The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานฝึกอบรมQR

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maharchote, 2022-06-07 23:38:59

รายงานฝึกอบรมQR

รายงานฝึกอบรมQR

1. เอกสารทไ่ี ดรบั เอกสารประกอบการฝก อบรม หลักสตู ร นกั บรหิ ารงานสวสั ดกิ ารสังคม

(อํานวยการระดบั ตน ) รนุ ท่ี 25 จาํ นวน 1 เลม

2. วทิ ยากร/อปุ กรณทีใ่ ชในการนําเสนอ/กิจกรรม ประกอบดว ย

1. นาํ เสนอเปน Powerpoint /โปรเจคเตอร
2. แบงกลมุ เปน 6 กลมุ ในการคดิ วิเคราะหแ ละนาํ เสนอ
3. กิจกรรม สาระ 5 นาที (รายบคุ คล)/การนําเสนอ AAR (งานกลุม) ชว งเวลา 08.30 น. ของทกุ วัน

3. หลกั สูตร ตามสําเนาหลักสตู ร ตารางการฝก อบรมฯ ท่ีแนบ (เอกสารหมายเลข 1)

วนั ท่ี 12 พฤษภาคม 2565
1. การทดสอบ PRE-TEST
2. วชิ าการพัฒนาบุคลากรองคก รปกครองสวนทอ งถ่ิน โดย คณุ ฐิติมา ปยุ ออต

สาระสําคัญ คอื
1. การพัฒนาทรัพยากรบุคคล คือ กระบวนการสรางการเรียนรูอยางเปนระบบ เพ่ือเพ่ิมพูนความรู

สมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคคลซึง่ จะทาํ ใหเกิดความกา วหนาตอตนเองและองคกร
2. การฝกอบรม คือ กระบวนการของการเพ่ิมพูนความรู ความสามารถ ทักษะ และความชํานาญ ใน

การปฏิบัติงานตลอดจนการปรบั เปลย่ี นทัศนคติ คานิยมและพฤติกรรมของบุคคลใหไปในทางทีด่ ีขึ้น
สถาบนั พัฒนาบคุ ลากรทองถน่ิ มวี ิสัยทัศน คือ เปนหนวยงานหลักในการสงเสริม และพัฒนาบุคลากร

ขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ และกรมสง เสรมิ การปกครองทอ งถนิ่ ใหม ีศกั ยภาพคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
พันธกิจ 1. ยกระดับการจัดการฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและ

กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถนิ่ ใหมีศักยภาพ คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
2. การสรา งเครือขา ยความรวมมอื ทางวชิ าการในการพัฒนาบุคลากร โดยมี

เปาหมาย 1. พฒั นาใหบ ุคลากรขององคก รปกครองสว นทองถิ่นเปน ผทู ี่ความรู ทักษะ และสมรรถนะ
สมกบั ตําแหนง มีวสิ ยั ทัศน มีภาวะผูน าํ มีความสามารถในการปรับตัว

2. พัฒนาและสงเสริมหลกั ธรรมาภบิ าล คุณธรรมและจรยิ ธรรมของราชการ
3. พัฒนาสงเสริมใหขาราชการเปนผูมีบุคลิกภาพและทัศนคติท่ีดี การวัดผล คือ กรรมวิธี
อยางใดๆ ท่ีจะทราบผลการศึกษาอบรมวิชาการของนักศึกษาวาจะถึงเกณฑ ผาน หรือ ไมผาน เปนทั้ง
รายบุคคลหรอื เปน กลมุ คณะ ซึ่งอาจทาํ ไดท ัง้ การทดสอบขอเขียน และหรือปากเปลา หรือการวัดวัดอยางใด ไม
วา จะเปนการทดสอบรายบทเรียน รายวิชา หรือรวบยอด หรอื หลายอยางรวมกนั
วันที่ 13 พฤษภาคม 2565
1. วิชาเสรมิ พลังนักบรหิ ารงานสวัสดกิ ารสังคม โดย อาจารย ดร.อาคร ประมงค
สาระสําคัญ คือ การสราง Growth Mindset การไมยอทอตอปญหา รักท่ีจะเรียนรู คิดวาเราสามารถ
พัฒนาศักยภาพและความสามารถได ใหความสําคัญกับกระบวนการ และสราง Feedback ในกระบวนการ
ทํางาน ไดเรียนรูทักษะชีวิตที่ควรเรียนรู เชน การเอาใจใสผูอ่ืน การพูดแบบคิดบวก การรูวาเมื่อไหรควรเงียบ
เมื่อไหรควรพูด การรับฟงผูอื่น ไดทํากิจกรรมกลุมรวมกับเพ่ือนในหอง ไดบอกเลาเรื่องราวของตนเอง และรับ
ฟง เร่อื งราวของผอู ืน่ Sharing ความรสู กึ ตอกนั และกนั
2. วิชาการพัฒนาบคุ ลกิ ภาพและการสมาคม โดย อาจารย ดร. สาคร ประมงค

สาระสําคัญ คือ การพูดแตละประเภทและทักษะที่จําเปนกับการพูด เรียนรูการแตงกาย การเขาสังคม
สีที่บงบอกถึงอารมณและความรูสึก การผูกเน็กไทด แบบตางๆ การพัฒนาบุคลิกภาพในการทํางาน เรียนรู
เก่ียวกบั นพลักษณ Enneagram เพ่อื ใหรูจ ักตนเองและรูจกั ผูอื่น เขาใจคนในแตล ะประเภท
วันที่ 14 พฤษภาคม 2565
1. วิชาแนวโนมการเปลีย่ นแปลงทางสงั คมเศรษฐกจิ การเมอื ง และเทคโนโลยสี มยั ใหม
โดย ผชู วยศาสตราจารย รณรงค จันใด

สาระสาํ คัญ คอื 1. มนุษยควรมีสวัสดิภาพที่ดใี นดานการศกึ ษา,ท่ีอยอู าศยั ,สขุ ภาพ,รายได, ความมน่ั คงทาง
สังคมการบริการทางสงั คม และนนั ทนาการ

2. ลกั ษณะงานสงั คมสงเคราะห สง เสรมิ ใหเ กิดการเปล่ียนแปลงทางสังคม การแกไขปญ หา
สัมพนั ธภาพในตัวมนุษย สรางความเขมแขง็ นาํ ไปสูการอยูดีมสี ุข

3. ระดับการปฏบิ ตั ิการสังคสงเคราะห – จุลภาค (Micro) เฉพาะราย - มัชฌิมภาค (Mezzo)
กลุมชน - มหภาค (Macro) การบริหารและนโยบาย

4. บทบาทนกั บริหารงานสวัสดิการสังคม ควรพฒั นากลุมผถู ูกกดขี่,ผไู ดร ับความเสยี หาย,กลมุ
ผูเปราะบางกลุมผดู อ ยโอกาส/ผยู ากลําบาก

5. ฉากทศั นสงั คมไทยในอนาคต - สังคมผสู ูงวัยอยา งสมบรู ณ - สังคมทเ่ี นนปจ เจกนยิ มมาก
ขึน้ -สังคมทเ่ี ปนพหุวัฒนธรรม - สงั คมแหงเทคโนโลยี - สงั คมเมืองกลนื ชนบท -สังคมที่เหลื่อมลํา้ และมีปญ หา
ความขดั แยง

