The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เกี่ยวกับเครื่องราชอิสริยาภรณ์[1]

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rujinee paditaporn, 2019-06-16 23:56:37

ความรู้เกี่ยวกับเครื่องราชอิสริยาภรณ์[1]

ความรู้เกี่ยวกับเครื่องราชอิสริยาภรณ์[1]

Keywords: เครื่องราช

ความรูท ว่ั ไปเกยี่ วกับเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณไ ทย
ความหมายของเครอื่ งราชอสิ ริยาภรณ
เครื่องราชอสิ ริยาภรณ คือ สิ่งซงึ่ เปน เครื่องหมายแสดงเกยี รติยศและบาํ เหนจ็
ความชอบ เปน ของพระมหากษตั ริยท รงสรางขน้ึ สาํ หรบั พระราชทานเปน
บาํ เหน็จความชอบ ในราชการ ท่ีใชสําหรบั พระราชทานแกผูก ระทาํ ความดี
ความชอบอนั เปนประโยชน แกประเทศ ศาสนา และประชาชน และเหรยี ญที่
ระลึกทพ่ี ระราชทานเปน บําเหน็จ ความชอบในโอกาสตา ง ๆ และที่ทรง พระ
กรณุ าโปรดเกลาฯ ใหบ คุ คลประดบั ไดอยางเครอื่ งราช อสิ รยิ าภรณ ตามทท่ี าง
ราชการกาํ หนด

ชนิดของเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณท ่ีเสนอขอพระราชทานประจาํ ป

เครื่องราชอสิ รยิ าภรณท ี่สว นราชการเสนอขอพระราชทานใหแ กบคุ คลตา ง ๆ เปนประจําป ในวโรกาสพระราช
พิธีเฉลมิ พระชนมพรรษา ประกอบดว ย

1. เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณอันเปนทเ่ี ชิดชูยิง่ ชา งเผือก
2. เครื่องราชอสิ ริยาภรณอนั มเี กียรติยศยง่ิ มงกฎุ ไทย
3. เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณอ ันเปน ท่สี รรเสรญิ ย่ิงดิเรกคณุ าภรณ
4. เหรียญจักรพรรดิมาลา

การเสนอขอพระราชทานเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณป ระจําป ใหแกขา ราชการและลกู จา งประจํา มหี ลกั
ปฏิบัติ ดงั น้ี

1. ในการพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครอื่ งราชอิสริยาภรณใ หแกบ คุ คลใด ใหพจิ ารณาโดยรอบคอบวา
บุคคลนนั้ ไดก ระทํา ความดคี วามชอบอนั เปน ประโยชนแ กร าชการหรอื สาธารณชนจนถงึ ขนาดควรไดรบั
พระราชทานเคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ โดยมใิ ชพ จิ ารณาแตเ พยี งตาํ แหนง ระดบั ชนั้ ชน้ั ยศ หรอื ครบกําหนด
ระยะเวลา ทจ่ี ะขอพระราชทาน เคร่ืองราช อิสรยิ าภรณ ไดเทานนั้ ทง้ั น้ี เพือ่ ใหบุคคลทไ่ี ดรบั พระราชทานรูส กึ
ภมู ิใจในเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณท ีไ่ ดร ับพระราชทาน อยางแทจ ริง และเพือ่ ใหเคร่อื งราชอิสริยาภรณ ปน
เครือ่ งหมายเชดิ ชเู กยี รตอิ ยางสงู ดวย การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอสิ ริยาภรณใ ด ชนั้ ตราใด แกบุคคล
ใด ใหเปนไป ตามหลกั เกณฑทกี่ าํ หนดในบญั ชที ายระเบยี บฯ วา ดวยการขอพระราชทาน เคร่อื งราช สริยา
ภรณฯ พ.ศ. 2536
2. นอกจากจะพิจารณาคณุ สมบตั ิของผทู จี่ ะเสนอขอพระราชทานตามขอ
1 แลว บคุ คลท่ีพงึ ไดร บั การพจิ ารณาเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอสิ ริยาภร
2. จะตองมีคณุ สมบัตดิ ังตอไปนีด้ ว ย คือ - มสี ัญชาตไิ ทย

• เปน ผปู ระพฤติดแี ละปฏิบตั ิงานราชการ หรอื ปฏิบัตงิ านท่ีเปน ประโยชนตอ
สาธารณชนดว ยความอตุ สาหะ ซอื่ สัตย และเอาใจใสต อหนา ที่อยา งดยี ง่ิ และ

• เปน ผไู มเคยมพี ระบรมราชานญุ าต ใหเรียกคืนเครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ หรอื ตอง รบั
โทษจาํ คุก โดยคาํ พพิ ากษาถึงท่สี ดุ ใหจาํ คกุ เวน แต เปน โทษสาํ หรบั ความผิดทไี่ ด
กระทาํ โดย ประมาท หรือความผดิ ลหุโทษ

3. การเสนอขอพระราชทานเครอื่ งราชอิสริยาภรณ จะเสนอขอปต ดิ กนั มไิ ด เวนแต กรณี ดงั น้ี
(1) เปนการขอพระราชทานตามหลกั เกณฑทก่ี าํ หนดในบัญชีทายระเบยี บฯตา งบญั ชกี ัน
(2) ระเบยี บกาํ หนดหลกั เกณฑไวเ ปน การเฉพาะวา ใหข อพระราชทานไดท ุกป
(3) เปนการขอพระราชทานแกผูกระทาํ ความดคี วามชอบดเี ดน กลา วคอื ปฏิบตั ิหนา ที่ ฝา อันตราย หรอื
ปฏิบัติงาน นอกเหนือ หนา ที่เพม่ิ ขนึ้ เปน พิเศษ ซ่งึ เปน งานสาํ คญั ยิง่ และเปนผลดแี ก ราชการหรือสาธารณชน
หรือคดิ คน สิ่ง หรือวิธกี ารอนั เปนประโยชนอ ยา งย่งิ แกประเทศชาติไดเ ปน ผลสาํ เรจ็ โดยใหระบุความดี
ความชอบใหเห็นเดน ชัดวา ไดกระทําความดคี วามชอบอนั เปนประโยชนยงิ่ ประการใด เมอ่ื ใด และไดผลดี
อยางไร
4. การเสนอขอพระราชทานเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณจะเสนอขา มชน้ั ตรามไิ ด ยกเวน การขอพระราชทานเปน
กรณพี ิเศษ ทมี่ ีความดคี วามชอบดีเดน ตามขอ 3 (3)

