The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน จนท.ผขยส.กสกท.สอ.ทอ.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Udomsak Jiwbang, 2022-07-06 23:46:11

ผขยส.กสกท.สอ.ทอ.

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน จนท.ผขยส.กสกท.สอ.ทอ.

ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน

เจา้ หนา้ ท่ีผขยส.กสกท.สอ.ทอ.

OUR TEAM

ร.ต.อดุ มศักด์ิ จว๋ิ บาง พ.อ.อ.นพดล แสงสีดา พ.อ.อ.วรี ะ บุญใส

น.สื่อสารผขยส.กสกท.สอ.ทอ. ช่างเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ า ฝธก.กสกท.สอ.ทอ. ช่างเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ า ผขยส.กสกท.สอ.ทอ.

ผจู้ ดั ทา ท่ีปรึกษา ท่ีปรึกษา

OUR TEAM

พ.อ.อ.นราธิป อนิ คุ้ม พ.อ.อ.ณฐั พงศ์ เตโช พ.อ.ต.รชต พวงกหุ ลาบ จ.อ.สัภยา จณิ ะไชย

จนท.เทคนิค ฝทน.ผกท.กสกท.สอ.ทอ. ช่างส่ือสาร ผขยส.กสกท.สอ.ทอ ช่างสื่อสาร ผขยส.กสกท.สอ.ทอ ช่างส่ือสาร ผขยส.กสกท.สอ.ทอ

ผรู้ วบรวมขอ้ มูล ผจู้ ดั ทาส่วนภาคมิกเซอร์ ผจู้ ดั ทาส่วนภาคลาโพง ผจู้ ดั ทาส่วนภาคลาโพง

OUR TEAM

จ.อ.นนทกร มฤี กษ์ใหญ่ จ.ท.ธนพล ชาวแก้ว จ.ต.ชานนท์ หลวงอี่ จ.ต.ณฐั กรณ์ สว่างจติ

ช่างสื่อสาร ผขยส.กสกท.สอ.ทอ ช่างส่ือสาร ผขยส.กสกท.สอ.ทอ ช่างสื่อสาร ผขยส.กสกท.สอ.ทอ ช่างสื่อสาร ผขยส.กสกท.สอ.ทอ

ผจู้ ดั ทาส่วนภาคมิกเซอร์ ผจู้ ดั ทาส่วนภาคสายสญั ญาณ ผจู้ ดั ทาส่วนภาคสายสญั ญาณ ผรู้ วบรวมขอ้ มูล

ส า ร บั ญ 1
2-3
ภาค Mixer 4
- ข้นั ตอนการติดต้งั Mixer 5-9
- การปรับแต่ง Equalizing 10
- การควบคุม Sound control
11
ภาคลาโพง 12
- ข้นั ตอนการเลือกใชล้ าโพง
- ข้นั ตอนการติดต้งั ลาโพง 13-14
- การต้งั ลาโพงหลกั และสารอง 15
15-16
ภาคสายสญั ญาณ 17
- ข้นั ตอนการทดสอบอปุ กรณ์ 18
- ข้นั ตอนการติดต้งั 19
- ข้นั ตอนการเก็บสายและและทาความสะอาด 20
- ข้นั ตอนการบนั ทึกงาน 21
- สายสญั ญาณที่นิยมใช้ 22-23
24
สายสญั ญาณที่ใชง้ านในระบบเสียงในปัจจุบนั 25
ประเภทของสายสญั ญาณในระบบเสียง
อุปกรณ์ท่ีใชง้ าน ผบ.ชดุ หลกั งานในอาคาร
อุปกรณ์ท่ีใชง้ าน ผบ.ชดุ สารองงานในอาคาร

1

MIXER

มิกเซอร์เปรียบเสมือนหัวใจหลกั สาคญั ของการตดิ ต้งั
เครื่องเสียงเป็ นเหมือนแผงควบคุมการทางานของ
อุปกรณท์ ้งั หมด

