The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rinda.kiaosiri1, 2019-01-21 10:00:02

เศรษฐศาสตร์

เศรษฐศาสตร์

ศสวค ว า มรู้คื อ อานาจ
PRINCIPLES

OF ECONOMIC

หลกั เศรษฐศาสตร์

การเงิน

การธนาคารและนโยบายการเงิน

การเงนิ การเงนิ การธนาคาร

คานา

ในปัจจุบันระบบสารสนเทศมีความสาคัญและความจาเป็น
อย่างยิ่ง ในการดาเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น
หนว่ ยงานรฐั บาลหรือเอกชนและระบบสารสนเทศมีบทบาทสาคัญ
ต่อมนุษย์มากข้ึนทุกวัน นักเรียนนักศึกษาต้องใช้สารสนเทศเพื่อ
ศึกษาค้นคว้ารวมถึงนักวิชาการต้องใช้สารสนเทศเพื่อพัฒนา
ความรแู้ ละนวตั กรรมท่ีมีประโยชน์ในอนาคต

และนกโยาบรเางยนิ การเงนิ

ดังนั้นจึงมีความเหมาะสมอย่างย่ิงในการจัดทา E-book
เร่ืองการเงิน การธนาคารและนโยบายทางการเงินซ่ึงเป็นสว่ น
หน่ึงของวิชา หลักเศรษฐศาสตร์ รหัส 3200 – 1001 ท่ีจะทา
ให้นักเรียน นักศึกษาเข้าใจมากย่ิงขึ้นและศึกษาได้ง่ายข้ึน
กว่าเดิม หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใดก็ขออภยั ไว้ ณ ทน่ี ด้ี ว้ ย

การเงนิ การเงิน การธนาคาร

สารบัญ 1
2
บทนา 4
ปรมิ าณเงิน 5
การหมุนเวียนของเงนิ 7
ทฤษฎีปริมาณเงิน 8
ความตอ้ งการถอื เงนิ
อตั ราดอกเบยี้

และนกโยาบรเางยนิ การเงิน

เกย่ี วกับธนาคาร 10
หนา้ ท่ีของธนาคารพาณิชย์ 13
การทาลายเงนิ ฝากของระบบธนาคารพาณิชย์ 23
ลกั ษณะพิเศษของธนาคาร 25
กจิ กรรมและหนา้ ท่ขี องธนาคารกลาง 27
นโยบายการเงนิ 29

ก1ารเงิน การเงิน การธนาคาร

บทนา

ด้วยเหตผุ ลที่ในปัจจุบันทุกสังคมต่างก็ใช้เงินเป็น
ส่ือกลางในการแลกเปล่ียน เงินจึงมีบทบาทในทางเศรษฐกิจ
มาก ดังนั้น มนุษย์ทุกคนจะต้องเกี่ยวพันกับเงินอย่างใกล้ชิด
ในหน่วยน้ีจะได้ศึกษาเก่ียวกับเร่ืองราวของการเงินและการ
ธนาคาร

และนกโยาบรเางยินการเงนิ 2

1. ปริมาณเงนิ (Supply of Money)

ปรมิ าณเงนิ สามารถใหค้ าจากดั ความได้ 2 ลักษณะ คอื
1.1 ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ (Narrow
Money : M1) หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ์ ธนบัตร
และเงนิ ฝากกระแสรายวนั รวมกนั ทัง้ หมดทใ่ี ช้หมุนเวียนอย่ใู นมือ
เอกชนองค์การ หา้ งรา้ น บริษทั และหน่วยราชการต่างๆ ในขณะ
ใดขณะหนึง่

กา3รเงิน การเงนิ การธนาคาร

1. ปรมิ าณเงนิ (Supply of Money)

