The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nunnaphat Chuakum, 2022-05-08 09:37:51

คู่มือนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565

คู่มือนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565

พระบรมราโชวาท

คนเราทุกคน ย่อมมหี นา้ ที่ที่ต้องทาหนา้ ที่ของเด็กนน้ั สาคญั ที่สดุ ก็คอื การศกึ ษา
เล่าเรยี น เพ่อื ใหม้ วี ชิ าความรูแ้ ละคุณธรรมความดี จะได้สามารถพี่งตนเองได้ สร้าง
ความสขุ ความเจรญิ ใหแ้ กต่ นแกส่ ว่ นรวมได้ในอนาคต เด็กทุกคนจึงต้องตง้ั ใจศกึ ษาเลา่ เรียน
ดว้ ยความอดทน และพากเพยี รอยเู่ สมอ

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดศี รีสินทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
พระราชทานพระบรมราโชวาท เนือ่ งในวันเดก็ แห่งชาติ ประจาปี ๒๕๖5

ทำเนียบผู้บรหิ ำร
โรงเรียนเทศบำลมติ รสัมพันธว์ ทิ ยำ ปี กำรศกึ ษำ 2565

นางนาตยา สนั ติวรกานต์

ผ้อู านวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธว์ ิทยา

ว่าที่ร้อยตรหี ญิงกานต์พชิ ชา ภมู โิ สม นางหงษ์นภา วลิ ยั นางสารวย บุญเพ็ง

หวั หนา้ ฝา่ ยบรหิ ารงานธรุ การ การเงินและพสั ดุ หัวหน้าฝา่ ยบรหิ ารงานกจิ การนักเรียน หัวหน้าฝา่ ยบรหิ ารงานบุคคล

นางสาวแขไข จนั ทรบ์ วร นางสาวอไุ รวรรณ ศรีพาลา นายภานพุ งศ์ บัวคา

หัวหน้าฝา่ ยบริหารงานสมั พันธช์ ุมชน หัวหน้าฝา่ ยบริหารงานวชิ าการ หวั หน้าฝา่ ยบรหิ ารงานอาคารสถานที่

คู่มือนกั เรยี น ของโรงเรียนเทศบาลมิตรสมั พันธว์ ิทยา ฉบบั น้ี จัดทาขึ้นเพื่อเป็น
ประโยชนต์ ่อนกั เรยี น และผู้ปกครอง ซง่ึ ประกอบดว้ ย ประวตั ิของโรงเรยี น แนวปฏิบัติสาหรบั
นกั เรียน และระเบยี บต่าง ๆ ของโรงเรยี น อันจะทาให้นักเรยี นและผู้ปกครอง ได้ทราบถึงแนว
ปฏิบตั ิในโรงเรยี น ซึ่งจะได้ความรู้เก่ยี วกับ โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา ระเบียบท่ีเกย่ี วขอ้ ง
กับการประพฤตปิ ฏิบัติตนในโรงเรียน หรือแนวปฏิบัติอื่นๆ ตลอดจนกฎเกณฑ์ทีเ่ กยี่ วขอ้ งที่
นักเรยี นทกุ คนจะต้องรู้และตอ้ งปฏิบตั ิในขณะท่เี ปน็ นกั เรยี นในโรงเรยี นแห่งนี้

สาหรับนักเรียนท่ีได้ศึกษาคู่มือฉบับนี้ ก็จะได้ความรู้และแนวปฏิบัติ ซึ่งจะเป็น
ประโยชน์อยา่ งยงิ่ ในการอยรู่ ่วมกันในโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา เพ่ือประโยชน์สูงสุด
อนั จะเกิดแก่นักเรียน และท้ังนี้หากทุกคนยึดถือเป็นแนวปฏิบัติก็จะเกิดผลดีและได้เรียนรู้เพ่ือ
ดารงตนในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ตอ่ ไป

คณะผูจ้ ดั ทา

พระพุทธรูปประจาโรงเรียน หน้า
พระบรมราโชวาท
ทาเนยี บผบู้ รหิ าร 1
คานา 2
สารบัญ 3
ประวัตโิ รงเรียนเทศบาลมติ รสัมพันธ์วิทยา 5
เคร่ืองหมาย/สัญลักษณข์ องโรงเรียน 6
ปรชั ญาและวิสัยทศั นข์ องโรงเรียน 7
แผนผังของโรงเรียน 8
แผนภมู โิ ครงสร้างการบรหิ ารโรงเรียน 9
โครงสรา้ งหลักสูตร
กาหนดเวลาเรยี น
แนวปฏิบัติสาหรับนักเรียนโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วทิ ยา

ภาคผนวก
ระเบยี บต่างๆ ทน่ี ักเรยี นพงึ ทราบ

- ประกาศเทศบาลเมืองวงั นา้ เยน็ เร่ืองการเรยี กเก็บเงนิ บารุงการศกึ ษา
- ระเบยี บวา่ ดว้ ยการแตง่ กายของนักเรยี น
- ระเบียบว่าดว้ ยการควบคมุ ความประพฤติ การลงโทษ การตดั และการเพ่ิมคะแนน
ความประพฤตนิ กั เรียน พ.ศ. 2565
- ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าด้วยการลงโทษนกั เรยี นและนักศกึ ษาพ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงกาหนดความประพฤตขิ องนักเรยี นนกั ศึกษา พ.ศ. 2548
- ภาพตัวอยา่ งการแต่งเครอื่ งแบบนักเรียน

-1-

ประวัติโรงเรยี นเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา

โรงเรียนเทศบาลมติ รสมั พนั ธ์วิทยา เลขทตี่ ง้ั 99/98 หมทู่ ี่ 2 ถนนสายสระแกว้ -จันทบุรี ตาบล
วังนา้ เย็น อาเภอวังน้าเย็น จังหวดั สระแก้ว รหัสไปรษณีย์ 27210 อยู่หลังท่ีว่าการอาเภอวังน้าเย็น ห่างจาก
ตลาดวังน้าเย็นประมาณ 1.5 กิโลเมตร แต่เดิมช่ือโรงเรียนมิตรสัมพันธ์วิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาสระแกว้ เขต 1 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาในปี พ.ศ.
2550 ได้ถา่ ยโอนมาสงั กดั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น คือ เทศบาลตาบลวังนา้ เย็น และเปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียน
เทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา สังกัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น จังหวัดสระแก้ว กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
กระทรวงมหาดไทย โทรศัพท/์ โทรสาร 0-3725-1461 เวบ็ ไซต์ www.msps.ac.th

โรงเรยี นเทศบาลมติ รสัมพนั ธ์วิทยา เปดิ เรยี นครั้งแรกเม่ือวันที่ 9 พฤษภาคม 2521 ท่ีวัดทองมิตร
สมั พนั ธ์ (วัดศรเี จรญิ ทรพั ย์ในปัจจุบัน) โดยอาศยั ศาลาการเปรียญของวัด และอาคารเรียนช่ัวคราวที่ชาวบ้าน
ร่วมกนั สรา้ งเปน็ สถานทเ่ี รียน มนี ักเรยี นทงั้ ส้นิ 170 คน ครู 2 คน โดยมนี างทวี รเี พง็ ค์ ดารงตาแหน่งครใู หญ่

ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2522 บรษิ ัทเอสโซส่ แตนดาร์ด(ประเทศไทย) จากัด ได้จัดสร้างอาคารเรียนถาวรให้
1 หลงั จานวน 6 ห้องเรียน 1 ห้องพักครู ส้วม 1 หลัง 4 ที่ พรอ้ มทั้งอปุ กรณ์ทจ่ี าเป็นต่างๆ รวมมูลค่า
ทง้ั ส้นิ 1 ลา้ นบาท บนที่ดินของนายยนื ยง - นางหยุกลัน เอกนิรันดร์ และนายนิมิต – นางลออ เอกนิรันดร์
พร้อมญาติและเพอ่ื นๆ เป็นผ้บู รจิ าคท่ดี ินให้จัดสร้างจานวน 33 ไร่ 3 งาน 26 ตารางวา เป็นที่ต้ังของโรงเรียน
ในปัจจุบัน อยหู่ า่ งจากวดั ทองมติ รสมั พนั ธ์ 500 เมตร(หลังท่ีว่าการอาเภอวังน้าเย็น) การก่อสร้างเสร็จส้ินและ
รับมอบเม่ือวันท่ี 9 พฤษภาคม 2522 โดยนายวิญญู องั คณารกั ษ์ ปลดั กระทรวงมหาดไทยในขณะน้ันเป็นผู้รับ
มอบ

โรงเรียนผ่านการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คณุ ภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน) สมศ. เม่อื วนั ท่ี 1-3 กุมภาพนั ธ์ 2555 ในระดบั ดี

ในปกี ารศกึ ษา 2562 โรงเรยี นเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา สังกัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น อาเภอวังน้า
เยน็ จงั หวัดสระแก้วเปิดสอนต้ังแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียน
จานวนท้งั สนิ้ ประมาณ 1,600 คน ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 83 คน มอี าคารเรียน 7 หลัง อาคารดวง
แก้วบริรักษ์ 1 หลัง อาคารอานวยการ 1 หลัง อาคารอเนกประสงค์ 2 หลัง โดมสาหรับจัดกิจกรรม 1 แห่ง
หอ้ งน้าหอ้ งสว้ ม 3 หลงั โรงอาหาร 1 หลัง สหกรณร์ ้านค้า 1 หลัง สนามฟุตซอล 1 แห่ง สนามฟุตบอล 1
แห่ง และสนามกรฑี า(ล่วู ่งิ ) 1 แห่ง

เมื่อวันจันทร์ท่ี 1 สิงหาคม 2562 คณะผู้บริหารเทศบาล สภาเทศบาล และนายกเทศมนตรีเมือง -
วังน้าเย็น ได้เสนอขอจัดต้ังโรงเรยี นต่อกรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนท้องถ่ิน และได้รับอนุมัติให้จัดตั้งโรงเรียน
ใหม่ โดยมกี ารแยกการบรหิ ารสถานศึกษา แยกการจัดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษา และแยกนักเรียน
ระดับมัธยมศึกษา รวมทั้งแบ่งอาคารสถานที่ออกจากโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา ไปจัดตั้งโรงเรียน
มัธยมแห่งใหม่ ใช้ช่ือว่า “โรงเรียนมัธยมเทศบาลเมืองวังน้าเย็น” โดยมีการประกาศจัดต้ังอย่างเป็นทางการ
เมอ่ื วนั ท่ี 9 สิงหาคม 2562