5. การเรม่ิ ตนขอพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณค รง้ั แรก ขา ราชการจะตองมีระยะเวลารับราชการ
ติดตอกันมาแลว ไมนอ ยกวา 5 ปบริบูรณ นบั ตั้งแตว นั เรม่ิ เขา รบั ราชการ จนถงึ วนั กอ นวนั พระราชพิธีเฉลิม
พระชนมพรรษา ของปทข่ี อ พระราชทานไมนอ ยกวา 60 วนั (นบั ถงึ 6 ต.ค.ของปท ข่ี อ)
6. ลกู จางประจาํ ของสว นราชการ จะตอ งปฏิบัติงานตดิ ตอกนั มาเปนระยะเวลาไมน อ ยกวา 8 ปบริบรู ณ
นบั ต้งั แตวนั เรมิ่ จา ง จนถงึ วนั กอนวนั พระราชพิธีเฉลมิ พระชนมพรรษาของป ท่ขี อพระราชทานไมน อ ยกวา 60
วัน (นับถงึ 6 ต.ค.ของปทขี่ อ)
ในการนับระยะเวลาตามขอ 5 และ 6 และการนับระยะเวลาเพ่ือเสนอขอพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ
สาํ หรับ เลอื่ นช้ันตราใหสงู ขน้ึ นนั้ ใหถ ือตามหลกั เกณฑท กี่ าํ หนดในบญั ชที า ยระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรี วา
ดว ยการขอพระราชทาน เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณฯ พ.ศ. 2536
หากขา ราชการหรอื ลูกจางประจํา ถกู ลงโทษทางวนิ ยั ในปใด ใหเพมิ่ กาํ หนดระยะ เวลาการขอพระราชทานอกี
1 ป ยกเวน โทษภาคทณั ฑ
7. ในกรณที ี่ขาราชการ ลูกจา งประจาํ ของสวนราชการ ตอ งพนจากการปฏิบตั ิหนา ท่ี เพราะเกษยี ณอายุในปใ ด
ใหมสี ทิ ธิไดรับ การพิจารณาเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ ในปท พ่ี น จากการปฏิบัติหนา ทน่ี นั้
ดวย

การเสนอขอพระราชทานใหแกบ คุ คลบางประเภท (ผูทาํ คณุ ประโยชน)

1. การเสนอขอพระราชทานเครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณส าํ หรบั ชาวตา งประเทศ ใหเ สนอขอ พระราชทานไดเ ม่ือชาว
ตางประเทศนนั้ ไดก ระทําคณุ ประโยชนแกป ระเทศไทยเปนอยา งย่ิง โดย ใหกระทรวง ทบวง กรม ทไ่ี ดรับ
ประโยชนห รอื เก่ียวของมากท่ีสดุ เปนผูพจิ ารณาเสนอขอพระราชทาน
2. การเสนอขอพระราชทานเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณสาํ หรบั ผวู ายชนม ใหก ระทรวง ทบวง กรม ทไ่ี ดรบั ประโยชน
หรอื เกี่ยวขอ ง มากทส่ี ุดเสนอขอพระราชทานไดเ มอ่ื ผวู ายชนมไดเ คยกระทํา คณุ ประโยชนเ ปนอยา งย่ิง
การเสนอขอพระราชทานสาํ หรบั บคุ คลทัง้ 2 ประเภทนี้ จะเสนอขอตามคราวแหง ความชอบ และตาม
เหตกุ ารณเปน กรณี ๆ ไป

การขอพระราชทานเหรยี ญจกั รพรรดมิ าลา

ตามพระราชบญั ญตั ิเหรยี ญจกั รมาลาและเหรยี ญจักรพรรดิมาลา พ.ศ. 2484 บัญญตั ิใหมี เหรยี ญจกั รพรรดิ
มาลา เพ่ือ พระราชทานใหแ กขาราชการฝา ยพลเรอื นที่รบั ราชการมาดว ยความ เรยี บรอ ยเปนเวลาไมนอ ยกวา
25 ป โดยไมเ คย ไดร ับโทษทางวนิ ยั การนบั เวลาในการขอพระราชทานเหรยี ญจักรพรรดิมาลา ใหนบั เวลา
ราชการทั้งหมดรวมกัน หากเขารบั ราชการกอ นอายคุ รบ 18 ปบริบูรณ ใหนบั ต้ังแตว นั อายุครบ 18 ปบ รบิ ูรณ
เปนตนไป ทงั้ นี้จะตอง จดั ทาํ ประวตั กิ ารรับราชการ ประกอบการขอพระราชทาน โดยใหเรยี งลาํ ดับ การรบั
ราชการต้งั แตเขา รบั ราชการจนครบ 25 ปบริบูรณ

เครื่องราชอสิ รยิ าภรณอนั เปนทีเ่ ชดิ ชยู ง่ิ ชา งเผอื ก
แบงออกเปน 8 ชั้นคือ

ลําดบั ชือ่ ช่อื ยอ ลักษณะเหรยี ญ ภาพการแตง การประดบั
ช้ัน เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ กาย
(ม.ป.ช.)
ชนั้ มหาปรมาภรณ ชนั้ สงู สุด
สูงสุด ชา งเผอื ก (ป.ช.)
ชั้นที่ 1 ประถมาภรณช า งเผือก (ท.ช.) ช้นั ที่ 1
ชน้ั ท่ี 2 ทวตี ยิ าภรณช างเผอื ก (ต.ช.) ช้ันท่ี 2
ชั้นที่ 3 ตริตาภรณชางเผือก (จ.ช.) ช้นั ท่ี 3
ชนั้ ท่ี 4 จัตรุ ถาภรณช า งเผือก (บ.ช.) ชั้นท่ี 4
ชัน้ ท่ี 5 เบญจมาภรณชา งเผอื ก (ร.ท.ช.) ชั้นท่ี 5
ชั้นที่ 6 เหรยี ญทองชา งเผอื ก (ร.ง.ช.) ชั้นที่ 6
ชน้ั ที่ 7 เหรยี ญเงนิ ชา งเผือก ช้นั ท่ี 7