1.2 ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง (Brood
Money : M2) เป็นแนวความคิดของนักเศรษฐศาสตร์สมัยใหม่
ซงึ่ เช่ือว่าบทบาทของเงิน มิได้มีไว้เพ่ือใช้จ่ายซื้อสินค้าและบริการ
เท่าน้ัน แต่มีบทบาทในการเป็นเครื่องรักษามูลค่าด้วย คือการนับ
รวมกับเงินฝากทุกประเภทของประชาชนท่ีฝากไว้กับสถาบัน
การเงินเฉพาะกจิ อาทิ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์

และนกโยาบรเางยินการเงิน 4

2. การหมุนเวยี นของเงิน (Velocity of Money)

การหมุนเวียนของเงิน หมายถึง การที่เงินถูกใช้จ่าย
หมุนเวียนเปล่ียนมือไปเร่ือยๆ เน่ืองจากเงินหน่วยๆหนึ่ง อาจใช้
ซื้อสินค้าและบริการได้หลายคร้ัง แต่ละคร้ังท่ีเงินถูกใช้จ่ายซ้ือ
สินค้าและบริการก็จะนบั เปน็ ค่าใช้จ่ายในการซอื้ สินค้าและบริการ

ดังนั้น ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นในการซื้อสินค้าและบริการจึง
เท่ากบั ปรมิ าณเงนิ หมุนเวียนทัง้ สิ้น

กา5รเงนิ การเงนิ การธนาคาร

3. ทฤษฎปี ริมาณเงนิ

ทฤษฎีปริมาณเงิน เป็นทฤษฎีที่สร้างข้ึนเพ่ืออธิบายถึง
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเงินกับราคาสนิ ค้า สมการดงั น้ี

=

และนกโยาบรเางยนิ การเงิน 6

โดยท่ี M คอื ปริมาณเงิน
V คือ อตั ราความเร็วในการหมุนเวียนของเงิน
P คือ ระดบั ราคาสนิ ค้าและบริการ

T คอื ปริมาณ ขอ ง ส นิ ค=า้ แล ะ บ ร กิ ารท่ีซื้อขายกนั ใน

ชว่ งเวลาหน่ึง

ก7ารเงิน การเงิน การธนาคาร

4. ความต้องการถอื เงิน (Demand for Money)

ความต้องการถือเงิน หมายถึง จานวนเงินสดทั้งส้ินท่ี

ประชาชนประสงค์จะถือไว้กับตัวในขณะใดขณะหนึ่ง ซ่ึง เคนส์

(Keynes) อธิบายวา่ บคุ คลต้องการถือเงินสดไว้มีวัตถุประสงค์ 3

ประการ ดังน้ี =

4.1 เพ่ือใชจ้ า่ ยประจาวนั

4.2 เพอื่ เปน็ ทนุ สารองเม่ือมีเหตุจาเป็น

4.3. เพือ่ เก็งกาไร

และนกโยาบรเางยินการเงิน 8

5. อตั ราดอกเบีย้ ดุลยภาพ

อัตราดอกเบี้ยข้ึนอยู่กับความต้องการถือเงินและ
ปริมาณท่ีใช้หมุนเวียนเนื่องจากปริมาณเงินที่นาออกใช้
หมุนเวียนในระยะเวลาใดเวลาหน่ึง แต่ข้ึนอยู่กับนโยบาย

การเงินเป็นสาคัญ =

ก9ารเงิน การเงนิ การธนาคาร

5. อตั ราดอกเบีย้ ดุลยภาพ
=

และนกโยาบรเางยินการเงิน 10

6. เก่ียวกับธนาคารพาณชิ ย์

- ธนาคารพาณิชยใ์ นปจั จบุ ันมิใช่เป็นสถาบนั การเงนิ เพยี ง
สถาบันเดยี ว

- สนิ ทรัพย์ของธนาคาร พา ณ ชิ ย=ท์ ี่ถอื ค ร อ งอย่ใู นขณะน้มี ที ้ัง

ระยะสนั้ และระยะยาว

ก1า1รเงิน การเงิน การธนาคาร

6. เกีย่ วกบั ธนาคารพาณิชย์

- ในปัจจบุ ันธนาคารพาณิชย์มกี จิ กรรมมากมาย อาทิ รับฝาก
ประเภทกระแสรายวนั ประเภทออมทรพั ย์ ประเภทประจา
และยังมกี ารใหส้ นิ เชอ่ื ในหลายๆรูปแบบ