-2-

ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพนั ธ์วิทยา สังกัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น อาเภอวังน้าเย็น
จงั หวดั สระแกว้ จัดการเรียนการสอนต้ังแต่ระดับ ประถมศึกษาปีท่ี 1 – ประถมศึกษาปีท่ี 6 มีนักเรียนทั้งสิ้น
1,200 คน ครูและบุคลากร 53 คน ครูต่างชาติ 9 คน อาคารเรียน 5 หลัง โรงอาหาร 1 หลัง สนามฟุตซอล
1 แหง่

ทาเนียบผูบ้ ริหารโรงเรยี น

ลาดับท่ี ชือ่ -สกลุ ตาแหนง่ ช่วงดารงตาแหน่ง

1 นางทวี รเี พ็งค์ ครูใหญ่ 9 พ.ค. 2521 - 30 ก.ย. 2531
2 นางทวี รีเพง็ ค์ อาจารย์ใหญ่ 1 ต.ค. 2531 - 30 ก.ย. 2537
3 นายวีระ นามวงศ์ อาจารย์ใหญ่ 1 ต.ค. 2537 - 30 ก.ย. 2542
4 นายวีระ นามวงศ์ ผ้อู านวยการสถานศึกษา 1 ต.ค. 2542 - 30 ก.ย. 2557
5 นางพิศมัย ช่างไม้ ผอู้ านวยการสถานศึกษา 18 ม.ี ค. 2558 - 1 เม.ย. 2562
6 นางนาตยา สนั ตวิ รกานต์ รักษาการฯ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา 1 เม.ย. 2562 - 2564
7 นายเกรยี งไกร ปรธิ รรมมัง รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา 1 ก.ค. 2553 - 2564
6 นางนาตยา สนั ตวิ รกานต์ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา 22 ม.ิ ย. 2555 - 31 มี.ค. 2559
7 นางพัชรี แก้วสุพรรณ์ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา 1 ก.พ. 2559 - 15 พ.ค. 2563
8 นางแสงเดือน ภาคภมู ิ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา 1 ก.พ. 2559 - 1 เม.ย. 2562
9 นางนาตยา สนั ติวรกานต์ ผอู้ านวยการสถานศึกษา 1 มี.ค. 2565 – ปจั ุบัน

ตราสญั ลกั ษณ์โรงเรยี นเทศบาลมิตรสมั พันธว์ ิทยา

ดอกบัว หมายถึง ดอกบัวท่ีเป็นดอกไม้ประจาพุทธศาสนา เพราะธรรมชาติการเกิดแห่งดอกบัว
ทาใหแ้ ลเหน็ ธรรมะเก่ียวกับการเกิด กล่าวคือ แม้ดอกบัวจะเกิดจากโคลนตม ก็ยังสามารถแยกตัวเบ่งบานอยู่
เหนือโคลนตม โดยมิแปดเปอื้ นกบั โคลนตมนั้นเลย ดอกบวั จึงไดช้ ื่อว่า สุปงฺกช หรือ สุบงกช อุปมาเหมือนคนที่
ประเสริฐ ย่อมสามารถแยกตนจากอาสวกิเลสโดยไม่แปดเป้ือน มีจิตปราศจากมลทิน เปรียบได้กับผู้เรียนที่มา
จากหลายที่ หลายแหง่ หลายท่ีมาตา่ งครอบครัว ต่างพ้ืนฐาน แต่เมื่อได้รับการอบรมบ่มนิสัยในสถานศึกษาแห่ง
นี้ กลายเป็นบคุ คลที่มีคุณคา่ ตอ่ สังคม เฉกเช่นเดยี วกับดอกบวั

มอื ทีป่ ระสานกนั หมายถงึ การมสี ่วนร่วมในการบริหารจัดการศึกษาของทุกภาคส่วน ต้ังแต่ บ้าน
วดั โรงเรยี น หรือ บวร นั่นเอง

-3-

วงกลมล้อมรอบ เปน็ อกั ษรยอ่ ของโรงเรยี น และชื่อของโรงเรียน พรอ้ มอาเภอและจังหวัดท่ีโรงเรียน

เทศบาลมติ รสัมพันธว์ ิทยาต้งั อยู่

ปรัชญาของโรงเรียน สวุ ิชาโน ภวํ โหติ ผรู้ ้ดู ีเปน็ ผู้เจริญ

ปรัชญาของโรงเรยี นทอ้ งถ่ิน วนิ ยั ดี มีวิชา กฬี าเด่น เป็นโรงเรยี นของชุมชน

อัตลักษณข์ องโรงเรียน ไหวส้ วย

เอกลักษณข์ องโรงเรยี น อทุ ยานการศกึ ษาทนั สมยั

ปณธิ านของโรงเรียน “เราจะเปน็ คลังแห่งปญั ญาของชมุ ชน”

พระพทุ ธรูปประจาโรงเรียน หลวงพ่อพทุ ธโสธร

ต้นไม้/ดอกไม้ ประจาโรงเรยี น ตน้ /ดอก พกิ ลุ ทอง

สขี องโรงเรยี น ฟ้า-ขาว

สฟี า้ หมายถงึ ความสขุ สบาย สะดวกสบาย ความนมุ่ นวล ความปลอดโปร่งโล่งใจ ความผ่อน

คลาย ความสงบ สขุ ุมเยอื กเยน็ นักเรียนเมอื่ เขา้ มาอย่ใู นรั้ว ฟูา-ขาว ยอ่ มสบายใจท่ีโรงเรยี นไดด้ ูแลเป็นอยา่ งดี

สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ ไร้เดียงสา ความสะอาด ความเรียบง่าย เรียบร้อย ผ่องใส

ความหวงั ความถูกต้อง ความดี ความรน่ื เรงิ ความรัก ซ่ึงเปน็ คุณสมบัตปิ ระจาตัว

ทีน่ กั เรยี นของโรงเรยี นเทศบาลมติ รสมั พันธ์วิทยา ทกุ ๆ คน ตอ้ งมี

วิสยั ทัศนข์ องโรงเรยี น

โรงเรยี นเทศบาลมติ รสัมพนั ธ์วทิ ยามงุ่ พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความรู้ คู่คณุ ธรรม
นาสคู่ วามเปน็ เลิศด้านการจัดการเรยี นร้สู ู่ศตวรรษท่ี 21

โดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐานในการพฒั นาท้องถนิ่ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ยทุ ธศาสตร์

1. ยุทธศาสตร์การพฒั นาจรรยาบรรณและมาตรฐานวชิ าชพี ผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา
2. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นให้เป็นผู้มีความรู้ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม
และมคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
3. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น
4. ยุทธศาสตร์การพฒั นาส่อื นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา
5. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาอาคารสถานทีแ่ ละสภาพแวดลอ้ ม
6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการประกนั คณุ ภาพการศึกษา

-4-

พันธกิจ

1. ยกระดบั การปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการ
ศกึ ษา
2. ยกระดบั คณุ ภาพผู้เรียนให้มคี วามรูส้ ู่ความเปน็ เลศิ ทางการศกึ ษา มีคณุ ธรรม จริยธรรมและเปน็ ผู้
มีคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
3. จัดหา พฒั นาส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา
4. พฒั นาอาคารสถานท่ีและส่ิงแวดล้อมให้เอือ้ ต่อการเรยี นรู้
5. ส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
6. สง่ เสรมิ และพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

เปา้ ประสงค์

1. ผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษามีจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ
2. ผเู้ รยี นมคี ุณภาพ มีคุณธรรม จรยิ ธรรมและเปน็ ผู้มคี ุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์
3. ผู้เรยี นไดร้ ับการดแู ลชว่ ยเหลอื และพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
4. สอ่ื นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษามีประสทิ ธิภาพ ทันสมัยและเพยี งพอ
ตอ่ การจัดการเรียนรู้
5. อาคารสถานทแ่ี ละสิ่งแวดลอ้ มความพร้อมและเอ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรู้
6. เด็กและเยาวชนในทอ้ งถิ่นได้รบั การศึกษาและเรียนรูต้ ลอดชวี ิตตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
7. โรงเรียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซื่อสตั ยส์ ุจริต
3. มวี ินยั
4. ใฝุเรยี นรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมัน่ ในการทางาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
9. ความสามารถในการวเิ คราะห์ แยกแยะ ดี ปกติ ชั่ว
10. เปรยี บเทยี บคุณธรรมเชงิ สัมพัทธ์

-5-

-6-

-7-

-8-

กาหนดเวลาเรียน

1. ในหนง่ึ ปกี ารศึกษา แบง่ เป็น 2 ภาคเรียน โดยมกี ารกาหนดการปิดและเปดิ ภาคเรียนดังต่อไปน้ี
- ภาคเรยี นที่ 1 ของทกุ ปีการศกึ ษา กาหนดเปิดภาคเรยี น ช่วงเดือน พฤษภาคม
ปิดภาคเรยี นท่ี 1 ชว่ งเดือน ตลุ าคม
- ภาคเรียนที่ 2 ของทุกปกี ารศกึ ษา กาหนดเปดิ ภาคเรียน ชว่ งเดอื น พฤศจิกายน
ปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ชว่ งเดอื น มีนาคม

2. ในหนึ่งสัปดาห์ เปิดทาการเรียนการสอนดังน้ี
- นกั เรียนระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 6 เรยี น 5 วัน คือ วันจันทร์ ถึง วนั ศุกร์

หยดุ เรยี น วันเสารแ์ ละวันอาทติ ย์
ยกเวน้ กรณที ค่ี รูนดั หมายมาเรียนพิเศษ หรอื ทากจิ กรรมอ่ืน ๆ โดยทางโรงเรยี นจะแจง้ ให้

ผู้ปกครองรับทราบเป็นรายกรณี
3. เวลาปฏิบตั กิ จิ กรรม/เวลาเรียน

ระดับประถมศึกษา
- 07.00 - 07.50 น. ทอ่ งคาศัพท์ภาษาอังกฤษ/ทอ่ งสูตรคูณ/อา่ น-เขยี นไทย
- 07.50 - 08.10 น. กจิ กรรมหนา้ เสาธง
- 08.10 - 08.30 น. กิจกรรมโฮมรูม โดยครปู ระจาชน้ั
- เร่มิ เรยี นเวลา 08.30 น. เรียนวันละ 6 คาบๆละ 1 ชั่วโมง เลกิ เรียนเวลา 15.45 น.