ชนั้ สูงสุด มหาปรมาภรณช างเผือก

มหาปรมาภรณชา งเผือก ประกอบดว ย ดวงตรา ดารา และสายสะพาย
สาํ หรบั พระราชทานบุรุษ ดวงตรานห้ี อยกบั สายสายสะพายแพรแถบ กวา ง 10 เซนตเิ มตร สีแดงรมิ เขียว มีริ้ว
เหลอื ง ร้วิ น้าํ เงนิ ขนาดเลก็ ควบค่นั ทงั้ สองขาง สะพายบา ยซายเฉียงลงทางขวา
สําหรบั พระราชทานสตรกี ารประดับดารา และสายสะพายมหาปรมาภรณชา งเผือก รวมกบั ดารามหาวชิร
มงกฎุ และเหรียญรัตนาภรณ ในเคร่ืองแบบเต็มยศ ขาราชการพลเรือน ใชกบั สตรี
การประดับดารา และสายสะพายมหาปรมาภรณชางเผอื ก รว มกบั ดารามหาวชิรมงกุฎ และทตุ ิยจลุ จอมเกลา
ผกู เปน รูปแมลงปอ ประดับทหี่ นา บา ซา ย ในชุดไทยบรมพิมาน

ช้นั ท่ี 1 ประถมาภรณช า งเผอื ก

สําหรบั พระราชทานบุรษุ ดวงตรานห้ี อยสายสะพาย แพรแถบกวา ง 10 เซนติเมตร สีแดงรมิ เขียว มีริ้วเหลอื ง
น้าํ เงนิ ขนาดใหญควบค่นั ทง้ั สองขางสะพายบา ขวาเฉยี งลงทางซา ย
สําหรบั พระราชทานสตรี ดวงตรา และดารา มีขนาดยอมกวา สายสะพาย กวาง 7.5 เซนติเมตร สะพายบา ขวา
เฉียงลงทางซา ย
การประดับดาราและสายสะพาย ประถมาภรณชา งเผือกรว มกับ ดาราประถมาภรณม งกุฎไทย ในชุดไทย
บรมพมิ าน

ชัน้ ที่ 2 ทวีตยิ าภรณชางเผอื ก

ดวงตรานห้ี อ ยกับแพรแถบกวา ง 4 เซนตเิ มตร สาํ หรับสวมคอ
สาํ หรับพระราชทานบุรุษ ดารา เหมอื นอยา งดาราประถมาภรณช า งเผอื ก สาํ หรบั ประดบั ทอ่ี กเสอื้ เบือ้ งซาย
สําหรบั พระราชทานสตรี ดวงตราและดาราขนาดยอ มกวา ดวงตราใชห อ ยกบั แพรแถบ ผูกเปนรปู แมลงปอ
ประดบั เสือ้ ทห่ี นา บา ซา ย

ชัน้ ที่ 3 ตริตาภรณช า งเผอื ก

สําหรับพระราชทานบรุ ษุ ดวงตรา เหมือนอยา งทวีตยิ าภรณช างเผอื ก หอยกบั แพรแถบกวา ง 4 เซนตเิ มตร
สําหรบั สวมคอ ไมมดี ารา

สาํ หรบั พระราชทานสตรี ดวงตราเหมอื นอยา งทวตี ิยาภรณช า งเผือก แตมขี นาดยอ มกวา หอ ยกับแพรแถบผูก
เปน รปู แมลงปอ ประดบั ที่เสอื้ หนา บาซา ย ไมมดี ารา

ชน้ั ท่ี 4 จัตุรถาภรณช า งเผอื ก

สําหรบั พระราชทานบรุ ษุ ดวงตราเหมือนอยางตริยาภรณช า งเผือก แตมีขนาดยอ มกวา หอ ยกับแพรแถบกวา ง
3 เซนตเิ มตร มีดอกไมจ ีบประดบั บนแพรแถบประดบั ทอ่ี กเสื้อเบื้องซา ย
สําหรับพระราชทานสตรี มีลกั ษณะเชน เดยี วกนั แตแพรแถบผูกเปน รปู แมลงปอ ประดับเส้ือทหี่ นา บาซา ย

ชน้ั ท่ี 5 เบญจมาภรณชา งเผือก

สําหรบั พระราชทานบุรษุ ดวงตรา อยางเดยี วกับจัตรุ ถาภรณช า งเผือก ไมมดี อกไมจบี บนแพรแถบ
สําหรับพระราชทานสตรี มีลักษณะเชน เดยี วกนั แตแ พรแถบผกู เปนรปู แมลงปอ ประดับเสอื้ ทีห่ นา บาซา ย

ชั้นที่ 6 เหรียญทองชา งเผอื ก

สําหรับพระราชทานบุรษุ เปนเหรียญเงนิ กะไหลทอง รปู กลม ดานหนา เปน รูปชา งเผอื กอยใู นดอกบัวบาน
ดา นหลังเปน อกั ษรพระปรมาภิไธยยอ ม.ป.ร. เบื้องบน มพี ระมหามงกฎุ เหรียญนี้หอ ยกบั แพรแถบกวา ง 3
เซนตเิ มตร ประดบั ทอี่ กเส้อื เบอื้ งซาย
สาํ หรบั พระราชทานสตรี ตัวเหรยี ญมลี ักษณะเชนเดยี วกบั ทพ่ี ระราชทานฝายหนา แพรแถบผกู เปนรปู
แมลงปอ ประดับเส้ือทห่ี นาบาซา ย

ช้นั ที่ 7 เหรยี ญเงนิ ชา งเผือก

สําหรบั พระราชทานบรุ ษุ เปนเหรยี ญเงนิ กะไหลเงนิ รูปกลม ดา นหนา เปน รูปชา งเผอื กอยใู นดอกบวั บาน
ดานหลังเปน อกั ษรพระปรมาภิไธยยอ ม.ป.ร. เบอื้ งบน มพี ระมหามงกฎุ เหรยี ญน้ีหอ ยกับแพรแถบกวาง 3
เซนตเิ มตร ประดบั ทอี่ กเส้อื เบอื้ งซาย
สําหรบั พระราชทานสตรี แพรแถบผูกเปนรปู แมลงปอ ประดับเสื้อท่ีหนา บา ซา ย