- ระบบธนาคารพาณชิ ย ม์ บี ท บา=ทใน ก า ร สรา้ งและทาลายเงิน

ฝากโดยมีผลทาใหป้ ริมาณเพมิ่ ขนึ้ หรือลดลง

และนกโยาบรเางยินการเงิน 12

=

แสดงรปู ธนาคารพาณิชย์

ก1า3รเงนิ การเงนิ การธนาคาร

7. หนา้ ทีข่ องธนาคารพาณชิ ย์

หน้าท่ีของธนาคารพาณิชย์ แบ่งออกได้เป็น 2 หน้าท่ีใหญ่ๆ
คอื

7.1 การดาเนินธุรกิจการธนาคารพาณชิ ย์

1) ธรุ กิจการธน าค า ร ภา=ยใน ป ร ะ เทศ ให้บริการดา้ น

ตา่ งๆ ดงั น้ี
- รับฝากเงนิ ไดแ้ ก่ ประเภทบญั ชี กระแสรายวนั

ประเภทบัญชีออมทรัพย์ และประเภทเงนิ ฝากประจา

และนกโยาบรเางยินการเงิน 14

- ใหก้ ้ยู ืมเงนิ เช่น แบบเบิกเกนิ บญั ชี ใหก้ ้เู พื่อส่ง
สินคา้ ออก สง่ั สินค้าเข้า เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเคหะ

ไปรษณยี แ์- ลกะาโรทโอรนเลเขงนิ วิทท ยา ไุหด ร้ ือ 3โทว=ิธรีศคพั อื ท โ ์ทอ านงเไงกินลทางดราฟต์

ก1า5รเงนิ การเงนิ การธนาคาร

7. หนา้ ทข่ี องธนาคารพาณชิ ย์

- การเรียกเกบ็ เงนิ คอื การเรยี กเกบ็ เงินตามต๋วั เงินทัง้ 3
ประเภท ได้แก่ ตว๋ั แลกเงิน ตวั๋ สัญญาใชเ้ งินและเช็ค

- กกาารรอซือ้อลกดหตนั๋วงั เสงือนิ คา่ ป ร ะก ัน =-- กกาา รร ซโ ออ้ื นขเางยนิ พเพันือ่ธบกาตั รรศรกึัฐบษาาล
-

- การออกเชค็ ธนาคาร - การให้เชา่ ตู้นิรภัย

- เชค็ ของขวัญ

และนกโยาบรเางยินการเงิน 16

=

ก1าร7เงิน การเงิน การธนาคาร

7. หน้าทขี่ องธนาคารพาณชิ ย์

2) ธรุ กจิ การธนาคารตา่ งประเทศ ให้บริการดา้ นตา่ งๆ
ดังน้ี

- การออกเลตเตอรอ์ อฟเครดิตสินค้าเขา้ เลตเตอร์

ออฟเครดติ สนิ คา้ ออก =

- การเรยี กเก็บเงนิ
- การโอนเงิน
- การซ้อื ขายเงินตราต่างประเทศ

และนกโยาบรเางยินการเงิน 18

7.2 การสร้างเงินฝากโดยระบบธนาคารพาณิชย์

เนื่องจากธนาคารพาณิชย์เป็นสถาบันการเงินที่รับฝาก
เงินจากลูกค้า โดยเปิดบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน (Demand

