ศึกษา วิทยาศาสตร์ และ ต้อง
วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยู
เนสโก)



บรรณานุกรม

รศ.ณรงค์ พ่วงพิศ และ รศ.วุฒิชัย มูลศิลป์ , หนังสือรายวิชาพื้นฐาน
ประวัติศาสตร์ไทย ม.4-ม.6 , พิมพ์ครั้งที่ 18 , อักษรเจริญทัศน์ , 2557 ,
หน้า 122

รศ.ณรงค์ พ่วงพิศ และ รศ.วุฒิชัย มูลศิลป์ , หนังสือรายวิชาพื้นฐาน
ประวัติศาสตร์ไทย ม.4-ม.6 , พิมพ์ครั้งที่ 18 , อักษรเจริญทัศน์ , 2557 ,
หน้า 126

อรวรรณ ทรัพย์พลอย. “บทบาทและความสำคัญของพระเจ้าบรมวงศ์
เธอ กรมหลวงวงศาราชสนิทในการบริหารราชการแผ่นดิน.” วิทยานิพนธ์
ภาควิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535

รศ.ณรงค์ พ่วงพิศ และ รศ.วุฒิชัย มูลศิลป์ , หนังสือรายวิชาพื้นฐาน
ประวัติศาสตร์ไทย ม.4-ม.6 , พิมพ์ครั้งที่ 18 , อักษรเจริญทัศน์ , 2557

กระทรวงมหาดไทย.สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรง
ราชานุภาพ.https://moi.go.th/moi/about-us/ประวัติความเป็นมาเกี่ย/พระ
ราชประวัติสมเด็จพระ/.


Click to View FlipBook Version