เคร่อื งราชอสิ ริยาภรณอ นั มีเกยี รตยิ ศยิง่ มงกฎุ ไทย
แบง ออกเปน 8 ชน้ั

ลาํ ดบั ช่อื ชื่อยอ ลกั ษณะเหรยี ญ ภาพการแตง การประดับ
ชั้น เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ กาย
(ม.ว.ม.)
ช้นั มหาวชิรมงกฎุ ชั้นสูงสดุ
สงู สุด (ป.ม.)
(ท.ม.)
ชั้นท่ี 1 ประถมาภรณม งกุฎไทย (ต.ม.) ชน้ั ท่ี 1
(จ.ม.) ชน้ั ท่ี 2
ชน้ั ที่ 2 ทวตี ิยาภรณมงกุฎไทย (บ.ม.) ชั้นท3่ี
(ร.ท.ม.) ชั้นท่ี 4
ชน้ั ที่ 3 ตรติ าภรณม งกฎุ ไทย (ร.ง.ม.) ชน้ั ที่ 5
ชั้นที่ 6
ชั้นท่ี 4 จตั รุ ถาภรณมงกุฎไทย ชนั้ ที่ 7

ชน้ั ท่ี 5 เบญจมาภรณม งกุฎไทย

ชั้นท่ี 6 เหรียญทองมงกฎุ ไทย

ชน้ั ท่ี 7 เหรยี ญเงนิ มงกฎุ ไทย

ช้นั สงู สดุ มหาวชิรมงกฎุ

มหาวชิรมงกฎุ สาํ หรับบรุ ษุ การแตง กายเครอื่ งแบบเตม็ ยศพลเรือน สวมสายสะพายมหาวชริ มงกุฎ ประดบั
ดารามหาวชริ มงกุฎ ดาราประถมาภรณชา งเผือก และประดับเหรยี ญราชอิสรยิ าภรณตาง ๆ
มหาวชิรมงกุฎสําหรบั สตรี การแตงกายเครอื่ งแบบเต็มยศ ขาราชการพลเรอื น สวมสายสะพายมหาวชริ มงกฎุ
ดารามหาวชิรมงกุฎ และเหรียญจกั รพรรดมิ าลาท่หี นา บา ซา ย
การแตง กายชดุ ไทยบรมพมิ าน สวมสายสะพายมหาวชิรมงกุฎ ดารามหาวชิรมงกฎุ ดาราประถมาภรณ
ชา งเผือก และตติยจลุ จอมเกลา ทีห่ นาบา ซา ย

ชน้ั ที่ 1 ประถมาภรณม งกฎุ ไทย

สาํ หรับพระราชทานบรุ ษุ ประกอบดว ยดวงตรา ดารา และสายสะพาย
ดวงตรานี้ ใชป ระดบั หอยกบั สายสะพายสนี ํ้าเงินขอบสเี ขียว มรี ว้ิ สเี หลือง ริว้ สีแดงขนาดใหญค วบค่นั ทงั้ สอง
ขา ง ขนาดกวา ง 10 เซนตเิ มตร สะพายบาขวาเฉยี งลงทางซา ย
ดารา ดานหนา มีลักษณะอยา งดวงตรา แตไ มมีรูปจุลมงกฎุ ดานหลงั เปน พนื้ สที องเกลย้ี ง ดารานใ้ี ชป ระดบั อก
เส้ือเบ้อื งซา ย
สําหรับพระราชทานสตรี ดวงตรา ดารามลี กั ษณะเชน เดยี วกบั พระราชทานบุรุษ แตม ีขนาดยอมกวา สวน
สายสะพายสาํ หรับพระราชทาน สตรมี ีขนาดกวา ง 7.5 เซนตเิ มตร
การแตงกายชดุ ไทยบรมพมิ าน สวมสายสะพายประถมาภรณม งกฎุ ไทย ดาราประถมาภรณม งกฎุ ไทย ดารา
ทวีติยาภรณช างเผอื ก และดวงตราทวตี ิยาภรณช า งเผือก ทหี่ นา บาซา ย

ช้ันที่ 2 ทวตี ยิ าภรณมงกฎุ ไทย
สาํ หรบั พระราชทานบุรษุ ประกอบดว ย ดวงตรา ดารา และแพรแถบสวมคอ
ดวงตรา ดา นหนา มีลักษณะดวงตราเหมอื นอยางดวงตราประถมาภรณม งกุฎไทย แตด านหลงั ไมม ลี วดลาย
เปน พน้ื สที องเกลี้ยง ใชป ระดับหอ ย กับแพรแถบสีนาํ้ เงนิ ขอบสีเขยี ว ขนาดกวา ง 4 เซนติเมตร ที่รมิ มรี ิ้วสี
เหลือง ริ้วสแี ดงคนั่ ท้ังสองขาง สําหรับสวมคอ
ดารา มลี กั ษณะดาราอยา งเดยี ว กับดาราประถมาภรณม งกุฎไทย ดารานใี้ ชประดับท่ีอกเส้ือเบ้อื งซาย

สาํ หรบั พระราชทานสตรี ดวงตรา ดารา มีลักษณะเหมือนอยางที่พระราชทานบุรษุ แตม ขี นาดยอ มกวา ดวง
ตราสาํ หรบั พระราชทานสตรี ใชหอยกับแพรแถบ ผูกเปน รูปแปลงปอ ใชประดับเส้ือทห่ี นา บา ซา ย

ช้ันที่ 3 ตริตาภรณม งกฎุ ไทย

สาํ หรบั พระราชทานบรุ ุษ ประกอบดว ย ดวงตรา และแพรแถบ
ดวงตรา มีลกั ษณะอยางเดยี วกนั กบั ดวงตราทวีตยิ าภรณม งกุฎไทย หอยกับแพรแถบใชส วมคอ

สําหรบั พระราชทานสตรี ดวงตรา มีลกั ษณะเหมอื นอยา งบรุ ุษ แตมขี นาดยอ มกวา หอยกับแพรแถบผูกเปน รูป
แมลงปอ ใชประดบั เสอ้ื ท่ีหนา บา ซา ย