DETAIL

2

Lorem ipsum dolor sit amet, lacus nulla ข้นั ตอนการตดิ ต้ัง
ac netus nibh aliquet, porttitor ligula
justo libero vivamus porttitor dolor, 1. ตรวจสอบไฟท่ีจุดปฏบิ ตั ิ ดว้ ยเคร่ืองตรวจเชค็ เตา้ รับไฟฟ้ า
conubia mollit. 2. เสียบไมโครโฟน หรือตดั ต่อสญั ญาณเขา้ ที่ช่องอินพทุ ของมกิ เซอร์
XLR Jack จากแหลง่ ภายนอก
3. เลือกตวั Chanel Faders ข้ึนไปใหอ้ ยตู่ าแหน่ง 0 ที่เสกล
4. กดป่ ุม Chanel Switch ใหไ้ ฟติดและกดป่ ุม PFL ใหอ้ ยตู่ าแหน่ง
on (กดลง)
5. ปรับ Volume Gain Knobs ลงมาท่ี ตาแหน่ง 0
6. พดู ที่ไมโครโฟน หรือเปิ ดแหลง่ เสียจากภายนอกพร้อมกบั ค่อยๆ
ปรับเร่ง Volume Gain Knobs ข้ึน
7. ขณะปรับใหส้ งั เกตไฟที่ Level Meter ตอ้ งวิ่งข้ึนไปท่ี ไมเ่ กิน +3
เป็นช่วงที่ดีท่ีสุด ถอื ว่าการต้งั ค่าสาเร็จ
8. จากน้นั เลื่อน ChanelFaders ลง เพอื่ ควบคุมความแรงของสญั ญาณ
ช่องน้ีตามความเหมาะสม

3

9. กดป่ ุม ST สีแดง on(กดลง) เพื่อใหเ้ สียงเฉพาะ Chanel น้ีผา่ น
ออกไปยงั MasterFaders(9) ออกไปยงั ช่อง Srereo Output XLR
Jack ส่งไปยงั power amp/ลาโพงภายในหอ้ งบรรยาย
10. โดยทวั่ ไปการปรับต้งั ค่าเกณฑน์ ้ีตาแหน่ง Volume Gain Knobs
จะอยทู่ ่ี 10 – 11 นาฬิกาแต่ไม่เกิน 12 นาฬิกายกเวน้ สญั ญาณ
ไมโครโฟนท่ีออ่ นมากจึงปรับเร่ง Gain ข้ึนตามความเหมาะสม
11. ถา้ สญั ญาณจากภายนอกแรงเกินไป ปรับลดเกณฑไ์ ม่ลงใหก้ ดป่ ุม
PAD Switch เพ่อื ลดความแรงสญั ญาณจากภายนอกลงอกี ระดบั หน่ึง
ก่อนถงึ ปรับ Gain
12. กดป่ ุม PFL ใหอ้ ยตู่ าแหน่ง off(กดข้ึน) เพือ่ ปิ ดการใช้ LevelMeter
ของช่องน้ี
13. การต้งั ระดบั Gain ของช่องสญั ญาณตอ้ งทาข้นั ตอนท่ี 1 – 11 ช่อง
ท่ีใชง้ าน

การปรับแต่งเสียง Equalizing 4
Equalizing
1. ใช้ Volume Equalizer (4) เป็นตวั ปรับแต่ง โดยทวั่ ไปจะต้งั ความถี่ไวท้ ี่ 12
นาฬกิ า ท่ีลกู ศรช้ี แต่อาจจะมี การปรับลดหรือเพมิ่ ไดบ้ า้ งตาม ลกั ษณะโทนเสียง
ของแต่ละคน
2. HIGH หมายถงึ เพ่ิมลดเสียงแหลม ในกรณีเปิ ดเพลง หรือเสียงประกอบ
3. MID หมายถงึ เพ่มิ ลด เสียงกลาง เสียงคนพดู หรือเสียงนกั ร้อง
4. LOW หมายถึง เพม่ิ ลดเสียงทุม้ เสียงกลอง เสียงเบส

5

การควบคุมเสียง Sound Control

1. การควบคุมเสียงแต่ละช่องสญั ญาณสามารถปิ ด-เปิ ด ได้
อสิ ระในแต่ละช่อง โดยใชป้ ่ ุม Chanel Switch(6) ของแต่
ละช่อง สถานะ On คือไฟจะติดท่ีป่ ุม ถา้ Off ไฟดบั