6. การวิเคราะหป จจัยแวดลอม การดาํ เนนิ งานขององคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ ซงึ่ เปน ปจจัย
ภายนอกทีจ่ ะตองนาํ มาประกอบการวางแผน - การเมือง (Political) - เศรษฐศาสตร (Economic) - สังคม
(Social) - เทคโนโลยี (Technology) – สิง่ แวดลอ ม (Environment) - กฎหมาย (Legal)
2. วิชาความเสมอภาคและความเปนธรรมทางสงั คม โดย อาจารยเคท ครง้ั พบิ ูลย

สาระสาํ คญั คือ 1. Intersectionality ตามความหมาย ปฏิภาคภาวะ, ลัคนาภาวะ, อาํ นาจทับซอน,
ประเดน็ ทับซอน, ประเดน็ ตัดขวาง

2. อัตลักษณ ทีม่ ีการทับซอ นซ่ึงกันและกัน อาย,ุ เพศ, ศาสนา/วรรณะเชอ้ื ชาติ รา งกาย
สติปญ ญา, เพศวถิ ,ี สถานะทางสงั คม, การศึกษา, การจางงาน, ครอบครวั , สถานะพลเมือง,
ความสามารถในการใชภาษา, ความคดิ มุมมอง

3. Intersectionality and Human Right - การทาํ ความเขา ใจสมั พนั ธภาพทางสงั คม –
การเลอื กปฏบิ ตั ิ - ระบบสังคมทมี่ ีความซบั ซอนและกดข่ี หลายรูปแบบ เชน เหยยี ดเพศ เชอ้ื ชาติ อายุ

4. วิธีท่จี ะขจดั การกดข่ี - เผชญิ กบั ความกลัว - การปองกัน - การสง เสรมิ - เผชญิ ความ
ตอ งการ - การเติมเต็ม

5. ระดบั ภาพกวางทางสังคม พหวุ ฒั นธรรม เปน กลุมชาติพันธุ
6. มนุษยจะรูสกึ ไมมน่ั คง ดา นเศรษฐกิจ, ดานอาหาร, สขุ ภาพ, ส่ิงแวดลอม ในปจเจกบุคคล
ในชุมชนและทางการเมือง
7. เพอื่ ใหเกิดความเสมอภาคและความเปนธรรมทางสังคม ควรนําความคิดน้ันมาใช - ความ
เชอื่ มนั่ ในศักดิ์ศรีความเปนมนษุ ย - ความเช่อื ในสทิ ธมิ นุษยชน - ความเชื่อในสังคมประชาธิปไตย ตองตระหนัก
ถึงความเทาเทียม ความเสมอภาค ตองไมเลือกปฏิบัติตอความแตกตางทางดานศาสนา เชื้อชาติ วรรณะ
เผาพันธุ สถานภาพทางเศรษฐกิจ การศึกษา หรืออภิสิทธ์ิอันใด -ความเช่ือวามนุษยในสังคม มีหนาท่ีทางสังคม
– มนุษยย อ มมปี ญหาของความตอ งการทแ่ี ตกตาง – มนุษยมคี วามตอ งการสมั พนั ธกับแรงจูงใจและโอกาส

8. Work with, not work for – เปนการทํางานรวมกับผูประสบปญหา ไมใชทํางานใหกับผู
ประสบปญหา
วันท่ี 15 พฤษภาคม 2565
1. วิชารฐั บาลดจิ ิทัล โดย ดร.ประภาพรรณ วนุ สุข

สาระสาํ คัญ คอื 1. กระบวนการคดิ การทํางานของสมอง วิธคี ิดเปลย่ี นโลกในวันทีโ่ ลกเปลย่ี น ท้งั ทางดาน
การทํางาน ผลกระทบจากส่ิงแวดลอ มภายนอก สงผลตอการปรับตวั โดยใชระบบ Digital

2. การพัฒนาของระบบ Digital ในชว งตางๆ การเขามามีบทบาทในชวี ติ ประจําวนั และใน
องคกร รวมถงึ เรยี นรถู ึงองคประกอบหลักขององคกรสดู จิ ทิ ัล ทป่ี ระกอบดว ย ยุทธศาสตร, การมีสว นรวม,
นวตั กรรม, เทคโนโลยี และขอมูล

3.ตวั อยา งองคกรทนี่ ําระบบ Digital มาใชใ นการดําเนนิ งาน

2. วิชาระเบยี บงานสารบรรณและการจัดทาํ เอกสารราชการ
โดยผชู วยศาสตราจารย โสภณ สาทรสัมฤทธผ์ิ ล
สาระสําคัญ คอื 1. วิธตี รวจการรา งหนงั สือราชการตา งๆ
2. สง่ิ ทีต่ อ งคาํ นึงเมื่อเขียนหนงั สือราชการตองประกอบดว ย
สว นนาํ สวนเนอื้ เรอื่ ง และสรุป
3. ประเภท ชนดิ หนงั สือตา งๆ
4. รายละเอยี ดการจัดทาํ เอกสารราชการตางๆ

วนั ท่ี 16 พฤษภาคม 2565
1. วิชาคุณธรรมและจริยธรรมนกั บรหิ ารงานสวัสดิการสังคม โดย ผส.ดร.ธนั ยา รุจเิ สถียรทรพั ย

สาระสาํ คญั คอื 1. หนา ที่และความรบั ผิดชอบของนกั บริหารงานสวัสดกิ ารสังคม - ความสัมพันธร ะหวา ง
คุณธรรมกบั หนา ที่ - ความหมายของจริยธรรม - จรรยาบรรณวชิ าชพี ของผบู รหิ าร

2. มาตรฐานทางจรยิ ธรรม การทาํ หนาที่ของตนอยางถูกตอง ท่ีกาํ หนดวาสงิ่ ใดควรทาํ /
ไมควรทํา – ประมวลจริยธรรมของเจาหนาท่ขี องรฐั แตล ะประเภท – พระราชบัญญัติ
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม พ.ศ.2562 – ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบคุ คลสว นทองถิน่ เรือ่ ง
ประมวลจรยิ ธรรมพนกั งานสว นทอ งถ่นิ - หลกั สาํ คัญในการพิจารณาการบริหารงานสวสั ดิการสงั คมบนฐาน
จริยธรรม 3. กรณศี กึ ษานักสังคมสงเคราะห การจา ยเงินสงเคราะหผปู วยเอดส มหี ลายชองทางการรับเงนิ ตาม
ความประสงคข องผมู ีสิทธแิ ละหลายหนวยงานท่ปี ระงาน/สงตอ เพือ่ ใหความชวยเหลือ
2. วิชากฎหมายวาดวยวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครองและความรบั ผดิ ทางละเมดิ
โดย คณุ รัชดาวรรณ สุขประสงค
สาระสําคัญ คอื 1. วิธีปฏบิ ัติราชการทางปกครอง
2. ลกั ษณะคาํ ส่ังปกครอง ตองออกโดยเจา หนาทผี่ มู ีอํานาจ ตามรปู แบบของคําสั่งทาง
ปกครอง - คาํ ส่งั ดวยวาจา – คําส่งั เปนหนังสือ - คําส่งั โดยการสอ่ื ความหมายโดยรูปแบบอน่ื ๆ
3. ผลของคาํ ส่ังทางปกครอง – การเกิดผลของคําส่ังทางปกครอง มีผลตั้งแตผูนั้นไดรับแลว
เปนตนไป
4. การอทุ ธรณคาํ ส่งั /ระยะเวลาและอายุความ - กําหนดเวลาเปน วนั สัปดาห เดือน หรือป
ใหน ับวนั ถัดไปทร่ี บั ทราบคําส่ัง - อทุ ธรณคําสง่ั ภายใน 15 วันใหนับในวันถดั ไป

5. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.2539 แบงเปน - เจาหนาท่ี
กระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐ – ละเมิดสวนตัว ฟองเจาหนาที่ จบท่ีศาลยุติธรรม - ละเมิดในการปฏิบัติ
หนาท่ี เฉพาะกรณี จงใจ หรอื ประมาทเลนิ เลออยางรายแรงเจาหนา ทกี่ ระทําละเมิดตอบุคคลภายนอก - ละเมิด
สว นตัว ฟองเจาหนาที่ จบทศ่ี าลยุติธรรม – ละเมิดในการปฏบิ ตั หิ นา ที่ ฟอ งหนวยงานรัฐ
วันท่ี 17 พฤษภาคม 2565
1. วิชาการเบกิ จา ยเงนิ วธิ ปี ฏบิ ตั ิตามระเบียบตางๆและการตรวจสอบการเงนิ การคลังการพสั ดขุ อง อปท.