ชน้ั ที่ 4 จัตรุ ถาภรณม งกฎุ ไทย
สําหรับพระราชทานบรุ ุษ ดวงตรามลี กั ษณะเหมือนดวงตรา ทวตี ยิ าภรณม งกฎุ ไทย แตมีขนาดยอ ม
กวา หอ ยแพรแถบสนี ํา้ เงนิ ขอบสีเขยี ว มรี ว้ิ สเี หลอื ง รว้ิ สีแดงคน่ั บนแพรแถบมดี อกไมจ ีบ ใชป ระดับทีอ่ ก
เส้อื เบือ้ งซาย

สําหรบั พระราชทานสตรี ดวงตรามขี นาดเทา กนั แตใชหอยกบั แพรแถบผูกเปน รูปแมลงปอ ใชประดบั
เสอ้ื ท่ีหนา บา ซา ย

ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณม งกฎุ ไทย

สาํ หรบั พระราชทานบุรษุ ดวงตรา และแพรแถบอยางจัตรุ ถาภรณม งกฎุ ไทย แตไ มม ดี อกไมจ ีบ ใชประดบั ท่ีอก
เสอ้ื เบ้ืองซาย

สําหรบั พระราชทานสตรี ตัวเหรียญเหมือนที่พระราชทานฝายหนา แตแ พรแถบเปล่ยี นเปนผกู รูปแมลงปอ ใช
ประดบั เสอื้ ท่หี นาบา ซาย

ชัน้ ท่ี 6 เหรียญทองมงกฎุ ไทย

สาํ หรบั พระราชทานบรุ ุษ เปน เหรยี ญเงนิ กะไหลท อง ลักษณะกลม ดานหนา เปนรปู พระมหามงกฎุ ในลาย
หวา นลอม ดา นหลงั เปน อักษรพระปรมาภไิ ธยยอ จ.ป.ร. เบ้ืองบนมจี ลุ มงกฎุ หอยกบั แพรแถบ ขนาดกวา ง 3
เซนติเมตร ประดบั ทอี่ กเสอ้ื เบื้องซาย

สาํ หรับพระราชทานสตรี ตัวเหรยี ญมลี กั ษณะเหมือนทพี่ ระราชทานบุรษุ แตแพรแถบผูกเปนรปู แมลงปอ ใช
ประดับเสอื้ ที่หนา บา ซาย

ช้นั ท่ี 7 เหรยี ญเงนิ มงกฎุ ไทย

สําหรับพระราชทานบุรษุ เปน เหรียญเงนิ ลกั ษณะ ลวดลาย และแพรแถบ เหมอื นอยางเหรียญทอง
สําหรบั พระราชทานสตรี ตวั เหรียญมลี ักษณะเหมือนทพี่ ระราชทานบรุ ษุ แตแ พรแถบผกู เปนรูปแมลงปอ ใช
ประดับเสอ้ื ทีห่ นาบา ซาย เชน เดยี วกัน

การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ

การประดบั เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ ใหประดับตามลาํ ดบั ในประกาศสาํ นกั นายกรฐั มนตรี เรอื่ งลาํ ดบั เกยี รติ
เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ และตามกาํ หนดนดั หมายของทางราชการ และ หมายกาํ หนดการจากสํานกั พระราชวงั
ในทน่ี ี้ จะขอกลาวเฉพาะ การประดับ เคร่ืองราชอิสรยิ าภรณฯ ชา งเผอื ก และ มงกุฎไทย ดงั นี้

1. สายสะพาย ประกอบดว ยชนั้ ม.ป.ช., ม.ว.ม., ป.ช., และ ป.ม.
ผูไดร บั พระราชทานจะสามารถประดับไดห ลงั จากการเขา เฝา ฯ รบั พระราชทานในพธิ ีทก่ี าํ หนด สว นผทู ่ีไมไ ด
เขา เฝาฯ รบั พระราชทานในวันพิธี จะสามารถประดับไดตอเม่ือพนพิธพี ระราชทานเคร่อื งราชฯ ดังกลาว เคร่ือง
ราชฯ ช้นั สายสะพาย จะประกอบดว ยแพรแถบ(สายสะพาย) และดวงดารา

การสวมสายสะพายบุรษุ และ สตรี
- ม.ป.ช. และ ม.ว.ม. จะสวมสายสะพายบา ซายเฉยี งขวา
- ป.ช. และ ป.ม. จะสวมสายสะพายบา ขวาเฉยี งซา ย

การประดบั ดารา
ใหประดบั ไวท อี่ กเสือ้ เบื้องซา ยระดับใตชายปกกระเปา โดยใหเรยี งลาํ ดบั สูงและต่ําในแนวเดียวกนั หรือเยอื้ ง
กันไปทางเบ้อื งซา ย
2. ชนั้ ตาํ่ กวา สายสะพาย ประกอบดว ย ท.ช., ท.ม., ต.ช., ต.ม., จ.ช., จ.ม., บ.ช.,และ บ.ม.
เคร่อื งราชฯ ชน้ั ท.ช. และ ท.ม. จะมีดาราเพื่อไวป ระดบั ดว ย สว นชน้ั อน่ื ๆ จะมีเฉพาะแพรแถบ หอยดวงตรา
เทานน้ั จะสามารถประดับไดเมื่อไดรับการประกาศนามในราชกจิ จานเุ บกษาแลว

การประดับ
บรุ ษุ ท.ช., ท.ม., ต.ช. และ ต.ม. ประดับโดยสวมแพรแถบคลองคอ โดยใหห ว งและ แพรแถบหอยดวงตรา
ออกมานอกเสอื้ ระหวา งกระดุมเม็ดทห่ี นงึ่ กับขอขา งลางที่ ขอบคอเสือ้ พองาม และใหป ระดบั ดวงตราท่ีมี
ลําดับรองลงมาไวร ะดับ กระดุมเม็ดท่สี อง โดยใหแ พรแถบลอดออกมาระหวา งกระดุมและขอบลา งของรงั ดุม
พองาม
สตรี ใหประดับแพรแถบหอ ยดวงตราท่ีหนา บาซา ยทง้ั หมด ทุกชนั้ สว นเฉพาะ ท.ช. และ ท.ม. ทมี ดี าราดวย
น้ัน ใหประดับเหมอื นบรุ ุษ