หมายเหตุ: กาหนดเวลาเรียน/การปิด-เปิด ภาคเรียน อาจเปล่ียนแปลงได้ตามความเหมาะสม
กับเหตกุ ารณ/์ กิจกรรม หรือประกาศจากทางราชการ

-9-

แนวปฏบิ ตั สิ าหรบั นักเรียนโรงเรียนเทศบาลมติ รสมั พนั ธ์วิทยา

เรอื่ งการปฏบิ ตั ติ นขณะอยใู่ นโรงเรยี น

1. ต้องมาให้ถงึ โรงเรยี นก่อนเวลา 07.50 น. เพ่ือทอ่ งคาศัพทภ์ าษาองั กฤษ/ทอ่ งสูตรคูณเข้าแถวเคารพธงชาติ

สวดมนตแ์ ละร่วมกจิ กรรมหน้าเสาธงของโรงเรียน

2. เมอ่ื มาถงึ โรงเรยี น จะตอ้ งอยูใ่ นความดูแลรับผิดชอบของโรงเรยี น และปฏบิ ตั ิตามระเบียบของโรงเรียนจนถงึ

เวลาเลกิ เรียน

3. ตอ้ งแต่งกายให้ถูกตอ้ งตามระเบยี บ วา่ ด้วยเคร่ืองแตง่ กายของโรงเรียนเสมอ

4. เมือ่ เขา้ พบครู ใหย้ นื หรอื น่ังด้วยลักษณะสารวม และสุภาพ ไมย่ นื ลอ้ มครู

5. ช่วยกันดแู ลรกั ษาทรพั ย์สนิ และสมบตั ขิ องโรงเรียน ชว่ ยกันประหยดั นา้ และประหยดั ไฟโดยการใชส้ อยอย่าง

ค้มุ คา่ และเกดิ ประโยชนส์ งู สุด

6. ต้องเช่ือฟงั ครแู ละอยูใ่ นโอวาทของครู

7. ตอ้ งมคี วามสุภาพ ออ่ นโยน และมีระเบยี บ

8. ต้องให้ความเคารพตอ่ คุณครทู กุ คน

เรือ่ งการปฏบิ ตั ติ นขณะอยู่ในห้องเรียน

1. ตงั้ ใจเรียนในวิชานน้ั ไมน่ าวชิ าอนื่ เขา้ มาดหู รอื ทาในขณะท่ีเรียนวิชาใดวิชาหนึ่งอยู่

2. ไมล่ กุ จากที่นัง่ ย้ายทีน่ ัง่ หรือพูดคยุ ให้เกดิ เสยี งดงั ในขณะท่คี รูสอน หรืออย่ใู นหอ้ ง

3. หากมขี ้อสงสยั ให้ยกมือขออนญุ าต เมื่อได้รับอนญุ าตแล้ว จึงถามหรอื แสดงความคดิ เห็น

4. ในขณะทม่ี ชี ั่วโมงเรยี นให้เรยี นอยใู่ นห้องเรียน ถา้ ไม่เข้าเรียนจะได้รบั โทษตามระเบยี บของโรงเรียน

5. ถา้ มีความจาเป็นต้องออกนอกหอ้ งเรยี น ใหข้ ออนุญาตครทู ที่ าการสอน

6. ก่อนเขา้ เรียนในภาคเช้าหรอื กลางวัน ควรทาภารกิจส่วนตัวใหเ้ รยี บรอ้ ย ไมค่ วรขออนญุ าตออกนอก

หอ้ งเรยี นใน 2 ชวั่ โมงแรก ของท้งั ภาคเชา้ และบา่ ย

เร่ืองการใสเ่ ครอื่ งประดบั

1. ห้ามนักเรียนใส่เครือ่ งประดบั หรืออาภรณ์ใดๆ เช่น ตา่ งหู สรอ้ ยคอ แหวน กาไลหรอื สายข้อมอื เปน็ ต้น

ยกเวน้ นาฬกิ าแบบสภุ าพ (สายโลหะ หรือสายดานา้ เงิน น้าตาล) สร้อยคอสเตนเลส หอ้ ยพระหรอื เคร่อื งหมาย

ทางศาสนา (เมอ่ื หอ้ ยลงมาต้องต่ากวา่ กระดุมเมด็ ที่ 2 นับกระดุมเส้ือท่ีคอเม็ดท่ี 1)

2. ห้ามนาเครอ่ื งสาอางตกแตง่ รา่ งกาย เช่น ทาปาก เขยี นค้วิ ทาเล็บ ซอยผม

เร่ืองการแสดงความเคารพ

1. ภายในบรเิ วณโรงเรยี น

1.1 เมือ่ ครูเดนิ ผา่ น นักเรยี นแสดงความเคารพดว้ ยการยนื ตรงแลว้ ไหว้

1.2 เมือ่ เดินสวนทางกับครใู ห้แสดงความเคารพด้วยการหยดุ ยืนตรงและไหว้ เม่ือครเู ดินผา่ นไปแลว้ จึงเดนิ ต่อไป

-10-

1.3 ไม่ควรเดินแซงหนา้ ครู หากมีความจาเป็นต้องกลา่ วคาขออนุญาตหรอื ขอโทษเสียกอ่ น ถ้ามีครูเดินตามมา

ในระยะใกล้ ตอ้ งหยุดใหค้ รูเดนิ ผ่านไปก่อน
1.4 ลกู เสือ- เนตรนารี ทอี่ ยใู่ นเครอื่ งแบบ ให้ทาความเคารพตามระเบียบของตน

1.5 การทาความเคารพในหอ้ งเรียน หวั หนา้ ช้นั บอกวา่ “นกั เรยี นเคารพ” นักเรยี นนงั่ ตวั ตรงพร้อมกบั ยกมอื
ไหวแ้ ละกลา่ วว่า “สวัสดีครับ” และ “สวัสดคี ่ะ” พรอ้ มกนั และนัง่ ตวั ตรงพร้อมกบั ยกมอื ไหว้

กลา่ ว “ขอบคุณครับ” และ “ขอบคุณคะ่ ” พรอ้ มกนั กอ่ นครูออกจากห้องเรียน
1.6 เมอื่ ยืนพดู กบั ครู ต้องยืนในลกั ษณะสารวม เพ่ือพดู เสร็จให้แสดงความเคารพด้วยการไหว้
1.7 เมอื่ เข้าพบครู ไมย่ ืนลอ้ มโต๊ะครู ให้ยืนหา่ งจากครูประมาณ 1 กา้ ว เม่อื เสร็จธุระใหไ้ หว้
1.8 เมอื่ มีผมู้ าเย่ียมหรอื ตรวจโรงเรยี น ใหน้ ักเรยี นฟงั คาสั่งครูทส่ี อน และทาความเคารพเช่นเดยี วกบั การทา
ความเคารพครู
2. ภายนอกโรงเรียน เมือ่ พบครบู รเิ วณภายนอกโรงเรยี น ให้แสดงความเคารพทกุ ครงั้ ด้วยการไหว้ และกลา่ ว
คาวา่ “สวัสดีครับ” หรือ “สวัสดคี ะ่ ” และทักทายปราศรยั ดว้ ยความเคารพ

เรอื่ งการนานกั เรยี นเขา้ ร่วมกิจกรรมภายนอกโรงเรยี น

1. กรณีผ้ปู กครองนานกั เรียนไปร่วมกจิ กรรมภายนอกโรงเรยี น ตอ้ งเขียนบันทกึ ขออนุญาตเพอื่ เสนอ
ผู้อานวยการโรงเรยี นทราบ พร้อมแนบรายชื่อนกั เรยี นและผูค้ วบคุมดแู ล และผปู้ กครองต้องรับผิดชอบดูแล
นกั เรียนให้ปฏบิ ัติตามระเบยี บของโรงเรยี น และใหม้ คี วามเหมาะสมกับสภาพการเป็นนกั เรยี น และแจง้ เรื่องให้
ผูเ้ กี่ยวขอ้ งทราบ ตามลาดับ
2. กรณคี รูนานักเรียนไปร่วมกจิ กรรมภายนอกโรงเรียน ตอ้ งเขยี นบนั ทึกขออนุญาตผอู้ านวยการโรงเรียนเพ่อื
พิจารณา พรอ้ มแนบรายช่อื นักเรียนและครผู ูค้ วบคุมดูแล และแจ้งเร่ืองใหผ้ ู้ทีเ่ กี่ยวขอ้ งทราบ ตามลาดับ
3. กรณีหนว่ ยงานอื่นๆ ต้องการนานักเรยี นไปร่วมกิจกรรม ต้องมีหนังสอื ราชการแจ้งให้ทางโรงเรียนทราบ
ลว่ งหนา้ เพื่อพจิ ารณาอนญุ าต และแจง้ เรื่องให้ผู้เกย่ี วขอ้ งทราบ ตามลาดับ
หมายเหตุ 1. กรณีโรงเรยี นหรอื ครูให้นักเรยี นไปรว่ มกจิ กรรมทที่ างโรงเรยี นจดั ขนึ้ หรอื หน่วยงานอ่ืนๆ ทาง
โรงเรียนตอ้ งมีหนังสือแจง้ ผปู้ กครองทราบและพจิ ารณาอนุญาต

2. โรงเรียนไม่อนญุ าตให้นกั เรียนเขา้ โรงเรยี นในวนั หยดุ ราชการ หรือนักขตั ฤกษ์ ยกเวน้ โรงเรยี น
จัดกิจกรรมหรือครนู ดั หมาย ใหม้ ีหนังสอื แจ้งผปู้ กครองทราบ

เรอ่ื งการลาของนกั เรยี น

1. กรณีการลาปวุ ย ใหเ้ ขียนใบลาตามแบบฟอรม์ ทโ่ี รงเรียนกาหนด และส่งใบลาปวุ ยกับครูทปี่ รึกษาในวันแรก
ที่มาเรยี น หรอื ผู้ปกครองสามารถแจ้งการลาของนกั เรียนกบั ครูท่ปี รึกษาทางโทรศัพท์ เพ่ือรับทราบเบื้องตน้
2. กรณกี ารลากจิ ใหเ้ ขียนใบลาตามแบบฟอร์มท่โี รงเรียนกาหนด และส่งใบลากจิ กับครทู ีป่ รึกษาล่วงหน้า
หมายเหตุ การลาทง้ั 2 กรณี ผปู้ กครองตอ้ งลงลายมือช่อื รับรองการลาดว้ ยตนเองทกุ ครัง้

-11-
เรอื่ งการแสดงความขอบคณุ และขอโทษ

ใหน้ ักเรียนกลา่ วคาว่า “ขอบคุณ” หรือ “ขอบพระคุณ” ต่อผู้ท่ีทาส่ิงใดสงิ่ หน่งึ ใหท้ กุ คร้ังและฝึกให้

เป็นนิสยั อย่เู สมอ เพราะเป็นคุณสมบัติและเอกลกั ษณป์ ระจาชาตไิ ทยทุกคน ใหน้ กั เรียนกล่าวคาวา่ “ขอโทษ”

ทกุ ครั้งที่นักเรียนทาผิด เร่ืองการมาสายของนกั เรยี น

การมาสายของนกั เรยี นมี 2 ประเภท คอื

1. นกั เรียนทม่ี าสายช่วงเวลา 08.00 – 08.30 น. ใหต้ ั้งแถวบรเิ วณหนา้ อาคาร 1 ร่วมทากิจกรรมจนเสรจ็ และ

ใหบ้ าเพ็ญประโยชน์ในบรเิ วณโรงเรียนตามจดุ ต่างๆ

2. นกั เรยี นท่มี าหลัง 08.30 น.