โดย คุณพรทพิ ย นอมนําทรัพย
สาระสําคัญ คือ 1. หลักการบริหารและการใชจายเงินของ อปท. การบริหารงาน ตองเปนไปตามอํานาจ
หนาที่ตามกฎหมาย คือ กฎหมายจัดตั้ง กฎหมายถายโอนภารกิจ กฎหมายอื่น - การบริหารตองคํานึงถึง
ประโยชนสูงสุด ประโยชนสาธารณะ โดยพิจารณาพื้นท่ีรับผิดชอบกอน การใชจายเงินของ อปท. - ตองมี
ระเบียบ ขอบังคับ หากไมมีไมสามารถเบิกจายได - งบประมาณ ยึดหลักความคุมคา มีประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล เปน ไปตามระเบียบวธิ งี บประมาณ - ดลุ ยพินจิ ชอบดว ยกฎหมาย จาํ เปน เหมาะสมและประหยดั
- การใชจายเงินตองมคี วามโปงใส ตรวจสอบได มีหลักฐานแสดง

2. การเบิกจายเงนิ วิธปี ฏบิ ัติตามระเบียบตางๆ
2.1 พระราชบญั ญตั โิ รคพิษสุนัขบา พ.ศ.2535 - มาตรา 5 เจาของนาํ สตั วไปฉีดวัคซนี จาย
คา ธรรมเนียมตัวละ 20 บาท - มาตรา 17 อธบิ ดีมอี าํ นาจประกาศกําหนดเขตทองท่ี และผวู า ราชการจังหวัด/
นายอาํ เภอ แจง ทองถน่ิ ดาํ เนินการตามสมควรแกกรณี เจา ของนาํ สัตวไปฉีดวคั ซนี ไมตองจา ยคาธรรมเนียม
2.2 พระราชบญั ญตั ิการสาธารณสุข พ.ศ.2535 – มาตรา 30 พบสตั วจรจัด พนกั งานทองถนิ่ จด
บันทึก กักกันสัตวไวอยางนอย 30 วัน เม่ือครบกําหนด ไมปรากฏเจาของ สามารถใหฉดี วคั ซนี ได ดูแลได จัด
สวัสดิภาพสตั วไ ด
2.3 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยคาใชจา ยเพ่ือชวยเหลอื ประชาชนตามอาํ นาจหนาทีข่ อง อปท.
พ.ศ.2560 และแกไ ขเพ่ิมเติมถงึ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ.2561 – ชว ยเหลอื ประชาชนท่ไี ดรับความเดอื ดรอนไดท ุกคน
ท่ีอยูในพ้นื ท่ี ไมย ดึ ตามทะเบียนบา น - การชวยเหลอื แบง เปน 4 กรณี ดา นสาธารณภัย, ดานสง เสรมิ และ
พัฒนาคุณภาพชีวติ , ดา นปองกันและควบคุมโรคติดตอ, เกษตรกรผูม ีรายไดน อ ย - การชวยเหลอื ดา นการ
พฒั นาคณุ ภาพชวี ิต
1. ประชาชนย่นื เรอ่ื งขอรับความชว ยเหลอื ตอศูนยชวยเหลือประชาชน อปท.
2. จดั การใหการชว ยเหลอื 2 กรณี คือกรณี อปท. สามารถชว ยเหลือเองได นําเสนอคณะกรรมการ
ชวยเหลือประชาชนพจิ ารณาใหค วามเห็นชอบ ปดประกาศ 15 วนั กรณเี กนิ ความสามารถของ อปท. ใหส งตอ
3. เงนิ หรือส่งิ ของ วงเงินไมเกิน 3,000 บาท/ครวั เรือน ตดิ ตอกันไมเกนิ 3 ครัง้ /ป หลกั การชว ยเหลอื
เพอ่ื ไมใ หเกดิ ความซา้ํ ซอน กอนการชวยเหลอื สอบถามไปยงั พม. วาไดชว ยเหลอื ไปแลวหรือไม และถา อปท.
ใหความชว ยเหลอื แลว รายงานไปยัง พม. ดวย – การชว ยเหลอื เกษตรกรผมู ีรายไดน อ ย ดาํ เนินการเหมือนกบั
ดานพฒั นาคุณภาพชวี ติ โดยใชหลกั เกณฑของกระทรวงเกษตรและสหกรณโดยอนุโลม
แนวทางการดําเนินการและการใชจายงบประมาณในการปองกันและควบคุมโรคติดตอ โควิด 19
ดําเนินการตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว2343 ลงวันที่ 22 เมษายน 2564
และหนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว4116 ลงวันที่ 19 กรกฎาคม 2564 2.5
ระเบียบการจัดงาน การจดั กจิ กรรมสาธารณะ การสงเสรมิ กฬี า การแขงขันกีฬาของ อปท. - การจัดงานรวมถึง
งานรัฐพธิ ี งานพธิ กี าร งานประเพณี ที่ อปท. จัดเองหรือรวมกับ อปท. อ่ืน หรือรวมกับหนวยงานอ่ืน - การจัด
งานประเพณีทองถิน่ เสนอวัฒนธรรมจังหวดั หากไมมปี ระกาศจงั หวดั ใหดูตามหลกั 5 ดาน คือ

1. สืบทอดกันมา 2. มีวัตถุประสงคตอสวนรวม 3. เปนความเช่ือของสังคมโดยรวม ไมใชสวนบุคคล
4. สดั สวนของผเู ขารว มงาน 5. เกิดประโยชนสงู สดุ ตอ สังคมสว นรวม
2. การบรหิ ารงานบุคคลและการดาํ เนนิ การทางวินัยพนกั งานสวนทอ งถน่ิ โดย คณุ สริ ิรัตน แตงรอด

สาระสําคญั คอื 1. ระบบคุณธรรม ประเทศไทยเร่ิมต้งั ก.พ. มาดูแลระบบคุณธรรมของขา ราชการพลเรือน
2. ทอ งถ่นิ ยดึ หลกั คุณธรรม ในการบริหาร มีองคป ระกอบดังนี้