การแตง กายท่ีประดบั เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ เครอื่ งหมายแพรแถบ เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ และ
เคร่อื งหมายทใี่ ชเปน ดมุ เส้อื

1. การแตงกายที่ตอ งประดับเครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ
เครอื่ งแบบเต็มยศ (เสื้อขาว/กางเกงดาํ )

เครื่องแบบเต็มยศบรุ ษุ ประดับดาราและสายสะพาย มหาปรมาภรณช างเผือกและดารามหาวชริ มงกฎุ
เครือ่ งแบบเต็มยศสตรี ประดับดาราและสายสะพายมหาวชริ มงกุฎ ดาราประถมาภรณชา งเผือก และ
เหรยี ญจกั รพรรดมิ าลาทหี่ นา บาซา ย

เคร่อื งแบบครึง่ ยศ (เสื้อขาว/กางเกงดาํ )
เครอ่ื งแบบคร่งึ ยศบุรุษ ประดับดารามหาปรมาภรณช า งเผือก ดารามหาวชริ มงกฎุ และเหรยี ญราช
อิสริยาภรณ ตา ง ๆ ไมสวมสายสะพาย
เครื่องแบบครึง่ ยศสตรี ประดบั ดารามหาปรมาภรณชา งเผอื ก ดารามหาวชิรมงกฎุ และเหรียญจกั รพรรดิ
มาลา ไมส วมสายสะพาย

2. การแตง กายประดบั เครอ่ื งหมายแพรแถบเคร่ืองราชอิสริยาภรณ จะประดบั กบั
เครอ่ื งแบบปกตขิ าว
เครื่องแบบปกตขิ าว ประดบั เหรยี ญราชอิสริยาภรณ
เครื่องแบบปกตขิ าว ประดบั เครอ่ื งหมายแพรแถบยอ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ
เครื่องแบบสีกากีคอพบั (เครอื่ งแบบตรวจการ)
เครอื่ งแบบสกี ากีคอแบะ
เครอ่ื งแบบสีกากคี อตั้ง
โดยใหประดบั ทอ่ี กเสอ้ื เบือ้ งซา ยเหนอื ปากกระเปา
3. การแตงกายทใี่ ชเปนดมุ เส้ือ จะใชประดบั กับชดุ สากลและชุดไทย
การประดับกบั ชุดสากล ใหป ระดับท่ีรังดมุ คอพับ ของเสอ้ื ช้ันนอกเบอ้ื งซาย
การประดับกบั ชดุ ไทย ใหประดบั ไดเฉพาะกับชดุ ไทยเรอื นตน ชดุ ไทยจติ รลดา ชุดไทยอมรนิ ทร และชุดไทย
บรมพมิ าน ทเ่ี ปน สสี ภุ าพเทา นน้ั
• บุรุษ ใหประดบั ทอี่ กเสื้อเบ้อื งซา ยบรเิ วณปากกระเปา เสอื้ ผไู ดรับพระราชทาน

• สตรี ใหประดับทีอ่ กเสอื้ เบ้ืองซาย

เสอื้ พระราชทานแขนยาว ประดับเครือ่ งหมายดุมเสื้อ ปฐมจุลจอมเกลา
เสอื้ พระราชทานแขนสนั้ ประดับเครอ่ื งหมายดมุ เสื้อ มหาปรมาภรณช า งเผอื ก
ชดุ ไทยอมรนิ ทร ประดับเคร่ืองหมายดมุ เสอ้ื มหาวชิรมงกุฎ
• บรุ ุษ ใหประดบั ทีอ่ กเส้ือเบอื้ งซายบริเวณปากกระเปา เส้อื ผูไดร บั พระราชทาน

• สตรี ใหป ระดบั ท่ีอกเสอื้ เบือ้ งซาย

หมายเหตุ : หากผไู ดร บั พระราชทานเครื่องราชฯ หลายชนิด ใหประดับชนิดที่มลี าํ ดบั สงู สดุ เพียงชนิดเดียว

ท้งั นี้ การแตง กายประดับเครือ่ งราชฯ นอกจากจะแตงไดอ ยา งถกู ตองและสวยงามแลว
จะตอ งใหเ หมาะสมตามกาลดวย คอื ถกู กาลเทศะ โดยจะตองดูจากหมายกาํ หนดการ หรอื
กําหนดนัดหมายของทางราชการ โดยมขี อ พึงสงั เกตดงั นี้

1. กรณีเครอื่ งแบบเตม็ ยศ ใหสวมสายสะพายตามทีอ่ อกช่อื ในหมายกําหนดการ หรือ กําหนดนัดหมายของ
ทางราชการ เชน ไดร บั พระราชทาน ม.ป.ช., ม.ว.ม. และ ป.ภ. หมายกําหนดการระบุ ใหแตงเตม็ ยศ มงกฎุ
ไทย การแตงกาย จะตอ งสวมสายสะพายชั้น ม.ว.ม. แมว า ม.ป.ช.จะสงู กวา ก็ตาม โดยใหประดบั ดารา ม.ป.ช.
, ม.ว.ม. และ ป.ภ. ตามลาํ ดบั
หมายเหตุ : หากหมายกาํ หนดการกาํ หนดใหแตงเคร่ืองแบบคร่ึงยศ ในกรณเี ดียวกนั น้ี ใหป ระดับดาราเหมือน
เดม็ ยศ แตไ มต อ งสวมสายสะพาย
2. หากไมไดร ับพระราชทานเครอื่ งราชฯ ตามท่อี อกชื่อในหมายกําหนดการ หรือกําหนดนดั หมายของทาง
ราชการ ใหส วมสายสะพายชนั้ สงู สดุ ที่ไดรับพระราชทาน เชน ไดร บั พระราชทาน ป.ม. และ ท.ช. แต
หมายกาํ หนดการกาํ หนดใหแ ตงกายเตม็ ยศ ชางเผอื ก การแตง กาย จะตองสวมสายสะพาย ป.ม. ประดับดว ย
เคร่ืองราชฯ ท.ช. (คลองคอ) และประดบั ดารา ป.ม. และ ท.ช. ตามลาํ ดับ
3. กรณหี มายกําหนดการหรอื กาํ หนดนดั หมายของทางราชการ ไมระบชุ นดิ ของสายสะพาย ใหส วม
สายสะพายชน้ั สูงสดุ ที่ไดรับพระราชทาน