Deposite) ธนาคารพาณ ิช ย จ์ ึงส=ามา ร ถ ส ร้างเงินฝากและทาลาย

เงินฝากได้

ก1า9รเงิน การเงนิ การธนาคาร

7. หนา้ ท่ขี องธนาคารพาณชิ ย์

วิธีการสร้างเงินฝากและทาลายเงินฝาก

1. เงินฝากขั้นแรก (Primary Deposite) คือ เงินฝากที่

ธนา2ค.ารเไงดินร้ ฝับาจกาขกั้นลทูกค่ีส้าอง ( S e co=nda ry D eposite) คือ เงินฝาก

ที่ธนาคารเปดิ บญั ชีใหแ้ กล่ กู ค้า (ผ้ขู อกู้เงินจากธนาคาร)

และนกโยาบรเางยินการเงนิ 20

วธิ ีการสรา้ งเงินฝากและทาลายเงนิ ฝาก

3. อัตราเงินสดสารองตามกฎหมาย (Legal Reserve

Rในaอtiตัoร)าไคมือต่ า่ เกงินว่าสทด่ธีทน่ีธานคา าคร าก รล จาะง=ตก้อางหน น าดไ ป ฝากไว้ที่ธนาคารกลาง

ก2า1รเงนิ การเงนิ การธนาคาร

7. หน้าทข่ี องธนาคารพาณชิ ย์

วิธกี ารสรา้ งเงนิ ฝากและทาลายเงนิ ฝาก
4. เงนิ สดสารองทีธ่ นาคารจะตอ้ งสารองไวจ้ ่ายให้แก่ลูกค้า

คือ เงนิ สดสารองซ่งึ ธนาค า รจ ะ ต=้องเก ็บ ไ ว ้จ่ายแก่ลูกคา้

และนกโยาบรเางยนิ การเงิน 22

วธิ กี ารสรา้ งเงินฝากและทาลายเงนิ ฝาก

5. เงินสดสารองส่วนเกิน (Excess Reserve) คือเงินสดที่

เกหฎลหือมทา้ังยสกินับหสลาังรจอางกไหวกั้จเ่าง ยิน แสก ด่ล ทูกี่ต=ค้อ้าง)ส า ร เอง งินอจอากนแวลน้วน(้ีธสนาารคองาตรจามะ

สามารถนาออกใหก้ ไู้ ด้

ก2า3รเงิน การเงิน การธนาคาร

8. การทาลายเงนิ ฝากของระบบธนาคารพาณชิ ย์

การทาลายเงินฝากหรือการลดเงินฝากของระบบธนาคาร จะ
มวี ิธกี ารตรงกันข้ามกบั การสร้างเงนิ ฝาก

กล่าวคือ ถ้ามีผู้มาถอนเงินฝากไปจากธนาคาร ก เงินสด

สารองของธนาคาร ก จ ะล ด ล ง =ธนาค า ร จ าเป็นต้องเรียกคืนเงินกู้

หรอื ทาการขายหลกั ทรัพย์

และนกโยาบรเางยนิ การเงนิ 24

ทาให้ผู้กู้ซ่ึงเป็นลูกค้าของธนาคาร ข ต้องเขียนเช็คส่ังให้ธนาคาร

ข จ่ายเงินให้ธนาคาร ก เมื่อเป็นเช่นนี้เงินสดสารองของธนาคาร

ข จะลดลง และจาเป็นต้องเรียกคืนเงินกู้หรือขายหลักทรัพย์เพ่ือ

นามาชดเชย =

ก2าร5เงิน การเงิน การธนาคาร

9. ลักษณะพิเศษของธนาคารกลาง

ธนาคารกลางเป็นหน่วยงานท่ีต้ังข้ึนโดยรัฐบาลและมี
ลักษณะเป็นหน่วยงานที่ดาเนินงานอย่างเป็นอิสระเพื่อประโยชน์
ตอ่ เศรษฐกิจสว่ นรวม