6

การควบคุมเสียง Sound Control

2. เม่ือต้งั ระดบั เสียงไวค้ งที่แลว้ ควรหลีกเลี่ยงการใช้
Volume Chanel Faders(7) ปรับข้ึนลงเพราะระดบั
เสียงจะเปลย่ี นไป ใช้ Chanel Switch (6) ควบคุมแทน เช่น
ปิ ดไมค์ เสียงเพลง หรือเสียงจากแหลง่ ภายนอกอ่นื ๆ เป็น
ตน้ หรือตอนปิ ดเครื่องเมื่อเลิกงาน ปิ ดสวิทชท์ ี่ master
Faders และ Group Fadersเพยี ง 2 ตวั ไม่ตอ้ งไปปิ ด หรือ
ปรับลดค่าตวั อนื่ ๆ

7

การควบคุมเสียง Sound Control

3. การเพม่ิ ลดระดบั เสียงของแต่ละช่อง ใหใ้ ช้ Volume
Chanel Faders(7) แทนการปรับGain เพราะจะทา
ใหค้ ุณภาพเสียงท่ีต้งั ไวเ้ สียไป ตอ้ งกลบั ไปต้งั ค่าใหม่
4. ถา้ ตอ้ งการเพมิ่ ลดเสียงใน หอ้ งบรรยายพร้อมกนั ทกุ ช่อง
เท่า ๆ กนั ใหใ้ ช้ Master faders(9) ในการปรับเพิ่มลดเสียง
ความดงั ภายในหอ้ งบรรยาย ใหเ้ หมาะสมกบั จานวนผฟู้ ัง
บรรยาย ถา้ เร่งดงั เกินไปอาจจะเกิดการหอนฟิ ดแบ็ค
(Feedback) ข้ึนในระบบ

8

การควบคมุ เสียง Sound Control

5. ถา้ ตอ้ งการเพ่มิ ลดเสียงที่ส่งไปปลายทาง (On Air) ของแต่
ละโรงเรียน ใหใ้ ช้ Volume Group Faders (8) ซ่ึงจะทา
หนา้ ท่ี ควบคุมความแรงของสญั ญาณ Group ท่ี ไดก้ ดป่ ุม
Group Switch (10) (กดลง) ของแต่ละช่องสญั ญาณ ใหม้ า
เขา้ Group Faders (8) ส่งออกท่ี ช่อง Group Output
phones jack(16) เช่ือมต่อไปยงั ช่อง Line in ของ
คอมพิวเตอร์ ระบบ Scopia Desktop หลีกเล่ยี งการใช้
Effect Program (ป่ ุมสีขาว) ควรปรับใหอ้ ยทู่ ี่ตาแหน่ง

9

การควบคุมเสียง Sound Control

6. การปรับระดบั สญั ญาณของ Group Faders (8) ตอ้ งมี
ความสมั พนั ธก์ บั Volume line in ของคอมพิวเตอร์หาก
เร่ง Group Faders มากไปเสียงจะแตก แต่ถา้ นอ้ ยไป
ปลายทางจะเสียงเบา

10

การตดิ ต้งั ชุดลาโพง ในงานนอกอาคาร

ตวั อยา่ งงานวางพวงมาลาหนา้ บพุ การี

Bose 402 11

Bose 802 ข้นั ตอนการเลอื กใช้ลาโพง

ตวั อย่างงานวางพวงมาลาหน้าบพุ การี

1.ใชล้ าโพง Bose 802 Series ท่ีมกี าลลงั ขบั 240 วตั ต์ ในการปฏบิ ตั ิงาน

จานวน 4 ตู้ โดยแบ่งออกเป็น ตหู้ ลกั 2 ตู้ และ ตูส้ ารอง 2 ตู้

2.ขาต้งั ลาโพง 4 ตวั และ สายลาโพง ( Speakon ) 4 เสน้ เหตุผลที่เลือกใช้

ลาโพง Bose 802 ลาโพง Bose 802 เป็นลาโพงท่ีกระจายเสียงไปตาม
แนวนอนและแนวกวา้ งกวา่ ลาโพงรุ่นอ่นื ๆ จริงเหมาะสาหรับใชใ้ นท้งั งานใน
อาคารและนอกอาคารท่ีมลี านกวา้ ง หรือพ้ืนที่โลง่ กวา้ ง