2.1 ความรูความสามารถของบุคคล ต้ังแตก ารบรรจุแตง ตั้ง โยกยา ย เลื่อนข้นั เงนิ เดือน
2.2 ความมั่นคงในอาชีพการงาน ตอ งไดร ับความเปนธรรมจากผบู งั คบั บัญชา
2.3 ความเปนกลางทางการเมือง ขาราชการตองมีความเปนกลางทางการเมอื ง
2.4 ความเสมอภาค อยางเดียวกันตองไดรับการปฏิบัติท่ีเทาเทียมกัน 3. กฎหมายตางๆ ท่ีเก่ียวของกับ
การบริหารงานบุคคลสวนทองถ่ิน - ระเบียบบริหารงานบุคคล ใหอํานาจ ก.จังหวัด บริหารงานบุคคล (ใหคุณ
และใหโทษ) โดย ก. จงั หวดั นําหลักมาจาก ก.กลาง – รัฐธรรมนูญ กําหนดใหมี พระราชบัญญัติ / จริยธรรมมี
วัตถุประสงคแยกออกจากวินัย นํามาใชประกอบการประเมินความดีความชอบ - กถ. ออกประมวลจริยธรรม
และประกาศในราชกิจจานุเบกษา - การลาออก เกษียณ ตองไดรับโทษทางวินัย หากกระทําผิดในระหวางรับ
ราชการ (เฉพาะวินัยรายแรง) - ระยะเวลาในการอุทธรณ ตองอุทธรณภายใน 30 วัน นับแตวันท่ีไดรับทราบ
4. เกร็ดความรูและการยกกรณีศึกษา ทําใหรูวา 4.1 ใหออก ไมใชโทษทางวินัย 4.2 ปลดออก ไลออก เปน
โทษทางวินัย 4.3 บกพรองในศีลธรรมอันดี เปนท่ีรังเกียจตอสังคมเปนดุลยพินิจของ ก. จังหวัด 4.4
กระบวนการและขน้ั ตอนการช้ีมลู ความผดิ ของ ปปช.
วันท่ี 18 พฤษภาคม 2565
1. วิชาแนวคดิ และทฤษฎีการบริหารนโยบายสวัสดกิ ารสังคม โดย ศาสตราจารย ระพีพรรณ คาํ หอม
สาระสาํ คัญ คือ 1. ความหมายของพระราชบญั ญัติการจดั สวัสดิการสังคม พ.ศ.2546

2. รปู แบบของการจัดสวัสดิการสังคมในประเทศไทย 7 ดาน 2.1 ดา นการศกึ ษา 2.2 ดาน
สุขภาพอนามัย 2.3 ดา นทีอ่ ยูอาศัย 2.4 ดานการทาํ งานและการมรี ายได 2.5 ดานนัทนาการ 2.6 ดา น
กระบวนการยตุ ธิ รรม 2.7 ดา นบรกิ ารทางสงั คมท่วั ไป โดยมรี ูปแบบการสงเสริมการพฒั นา การสงเคราะห การ
คุมครอง การปองกัน การแกไข การบําบัดฟน ฟู โดยวิธกี ารใหเ งิน/วสั ดสุ ่ิงของ, การบริการ (ใหคาํ ปรกึ ษา อบรม
ใหค วามรูและการเลี้ยงดู โดยมุงเนน การมีสวนรวมของภาคประชาสังคม เชน กองทุนสวัสดกิ ารชมุ ชน
ประกนั สงั คม

3. กลุมเปาหมายท่ีควรไดร ับสวสั ดกิ ารสงั คม มี 13 กลมุ ไดแก 3.1 เด็กและเยาวน 3.2
ผหู ญงิ ครอบครัวและผูถูกละเมดิ ทางเพศ 3.3 ผสู งู อายุ 3.4 คนพิการ 3.5 ชมุ ชนเมือง คนเรรอน 3.6 แรงงาน
ขามชาติ แรงงานตางดา ว 3.7 แรงงานนอกระบบ 3.8 คนจงั หวดั ชายแดนภาคใต 3.9 ผูปวยเอดส 3.10 ผมู ี
ปญหาสถานะบุคคลและกลมุ ชาติพันธุ 3.11 คนไทยในตา งประเทศ 3.12 ผูอยใู นกระบวนการยุติธรรม 3.13
บคุ คลที่มีความหลายหลายทางเพศ

4. นโยบายทดี่ ีตอการจัดสวสั ดิการสงั คม 5 หลัก 4.1 มหี ลักตรรกะ คอื เชงิ เหตุ/ผลชัดเจน
4.2 เปาหมายชดั เจน 4.3 กระบวนการทด่ี ี 4.4 หลักธรรมาภบิ าล 4.5 ความเปน ไปไดทางปฏบิ ตั ิ คอื
ตอ เนอื่ ง/ปรบั ปรุง/พัฒนา 5. บทบาทของทองถ่ินตอ การเฝาระวงั ปญ หาทางสงั คม
2. วิชาการสงเสรมิ และสนับสนุนการสรางโอกาสทางสงั คม โดย ศาสตราจารย ระพีพรรณ คาํ หอม

สาระสาํ คญั คือ 1. หลกั การยุทธศาสตรชาติ ประเดน็
1.1 ลดความเหลอื่ มลํา้ เชน การสรางหลักประกันทางสังคม ที่ครอบคลมุ และเหมาะสมกับคน

ทุกชวงวัย
1.2 พลังทางสงั คม เชน กองทนุ สวัสดกิ ารชุมชน

1.3 เพมิ่ ขดี ความสามารถของชุมชนทองถิน่ เชน สรา งภูมิคมุ กนั ทางปญญา ใหกบั ชุมชนในการพ่ึงพา
ตนเองและการพ่งึ พากันเองอยา งยั่งยืน

2. สถานการณความเส่ยี งทางสงั คมหลงั โควดิ 19 เชน
2.1 การเปลี่ยนแปลงนโยบายของโลกใหม คี วามยั่งยืน
2.2 สถานการณการเมือง การสงคราม ระหวางประเทศ
2.3 สถานการณก ารจัดสรรงบประมาณ และการจัดหารายไดของทองถิ่นทไี่ มเพียงพอ

3. กรณีศกึ ษากอนและระหวางเกิดสถานการณโ ควิด 19
วันท่ี 19 พฤษภาคม 2565
1. วิชานโยบายสวัสดิการสังคมเปรียบเทียบ โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ภุชงค เสนานุช

สาระสําคญั คอื 1. นโยบายสาธารณะ นโยบายสังคม นโยบายสวัสดิการสังคม เปนการกําหนดแนวทางใน
การบรหิ ารงานในองคกรหรือสงิ่ ทีร่ ฐั เลือกท่จี ะทําหรือจะไมทํา โดยมกี ารกําหนดวตั ถุประสงค เปา หมาย และวธิ ี
ปฏิบัติ เพ่อื ใหบรรลุวตั ถุประสงค เปนเรือ่ งท่ใี หค วามเกย่ี วของในการจัดสรรผลประโยชนใ หก บั ประชาชน/
สาธารณชนอยางชดั เจน