การเก็บรกั ษาเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ
เครื่องราชอสิ รยิ าภรณไทยเปน ศิลปวตั ถุ เปน มรดกทางวฒั นธรรมแสดงความเปน เอกลกั ษณ ของชาตไิ ทยมา
แตโบราณ พระมหากษตั ริยท รางสรา งขึน้ พระราชทานไหประดบั เปน เกยี รตยิ ศแกผมู ีความชอบ ในทางราชการ
และสวนพระองค เปน เครื่องหมายแสดงความชอบของผปู ระกอบคณุ งามความดี บคุ คลมสี ิทธิ ไดรบั
พระราชทานเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณเสมอกัน ถา ไดประกอบคณุ งามความดที ัดเทยี มกัน

เครอื่ งราชอสิ ริยาภรณยอมมกี ารเสอื่ มสภาพชาํ รุดเสียหายไดต ามธรรมชาติ หรือจากการใชงาน การ
เสือ่ มสภาพจากสาเหตตุ าง ๆ ยอมจะปอ งกนั ไดดวยการดูแลเกบ็ รกั ษาไวใ นสถานภาพทีเ่ หมาะสม การ
ระมดั ระวงั ในการประดบั ไปในงานตา ง ๆ

เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณก ็จะคงสภาพเดิมไดน านเทา นาน การจะยดื อายกุ ารใชง านไดโดยไมต อ ง จายคา
บาํ รุงรักษาเพมิ่ และจะเปน การชว ยกนั รกั ษาเครอื่ งประดับเกียรตยิ ศอันเปน มงคลและสงู คาของชาติ ใหค ง
สภาพดี พรอมทจ่ี ะใช ประดับได ตลอดเวลา ทง้ั จะเปน การชว ยลดงบประมาณคา ใชจ า ยในสว นนีข้ องทาง
ราชการไดดวย

การเสื่อมสภาพของเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ เกดิ ไดจ ากสาเหตหุ ลายประการ อาทิเชน
1. การขาดความระมดั ระวงั ในการจบั ตอ ง การเก็บรกั ษา การใชประดบั ยอมจะเกิดการเส่ือมสภาพ สภาพได
โดย รเู ทา ไมถ งึ การณ

2. การเก็บไวในสถานท่ีที่สภาพสงิ่ แวดลอ มไมด ี อากาศไมดี มแี กส เสยี ชนดิ ตา ง ๆ ความรอนสงู ความชนื้ มาก
แสงแดงสอง อุณหภมู ไิ มคงที่

3. การมสี ตั วแ มลงตาง ๆ เขา ไปทาํ ความสกปรก ทําลายผา แพรแถบได เชน ตวั สามงา มกนิ ผา มด แมลงสาบ
ปลวก แมลงปก แข็ง

4. การเกิดเช้อื จุลินทรียและเชอื้ รา ความชน้ื จะทําใหเกดิ กลิ่นและกา ซ เมื่อกาซกระทบกับอากาศ จะ
เปลี่ยนเปน กรด กา ซเหลาน้ี จะทาํ ปฎิกรยิ ากบั โลหะวัตถทุ ่ใี ชท าํ เคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ ทําใหเสอ่ื มสภาพบน
เน้ือวัตถุ

วิธกี ารเกบ็ รกั ษาเคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ
1. เครื่องราชอิสรยิ าภรณเปนของสงู ควรเกบ็ รักษาในทสี่ ูง เหมาะสม ควรแกการเคารพบูชา เปน การแสดง
ความจงรักภกั ดี นอ มราํ ลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ุณพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู วั ผพู ระราชทาน จะเปน มงคล
สงู สดุ กอ ใหเ กดิ ความสขุ ความเจรญิ แกต นเองและครอบครัว

2. ควรเกบ็ ในท่ีปลอดภัย ปอ งกันการสูญหาย

3. ภายหลังการใชป ระดบั แตละคร้ัง ควรใชผ าสะอาด นนุ ทาํ ความสะอาดเบา ๆ แลว หอดว ย กระดาษแกวไว

ใหมดิ ชิด นาํ ใสก ลอ งปดฝาใหสนทิ ปองกนั ฝุนละอองและไมใหกระทบกบั อากาศ

4. ไมค วรเกบ็ ในสถานที่ทมี่ ีแดดสองตลอดเวลา หรอื มแี สงไฟรอนแรง และตองไมอ บั ชน้ื ปกตมิ ัก จะเกบ็ ไวใน
อุณหภมู ิหอง แตถา เปนหอ งปรบั อากาศไดจ ะดีทส่ี ดุ

5. ดวงตรา ดารา และเหรยี ญอิสรยิ าภรณ อาจเส่ือมสภาพไดจากความไมบ รสิ ทิ ธข์ิ องอากาศ ฝนุ ละออง กา ซ
เสยี ชนิดตา ง ๆ ถา เกบ็ ไวในตูนิรภัย หรือตเู หล็ก ควรหอใหมิดชิดตามขอ 3 เพราะสีทใี่ ชพนหรือทาตูเหลก็ จะทาํ
ปฏิกริ ยิ า กบั โลหะเงนิ และจะทาํ ใหเงินดาํ

6. ไมค วรใชสารกนั แมลงชนดิ ตาง ๆ เน่อื งจากเมื่อสารระเหยออกมา จะทาํ ปฏิกิรยิ ากับ โลหะเงนิ และสวนที่
กะไหลท อง ในเครอื่ งหมายแพรปก ดนิ้ เงนิ ดิ้นทอง ทาํ ใหเปลีย่ นเปน สดี าํ ได

7. สายสะพายและแพรแถบทอดวยดา ยและใยไหม ควรเก็บในท่ไี มรอ น ไมอ ับชน้ื เพราะความ รอนและ
ความชน้ื จะทาํ ใหเน้อื ผายืดขยาย และหดตัวอยูตลอดเวลา จะทําใหเนอื้ ผา แหง แขง็ กรอบ ถา มีความชนื้ ทาํ ให
เนือ้ ผา ยุย เปอ ย อาจเกิดเชอื้ รา และรอยดาง อายกุ ารใชง านจะสนั้