YAMAHA Portable

12

(1) (3) ข้นั ตอนการตดิ ต้งั

ตวั อย่างงานวางพวงมาลาหน้าบุพการี

1.นาขาต้งั และตลู้ าโพงไปต้งั ตามจุดที่เหมาะสมท้งั 4 จุดในงาน โดยส่วนใหญ่

ใหม้ รี ะยะห่างระหว่างลาโพงอยทู่ ่ี 8.69 เมตร กางขาต้งั ลาโพงออกกวา้ งๆ

(2) ใส่แผน่ เพลตเขา้ ท่ีตวั ลาโพง(3)

2.ยกลาโพงข้ึนไปวางไวบ้ นขาต้งั ลาโพงแลว้ ลอ็ คขาต้งั ลาโพงเพื่อไม่ให้

น้าหนกั ของตูล้ าโพงกดขาลาโพงลง ยกลาโพงข้ึนไปวางไวบ้ นขาต้งั ลาโพงแลว้

ลอ็ ค ใชเ้ ทา้ เหยยี บที่ฐานลาโพงแลว้ ดนั ตวั ลาโพงข้ึนใหส้ ูงจากพ้นื ประมาณ 1.7

เมตร หรือมากนอ้ ยกว่าน้นั ตามความเหมาะสม

3.ต่อสายลาโพง(Speakon) จากตลู้ าโพงไปท่ีมิกซ์ Power Mix โดยใหเ้ ร่ิม

(5) เดินสายจากตูล้ าโพงจะทาใหส้ ามารถเก็บสายลาโพงท่ีเหลอื ไวบ้ ริเวณโตะ๊

ควบคุมได้

(4) (6)

13

ในการต้ังลาโพงหลกั และสารอง จะมีการต้ัง 2 รูปแบบ

ตวั อยา่ งงานวางพวงมาลาหนา้ บุพการี

รูปแบบที่ 1 ต้งั ลาโพงหลกั 2 ตวั ให้ระยะห่างจากกนั 8.69 เมตร และ
ต้งั ลาโพงสารอง ให้ห่างจากลาโพงหลกั 8.69 เมตร ท้งั ดา้ นซา้ ย และ
ดา้ นขวา ของลาโพงหลกั
ข้อดีและข้อเสียของการต้งั รูปแบบท่ี 1 จะทาใหก้ ารเดินทางของเสียง
กระจายกวา้ งกวา่ รูปแบบท่ี 2 แตค่ วามสาบรู ณ์ของคลื่นเสียงจะมี
ประสิทธิภาพนอ้ ยกว่ารูปแบบที่ 2

14

ในการต้ังลาโพงหลกั และสารอง จะมกี ารต้ัง 2 รูปแบบ

ตวั อยา่ งงานวางพวงมาลาหนา้ บุพการี

รูปแบบที่ 2 ต้งั ลาโพงลาโพงหลกั และลาโพงสารองคกู่ นั โดยใหห้ นั
หนา้ ลาโพงออกจากกนั นิดหน่อยประมาณ 20 – 25 องศา เป็นจานวน
2 ชุด โดยระหวา่ งชุด จะต้งั ใหร้ ะยะห่างจากกนั 8.69 เมตร
ข้อดแี ละข้อเสียของการต้งั รูปแบบที่ 2 จะทาให้การเดินทางของเสียง
แคบกว่า รูปแบบที่ 1 แตค่ วามสมบรู ณ์ของคลื่นเสียงจะมีประสิทธิภาพ
มากกว่ารูปแบบท่ี 1

***การจดั วางรูปแบบการต้งั ลาโพงสามารถปรับเปล่ียน
รูปแบบไดต้ ามงานที่ไดร้ ับมอบหมาย***

การตดิ ต้งั ชุดลาโพง ส่วนของ 15
สายสัญญาณ ในงานนอกอาคาร
1.2 หากสาย1สญั ญาณไมโครโฟนไม่ปกติหลอด LED จะข้ึนแค่เลข 1 ดวงหรือไม่ติด
ตวั อยา่ งงานวางพวงมาลาหนา้ บุพการี