2. ระบบสวัสดกิ ารสังคมไทย
3. หลักการของนโยบายสวัสดิการสังคม ไดแ ก สทิ ธิ มนษุ ยชน ความตอ งการข้นั พนื้ ฐาน
ความเสมอภาค/ความเทาเทียม ความยตุ ธิ รรมทางสงั คม การมีสว นรว มทางสังคม ธรรมาภิบาล และประโยชน
ของประชาชน
4. ประเภทของนโยบายสวัสดกิ ารสงั คม มี 7 ดา น ไดแ ก การศึกษา สุขภาพอนามัย การ
ทํางานและมีรายได ที่อยูอาศัย นนั ทนาการ กระบวนการยุติธรรม บรกิ ารทางสังคมทวั่ ไป
5. กลุมเปา หมายในการกําหนดนโยบายการจัดสวสั ดิการสงั คม
6. บทบาทหนา ทีข่ องผบู รหิ าร นักบรหิ ารงาน และผปู ฏิบัติงานและความเกย่ี วของเชอ่ื มโยง
ของภาคประชาสงั คม กบั นโยบายบริหารงานสวสั ดิการ
7. ขอ จํากดั ของนโยบายสวสั ดิการสังคม
2. วชิ ากฎหมายทางสังคมทีเ่ กีย่ วของกบั การปฏบิ ัติงานสังคมสงเคราะหทอ งถ่นิ
โดย อาจารยปญญา กางกรณ
สาระสาํ คญั คอื 1. หลักการสงเคราะหใ นการปฏิบัตงิ าน - การนําทรัพยากรตา งๆ ที่มอี ยูมาใชเ พื่อชวยเหลือ
และตอบสนองความตอ งการของบุคคล กลมุ ชุมชน โดยใหก ารยอมรับในเรอื่ งของปจ เจกชน การไมตําหนิ
ติเตยี น การตัดสินใจดวยตนเอง การรักษาความลับ และการรจู กั บทบาทของผูใหก ารสงเคราะห
2. ขอบเขตการปฏบิ ัติหนา ทแี่ ละการปฏบิ ัตงิ านดานสังคมสงเคราะหตามอํานาจหนาทีต่ ามท่ี
กฎหมายกําหนดให
3. องคประกอบ 4 ดาน ในการดําเนนิ งานจดั สวัสดกิ ารสงั คม ไดแก การบริการสังคม การ
ชว ยเหลือทางสงั คม การประกนั สงั คม การชวยเหลอื เกื้อกูลของภาคประชาชน
4. กฎหมายสังคมท่เี ก่ียวขอ งเช่ือมโยงตามภารกิจอาํ นาจและหนาทดี่ า นสังคมสงเคราะหของ
องคกรปกครองสว นทองถ่นิ – กฎหมายดานเดก็ และเยาวชน – กฎหมายดานสตรีและบุคคลในครอบครัว –
กฎหมายดา นคนพิการ – กฎหมายดานผสู ูงอายุ – กฎหมายดานผอู ยใู นสภาวะยกลาํ บาก – กฎหมายดา นการ
จัดสวัสดกิ ารสังคม
วนั ที่ 20 พฤษภาคม 2565
1. วิชาหลกั คดิ จติ อาสา โดย นายบนั ลือศักดิ์ สุนทร

สาระสําคัญ คอื ๑. ศาสตรพ ระราชาสูก ารพฒั นาทอ งถ่นิ อยางย่งั ยนื - ครอง คือความรกั ความเมตตา
ความรับผดิ ชอบ – ธรรม คอื ความดแี ละความถูกตอง - ประโยชนสุข คอื วธิ ีการใชงบประมาณใหเ กิด
ประโยชนนาํ มาซง่ึ ความสุข สามศาสตร- สอดประสาน

1. ศ าสตรช าวบาน -ชาวบา นถายทอดใหลกู หลาน - ปราชญช าวบานสง่ั สมภมู ปิ ญญา
2. ศาสตรส ากล - ความรสู ากลโลก - คนไทยไปเรยี นรูแลวนํามาถายทอด
3. ศาสตรพ ระราชา - พระเจาแผนดินและพระบรมวงศานุวงศทรงสง่ั สม - ทดสอบ - แลว ทรงสนับสนุน
สง เสรมิ ศาสตรน้ันๆ แกแผน ดิน (ทั้งแกรัฐ และราษฎร)

2. ศาสตรพระราชา – การอนรุ กั ษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ - การบรหิ ารจดั การ - การ
พัฒนามนุษย 2.1 ดา นการพัฒนาดนิ - ดินเปร้ียว - ดินเค็ม - ดนิ เสอ่ื มโทรม - ดนิ ดาน – ดินถลม
2.2 ดานการจัดการน้ํา – นา้ํ ขาดแคลน/น้ําแลง - นา้ํ ทวม - น้าํ เสีย 2.3 ดานปาไม - ปลูกปาในทีส่ ูง - ปลูกปา
โดยไมตองปลกู - ปา 3 อยา ง ประโยชน 4 อยา ง – ฝายชะลอความชุมช้นื check dam 2.4 ดา นการเกษตร
- เกษตรผสมผสาน - ทฤษฎใี หม - วนเกษตร – ศึกษาวิจยั พชื พนั ธทุ เี่ หมาะสม 2.5 ดา นการบริหารจัดการ -
ปฏิรูปการบรหิ ารจดั การ - Single management – One Stop Services 2.6 ดา นการพัฒนามนษุ ย –
พระราชทานโอกาสทางการศึกษ - พระราชทานทุนการศกึ ษา- ทรงสง เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาอาชพี –
พระราชทานพระบรมราโชวาท/พระราชดาํ รสั เปนแนวทางในการพัฒนาตนเองและดาํ เนินชวี ติ ใหถ กู ตองและมี
คุณธรรม

3. การพฒั นาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. วชิ ายทุ ธศาสตรชาติ 20 ป โดย รศ.ดร.ศุภสวสั ดิ์ ชชั วาลย

สาระสาํ คัญ คือ 1. ยทุ ธศาสตรแ ละทศิ ทางการพัฒนาประเทศไทย - ยุทธศาสตรและแผนพฒั นาในประเทศ
ยุทธศาสตรช าติ 20 ป (พ.ศ.2561 – 2580) - วิสัยทัศนประเทศ - เปาหมายการพฒั นาประเทศ – ประเด็น
ยทุ ธศาสตรช าติ 2. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ – แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับท่ี
12 (พ.ศ.26560 – 2565) - เปา หมาย - ยทุ ธศาสตรการพฒั นา
วันที่ 21 พฤษภาคม 2565
1. วิชานโยบายสวัสดิการคนพิการ โดย อาจารยณฐอร อินทรด ีศรี

สาระสาํ คัญ คอื 1. วิวฒั นาการของกฎหมายดานคนพิการเปน เรอ่ื งของสิทธิตามกฎหมายของคนพกิ าร
2. กญุ แจสสู ทิ ธิและสวัสดิการคนพกิ าร (คณุ สมบตั /ิ เอกสารประกอบคําขอ/บัตรประจําตัวคนพิการ/สถานทยี่ น่ื
คําขอ) ความพิการมี 7 ประเภท 3. สทิ ธแิ ละสวัสดิการของคนพิการ 3.1 ดานการแพทย 3.2 ดา นการศึกษา
3.3 ดานอาชีพ 3.4 ดานการมสี ว นรว ม 3.5 ดา นกฎหมาย 3.6 ดานขอ มูลขา วสาร 3.7 ลา มภาษมือ
3.8 อุปกรณ เครอ่ื งชว ย 3.9 เบ้ยี สวัสดกิ าร 3.10 สวัสดิการอ่นื ใด 4. กลไกการขบั เคลื่อนงานดานคนพิการ
2. วิชานโยบายสวสั ดิการผสู ูงอายุ โดย อาจารยศริ ลิ กั ษณ มมี าก

สาระสาํ คัญ คอื 1. สถานการณป ญหา และประเด็นทาทาย การกา วเขา สสู ังคมผูสงู อายุอยางสมบรู ณ
2. การเช่ือมโยงยุทธศาสตรชาติ นโยบายและมาตรการทีเ่ ก่ียวของ – การแปลงยทุ ธศาตรสูแ ผนพฒั นาคณุ ภาพ
ชีวิตผูสงู อายุ (6 Sustainable) - การยกระดับขดี ความสามารถสูการบรหิ ารจัดการภาครัฐ 4.0 (4 Change)