- ให้ลงบนั ทึกชือ่ ท่ีครูเวรประจาวนั

- บาเพญ็ ประโยชนใ์ นบรเิ วณโรงเรียนตามจดุ ต่างๆ

- ถ้ามาสายติดต่อเกนิ 3 ครั้งต่อสัปดาห์ (ไมม่ ีเหตผุ ลอันสมควร) ให้ครทู ่ีปรกึ ษาแจ้งหัวหนา้ ระดบั ชั้น
และครทู ่ปี รกึ ษาแจง้ ฝาุ ยปกครองเพือ่ ดาเนนิ การตามระเบียบตอ่ ไป

- ถ้ามาสายเกนิ 5 ครั้งตอ่ เดือน (ไมม่ เี หตุผลอันสมควร) ให้ครปู ระจาชั้นแจ้งหัวหนา้ ระดับช้ัน และ

แจง้ ฝาุ ยปกครองเพ่อื เชิญผูป้ กครองมาพบ และดาเนินการตามระเบยี บตอ่ ไป

หมายเหตุ โรงเรียนจะทาการปิดประตใู หญ่ในเวลา 8.00 น. แลว้ เปดิ ประตูเลก็ ให้เดินเขา้ มา ให้ปฏิบตั ิ

เหมือนกันทง้ั ครู ผปู้ กครองและนักเรยี น (จะนารถเข้ามาจอดในบรเิ วณโรงเรียนไดห้ ลังจากนกั เรยี นทากิจกรรม

หนา้ เสาธงเรียบร้อยแล้ว) เรือ่ งทรงผมนกั เรียน

ระเบียบวา่ ดว้ ยทรงผมของนักเรียนตามประกาศของกระทรวงศึกษาธกิ าร โรงเรียนไดว้ างแนวปฏบิ ัติดงั น้ี
1. ทรงผมนักเรียนชายโรงเรียนเทศบาลมติ รสมั พนั ธว์ ิทยา

- นักเรยี นชาย ใหต้ ดั ทรงนกั เรียนส้ันเกรียน
2. ทรงผมนักเรยี นหญิงโรงเรยี นเทศบาลมิตรสัมพนั ธว์ ทิ ยา

- นกั เรยี นหญงิ ใหต้ ัดทรงผมบ๊อบ ปลายผมด้านขา้ งและด้านหลังศีรษะยาวเสมอกันตรงแนวปลายคางหรือ
ตดั ทรงหนา้ มา้ ให้หน้าม้ายาวเสมอกันในระดับคว้ิ ไมป่ ดิ ลกู ตา (ถ้ารัดผมให้ใชโ้ บสีน้าเงนิ เทา่ นั้น)
หมายเหตุ กรณนี กั เรยี นหญิงผมหยกิ ให้ไว้ยาวได้ โดยรดั ใหเ้ รียบร้อย ให้ใชโ้ บตามท่ีโรงเรยี นกาหนดเท่านัน้

เรอ่ื งการขออนญุ าตออกนอกบรเิ วณโรงเรยี น

1. ผู้ปกครองรบั ทราบ หรอื มจี ดหมายลงลายมือช่ือผ้ปู กครองมาแสดงพรอ้ มสาเนา บตั รประจาตวั ผู้ปกครอง
และลงลายมือชื่อรับรองสาเนา
2. นักเรียนมาขอใบอนุญาตออกนอกบรเิ วณโรงเรยี น ที่หอ้ งกิจการนกั เรียน
3. ผ้ปู กครองแสดงบตั รประจาตวั ลงบันทึกในสมุดบนั ทึกผู้ปกครองมารบั นักเรยี นเปน็ หลักฐาน
4. รองผอู้ านวยการกลมุ่ บรหิ ารกจิ การนกั เรยี นหรอื ผู้ที่ไดม้ อบหมาย เป็นผอู้ นุญาต

-12-

เร่ืองการตดิ ต่อราชการกบั ทางโรงเรียน

1. บุคคลภายนอก ตอ้ งแต่งกายสภุ าพ ตดิ ตอ่ ที่อาคารประชาสมั พนั ธพ์ รอ้ มแสดงบัตรประจาตัว
2. นกั เรยี นตอ้ งการตดิ ตอ่ ราชการกับทางโรงเรียน นักเรยี นต้องแตง่ เครื่องแบบนักเรียนพร้อมแสดงบตั ร
ประจาตัว นกั เรยี นทกุ ครัง้

เร่ืองการนาโทรศพั ท์มือถือมาโรงเรยี น

1. หา้ มนกั เรยี นนาโทรศัพท์มือถือมาโรงเรียน ยกเวน้ มีเหตจุ าเป็นท่ีต้องนามา โดยผูป้ กครองมายนื่ คารอ้ งขอนา
โทรศัพท์มอื ถอื มาโรงเรียน โรงเรยี นจะพิจารณาอนุญาตตามเหตผุ ลความจาเป็นและออกบตั รอนญุ าตไวเ้ ป็นหลกั ฐาน
2. กรณีนกั เรียนนาโทรศพั ทม์ อื ถือมาโรงเรียนโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต ให้ครผู ู้พบเห็นเก็บนาสง่ ที่ฝุายปกครอง และ
แจ้งใหผ้ ปู้ กครองมารบั คืน หากเกดิ การสูญหาย โรงเรยี นจะไมร่ บั ผิดชอบทุกกรณี

เรอ่ื งการรบั ประทานอาหาร

1. นักเรยี นทกุ คนต้องรับประทานอาหารกลางวันที่โรงเรยี น จะออกไปรับประทานอาหารกลางวันขา้ งนอกไมไ่ ด้
(โรงเรยี นได้รบั การสนบั สนุนโครงการอาหารกลางวนั จากรัฐบาล)
2. นักเรยี นทน่ี าอาหารมาจากบา้ น จะต้องนาอาหารมารับประทานทโ่ี รงอาหาร
3. เมอ่ื รบั ประทานอาหารเรียบร้อยแลว้ ใหน้ าภาชนะไปวางตามที่ทโี่ รงเรยี นกาหนด และนาภาชนะท่ีหอ่ อาหาร
เช่น ใบตอง กระดาษ ถงุ พลาสติก ไปทงิ้ ในถงั ขยะและแยกชนดิ ของขยะใหเ้ รียบร้อย ไม่ปลอ่ ยทิง้ ให้สกปรก
4. การรบั ประทานอาหารกด็ ี ตอ้ งทาดว้ ยความมวี ัฒนธรรมอันดีงาม ไมย่ อ้ื แย่ง ทาหกเลอะเทอะ มูมมาม สง่
เสียงดัง และไม่เดนิ รับประทานอาหาร
5. ห้ามนาอาหาร ขนม เคร่อื งดืม่ ออกนอกโรงอาหาร
6. ห้ามรบั ประทานอาหาร ขนม เครื่องดืม่ ในหอ้ งเรียน

เร่อื งการนานาฬกิ าดิจิตอลมาโรงเรยี น

1. หา้ มใช้นาฬกิ าดิจิตอลที่มสี ีสันฉดู ฉาด อนญุ าตให้ใช้ในรปู แบบที่สีสุภาพเท่านั้น( สีดา น้าเงิน น้าตาล
หากมกี ารสูญหายทางโรงเรยี นไม่รับผิดชอบใดๆทั้งสิ้น
2. หา้ มนามาใช้ในการบนั ทกึ เสียง บนั ทึกภาพ โทรเข้า หรอื โทรออก หรือใช้ในการคานวณ ทีน่ าไปสู่การ
ทุจรติ หรอื นาข้อมูลในโรงเรียนไปเผยแพรภ่ ายนอก หากฝาุ ฝนื ทางโรงเรียนจะดาเนินการตามระเบียบของ
โรงเรยี น

ภาคผนวก

ระเบียบตา่ งๆ ที่นักเรียนพึงทราบ

- ประกาศเทศบาลเมอื งวงั นา้ เยน็ เรอ่ื งการเก็บเงินค่าบารงุ การศกึ ษา
- ระเบยี บวา่ ด้วยการแต่งกายของนักเรียน
- ระเบยี บวา่ ด้วยการควบคมุ ความประพฤติ การลงโทษ การตัด และการเพิ่มคะแนน
ความประพฤตนิ กั เรียน พ.ศ. 2565
- ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ด้วยการลงโทษนักเรียนและนกั ศกึ ษาพ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงกาหนดความประพฤตขิ องนกั เรียนนกั ศึกษา พ.ศ. 2548
- ภาพตัวอยา่ งการแต่งกายเครื่องแบบนกั เรยี น

ประกาศเทศบาลเมอื งวงั นา้ เย็น

เร่อื ง การเรียกเกบ็ เงนิ ค่าบารงุ การศกึ ษาหรือค่าเรยี นนอกเหนอื จากหลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
ของโรงเรียนเทศบาลมิตรสมั พันธว์ ิทยา ประจาปีการศึกษา 2565

ตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยรายได้และการจ่ายเงินของสถานศึกษาสังกัดองค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2562 ได้กาหนดให้สถานศึกษาเรียกเก็บเงินค่าบารุงการศึกษาหรือค่าเรียน
นอกเหนือจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานหรือการจัดประสบการณ์และการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาคุณภาพ

การศกึ ษาหรอื บริการอ่นื เพ่อื สรา้ งคุณภาพชวี ิตและมาตรฐานการศกึ ษาของนักเรยี นใหไ้ ด้มาตรฐานสากล

อาศัยอานาจตามในข้อ 7 ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยรายได้และการจ่ายเงิน

ของสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2562 ประกอ บกับความเห็นชอบของ

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา ในคราวประชุม คร้ังที่ 2/2565

เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2565 และนายกเทศมนตรเี มืองวังน้าเย็นเห็นชอบเมื่อวันที่ 8 เดือนเมษายน

พ.ศ. 2565 จึงให้โรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา สามารถเก็บเงินค่าบารุงการศึกษาหรือค่าเรียน

นอกเหนือจากหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานหรือการจัดประสบการณ์และกา รเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาหรอื บริการอน่ื ได้ตามรายละเอยี ดแนบท้ายประกาศน้ี

1. คา่ จา้ งครชู าวตา่ งประเทศ, ค่าสอื่ การเรยี นการสอน ห้องเรียน Semi English

program ภาคเรียนละ 8,000 บาท

2. คา่ จา้ งเหมาครูชาวต่างประเทศ (ห้องเรยี นปกต)ิ ภาคเรียนละ 420 บาท

3. ค่าจา้ งเหมาครูทม่ี คี วามเชยี่ วชาญดา้ นภาษาจีน ภาคเรียนละ 130 บาท

ประกาศ ณ วันที่ 8 เดอื น เมษายน พ.ศ. 2565

นายวนั ชัย นารีรกั ษ์

( นายวนั ชัย นารีรักษ์ )
นายกเทศมนตรีเมืองวงั นา้ เยน็

ระเบยี บโรงเรยี นเทศบาลมิตรสมั พนั ธ์วทิ ยา
ว่าดว้ ยเรือ่ งการแตง่ กายนักเรียน

……………………………………….
โดยเห็นสมควรปรบั ปรงุ ระเบียบโรงเรยี นเทศบาลมิตรสัมพนั ธว์ ิทยา ว่าดว้ ยการแต่งกายของ
นักเรียนให้มคี วามเหมาะสมยิ่งข้นึ อาศัยอานาจตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการว่าดว้ ยเคร่ืองแบบนกั เรียน
และนกั ศึกษา พ.ศ. 2551 จึงวางระเบยี บวา่ ดว้ ยเคร่ืองแตง่ กายของนักเรียนดงั น้ี
ขอ้ 1 ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบโรงเรยี นเทศบาลมติ รสมั พนั ธ์วทิ ยา วา่ ด้วยการแตง่ กายของ
นักเรียน”
ข้อ 2 ระเบยี บน้ใี หใ้ ช้บงั คบั ตั้งแตว่ ันถัดจากวนั ประกาศเป็นตน้ ไป
ขอ้ 3 ให้ยกเลกิ ระเบียบหรอื คาสงั่ อ่นื ใดของโรงเรียนทกี่ าหนดไว้แลว้ และมีข้อความขัดแยง้ กับ
ระเบียบน้ีและใหใ้ ชร้ ะเบยี บน้แี ทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้

“โรงเรียน” หมายถึง โรงเรยี นเทศบาลมิตรสมั พนั ธว์ ิทยา
“ผบู้ ริหารโรงเรียน” หมายถงึ ผู้บริหารโรงเรยี นเทศบาลมติ รสัมพันธว์ ทิ ยา
“ครู” หมายถึง ครโู รงเรยี นเทศบาลมิตรสมั พนั ธว์ ิทยา
“นกั เรยี น” หมายถงึ นกั เรียนโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา
ข้อ 5 เครอ่ื งแบบนกั เรยี นระดับประถมศกึ ษา
5.1 การแต่งกายนักเรยี นชาย ชุดนกั เรียน
เสื้อ ใช้ผ้าขาวเกลยี้ ง ปกเสื้อเชติ้ สขี าว แขนสน้ั ไม่ใชผ้ ้าบางหรอื หนาเกนิ ไป มีสาบแนวกระดุม
กระเป๋าเสือ้ ตรงหนา้ อกซ้าย เวลาสวมใส่ตอ้ งอยูใ่ นกางเกง ปกั ชอ่ื ตนเองดา้ นซา้ ย ด้วยด้ายหรือไหม สีน้าเงิน
หรอื สกี รมทา่ ขนาด 1 เซนตเิ มตร ชือ่ โรงเรยี นอกั ษรย่อ “ท.ม.พ.”ดา้ นขวามอื ด้วยด้ายหรอื ไหม สีนา้ เงนิ หรอื
สีกรมท่า ขนาด 1.5 เซนติเมตร
กางเกง สีกากี ขาส้ัน เหนอื สะบา้ เขา่ ประมาณ 5 เซนตเิ มตร เมื่อยืนตรง เป็นแบบมีหูร้อยเข็ม
ขัดรอบตวั เวลาสวมใส่ ต้องใช้เข็มขัด แบบหวั สเี่ หล่ยี ม ไมอ่ นุญาตให้ใช้เขม็ ขัดลกู เสือ
ถุงเทา้ สนี า้ ตาล เกลยี้ ง ไม่มีลวดลาย เม่อื สวมแลว้ ตอ้ งยาวเลยหน้าแข้ง ไมใ่ หใ้ ช้ถุงเท้ายาวเลย
เข่า หรอื คลมุ เข่า และไมใ่ หพ้ บั ถุงเทา้
รองเท้า รองเทา้ ผ้าใบสีน้าตาล มีเชือกร้อย
5.2 การแตง่ กายนกั เรียนหญงิ ชดุ นกั เรียน ( ป.1- ป.4)
เสือ้ ใชผ้ ้าขาวเกลี้ยง ปกเสอ้ื คอบวั ไม่ใช้ผา้ บางหรือหนาเกนิ ไป แขนสัน้ เวลาสวมจะอยนู่ อก
กระโปรง กระเปา๋ ดา้ นข้าง ทัง้ 2 ข้าง ปักชอื่ ตนเองด้านซา้ ย ดว้ ยด้ายหรือไหม สีน้าเงนิ หรือสีกรมทา่ ขนาด
1 เซนติเมตร ช่ือโรงเรยี นอักษรยอ่ “ท.ม.พ.” ดา้ นขวามอื ด้วยด้ายหรือไหม สนี ้าเงนิ หรือสีกรมท่า ขนาด
1.5 เซนตเิ มตร
กระโปรง สีกรมท่า แบบมจี บี เวลาสวมใสจ่ ะอยู่ในเส้ือ

ถุงเท้า สีขาวเกลี้ยง ไม่มลี วดลาย อนโุ ลมให้ใช้พื้นถุงเทา้ สดี าได้ และตอ้ งพบั เหนอื ตาตุ่ม
ประมาณ 2-3 นิว้

รองเทา้ รองเท้าหนังสดี า แบบมีสายคาด
5.3 การแต่งกายนกั เรยี นหญงิ ชุดนักเรยี น ( ป.5- ป.6)
เสอ้ื ใชผ้ ้าขาวเกลีย้ ง คอเส้ือและปกเสื้อแบบทหารเรอื ไม่ใชผ้ ้าบางหรือหนาเกินไป แขนสั้น
เวลาสวมจะอยูน่ อกกระโปรง กระเปา๋ ด้านขา้ ง ทงั้ 2 ข้าง ปกั ช่ือตนเองด้านซา้ ย ด้วยดา้ ยหรือไหม สนี ้าเงิน
หรอื สีกรมท่า ขนาด 1 เซนติเมตร

ชอื่ โรงเรยี นอักษรยอ่ “ท.ม.พ.” ด้านขวามอื ด้วยดา้ ยหรอื ไหม สีนา้ เงนิ หรือสีกรมท่า ขนาด 1.5 เซนติเมตร
ผ้าผกู คอสีนา้ เงิน/กรมท่า นักเรยี นหญงิ ใหส้ วมเส้อื กล้ามทับเสอ้ื ชน้ั ใน

กระโปรง สกี รมท่า แบบมีจบี เวลาสวมใสจ่ ะอยู่ในเส้ือ
ถุงเท้า สีขาวเกลีย้ ง ไม่มีลวดลาย อนุโลมใหใ้ ชพ้ ้ืนถุงเทา้ สีดาได้ และตอ้ งพับเหนือตาตุ่ม
ประมาณ 2-3 นวิ้
รองเทา้ รองเท้าหนังสีดา แบบมีสายคาด
5.4 การแต่งกายนกั เรยี น ชุดพลศกึ ษา (ทงั้ ชายและหญิง)
เสื้อ เสอ้ื พละของโรงเรียนหรอื ชุดกีฬาสี ในช่วงท่มี ีการแข่งขนั กีฬาภายในโรงเรียน หรอื มี
กจิ กรรมอ่ืนทโ่ี รงเรียนกาหนดข้นึ
กางเกง ขายาว ของโรงเรียน
ถงุ เท้า สีขาวเกลย้ี ง ไมม่ ีลวดลาย อนุโลมให้ใช้พื้นถุงเท้าสีดาได้
รองเท้า ผา้ ใบสีขาว/สีกากี มเี ชือกผกู รองเท้า
5.5 การแต่งกายนักเรยี น ชุดลกู เสือ-เนตรนารี ทุกประเภท
ให้ใชแ้ นวปฏบิ ัติ ตามระเบียบกายแต่งกายของคณะกรรมการลกู เสอื แห่งชาติ พร้อมท้งั การตดิ /
แสดงเคร่อื งหมายของสังกดั เหล่า จังหวัด ให้ถูกต้อง
ข้อ 6 การสวมเคร่ืองประดบั ของนกั เรยี น
6.1 นาฬิกา ใชส้ ายสดี า น้าตาล หรือโลหะ สายต้องมีขนาดเลก็ กวา่ นาฬกิ า หา้ มใช้สายสีฉดู ฉาดหรือ
นาฬิกาแฟนซี
ไม่มีลวดลายหรือมขี นาดใหญเ่ กนิ มาตรฐานท่วั ไป
6.2 แวน่ ตา ใชเ้ ฉพาะนักเรียนทีม่ ปี ญั หาทางสายตา ห้ามใชก้ รอบแวน่ ตาสีฉดู ฉาด ไมม่ ลี วดลายหรือ
มขี นาดใหญเ่ กนิ มาตรฐานท่ัวไป
6.3 ต่างหู อนญุ าตเฉพาะนักเรียนหญงิ เจาะขา้ งละไมเ่ กิน 1 รู ใชต้ ุ้มหูหว่ งโลหะสีเงิน เสน้ ผ่า
ศูนยก์ ลางไมเ่ กนิ 1 เซนตเิ มตร