ข้นั ตอนการทดสอบอปุ กรณ์

การเชค็ สายสญั ญาณไมโครโฟน
1. นาหวั XLR ตวั ผขู้ องสายสญั ญาณเสียงไมโครโฟนเสียบเขา้ เคร่ือง Cable Tester LT01

1.1 ต่อสายสญั ญาณเขา้ กบั ตวั วดั หากสายสญั ญาณไมโครโฟนปกติหลอดLED จะโชวไ์ ฟ เลข 1,2 และ 3

การติดต้งั ชุดลาโพง ส่วนของ 16
สายสัญญาณ ในงานนอกอาคาร
1.2 หากสายสญั ญาณไมโครโฟนไม่ปกติหลอด LED จะไมข่ ้ึน
ตัวอย่างงานวางพวงมาลาหน้าบพุ การี

ข้ันตอนการทดสอบอปุ กรณ์

การเชค็ สายสญั ญาณลาโพง
1. นาหวั speakon ของสายลาโพงเสียบเขา้ เคร่ือง Cable Tester LT01

1.1ต่อสายสญั ญาณเขา้ กบั ตวั วดั หากสายสญั ญาณไมโครโฟนปกติหลอด LED จะโชวไ์ ฟ เลข 1 และ 2

การตดิ ต้ังชุดลาโพง ส่วนของ ไมโครโพน 17
สายสัญญาณ ในงานนอกอาคาร
ลำโพง802
ตวั อยา่ งงานวางพวงมาลาหนา้ บุพการี
สำยXLR สำย speakon
ข้นั ตอนการประสานงาน ช่องinputไมโครโพน
- สอบถามการวางตาแหน่งของไมโครโฟนของประธานและคนกล่าวกบั เจา้ หนา้ ท่ี เจา้ ของงานน้นั ๆ
ช่องoutputลำโพง
ข้นั ตอนการตดิ ต้งั และทดสอบ
1. การติดต้งั สายสญั ญาณเสียงไมโครโฟนและสายสญั ญาณเสียงลาโพง ต้งั ขาไมโครโฟนของผบ.ทอ. กำรต่องำนจำกไมโคโพนและลำโพนเข้ำพำวเวอร์มกิ เซอร์
2. วางขาต้งั ไมตามจุดคนกล่าวตามจุดท่ีกาหนดไว้
3. ต่อสายสญั ญาณ ไมโครโฟนโดยนาหวั XLR ตวั เมียต่อเขา้ กบั โมโครโฟน และ ต่อสายสญั ญาณเสียง ลาโพง

โดยนาหวั speakon ตอ่ เขา้ กบั ตวั ลาโพง
4. เสียบสายไมโครโฟนเขา้ ชอ่ งชาเเนลไมโครโฟนของเคร่ืองพาวเวอร์มิกเซอร์ และเสียบสายสญั ญาณเสียง

ลาโพงเขา้ กบั ชอ่ งเอาตพ์ ตุ ของเครื่อง พาวเวอร์มิกเซอร์
5. ทาการทดสอบเสียง ของไมโครโฟน ใหเ้ รียบร้อย
6. จดั เรียงสายสญั ญาณเสียงไมโครโฟนและสายสญั ญาณเสียงลาโพงใหเ้ รียบร้อยและติดเทป ให้เรียบร้อย

จัดเกบ็ สำยสัญญำณ

การตดิ ต้ังชุดลาโพง ส่วนของ 18
สายสัญญาณ ในงานนอกอาคาร

ตวั อยา่ งงานวางพวงมาลาหนา้ บุพการี

ข้นั ตอนการเก็บสายไมโครโฟนและลาโพง

วธิ ีการเก็บสายสญั ญาณเสียงไมโครโฟนและสายสญั ญาณเสียงลาโพงตามมวี ธิ ีข้นั ตอนการเก็บสายดงั น้ี
-ถอดสายลาโพงและไมโครโพนออกจากพาวเวอร์มิกเซอร์

-มว้ นสายใหว้ นไปทางซา้ ยต่อมาใหว้ นสลบั เขา้ หาตวั เราทาแบบน้นั ไปเร่ือยๆเพอื่ ความเรียบร้อย