3. การขับเคล่อื นงานดานนโยบายสวสั ดิการผูสูงอายุ - ทศิ ทาง/กลไก การขับเคลือ่ นงานดานผสู ูงอายุ – การ
เตรยี มความพรอมสวู ัยผสู งู อายอุ ยางมีคุณภาพ 1. ดานสขุ ภาพ 2. ดานสงั คม 3. ดานเศรษฐกิจ 4.ดา นทอ่ี ยู
อาศยั และสง่ิ แวดลอ ม 5. ดานเทคโนโลยี

วนั ท่ี 22 พฤษภาคม 2565
1. วิชาการจัดสวัสดิการชุมชนในองคก รปกครองสวนทองถน่ิ โดย คุณชนิ วุฒิ อาสนว เิ ชยี ร

สาระสําคัญ คือ 1. แนวคิด, หลักการการจัดสวัสดิการชุมชน สวัสดิการชุมชน หมายถึง การสราง
หลักประกันเพื่อความมั่นคงของคนในชุมชน รวมถึงทุกอยางที่จะทําใหคนในชุมชนมีความเปนอยูท่ีดีข้ึน ท้ังใน
รปู ของส่ิงของ เงินทนุ น้าํ ใจ การชว ยเหลอื เก้ือกูล เปนเรื่องท่ีเก่ียวกับวิถีชีวิตต้ังแตเกิด แก เจ็บ ตาย สวัสดิการ
ชุมชน เปนอีกทางเลือกหนึ่งที่ชวยแกปญหาความเหล่ือมลํ้าดานสวัสดิการอยางเปนทางการของรัฐ โดยอาศัย
ทุนทางสังคมชุมชนเปนพืน้ ฐาน ยดึ หลักการ “ใหอยางมีคุณคา รับอยางมีศักด์ิศรี” 7 มิติ การจัดการสวัสดิการ
สงั คม 1. มิติดานการศึกษา 2. มติ ดิ านสุขภาพอนามยั 3. มติ ดิ า นรายได 4. มติ ิดานที่อยอู าศัย
5. มติ ดิ า นนนั นาการ 6. มติ ดิ านกระบวนการยุตธิ รรม 7. มติ ิดา นการบริหารสงั คมทวั่ ไป 2. กลมุ เปา หมายการ
จัดสวสั ดกิ ารชุมชน ไดแ ก 2.1 เด็กและเยาวชน 2.2 สตรแี ละครอบครวั 2.3 คนไรทพี่ ึ่ง/ดอ ยโอกาส 2.4 ผูตดิ
เช้ือเอดส 2.5 ผพู ิการ 2.6 ผูป ระสบปญ หาทางสังคม/ประสบภยั 3. แนวทางการขับเคล่ือนงานสวัสดิการ
ชุมชน กรณีศึกษา กองทุนสวัสดกิ ารชุมชนตําบลทา งาม อําเภออนิ ทรบ รุ ี จงั หวดั สิงหบุรี - อบต. เริ่มตนกอต้งั
เพือ่ สรา งความเช่ือถือ, เช่ือม่ันคนในชมุ ชน - คนหากลมุ เปาหมาย ผา นเวทปี ระชาคมหมูบานและยนื ยันขอมูล
จากเครือขายภาคประชาชนในพ้ืนท่ี (ผูน ําทองท่ี, อสม., อพม.) – เนนสรา งความรคู วามเขา ใจแกคนในพ้ืนท่ี
“สวัสดกิ ารชมุ ชนไมใ ชฌ าปนกิจ ไมใ ชเ งนิ ออม ไมใ ชการลงทนุ แตเ ปน การทําบญุ เงินใหเปลา” - สรางการมี
สว นรวม ใหท กุ คนรูสึกเปน เจาของ – แสวงหางบประมาณและเครือขายเพื่อขับเคลื่อนงานใหส ามารถ
ดาํ เนินการตอไปได
2. วชิ าการเสริมสรางเครอื ขายการจดั สวสั ดกิ ารสังคม โดย รศ.ดร.อจั ฉรา ชลายนนาวิน

สาระสาํ คัญ คอื Welfare state คือ การสรา งความยุตธิ รรมในการเขา ถงึ ทรัพยากร equity = ความ
ยุตธิ รรม equality = การไดรับสวสั ดิการอยางเทา เทียม Redistributionist taxation = การใชภ าษเี ปน
ตวั กลางในการจดั สรรใหเ กิดความเทาเทยี ม ปญหาในดา นการจัดสวัสดกิ ารในประเทศไทย 1. สวัสดิการไม
ตอเนื่อง เชน รถเมลฟรี รถไฟฟรี พอเปลย่ี นรฐั บาลสวัสดิการกเ็ ปลี่ยนไป 2. สวัสดิการไมถว นหนา เชน ตอง
ลงทะเบยี นกอ นไดร ับสทิ ธิ 3. มขี อจํากัดในการจดั สวัสดกิ ารสวสั ดิการชมุ ชน 4. โครงสรา งพ้นื ฐานไมรองรบั การ
ใชช วี ิต เชน คนพกิ ารไมไดเรยี นหนังสือ, ทางลาด, อกั ษรเบลล, ลฟิ ทคนพกิ าร 5. เงินสวสั ดกิ ารไมเพยี งพอตอ
การใชช ีวิตจรงิ การใชจ ดุ แข็ง เขามาชวยสรา งความเขมแขง็ ใหชุมชน มหาวิทยาลยั ฮารว ารด ไดใหแ นวคิด -
ถาเราพยายามเปลย่ี นแปลงใคร มนั คือความรนุ แรง - ถาเราพยายามทําใหเขาเปลยี่ นตัวเอง มนั คืออิสรภาพ
วนั ท่ี 23 พฤษภาคม 2565
1. วิชาการจดั สวสั ดิการสังคมของรฐั เพือ่ การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน

โดย คุณชชั วาลย วงศส วรรค
สาระสาํ คญั คือ 1. ภารกิจทไี่ ดรบั การถา ยโอนแลว 4 งานคอื 1.1 งานเบีย้ ยงั ชพี 1.2 บทบาทของ อปท.
ตาม พ.ร.บ.หอพัก พ.ศ. 2558 1.3 โครงการเศรษฐกจิ ชมุ ชน 1.4 การฌาปนกจิ สงเคราะห ตาม พ.ร.บ.การ
ฌาปนกิจสงเคราะห พ.ศ. 2545 2. ภารกจิ ที่กําลังจะถายโอน 7 งาน ตามรางแผนการกระจายอาํ นาจใหแ ก

อปท. ฉบับท่ี 3 2.1 ศนู ยพ ัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและสง เสริมอาชพี ผสู ูงอายุ (ศอพส.) 2.2 การสงเคราะหศพตาม
ประเพณี 2.3 อาสาสมคั รดแู ลผูส ูงอายุทีบ่ าน (อผส.) 2.4 เงนิ อุดหนนุ เพือ่ การเล้ียงดูเด็กแรกเกดิ 2.5 สภาเด็ก
และเยาวชน 2.6 ปรับปรุงสภาพแวดลอ มและสิง่ อาํ นวยความสะดวกของผูสงู อายุ 2.7 ศูนยพ ัฒนาครอบครวั
ในชมุ ชน (ศพค.) ปจ จบุ นั ภารกจิ ทงั้ 7 เรื่อง ยังเปนหนา ท่ีของกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของ
มนุษย อปท. ยังไมม ีอํานาจทํา 7 เรอื่ งน้ี เพียงแต อปท. มีหนา ท่ดี า นท่ีอยอู าศัย การสังคมสงเคราะห พฒั นา
คุณภาพชวี ิตเดก็ สตรี คนชรา และผดู อ ยโอกาส จงึ สนบั สนนุ การทํางานรว มกบั พม. 3. การแกไขระเบยี บ