6.4 สร้อยคอ ไม่อนญุ าตใหใ้ ช้นาค หรอื ทองคา หรอื วตั ถอุ ่ืนใด อันมีค่า ราคา ให้ใช้ดา้ ยผ้ารม่
หรอื ลูกปดั ท่ีไม่มีสีสนั ฉูดฉาดมากนัก

ข้อ 7 หา้ มนกั เรียนสวมใสเ่ ครอ่ื งประดับอืน่ เพมิ่ เตมิ หรอื ตกแต่งเครอ่ื งแตง่ กายให้มสี ีสันลวดลาย
ผิดเพีย้ นจากทีก่ าหนดไว้ในขอ้ 7 ส่วนวัตถุมงคลใหใ้ ชต้ ามความเหมาะสมโดยผูกหรือแขวนไวใ้ นลกั ษณะมดิ ชดิ

ขอ้ 8 ให้รองผอู้ านวยการฝุายบริหารงานกิจการนกั เรียนเป็นผรู้ ักษาการให้เปน็ ไปตามระเบียบน้ี

ประกาศ ณ วันที่ 31 เดือน มีนาคม พุทธศกั ราช 2565

นางนาตยา สนั ตวิ รกานต์
(นางนาตยา สนั ตวิ รกานต์)
ผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพนั ธว์ ทิ ยา

ระเบยี บโรงเรียนเทศบาลมิตรสมั พนั ธว์ ิทยา
ว่าด้วยการการลงโทษนกั เรียน พ.ศ. 2565

โดยเป็นการสมควรปรับปรงุ ระเบยี บโรงเรยี นเทศบาลมิตรสัมพันธว์ ิทยาวา่ ดว้ ยความผิดและการ

พจิ ารณาโทษนักเรยี นเพอื่ ใหม้ คี วามเหมาะสม จึงอาศยั อานาจตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร วา่ ด้วยการ

ลงโทษนักเรียน – นักศกึ ษา พ.ศ. 2548 และกฎกระทรวงกาหนดความประพฤตนิ กั เรยี นและนกั ศกึ ษา พ.ศ.

2548 โรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพนั ธว์ ิทยา ไดก้ าหนดการลงโทษ และการตดั คะแนนความประพฤติ ของ

นักเรยี นให้เป็นไปอย่างเสมอภาค จงึ ได้ออกระเบียบไว้ดังนี้

ข้อ 1. ระเบยี บนเ้ี รียกวา่ “ระเบยี บโรงเรยี น ว่าดว้ ยการลงโทษนักเรียน พ.ศ. 2565”

ขอ้ 2. ระเบียบนีม้ ีผลบังคบั ใช้หลงั จากผู้อานวยการโรงเรยี นเทศบาลมิตรสัมพนั ธว์ ทิ ยา ลงนามหรือ

อนุญาตให้ใช้ระเบยี บนี้

ขอ้ 3 ในระเบียบนี้

“โรงเรยี น” หมายถึง โรงเรียนเทศบาลมติ รสัมพันธ์วทิ ยา

“นักเรยี น” หมายถึง นกั เรยี นทก่ี าลังศึกษาอยใู่ นโรงเรยี นเทศบาลมติ รสมั พนั ธ์วิทยา

“ผู้อานวยการสถานศกึ ษา”หมายถงึ ผูอ้ านวยการโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วทิ ยา

“รองผู้อานวยการ” หมายถงึ รองผอู้ านวยการท่ีกากบั ดูแลฝุายกิจการนกั เรียน

“หัวหนา้ งานปกครอง” หมายถงึ ครูท่ไี ด้รบั การแตง่ ตง้ั ตามคาส่ังของโรงเรียนใหป้ ฏบิ ัตหิ นา้ ที่

หัวหนา้ งานปกครอง

“ครู” หมายถึง ครูที่ปฏบิ ัติราชการหรือปฏิบตั กิ ารสอนอยู่ในโรงเรียนมัธยม

เทศบาลเมืองวังนา้ เย็น

“ครปู ระจาชนั้ ” หมายถึง ครูทไ่ี ด้รบั การแตง่ ตงั้ ตามคาสัง่ โรงเรยี นให้ปฏบิ ัติหนา้ ทเ่ี ปน็ ครู

ประจาช้นั

“ครปู ระจาวชิ า” หมายถงึ ครทู ี่ปฏิบัติหนา้ ที่สอนวชิ าต่างๆในโรงเรยี นเทศบาลมิตรสัมพันธ์

วทิ ยา

“หวั หนา้ ระดบั ชนั้ ” หมายถึง ครทู ไี่ ด้รับแตง่ ต้งั ตามคาสง่ั โรงเรยี นให้ปฏิบตั ิหนา้ ทีห่ ัวหน้าระดับชั้น

“การประพฤตผิ ดิ ” หมายถงึ การกระทาใด ๆ ก็ตามท่ีฝุาฝืนระเบียบข้อบังคบั ของทางโรงเรยี น

“การลงโทษ” หมายถงึ การลงโทษนกั เรยี นทป่ี ระพฤติผดิ หรอื ฝุาฝนื ระเบยี บของทางโรงเรยี น

“คะแนนความประพฤต”ิ หมายถงึ คะแนนทใี่ ชค้ วบคมุ ความประพฤตินกั เรยี นของโรงเรยี นเทศบาล

มิตรสมั พันธว์ ทิ ยา ซึ่งในแต่ละชว่ งช้ันนักเรยี นแต่ละคนจะมีคะแนนความ

ประพฤติของตนเอง 100 คะแนน

“การควบคุมความประพฤตนิ กั เรียน” หมายถงึ การลงโทษและการตัดคะแนนความประพฤตขิ อง
นักเรยี นควบคกู่ ันไป

ขอ้ 4. เพื่อให้สอดคล้องกบั ระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าดว้ ยการลงโทษนกั เรยี นและนักศกึ ษา
พ.ศ. 2548 โรงเรียนเทศบาลมิตรสมั พนั ธว์ ทิ ยา จงึ กาหนดโทษ ได้ 4 สถาน ดังน้ี

1. ว่ากลา่ วตักเตอื น
2. ทาทัณฑบ์ น
3. ตัดคะแนนความประพฤติ
4. ทากจิ กรรมเพอ่ื ปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรม
ข้อ 5. การวา่ กล่าวตกั เตอื น ใช้สาหรบั นกั เรียนทกี่ ระทาความผดิ ขั้นเบา ในครง้ั แรก และ ใหเ้ ปน็

อานาจของครูท่ีพบเหน็ การกระทาความผดิ เป็นผู้พจิ ารณาลงโทษ โดยการว่ากลา่ วตักเตือน

ขอ้ 6. การทาทัณฑบ์ น และตดั คะแนนความประพฤติ โดยบนั ทกึ ไวใ้ นทะเบียนประวัติ และบันทึก

ขอ้ มลู คะแนนความประพฤติ ใช้ในกรณที ี่นกั เรียนที่ประพฤตติ นไม่เหมาะสม หรอื ฝุาฝนื ระเบยี บ โรงเรยี น หรอื

กรณที าให้เสอื่ มเสยี ชื่อเสยี งและเกยี รตศิ กั ดิข์ องสถานศกึ ษา หรือเคยได้รบั โทษว่ากล่าวตกั เตอื นแล้วยังไม่เขด็

หลาบ หรือถกู ตัดคะแนนความประพฤติที่ครบ 40 คะแนน ใหเ้ ปน็ อานาจของหัวหน้างานปกครองเป็นผู้

พจิ ารณาลงโทษ โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการฝาุ ยกิจการนกั เรียน แล้วเสนอรองผูอ้ านวยการที่กากับ

ดูแลฝุายกจิ การนักเรียนเปน็ ผพู้ ิจารณาอนุญาต

ขอ้ 7. การตัดคะแนนความประพฤติ และบนั ทึกไวใ้ นทะเบยี นประวัติ และบันทึกข้อมลู คะแนนความ

ประพฤติ โดยใหค้ รทู กุ คนทพี่ บการกระทาความผิด บนั ทึกขอ้ มูลการกระทาผดิ ลงในใบบนั ทกึ การหักคะแนน

พฤตกิ รรม เสนอต่องานปกครองเพ่อื พิจารณา แล้วเสนอรองผอู้ านวยการท่กี ากับดูแลฝุายกจิ การนกั เรยี น เปน็

ผูอ้ นุญาตตัดคะแนน และบันทึกขอ้ มูล

การตดั คะแนนความประพฤติ ใหพ้ จิ ารณาระดับความผิดตามความเหมาะสมแต่ละกรณคี วามผิดเป็น

รายๆ ไป โดยในแต่ละช่วงช้นั นักเรยี นมคี ะแนนเต็ม 100 คะแนน การตัดคะแนนความประพฤติแบง่ ออกเป็น

4 ระดบั คอื

1. ขน้ั เบา ตัดคะแนน 5 คะแนน

2. ขนั้ ปานกลาง ตัดคะแนน 10 - 20 คะแนน

3. ข้ันรา้ ยแรง ตดั คะแนน 21 - 50 คะแนน

4. ขั้นรา้ ยแรงมาก ตัดคะแนน 50 - 100 คะแนน

การตดั คะแนนความประพฤตใิ ช้สาหรบั นักเรยี นทกี่ ระทาผดิ ระเบียบโรงเรยี น ข้นั เบา ครบ 3 ครัง้ โดย

ตดั คะแนน 5 คะแนน มดี งั ตอ่ ไปนี้ (ทุกข้อตัด 5 คะแนนเทา่ กัน)

1. มาสายไมท่ ันเข้าแถวเคารพธงชาติ /ไม่เขา้ แถวเคารพธงชาติตอนเช้าโดยหลบซ่อนใน

สถานท่ตี ่างๆ

2. แต่งกายผิดระเบยี บ ใช้กระเปา๋ นกั เรียนผิดแบบทก่ี าหนด

3. ไมเ่ ข้าออกทางประตูโรงเรยี น

4. แสดงกริยาไมส่ ุภาพในโรงเรยี นและสถานท่ีสาธารณะ

5. ผิดกฎจราจรในโรงเรียน

6. ประพฤตติ นไม่สภุ าพเรียบรอ้ ย

7. เข้าไปในสถานทไ่ี มเ่ หมาะสม

8. ยุยงใหเ้ กิดความแตกแยก

9. ไม่รักษาความสะอาดในหอ้ งเรยี นและนอกห้องเรยี น

10. เลน่ ในทต่ี ้องหา้ ม

การตัดคะแนนความประพฤตินักเรยี นท่กี ระทาผดิ ระเบยี บโรงเรียนขน้ั ปานกลาง โดยตดั คะแนน