8. แสงสวา งเปน อันตรายตอ สีของผา สายสะพายและแพรแถบ แสงจะทาํ ใหส ขี องผา ซดี ไดเร็ว ควรเกบ็ ในตทู บึ
แสง ในหอ งปรับอากาศไดก จ็ ะดี

9. ผา สายสะพายควรเก็บโดยมีวิธีมว นเปน วงกลม ผาจะไดไ มย บั หรอื เกบ็ โดยวธิ ีวางไดต ามยาว การเก็บโดย
วิธีพับซอนกนั จะทาํ ใหเกดิ รอบพบั จะเกดิ รอยดา ง สซี ีดตามแนวของรอยพบั นน้ั

10. เมื่อเกบ็ ไวโ ดยมิไดนาํ มาประดับเปนเวลานาน ควรตรวจสอบบางเปน คร้ังคราว

ขอ ควรระวังในการประดบั เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ
1. กอนจับตองเครอื่ งราชอสิ ริยาภรณ ตองแนใ จวามอื ของทา นสะอาด

2. หลกี เลยี่ งการจับตอ งตวั เหรียญโดยตรง เพราะนวิ้ มอื มีคราบเหงอ่ื จะทําใหเปน รอยดา ง เกิดคราบสกปรกใน
เวลาตอมา

3. การจบั ตอ งเหรียญ ดวงตรา ดารา ควรจับทขี่ อบนอกของเหรียญใหก ระชบั และมนั่ คงปองกัน การตกหลน
โดยใชน ้ิวหวั แมม ือ นว้ิ ชี้ นวิ้ กลางและนวิ้ นางประคอง หรอื จะจับทีบ่ ริเวณหหู อยของแพรแถบเหรยี ญ กไ็ ด ถา
เปน ดวงตรา ดวงดารา ควรจบั ที่ ขอบนอก ดังกลา วแลวยกข้นึ วางบนฝา มืออกี ขา งหน่งึ ปองกนั การพลดั หลน

4. ถาเปน ไปไดควรสวมถงุ มอื เพือ่ ปองกนั คราบเหง่ือทจ่ี ะทาํ ใหเกดิ รอยคราบสกปรก

5. ระวังการกระทบกระแทกกบั ของแขง็ หรือตกหลน จะทําใหส วนท่ีลงยากะเทาะ เหรยี ญจะบบุ ชํารดุ

6. ขณะสวมสายสะพาย ควรระมดั ระวังการน่งั การยนื เพราะดวงตรา ดวงหอ ยสายสะพายจะ กระทบ
กระแทกกบั ของแขง็ หรอื เกยี่ วกับสงิ่ ของขา งเคยี ง

7. ควรแนใจวา สปริงขอเก่ียวดวงตรายงั แข็งแรงดี จะไดไมเกดิ ปญหาขณะใชประดบั

8. เมอื่ สอดกา นเสยี บของดวงดาราเขา กบั ตวั หนอนแลว ควรตรวจดูวา ไดส อดสวนปลายของ กานเสยี บเขา

"ขอเก่ียว" ใหมนั่ คงดแี ลว

9. เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณช ั้นสายสะพาย ควรเยบ็ ตรึงดวงตราหอยสายสะพายไวกับสายสะพาย เพอื่ ปอ งกนั
การชํารุด หรือตกสญู หาย

10. สายสะพายเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ ควรปรับความยาวใหไดพอเหมาะกบั ความสงู ของแตละ บคุ คล

วิธีการทาํ ความสะอาดเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ
โดยปกตถิ าไดเ ก็บรกั ษาอยา งถูกวิธแี ลว ดวงตรา ดารา และเหรยี ญตา ง ๆ จะคงสภาพเดมิ อยู ไดนาน แตถ า
เกิดเปนรอยดา งดาํ ไมส วย นยิ มใชผ งขัดเงนิ กับแปรงขนออนนมิ่ ๆ ไมค วรใชผ งขัดหรอื ผงซักฟอก เพราะจะทาํ
ใหเ ปน รอยขีดขวนบนหนาเหรยี ญ ผงขัดทองเหลอื งไมค วรใชเ พราะจะทําใหลวดลายลบเลือน ไซยาไนตท าํ ให
เงนิ ขาวดีแตจ ะเกิดปฏกิ ริ ยิ าแรงเกนิ ไป และเปน อันตรายแกผูใช ทานท่ตี อ งการทาํ ความ สะอาดดว ยตนเอง
แตถ ายงั ไมช าํ นาญควรถามผรู ู

เคร่ืองราชอิสรยิ าภรณฯ ชา งเผือก

บญั ชรี าคาชดใชแ ทนเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณท ี่ไมส ามารถสงคืนตามพระราชบญั ญัตฯิ

ลาํ ดับ รายการ ราคาคนื / บาท หมายเหตุ
เครอื่ งราชอสิ ริยาภรณ บุรษุ สตรี

1. มหาปรมาภรณช างเผือก 20,122 17,276

2. ประถมาภรณช า งเผอื ก 13,518 12,472

3. ทวีติยาภรณชางเผอื ก 7,952 7,072

4. ตริตาภรณชา งเผอื ก 3,466 3,176

5. จตั รุ ถาภรณช า งเผอื ก 2,156 2,218

6. เบญจมาภรณช างเผอื ก 2,142 2,214

7. เหรียญทองชา งเผอื ก 1,002 1,060

8. เหรียญเงนิ ชา งเผอื ก 916 976

เครื่องราชอิสรยิ าภรณฯ มงกฎุ ไทย

บัญชีราคาชดใชแ ทนเครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณท ี่ไมส ามารถสงคืนตามพระราชบญั ญัติฯ

ลําดับ รายการ ราคาคืน / บาท หมายเหตุ
เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ บุรุษ สตรี

1. มหาวชิรมงกฎุ 33,226 27,888

2. ประถมาภรณม งกฎุ ไทย 13,192 11,204

3. ทวีติยาภรณมงกฎุ ไทย 8,100 6,548

4. ตริตาภรณมงกุฎไทย 3,330 2,908

5. จตั ุรถาภรณม งกฎุ ไทย 2,156 2,218

6. เบญจมาภรณมงกฎุ ไทย 2,142 2,214

7. เหรียญทองมงกฎุ ไทย 892 950

8. เหรียญเงนิ มงกุฎไทย 854 914


Click to View FlipBook Version