เงนิ อุดหนนุ เพอ่ื การเล้ียงดเู ด็กแรกเกดิ ซึ่งคาดการณวาจะเร่ิมใชใ นปง บประมาณ พ.ศ. 2566 เปนตน ไป เชน
3.1 แกไขชองทางการรับลงทะเบยี น โดยใชว ิธกี ารอัพโหลดเอกสารหลักฐานในระบบฯ 3.2 แกไขใหม ีการ
ลงทะเบยี นออนไลน 3.3 เพ่ิมชอ งทางการลงทะเบียนและการตรวจสอบตางๆ โดยกําหนดใหมีแอพพลเิ คช่ัน
เงนิ เด็ก และแอพลเิ คชน่ั D.DOPA 4. พ.ร.บ.การฌาปนกจิ สงเคราะห พ.ศ.2545 4.1 ไดรบั ทราบและเขาใจ
นิยามตา งๆ ของ พ.ร.บ. 4.2 วธิ กี าร/แนวทางในการปฏิบัติงานใหเปนไปตามระเบยี บขอตางๆ 4.3 บทกาํ หนด
โทษ ตาม พ.ร.บ. 5. ไดร ับทราบแนวทางการจัดตง้ั ชมุ ชนและการแตงตัง้ กรรมการชุมชนตามหนังสือสงั่ การท่ี
เกย่ี วของ
2. วิชาการชว ยเหลือเบยี้ ยังชพี อยา งมีประสิทธภิ าพ

โดย คุณชชั วาลย วงศสวรรค
สาระสาํ คัญ คอื 1. การดําเนินการตามมาตรการชว ยเหลือเบ้ยี ยังชพี ผสู ูงอายุพเิ ศษ ตามมติ ครม. เปน เวลา
6 เดือน - เรอื่ งน้ี รอผลการประชุมและหนงั สือส่งั การ ท้ังนี้ อปท. ควรจดั เตรียมขอมูลใหมีความถูกตองและมี
ความพรอม เพ่ือความรวดเร็ว เม่ือ พม. มหี นงั สอื แจง ให อปท. รายงานจํานวนผมู สี ิทธแิ ละงบประมาณ
2. การดําเนนิ งานเบ้ียยงั ชีพ 2.1 วธิ แี ละขั้นตอนการตรวจสอบรายชอื่ ผูมสี ทิ ธิรบั เบย้ี ยงั ชพี ในระบบสารสนเทศ
การจัดการฐานขอมูลเบย้ี ยังชีพของ อปท. และระบบ e-Social Welfare 2.2 วธิ กี ารดยู อดจํานวนผมู ีสิทธิรบั
เบ้ียยงั ชีพในระบบสารสนเทศการจัดการฐานขอมูลเบ้ียยังชีพของ อปท. เพอื่ นําไปใชใ นการตงั้ งบประมาณ
2.3 การตรวจสอบการจายเงินเบี้ยยงั ชพี จะตองตรวจสอบในระบบฯ เดือนละ 3 คร้ัง ครัง้ ที่ 1 ตรวจสอบ
ขอ มลู กอนสงปกครอง วันท่ี 1 ของเดือน ครั้งท่ี 2 ตรวจสอบขอมลู หลังปกครองตรวจสอบแลว ประมาณวนั ท่ี
5 - 7 ของเดือน ครั้งท่ี 3 ตรวจสอบขอ มูลการจายเงิน หลังวันที่ 10 ของเดือน และรายงานผลการจา ยเงนิ ให
ผูบริหารทอ งถ่นิ ทราบและนาํ สงหลกั ฐานการจายเงนิ ใหคลัง เกบ็ ไวเ พื่อเปนหลักฐานการตรวจสอบ 2.4 การรับ
ลงทะเบียนเบย้ี ยังชีพผสู งู อายุ - รบั ลงทะเบยี นหมดทุกคน โดยดาํ เนินการตรวจสอบคณุ สมบตั ิ ณ วันทีม่ ีสิทธิ
ไดร ับเงิน – กรณผี ลู งทะเบยี นทาํ งานในหนว ยงานของรัฐ การตรวจสอบตอ งมหี นังสอื รับรองจากหนว ยงานวา ไม
เปนผไู ดร ับบาํ นาญหรือไดรบั สวสั ดกิ ารอนื่ ของรฐั 2.5 ตัวอยา งการตงั้ ขอสังเกตจาก สตง. และการปฏิบตั ิตาม
หนังสอื สั่งการ - การเรียกเงินคนื ตองต้งั เปน ลกู หนใี้ นระบบบญั ชี - การลงทะเบยี นรบั เบี้ยยงั ชีพจะตองมีการ
ประชาสัมพนั ธอยางเปด เผย เพื่อปองกนั การรองเรยี นจากประชาชนวาไมทราบขา วสาร – การดาํ เนินงานเบยี้
ยังชีพ ควรแตงตงั้ ณะทํางานในการดาํ เนนิ งานทัง้ กระบวนงาน ต้ังแตการรบั ลงทะเบยี น การตรวจสอบ
คุณสมบัติ คณะทํางานเบิกจายเงิน คณะทาํ งานการจา ยเงนิ เจาหนา ทร่ี ับผดิ ชอบระบบสารสนเทศการจดั การ
ฐานขอมลู เบย้ี ยงั ชีพของ อปท. - แบบลงทะเบียนที่ สตง. ทักทว ง ประเดน็ ไมร ะบเุ ลขรบั ลงทะเบียน ตองมีการ
คุมเลขรับลงทะเบยี น เพ่อื เปนหลักฐานปองกันการรองเรยี นกรณเี อกสารสูญหาย – ไมร ะบุสถานภาพการรับ
สวัสดกิ ารภาครัฐ – เจา หนาทล่ี งทะเบยี น ไมลงทะเบยี น ไมระบคุ ณุ สมบตั ิ วา มีคุณสมบัติหรือขาดคุณสมบัติ -
กรรมการตรวจสอบคุณสมบัติ ไมระบุความคดิ เหน็ - ผมู อี าํ นาจไมลงความเหน็ วาสมควรรับหรือไมส มควรรับ
ลงทะเบยี น
วันที่ 24 พฤษภาคม 2565
1. วิชาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางสังคมเพอ่ื การพัฒนาทองถน่ิ โดย นาวาตรี ดร.ชวพงศธร ไวสารกิ รรม
สาระสาํ คญั คอื 1. เรียนรวู ิวฒั นาการ และนวัตกรรมการทํางานดว ยเทคโนโลยี 2. เรียนรูการปองกันภยั
ทางเทคโนโลยี จากการโพส การแชร 3. เรยี นรู 10 ทักษะ กบั การทาํ งานในอนาคต ที่สาํ คญั 3.1 การคิด
วเิ คราะหเพ่ือสรางนวตั กรรม 3.2 การวางกลยทุ ธและสรา งการเรยี นรู 3.3 การแกไ ขปญ หาทีซ่ ับซอน