=

และนกโยาบรเางยนิ การเงนิ 26

ในบางครั้งยอมขาดทุนเพื่อแลกผลประโยชน์ท่ีประเทศจะ
ได้รับ นอกจากน้ันธนาคารกลางจะไม่ทาธุรกิจกับประชาชน แต่
จะทาธุรกจิ กบั ธนาคารพาณิชย์ และสถาบันการเงินอื่นๆ

=

ก2า7รเงิน การเงนิ การธนาคาร

10. กจิ กรรมและหน้าทข่ี องธนาคารกลาง

ธนาคารกลางในทกุ ประเทศมวี ตั ถุประสงค์และนโยบายหลัก
เหมือนกันหมด คือ รักษาเสถียรภาพของเงินตราและเศรษฐกิจ
ของประเทศ ดังนี้

=

และนกโยาบรเางยินการเงิน 28

- การเป็นนายธนาคารของธนาคารพาณชิ ย์
- การเปน็ นายธนาคารกลางของรฐั บาล
- การออกธนบตั รและดาเนินการเก่ยี วกับทนุ สารองเงนิ ตรา

- เปน็ ผรู้ กั ษาเงนิ สา ร อ งร ะห=ว่าง ป ร ะ เทศ

- เปน็ ผู้ใหก้ ยู้ ืมแหลง่ สดุ ท้าย
- เป็นผคู้ วบคุมธนาคารพาณชิ ย์

ก2า9รเงนิ การเงิน การธนาคาร

11. นโยบายการเงิน

การควบคุมปริมาณเงินและเครดิตของนโยบายการเงินแยกได้
เป็น 2 ประเภท คอื

11.1 1ก.ากรคารวซบื้อคขมุ าทย าหง ดล ้าัก นทปร=ัพริมยา์ ณเ ป ็น วิธีการท่ีธนาคารกลาง

ใช้ในการเพ่ิมหรือลดปริมาณเงินสดสารองของระบบธนาคาร
โดยทาการซื้อขายหลักทรัพยต์ ่างๆ

และนกโยาบรเางยินการเงิน 30

2. การเพ่มิ หรือลดอตั รารับชว่ งซื้อลดต๋ัวเงนิ ในกรณี
ที่มีนโยบายท่จี ะลดเครดิต ธนาคารจะเพมิ่ อัตรารับชว่ งซ้ือลดตัว๋
เงินให้สงู กวา่ อตั ราซื้อลดตวั๋ เงินของธนาคารพาณิชย์

=

ก3า1รเงิน การเงนิ การธนาคาร

11. นโยบายการเงนิ

3. การเพิ่มหรอื ลดอัตราเงินสดสารองตาม เม่อื มี

การเพิ่มหรอื ลดอัตราเงินสดสารองตามกฎหมาย จะมีผลทาให้

การกู้ยืมและการลงทุนของธนาคารพาณิชย์เปล่ยี นแปลงไปด้วย
=
กฎหมาย

และนกโยาบรเางยินการเงิน 32

11.2 การควบคุมทางด้านคณุ ภาพหรือดว้ ยวธิ ีเลือกสรร
1. การควบคุมเครดิตเพื่อการซื้อขายหลักทรพั ย์ การ

เพมิ่ หรือลดอตั รารบั ช่วงซอ้ื ลดตั๋วเงิน

2. การควบค มุ เค ร ดิต=เพือ่ ก า รอ ุปโภคบริโภค

3. การควบคุมเครดติ เพอ่ื การซ้อื บ้านและที่ดิน
4. การชกั ชวนธนาคารพาณิชยใ์ ห้ปฏบิ ัติตาม

ศสวค ว า มรู้คื อ อานาจ

สมาชกิ ในกลุม่

นางสาวกมลชนก แสงพงษพ์ ิทยา เลขท่ี 2

นางสาวปรารถนา พรหมพร เลขท่ี 20

นางสาวรนิ ดา เกย่ี วศริ ิ เลขท่ี 27

นายสทิ ธิ์พงศ์ เนนิ พระ เลขท่ี 31

แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปวส.2/1


Click to View FlipBook Version