ข้นั ตอนการทาความสะอาดและเก็บเข้าคลัง

-นาสายลาโพงสายไมโครโฟนมาเช็ดทาความสะอาดและเก็บเขา้ ที่ใหเ้ รียบร้อย

การตดิ ต้งั ชุดลาโพง ส่วนของ 19
สายสัญญาณ ในงานนอกอาคาร

ตวั อยา่ งงานวางพวงมาลาหนา้ บุพการี

ข้นั ตอนการบนั ทกึ งาน

1.บนั ทึกรายการอุปกรณท์ ี่นาไปใชง้ าน
2. เขยี นรายละเอียดงาน
3. ผลการปฎิบตั ิงาน
4. แกไ้ ขและสรุปงาน

การตดิ ต้งั ชุดลาโพง ส่วนของ 20
สายสัญญาณ ในงานนอกอาคาร

ตวั อยา่ งงานวางพวงมาลาหนา้ บุพการี
สายสัญญาณเสียงไมโครโฟนทีน่ ยิ มใช้ L-2T2S CANARE 705 และหัวสาย XLR

สายสัญญาณเสียงไมโครโฟนทีน่ ยิ มใช้ Speaker Cable 2S9F CANARE และหัวสาย Speaker

ไมโครโฟนท่นี ิยมใช้ SHURE SM 58-LC และไมไร้สาย Sennheiser ew 365 G3

21

สายสัญญาณทใ่ี ช้งานในระบบเสียงในปัจจุบัน

22

ประเภทของสายสัญญาณในระบบเสียง

1. แบบบาลา๊ นซ์ (Balanced)
มีการใชส้ ายสญั ญาณในการนาทางสามเสน้ ไดแ้ ก่ ข้วั บวก ข้วั ลบ และข้วั ดิน จึงทาใหไ้ ด้
คุณภาพเสียงท่ีชดั เจน เสียงรบกวนต่า หวั แจ็คที่ใชก้ บั สายสญั ญาณแบบบาลาช์ ไดแ้ ก่

23

ประเภทของสายสัญญาณในระบบเสียง

2. แบบอนั บาลา๊ นซ์ (Unbalanced)
เป็นการเช่ือมต่อสญั ญาณในยคุ แรกๆ โดยมีการใชส้ ายสญั ญาณแบบสองเสน้ ไดแ้ ก่ ข้วั บวก
และข้วั ดิน ไม่เหมาะสาหรับเดินสายสญั ญาณที่มคี วามยาวหลายสิบเมตร เหมาะสาหรับงานที่
ต่อสายส้นั ๆ ไมย่ าวหวั แจ็คที่ใชก้ บั สายสญั ญาณแบบอนั บาลา๊ นซ์ ไดแ้ ก่

24

อปุ กรณ์ทใ่ี ช้งาน ผบ.ชุดหลกั งานในอาคาร

ข้ันตอนการเตรียมอุปกรณ์

1.Yamaha emx 5016 CF Power mixer 1EA
2.ไมโครโฟน SHURE SM 58-LC 3EA
3.แสตนไมโครโฟนคู่ 1EA
4.แสตนไมโครโฟนเด่ียว 1EA
5.ลาโพงBoes 802 Series. 2EA
6.สายสญั ญานลาโพง Speaker. Cable 2S9F CANARE 2EA
7.สายสญั ญานไมโครโฟน L-2T2S CANARE 1705 3EA
8.โน๊ตบุค๊ Asus P1440F 1EA
9.สายสญั ญานเสียง 3.5 Roxtone 1EA
10.ปลกั๊ พ่วง SurgeGuard SP-8E 1EA
11.ปลกั๊ พ่วงสายไฟ 30เมตร 1EA
12.เครื่องสารองไฟ(UPS) 1EA

25

อปุ กรณ์ทใ่ี ช้งาน ผบ.ชุดสารองงานในอาคาร

สารอง

1.Yamaha 512 SC. Power mixer. 1EA
2.ลาโพงBoes 402 Series. 2EA
3.สายสญั ญานลาโพง Speaker. Cable 2S9F CANARE 2EA
4.ไมโครโฟน SHURE SM 58-LC 1EA
5.แสตนไมโครโฟนเดี่ยว 1EA

IRINA SLIDES

Thank You

Netus nibh aliquet porttitor ligula justo libero vivamus


Click to View FlipBook Version