3.4 การคิดวิเคราะหอยางเปนเหตุเปนผล 3.5 การคิดอยา งสรางสรรค 3.6 การเปนผูน าํ 3.7 การใช
เทคโนโลยี 3.8 การออกแบบเทคโนโลยี 3.9 การยดื หยนุ ปรบั ตัว และรบั มือกบั ความกดดันได 3.10 การ
รับมือกบั ปญ หาอยางเปนระบบ 4. เรียนรเู ทคโนโลยเี พื่อการวางแผนเพือ่ ลดความผิดพลาด 5. นาํ ทกั ษะ
เครื่องมอื อุปกรณดิจิทัล มาประยุตใ ชใ นการปฏิบตั ิงาน 6. การทาํ E-Book ดว ย Application
https//anyflip.com 7. การใช Application Line จดั ทํา Platform เพอื่ ชวยในการบรหิ ารจัดการทาํ งาน
เชน การโหวตและการทาํ ตารางนดั หมาย การแปลภาษา 8. การใชโปรแกรม Microsoft Office อยาง
Advance
2. วชิ ากลยุทธการบริหารองคก รแบบมืออาชพี โดย ผศ.ชยั ยุทธ ถาวรานุรักษ

สาระสําคัญ คอื 1. บคุ ลากรไดเ พมิ่ พนู ทักษะตอ การเปลยี่ นแปลงองคกรไปสยู ุคดจิ ิทัล 2. เรยี นรพู ฤติกรรม
ของคนแตล ะยุค 3. เรยี นรูเทคนิคการส่ือสาร Change mind set 4. เรยี นรทู กั ษะของผูบรหิ าร 6 แบบ ทักษะ
ทีค่ วรทําใหนอย 4.1 การฟง ไปงั้นๆ 4.2 การเลือกฟง 4.3 การอดทนฟง ทกั ษะที่ควรทาํ ใหเ ยอะ 4.4 ควร
ตงั้ ใจฟง 4.5 ควรฟง อยางใสใ จ 4.6 ควรฟง อยา งกระตือรือรน 5. หลกั 3 C 5.1 Communication การ
ประสานงาน 5.2 Collaboration ความรวมมือ 5.3 Compromise การประนีประนอม
วนั ที่ 25 พฤษภาคม 2565
1. วิชาสัมมนาปญหาพิเศษการจัดสวัสดกิ ารสังคมในองคกรปกครองสวนทองถ่นิ โดย ผศ.รณรงค จันใด

สาระสําคัญ คอื 1. ปญ หาการมีสวนรวมของประชาชน 2. ปญหาการบริหารงานภายในองคกร 3.
ผเู ขารว มกลุม เปาหมายไมเขารวมสูก ระบวนการรบั ความชวยเหลอื 4. รปู แบบการจดั สวสั ดิการไมมีความ
หลากหลาย ไมครอบคลุม กลุมเปา หมาย 5. การไดรบั สวสั ดกิ ารเบยี้ ยังชพี ผูส งู อายุ 6. ดา นจิตเวช/ยาเสพติด/
การม่ัวสมุ ทางเพศ/และการเปนคนนอกพ้ืนท่ี
2. วชิ ากลยุทธการจดั การความขดั แยงในองคก ร โดย ผศ.ดร.กิตติ ชยางคกุล

สาระสําคญั คือ 1. หลักวธิ ีการจัดการความขดั แยง 1.1 การปรองดอง 1.2 การหลีกเล่ียง 1.3 การ
ประนปี ระนอม 1.4 การแขงขัน 1.5 การใหความรวมมือ 2. แนวทางการจัดการความขัดแยงในองคกร
2.1 หาสาเหตุของความขัดแยง ใหไดกอ น 2.2 หาพนื้ ทส่ี วนตวั หรอื ปลอดภยั ในการเจรจา 2.3 ต้ังใจฟงและ
เปดโอกาสใหท ุกคนไดพดู 2.4 ประเมนิ สถานการณ 2.5 กาํ หนดวธิ ีการแกไขปญหารวมกัน 2.6 ตกลงในทาง
แกป ญ หาและกําหนดความรับผดิ ชอบในการแกไ ขปญหา 2.7 ประเมินผลและวางแผนปอ งกนั ปญหาทจ่ี ะ
เกิดขนึ้ อกี ในอนาคต 3. กลยุทธการจดั การความขดั แยง ในองคกร 3.1 การทาํ ความเขาใจสถานการณ
3.2 รับทราบปญ หา 3.3 อดทนและใชเวลา 3.4 หลีกเล่ียงการใชการบงั คบั ขเู ขญ็ 3.5 สนใจทีป่ ญหา ไมใชต วั
บคุ คล 3.6 กําหนดแนวทาง 3.7 เปด การสอื่ สารไวเ สมอ 3.8 ลงมือทาํ อยางเด็ดขาด

วันที่ 26 พฤษภาคม 2565
1. วิชานโยบายสวัสดิการเดก็ เยาวชนและครอบครัว โดย อาจารย ดร.พดั ชา เจิงกลิ่นจันทร

สาระสาํ คญั คอื 1. การเปล่ียนแปลงโครงสรา งประชากรของโลก 2. สถานการณเด็กและครอบครัว
3. ความฉลาดทางสตปิ ญญาและความฉลาดทางอารมณ 4. เดก็ และเยาวชนทีไ่ ดร ับผลกระทบจากเช้ือไวรสั
โคโรนา (Covid-19) 5. สถานการณการศึกษาของเด็กและเยาวชน 6. ปญหาความรนุ แรงทเ่ี กิดข้ึนกับเด็ก

7. นโยบายสวสั ดิการสงั คม 8. แนวทางการออกแบบนโยบายสวัสดิการเดก็ เยาวชน และครอบครวั
9. การคุมครองเด็ก

4. ประมวลภาพกิจกรรม/กิจกรรมกลุม

วนั ท่ี 27 พฤษภาคม 2565
1. ศึกษาดูงานการพัฒนาเครือขายการทาํ งานดานการชวยเหลือเดก็ ณ มูลนธิ ิ เพอ่ื เด็กไทย

โดย ผศ.รณรงค จนั ใด และทมี วิยากร
วนั ที่ 28 พฤษภาคม 2565
1. ศึกษาดูงาน กรณีศกึ ษานวัตกรรมการบรหิ ารสวัสดกิ ารสงั คมในองคกรปกครองสวนทองถน่ิ

ณ เทศบาลตําบลทับมา โดย ผศ.รณรงค จันใด และทีมวิยากร

2. ศึกษาดงู าน กรณีศึกษาการจัดสวัสดิการชุมชนโดยภาคประชาชน
ณ ศนู ยเรียนรบู า นจํารงุ อาํ เภอแกลง จังหวดั ระยอง โดย ผศ.รณรงค จันใด และทมี วยิ ากร

วนั ท่ี 29 พฤษภาคม 2565
1. การบรกิ ารงานพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ยใ นระดบั จังหวัด

โดย ทีม One Home จังหวัดชลบรุ ี

วันท่ี 30 พฤษภาคม 2565
1. การออกแบบนวัตกรรมการบริหารสวัสดกิ ารสงั คมในองคกรปกครองสวนทองถ่นิ

โดย ผศ.รณรงค จนั ใด
2. สมั มนาและนําเสนอนวตั กรรมการบริหารสวัสดกิ ารสังคม

โดย ผศ.รณรงค จันใด
วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2565
1. สรุปผลการฝก อบรม / POST – TEST

2. การมอบเข็มวิทยฐานะ และประกาศนียบตั ร

2.1 ไดรับมอบเข็มวิทยฐานะ
2.2 ประกาศนียบัตร

เอกสารหมายเลข 1

เอกสารหมายเลข 1


Click to View FlipBook Version