10 - 20 คะแนน มดี ังตอ่ ไปน้ี

1. หลบหลกี หนีเรยี น(ไมเ่ ข้าโรงเรียน ไม่เขา้ หอ้ งเรยี นปีนรั้วหนี อ่ืนๆ) ตดั 10 คะแนน

2. ปลอมแปลงลายมอื ช่ือในเอกสาร ตัด 10 คะแนน

3. ไมร่ ่วมกจิ กรรมท่โี รงเรยี นหรือครมู อบหมาย ตัด 10 คะแนน

4. ทาลายทรัพย์สนิ ของทางโรงเรียน ตดั 20 คะแนน

5. สบู บหุ รห่ี รอื มีบุหร่ีไว้ในครอบครอบ ตัด 20 คะแนน

6. กา้ วรา้ ว ขู่เขญ็ ต่อนกั เรียนคนอื่น ตัด 20 คะแนน

7. ใส่เส้อื ผ้าท่ีไม่ปักเครอื่ งหมายตรงตามระเบยี บของโรงเรียน ตดั 10 คะแนน

8. กลา่ วเท็จต่อครูอาจารย์ ตดั 10 คะแนน

9. หนกี ารประชมุ หรืออบรม ตัด 10 คะแนน

10. ประพฤติตนเปน็ อนั ธพาล ตดั 20 คะแนน

11. แต่งกายไม่เหมาะสมเข้าโรงเรียนในวนั หยดุ ตดั 10 คะแนน

12. ทรงผมผดิ ระเบียบ ตัด 10 คะแนน

การตดั คะแนนความประพฤตินกั เรยี นที่กระทาผดิ ระเบียบขั้น ร้ายแรง โดยตดั คะแนน 21 - 50

คะแนน มีดังต่อไปน้ี

1. เล่นการพนันทุกชนดิ ตดั 25 คะแนน

2. ลกั ขโมย ตัด 25 คะแนน

3. พกพาอาวธุ ตัด 30 คะแนน

4. มสี ่งิ ของผดิ กฎหมาย ตัด 30 คะแนน

5. ดม่ื ของมึนเมา ตดั 25 คะแนน

6. ทะเลาววิ าท ตดั 30 คะแนน

7. ประพฤตชิ ู้สาว ตดั 25 คะแนน

8. ทารา้ ยรา่ งกายผอู้ น่ื ตัด 30 คะแนน

9. กระทาความผิดทางอาญา ตัด 40 คะแนน

10. นาส่งิ ลามกมาโรงเรียน ตดั 30 คะแนน

11. ดูหมน่ิ อาจารย์หรือผมู้ พี ระคุณ ตดั 30 คะแนน

12. นาโทรศพั ท์หรือเครื่องมอื สื่อสารทุกชนดิ มาใช้ในโรงเรยี น ตัด 25 คะแนน

การตัดคะแนนความประพฤตินักเรียนทก่ี ระทาผิดระเบยี บขนั้ รา้ ยแรงมาก โดยตัดคะแนน 50 – 100

คะแนน มดี งั ต่อไปนี้

1. เสพยาเสพตดิ หรือมียาเสพติดไวใ้ นครอบครอบ ตดั 50 คะแนน

2. เขา้ กลุม่ ทารา้ ยร่างกายผอู้ น่ื โดยใชอ้ าวุธหรือไมก่ ต็ าม ตัด 50 คะแนน

3. รวมกล่มุ ลักขโมย ตัด 50 คะแนน

4. ขม่ ขู่ รีดไถผอู้ นื่ ตดั 50 คะแนน

5. ทาร้ายร่างกายบุคลากร ครอู าจารย์ในโรงเรียน ตดั 60 คะแนน

6. ก่อการทะเลาะววิ าทหรอื ชกั นาบุคคลมาร่วมก่อทะเลาะวิวาท ตดั 50 คะแนน

7. ประพฤตติ นชสู้ าวทาให้โรงเรยี นเกิดความเสยี หาย ตัด 50 คะแนน

8. ยุยง ชกั ชวน ทาการประทว้ งครู หรือโรงเรียน ตัด 50 คะแนน

การตัดคะแนนความประพฤตนิ ักเรียนท่กี ระทาความผิด ครั้งละ 50 คะแนน ข้นึ ไป ให้คณะกรรมการ

ฝุายกิจการนกั เรียนพิจารณา และเสนอรองผอู้ านวยการที่กากับดแู ลฝุายกิจกานกั เรยี น เพื่อเสนอผู้อานวยการ

สถานศกึ ษาเป็นผูอ้ นุญาต

ขอ้ 8. การตดั คะแนนความประพฤตนิ กั เรยี น ใหด้ าเนินการดงั ต่อไปนี้

1. แจ้งใหน้ กั เรยี นผู้น้ันทราบ

2. แจง้ การถกู ตดั คะแนนความประพฤตหิ รอื ลงโทษใหผ้ ปู้ กครองนกั เรียนผนู้ ้ันทราบ

(กรณีนกั เรยี นถกู หักคะแนนพฤตกิ รรมครั้งละ 20 คะแนนข้นึ ไป)

3. ปิดประกาศผลการพิจารณาตดั คะแนนความประพฤติ ให้นักเรียนในสถานศกึ ษาทราบ

4. ใหห้ ัวหนา้ งานปกครองรวมรวมขอ้ มลู คะแนนความประพฤติทถี่ กู ตัดของนักเรียนเพือ่ แสดง

เปน็ หลกั ฐานตรวจสอบในกรณีท่มี ีการร้องขอ

ขอ้ 9. การทากิจกรรมเพ่อื ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม และ / หรือตัดคะแนนความประพฤติ และบันทกึ

ข้อมลู เป็นหลกั ฐาน ใชส้ าหรบั นักเรียนท่กี ระทาผิดจนถูกหักคะแนนพฤติกรรมครบ 50 คะแนน ใหเ้ ปน็ อานาจ

ของหัวหน้างานปกครอง เป็นผพู้ ิจารณาลงโทษ โดยความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการฝาุ ยกจิ การนักเรยี น แลว้

เสนอรองผู้อานวยการทก่ี ากบั ดูแลฝาุ ยกจิ การนกั เรยี นเป็นผู้อนุญาต

การทากิจกรรม หมายความว่า การใหน้ ักเรียนท่ีกระทาความผดิ ทากจิ กรรม หรือบาเพญ็ ตนใหเ้ ปน็

ประโยชน์ต่อตนเอง โรงเรยี น ชุมชนหรอื สังคม

ขอ้ 10. ในการเพม่ิ คะแนนความประพฤติใหก้ บั นกั เรียน ต้องมหี ลกั ฐานแสดงวา่ เป็นบุคคลท่มี ี

คุณธรรมจริยธรรมชว่ ยเหลอื สงั คม สรา้ งชอ่ื เสียงให้กับโรงเรยี น เปน็ แบบอยา่ งกบั ผูอ้ ่นื เป็นท่ีประจักษ์ ตาม

เกณฑก์ ารเพม่ิ คะแนนความประพฤติ ทแี่ นบท้ายระเบียบฯ น้ี โดยสามารถนาไปลบล้างคะแนนพฤตกิ รรม

ทถ่ี กู ตดั ได้ ทงั้ นีใ้ หเ้ ป็นอานาจของหวั หน้างานปกครอง เป็นผพู้ ิจารณา โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ฝาุ ยกจิ การนกั เรียน แลว้ เสนอรองผู้อานวยการท่กี ากับดแู ลฝาุ ยกจิ การนักเรียนเป็นผอู้ นุญาต

ผลของการถกู ตัดคะแนนความประพฤติ การแจ้งผปู้ กครอง และการเพม่ิ คะแนนความประพฤติ
ให้ใช้ตามความที่แนบท้ายระเบียบ ฯ นี้

ข้อ 11. ผอู้ านวยการสถานศกึ ษามอี านาจในการส่งั ยกเลกิ ระเบยี บนี้
ขอ้ 12. การแกไ้ ขเพ่มิ เติมระเบียบน้ี ให้ฝุายกิจการนกั เรยี นเป็นผู้ดาเนินการแกไ้ ขเพ่มิ เติม แลว้ เสนอ
ใหผ้ ู้อานวยการสถานศึกษา เป็นผปู้ ระกาศใช้
ข้อ 13. ใหร้ องผูอ้ านวยการทก่ี ากับดูแลฝาุ ยกิจการนกั เรียน หรอื ผทู้ ร่ี องผู้อานวยการทก่ี ากับดูแลฝุาย
กิจการนกั เรยี นมอบหมาย เปน็ ผูร้ ักษาการให้เปน็ ไปตามระเบยี บนี้
ขอ้ 14. ระเบยี บนี้มผี ลบังคับใช้ตั้งแตว่ นั ที่ 31 มนี าคม พ.ศ. 2565 เปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2565

นางนาตยา สันติวรกานต์
(นางนาตยา สันตวิ รกานต
ผ้อู านวยการสถานศึกษาโรงเรยี นเทศบาลมติ รสมั พนั ธว์ ิทยา

ผลของการถกู ตดั คะแนนความประพฤติ การแจ้งผูป้ กครอง และการเพ่มิ คะแนนความประพฤติ

แนบทา้ ยระเบียบโรงเรยี นเทศบาลมิตรสัมพนั ธว์ ทิ ยาว่าด้วยการลงโทษนักเรียน พ.ศ. 2565

ผลการถูกตัดคะแนนความประพฤติ
นกั เรยี นที่ถูกตดั คะแนนความประพฤติครบ 60 คะแนน จะถกู ตัดสิทธ์ิในการเสนอชอื่ เข้ารบั เกียรติ
บัตรในวนั วชิ าการของโรงเรียน และขอสนบั สนนุ ทนุ การศกึ ษาทกุ ประเภทของโรงเรียน นักเรยี นทถ่ี ูกตดั
คะแนนความประพฤตเิ หลือครบ 50 คะแนน นกั เรยี นจะตอ้ งทากจิ กรรมเขา้ คา่ ยคุณธรรมจรยิ ธรรม เพือ่
ฝึกอบรมพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและระเบยี บวนิ ัยตามกาหนดเวลาและสถานที่ทโ่ี รงเรียนกาหนด โดย
ผปู้ กครองนักเรยี นจะตอ้ งยอมรับเง่ือนไขในการเขา้ ค่ายอบรมทุกกรณี และเมือ่ กลบั มาแลว้ พฤติกรรมยังไม่
พัฒนาข้นึ ก็จะพจิ ารณาใหเ้ ข้ารับการอบรมเพิ่มเติม หรอื พิจารณาอย่างอื่นตามที่คณะกรรมการฝาุ ยกิจการ
นักเรียนเหน็ สมควร
การแจง้ ผปู้ กครอง
เม่อื นกั เรยี นถูกตัดคะแนนความประพฤติที่ระดับคะแนน 20 คะแนน ใหแ้ จง้ ใหผ้ ู้ปกครองไดร้ ับ
ทราบทกุ คร้ัง
เม่ือนกั เรียนถกู ตัดคะแนนความประพฤติ ทร่ี ะดับคะแนน 40 คะแนน ให้เชญิ ผปู้ กครองมาทา
ทณั ฑ์บน
เม่ือนกั เรียนถกู ตดั คะแนนความประพฤติ ทร่ี ะดบั คะแนน 70 คะแนน ใหเ้ ชิญผู้ปกครองมา
รบั ทราบ และอาจจะดาเนินการใหย้ ้ายสถานศึกษาเพ่อื ปรบั เปล่ียนพฤติกรรม
ผลการเพ่มิ คะแนนความประพฤติ
การเพิม่ คะแนนความประพฤตสิ ะสมแยกตามระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
นกั เรยี นทีไ่ ดร้ ับการเพ่มิ คะแนนความประพฤติสะสมถงึ 80 คะแนน จะไดร้ ับโล่หรือประกาศเกียรตคิ ณุ ยกยอ่ ง
เปน็ “ต้นแบบคนดศี รีมติ รสัมพันธ์”
นกั เรียนทก่ี ระทาความดใี ห้เพมิ่ คะแนนความประพฤตไิ ด้ทัง้ นข้ี ึ้นกับ ดุลยพนิ ิจของหวั หนา้ งานปกครอง
และคณะกรรมการฝุายกจิ การนกั เรียน ตามระเบยี บของโรงเรยี นเทศบาลมติ รสัมพนั ธว์ ิทยา ว่าดว้ ยการ

ควบคุมความประพฤติ การลงโทษ การตัด และการเพิม่ คะแนนความประพฤตนิ ักเรียน พ.ศ. 2565

อนื่ ๆ ให้เปน็ ไปตามมตขิ องคณะกรรมการฝุายกิจการนกั เรียน โดยความเหน็ ของผอู้ านวยการสถานศึกษา

ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ว่าดว้ ยการลงโทษนกั เรยี นและนักศึกษา พ.ศ. 2548
.........................................................

อาศัยอานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญตั คิ ้มุ ครองเดก็ พ.ศ. 2546
รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จงึ วางระเบยี บวา่ ดว้ ยการลงโทษนกั เรยี นและนกั ศกึ ษาไว้ ดังต่อไปน้ี

ขอ้ 1 ระเบียบน้เี รียกวา่ “ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ วา่ ดว้ ยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา
พ.ศ. 2548”

ขอ้ 2 ระเบียบน้ีใหใ้ ช้บงั คบั ตงั้ แต่วนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นต้นไป

ข้อ 3 ใหย้ กเลิกระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการลงโทษนักเรยี นหรอื นกั ศึกษา พ.ศ. 2543
ขอ้ 4 ในระเบยี บน้ี
“ผ้บู รหิ ารโรงเรยี นหรือสถานศกึ ษา” หมายความวา่ ครใู หญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อานวยการ อธิการบดี

หรือหัวหนา้ ของโรงเรยี นหรือสถานศึกษาหรอื ตาแหน่งที่เรียกชอ่ื อย่างอ่นื ของโรงเรียนหรอื สถานศกึ ษานนั้
“กระทาความผดิ ” หมายความวา่ การทีน่ ักเรยี นหรอื นักศกึ ษาประพฤติฝา่ ฝนื ระเบยี บ ข้อบังคับของ

สถานศกึ ษา หรอื ของกระทรวงศึกษาธกิ าร หรือกฎกระทรวงว่าดว้ ยความประพฤตขิ องนักเรยี นและนักศึกษา

“การลงโทษ” หมายความวา่ การลงโทษนกั เรยี นหรือนกั ศึกษาที่กระทาความผิด โดยมคี วามมุ่ง
หมายเพอื่ การอบรมส่งั สอน

ข้อ 5 โทษทจ่ี ะลงโทษแก่นักเรยี นหรือนกั ศกึ ษาท่กี ระทาความผิด มี ๔ สถาน ดงั น้ี
(1) ว่ากล่าวตกั เตอื น
(2) ทาทณั ฑ์บน

(3) ตดั คะแนนความประพฤติ
(4) ทากิจกรรมเพ่ือให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ข้อ 6 หา้ มลงโทษนักเรียนและนักศึกษาด้วยวิธีรุนแรง หรือแบบกล่ันแกล้ง หรือลงโทษด้วยความ
โกรธ หรอื ด้วยความพยาบาท โดยใหค้ านึงถงึ อายขุ องนักเรยี นหรือนักศึกษา และความร้ายแรงของพฤติการณ์
ประกอบการลงโทษด้วย การลงโทษนกั เรียนหรือนกั ศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปเพอ่ื เจตนาทจี่ ะแกน้ สิ ยั และความประพฤติ

ไม่ดขี องนักเรยี นหรือนกั ศึกษาให้รสู้ านึกในความผดิ และกลับประพฤตติ นในทางท่ีดีต่อไป ให้ผู้บริหารโรงเรียน
หรือสถานศึกษา หรือผู้ที่ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษามอบหมายเป็นผู้มีอานาจในการลงโทษนักเรียน

นักศึกษา
ข้อ 7 การวา่ กล่าวตกั เตือน ใชใ้ นกรณีนกั เรยี นหรือนักศกึ ษากระทาความผิดไมร่ า้ ยแรง
ข้อ 8 การทาทัณฑ์บนใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาท่ีประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพ

นักเรยี นหรอื นักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา หรือกรณีทาให้เส่ือมเสีย
ชอ่ื เสียงและเกียรตศิ กั ด์ิของสถานศกึ ษา หรือฝา่ ฝนื ระเบยี บของสถานศึกษา หรือได้รับโทษว่ากล่าวตักเตือน

แลว้ แต่ยังไมเ่ ข็ดหลาบ การทาทณั ฑ์บนให้ทาเปน็ หนงั สือและเชิญบิดามารดาหรือผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบ
ความผดิ และรับรองการทาทัณฑ์บนไวด้ ว้ ย

ข้อ 9 การตดั คะแนนความประพฤติ ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบปฏบิ ัตวิ ่าด้วยการตัดคะแนนความ
ประพฤตนิ ักเรียนและนักศกึ ษาของแต่ละสถานศึกษากาหนด และให้ทาบันทึกข้อมูลไวเ้ ป็นหลักฐาน

ข้อ 10 ทากจิ กรรมเพอ่ื ใหป้ รบั เปลยี่ นพฤติกรรม ใช้ในกรณที นี่ กั เรยี นและนกั ศกึ ษากระทาความผิด
ทส่ี มควรตอ้ งปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม การจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด

ข้อ 11 ใหป้ ลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนีแ้ ละให้มอี านาจตคี วาม
และวินจิ ฉยั ปญั หาเกย่ี วกับการปฏิบตั ติ ามระเบียบน้ี

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘

อดศิ ยั โพธารามิก
(อดศิ ัย โพธารามิก)
รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ

กฎกระทรวง

กาหนดความประพฤติของนักเรยี นนกั ศึกษา พ.ศ. 2548
อาศัยอานาจตามมาตรา 6 และมาตรา 64 แห่งพระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองเดก็ พ.ศ. 2546 อันเป็น
กฎหมายทมี่ ีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา 29ประกอบกับ
มาตรา 31 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 39 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทาได้โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารออกกฎกระทรวงไว้ ดังตอ่ ไปนี้
ข้อ 1 นักเรยี นเละนกั ศกึ ษาตอ้ งไมป่ ระพฤตติ น ดงั ต่อไปนี้

(1) หนีเรยี นหรอื ออกนอกสถานท่โี ดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตในชว่ งเวลาเรยี น
(2) เลน่ การพนนั จดั ใหม้ กี ารเลน่ การพนัน หรือมว่ั สุมในวงการพนนั
(3) พกพาอาวธุ หรือวตั ถุระเบิด
(4) ซ้ือ จาหนา่ ย แลกเปล่ยี น เสพสรุ า หรือเครอื่ งดมื่ ทม่ี แี อลกอฮอล์ สงิ่ มนึ เมา บุหรี่ หรือยาเสพติด
(5) ลกั ทรัพย์ กรรโชกทรพั ย์ ข่มขู่ หรือบงั คับขนื ใจเพ่ือเอาทรัพย์บคุ คลอ่ืน
(6) ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ทาร้ายรา่ งกายผอู้ ื่น เตรียมการหรอื กระทาการใดๆ อนั น่าจะก่อใหเ้ กิด
ความไมส่ งบเรียบรอ้ ยหรือขดั ต่อศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน
(7) แสดงพฤตกิ รรมทางชูส้ าว ซ่งึ ไม่เหมาะในทสี่ าธารณะ
(8) เกีย่ วขอ้ งกบั การค้าประเวณี
(9) ออกนอกสถานท่ีพักเวลากลางคนื เพอื่ เที่ยวเตร่หรอื รวมกลุ่ม อนั เป็นการสร้างความ
เดอื ดร้อนให้แก่ตนเองหรือผอู้ ่นื
ขอ้ 2 ใหโ้ รงเรียนหรือสถานศกึ ษากาหนดระเบียบวา่ ด้วยความประพฤติของนักเรยี นและนักศกึ ษา
ไดเ้ ท่าทีไ่ มข่ ดั หรอื แยง้ กบั กฎกระทรวงนี้

ให้ไว้ ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2548

จาตรุ นต์ ฉายแสง
(นายจาตรุ นต์ ฉายแสง)
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ

โครงการห้องเรยี นพิเศษดา้ นภาษาองั กฤษ

โครงการห้องเรยี นพิเศษดา้ นภาษาองั กฤษ

หลกั สูตรปกติ








Click to View FlipBook Version